12.09.2018 Views

61

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Êํҹѡ§Ò¹»ÅÑ´¡ÃзÃǧ¡ÅÒâËÁ<br />

˹‹Ç§ҹ¹âºÒÂáÅÐÂØ·¸ÈÒʵäÇÒÁÁÑ่¹¤§<br />

ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม<br />

»‚·Õ่ òö ©ºÑº·Õ่ óóð ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

www.lakmuangonline.com


“...¤¹·ÕèÍÒÂØÁÒ¡ ŒÒÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ´Õ ÃÑ¡ÉҤسÊÁºÑµÔ<br />

¤Ø³¸ÃÃÁ ¡çä´Œà»ÃÕº¤¹·ÕèÍÒÂعŒÍÂ<br />

áÅÐã¹»ÃÐà·ÈªÒµÔ ŒÒÁÕ¤¹·ÕèÁÕÍÒÂØÁÒ¡<br />

áÅÐä´Œà»ÃÕº ªÒµÔºŒÒ¹àÁ×ͧ¨Ð¡ŒÒÇ˹ŒÒä´Œ...”<br />

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร<br />

ไดพระราชทานพระบรมราโชวาท<br />

เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๙


ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม<br />

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์<br />

พล.อ.วันชัย เรืองตระกูล<br />

พล.อ.อ.สุวิช จันทประดิษฐ<br />

พล.อ.ไพบูลย เอมพันธุ<br />

พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา<br />

พล.อ.ธีรเดช มีเพียร<br />

พล.อ.ธวัช เกษรอังกูร<br />

พล.อ.สัมพันธ บุญญานันต<br />

พล.อ.อูด เบื้องบน<br />

พล.อ.สิริชัย ธัญญสิริ<br />

พล.อ.วินัย ภัททิยกุล<br />

พล.อ.อภิชาต เพ็ญกิตติ<br />

พล.อ.กิตติพงษ เกษโกวิท<br />

พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร<br />

พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน<br />

พล.อ.ทนงศักดิ์ อภิรักษโยธิน<br />

พล.อ.นิพัทธ ทองเล็ก<br />

พล.อ.สุรศักดิ์ กาญจนรัตน<br />

พล.อ.ศิริชัย ดิษฐกุล<br />

พล.อ.ปรีชา จันทรโอชา<br />

พล.อ.ชัยชาญ ชางมงคล<br />

ที่ปรึกษา<br />

พล.อ.เทพพงศ ทิพยจันทร<br />

พล.อ.วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

พล.ร.อ.จุมพล ลุมพิกานนท ร.น.<br />

พล.อ.อ.สุรศักดิ์ ทุงทอง<br />

พล.อ.ณัฐ อินทรเจริญ<br />

พล.อ.สมศักดิ์ รุงสิตา<br />

พล.อ.ชัยพฤกษ พูนสวัสดิ์<br />

พล.อ.อนุชิต อินทรทัต<br />

พล.อ.นภนต สรางสมวงษ<br />

พล.ร.อ.ปรีชาญ จามเจริญ ร.น.<br />

พล.ท.ทรงพล พุมวิจิตร<br />

พล.ท.รักศักดิ์ โรจนพิมพพันธุ<br />

พล.ท.มโน นุชเกษม<br />

พล.ท.ปรีชา สายเพ็ชร<br />

พล.ท.ทวี พฤกษาไพรบูลย<br />

พล.ท.ศิรศักดิ์ ยุทธประเวศน<br />

พล.ท.ศิริพงษ วงศขันตี<br />

พล.ท.ชมพล อามระดิษ<br />

พล.ท.นรเศรษฐ ขรรทมาศ<br />

พล.ท.สราวุธ รัชตะนาวิน<br />

พล.ต.พุฒิประสิทธิ์ จิระมะกร<br />

พล.ต.ตางแดน พิศาลพงศ<br />

พล.ต.ภราดร จินดาลัทธ<br />

พล.ต.กานต กลัมพสุต<br />

พล.ต.ทินกร รังสิวัฒน<br />

พล.ต.ไชย หวางสิงห<br />

ผูอํานวยการ<br />

พล.ต.ยุทธนินทร บุนนาค<br />

รองผูอํานวยการ<br />

พ.อ.ภัทรนรินท วิจิตรพฤกษ<br />

พ.อ.ชูเลิศ จิระรัตนเมธากร<br />

ผูชวยอํานวยการ<br />

น.อ.พรหมเมธ อติแพทย ร.น.<br />

กองจัดการ<br />

ผูจัดการ<br />

น.อ.กฤษณ ไชยสมบัติ<br />

ประจํากองจัดการ<br />

พ.อ.ธนะศักดิ์ ประดิษฐธรรม<br />

พ.ท.ไพบูลย รุงโรจน<br />

เหรัญญิก<br />

น.อ.หญิง สมใจ กนกอุดม<br />

ฝายกฎหมาย<br />

น.อ.สุรชัย สลามเตะ<br />

พิสูจนอักษร<br />

พ.อ.หญิง วิวรรณ วรวิศิษฏธํารง<br />

กองบรรณาธิการ<br />

บรรณาธิการ<br />

พ.อ.สุวเทพ ศิริสรณ<br />

รองบรรณาธิการ<br />

พ.อ.วันชนะ สวัสดี<br />

น.อ.หญิง รสสุคนธ ทองใบ ร.น.<br />

ผูชวยบรรณาธิการ<br />

น.ท.หญิง ฉันทนี บุญปกษ<br />

ประจํากองบรรณาธิการ<br />

น.ท.วัฒนสิน ปตพี ร.น.<br />

พ.ท.ชุมศักดิ์ สมไรขิง<br />

พ.ท.ชาตบุตร ศรธรรม<br />

พ.ท.หญิง สมจิตร พวงโต<br />

น.ต.หญิง กัญญารัตน ชูชาติ ร.น.<br />

พ.ต.หญิง ลลิดา กลาหาญ<br />

ร.อ.วิเชษฐ คําสอนโพธิ์<br />

ร.ต.หญิง สุชาดา โยธาขันธ<br />

จ.ส.อ.สมหมาย ภมรนาค<br />

จ.ต.หญิง ศุภรเพ็ญ สุพรรณ


กันยายน เดือนสุดทายของปงบประมาณภาคราชการและเปนเดือน<br />

สุดทายของขาราชการที่รับราชการจนครบเกษียณอายุ เปนหวงเวลาที่เรา<br />

ไดระลึกถึงคุณงามความดี ความทุมเท ความเสียสละ และการประพฤติตน<br />

ที่ดีในการปฏิบัติงานของผูเกษียณอายุราชการทุกทาน ใหขาราชการรุนหลังไดใช<br />

เปนแบบอยางในการรับราชการตอไป<br />

ใน ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ นี้ มีขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมหลายทาน<br />

ครบเกษียณอายุราชการ อาทิ พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม พรอมดวยรองปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม ๓ ทานคือ พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุงทอง<br />

และขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รวม ๑๕๗ นาย ที่ครบเกษียณอายุราชการในคราวเดียวกัน<br />

ซึ่งทุกทานลวนมีคุณูปการตอสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่พวกเราจะไดสืบสานสิ่งที่ทานไดวางแนวทาง<br />

ที่ดีงามเอาไวใหพวกเราดําเนินรอยตามตอไป<br />

วารสารหลักเมืองฉบับนี้ ไดรวบรวมประวัติ แนวคิด และหลักในการรับราชการของผูบังคับบัญชา<br />

มาใหทานผูอานไดติดตามและนําไปประยุกตใชตอยอดใหเกิดประโยชนตอตนเองและประเทศชาติตอไป<br />

กองบรรณาธิการวารสารหลักเมือง


๔<br />

เกียรติประวัติ พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

๑๐<br />

๑๔<br />

๑๘<br />

เกียรติประวัติ พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

เกียรติประวัติ พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

เกียรติประวัติ พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุงทอง<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

๒๒<br />

พลเอก ฐิตินันท ธัญญสิริ<br />

ประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม<br />

๒๓<br />

พลเอก สิงหศักดิ์ อุทัยมงคล<br />

จเรทหารทั่วไป<br />

๒๔<br />

พลเอก สัมพันธ ธัญญพืช<br />

ผูอํานวยการองคการสงเคราะหทหารผานศึก<br />

๒๖<br />

๒๐ กันยายน<br />

วันคลายวันเฉลิมพระชนม องคทวิราชา<br />

๓๐<br />

พระผูทรงพัฒนาระบบขาราชการพลเรือนในระบบ<br />

ประชาธิปไตย (ตอนที่ ๑๐)<br />

๓๔<br />

เสด็จเตี่ยออกศึก<br />

ภารกิจรวมปราบจลาจลที่เกาะครีต (ตอนที่ ๒)<br />

๓๘<br />

๔๐<br />

๑ กันยายน ๒๕๖๑ วันคลายวันสถาปนา ปที่ ๒๙<br />

สํานักงานตรวจสอบภายในกลาโหม<br />

วันคลายวันสถาปนา กรมการสรรพกําลังกลาโหม<br />

๖ กันยายน ๒๕๖๑ ครบรอบ ๒๘ ป<br />

ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น สํ า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม<br />

๔๐<br />

๔ ๑๐ ๑๔<br />

๔<br />

๑๘ ๒๒ ๒๓<br />

๒๔<br />

๒๖<br />

๓๔<br />

๔๒<br />

๑๒ กันยายน ๒๕๖๑ วันคลายวันสถาปนา กรม<br />

พระธรรมนูญ ๑๑๒ ป ยุคแหงการปฏิรูปประเทศ<br />

๔๔<br />

๑๒ กันยายน ๒๕๖๑ ๖๒ ป ศูนยพัฒนา<br />

ปโตรเลียมภาคเหนือ<br />

กรมการพลังงานทหาร ศูนยการอุตสาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

๔๖<br />

๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ ๓๙ ป ศูนยอํานวยการสราง<br />

อาวุธ ศูนยการอุตสาหกรรมปองกันประเทศ<br />

และพลังงานทหาร<br />

๔๘<br />

Desert Storm ปฏิบัติการพายุทะเลทราย<br />

“กําลังทางอากาศคือกําลังหลักอันโดดเดน<br />

ที่บุกเบิกทางไปสูการปลดปลอยอิรัก”<br />

๕๒<br />

สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการ<br />

มหาชน) กับการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม<br />

New S-Curve 11<br />

๕๖<br />

๕๘<br />

โครงการผลิตกระสุนขนาดกลาง<br />

โครงการสืบสานพระราชปณิธาน<br />

การอนุรักษ ดิน นํ้า และปา<br />

๖๐<br />

Violent Extremism<br />

๖๒<br />

“ชวยหยุด การฆาตัวตาย”<br />

๖๔<br />

ภาพกิจกรรม<br />

๔๘<br />

๕๒<br />

๔๔ ๕๖ ๕๘<br />

๖๒<br />

ขอคิดเห็นและบทความที่นําลงในวารสารหลักเมืองเปนของผูเขียน มิใชขอคิดเห็นหรือนโยบายของหนวยงานของรัฐ และมิไดผูกพันตอราชการแตอยางใด<br />

สํานักงานเลขานุการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๒๒๕-๘๒๖๒ http://<strong>61</strong>.19.220.3/opsd/sopsdweb/index_1.htm<br />

พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัด อรุณการพิมพ ๔๕๗/๖-๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร. ๐-๒๒๘๒-๖๐๓๓-๔ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๒๑๘๗-๘<br />

E-mail : art_aroonprinting@hotmail.com www.aroonkarnpim.co.th<br />

ออกแบบ : หางหุนสวนจํากัด อรุณการพิมพ


เกียรติประวัติ<br />

พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

(ดํารงตําแหนงตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑)<br />

ยอดนักรบ สมญา บูรพาพยัคฆ ผูพิทักษ อธิปไตย ดวยใจหาญ<br />

เขารุกรบ อยางเด็ดเดี่ยว แลเชี่ยวชาญ ยุทธการ พนมปะ สะทานไกล<br />

ดําเนินกิจ ตามคําสั่ง อยางเครงครัด ปฏิบัติ ดวยซื่อตรง มิสงสัย<br />

ถวายงาน อันงดงาม ความปลอดภัย นอมรับใช บรมนาถฯ บาทยุคล<br />

เกียรติยศจักรดาว พราวพรายคา<br />

เดนสงา เกียรติประวัติ พิพัฒนผล<br />

ปลัดกลาโหม ผูยิ่งใหญ ครองใจชน ทั่วสกล ลวนเชื่อมั่น สรรคศรัทธา<br />

ซื่อสัตย มีวินัย ใฝหนาที่ อีกภักดี ราชวงศ คงสูงคา<br />

นิยามการ ปฏิบัติ แหงปรัชญา<br />

คือมรรคา ทหารไทย ใครจํานรรจ<br />

คือผูนํา แหงทหาร เชี่ยวชาญยุทธ คือบุรุษ ที่ชนไทย ลวนใฝฝน<br />

คือ พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ผูรังสรรค ความมั่นคง ธํารงไทย<br />

4


พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์<br />

เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม<br />

๒๕๐๑ ที่จังหวัดปราจีนบุรี<br />

เป็นบุตรคนที่ ๕ ในจำนวนพี่น้อง ๖ คน<br />

ของพันตำรวจตรี สุรพล ทิพยจันทร์ กับ<br />

นางวราภรณ์ ทิพยจันทร์ ได้สมรสกับ<br />

นางนริศรา ทิพยจันทร์ มีธิดา ๒ คน คือ<br />

นางสาวณัฐรวี และร้อยตรีหญิง สุทธินันท์<br />

ทิพยจันทร์ ชีวิตในวัยเด็กเติบโตที่จังหวัด<br />

พระนครศรีอยุธยา เข้ารับการศึกษา<br />

ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียน<br />

อยุธยาวิทยาลัย และชั้นมัธยมศึกษา<br />

ตอนปลายจากโรงเรียนปทุมคงคา จากนั้น<br />

ได้ก้าวเข้าสู่ชีวิตทหารด้วยการเข้าเป็น<br />

นักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๘ และ<br />

เข้ารับการศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อย<br />

พระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๙<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

5


ประวัติการศึกษา<br />

พ.ศ.๒๕๑๘ : โรงเรียนเตรียมทหาร<br />

รุ่นที่ ๑๘<br />

พ.ศ.๒๕๒๕ : โรงเรียนนายร้อย<br />

พระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๙<br />

พ.ศ.๒๕๒๘ : หลักสูตรชั้นนายร้อย<br />

เหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๗๐<br />

พ.ศ.๒๕๓๑ : หลักสูตรชั้นนายพัน<br />

เหล่าทหารราบ รุ่นที่ ๔๙<br />

พ.ศ.๒๕๓๓ : โรงเรียนเสนาธิการ<br />

ทหารบก หลักสูตรหลักประจำ ชุดที่ ๖๘<br />

พ.ศ.๒๕๕๕ : วิทยาลัยป้องกันราช<br />

อาณาจักร รุ่นที่ ๕๔<br />

ท่านบรรจุเข้ารับราชการครั้งแรก<br />

ในปี พ.ศ.๒๕๒๕ โดยเลือกบรรจุใน<br />

เหล่าทหารราบ สังกัดกองพันทหารราบที่ ๓<br />

กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ ซึ่ง<br />

มีที่ตั้ง ณ ค่ายนวมินทราชินี จังหวัดชลบุรี<br />

ตลอดระยะเวลาในการรับราชการได้เป็น<br />

แบบอย่างที่ดีให้กับเพื่อนร่วมงานและ<br />

ผู้ใต้บังคับบัญชา ปฏิบัติงานด้วยความ<br />

วิริยะ อุตสาหะ เป็นที่ไว้วางใจของ<br />

ผู้บังคับบัญชา และมีความก้าวหน้าในการ<br />

รับราชการมาเป็นลำดับ<br />

6


ตำแหน่งที่สำคัญ<br />

พ.ศ.๒๕๒๕ : ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก<br />

กองร้อยอาวุธเบาที่ ๓ กองพันทหารราบที่ ๓<br />

กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ<br />

พ.ศ.๒๕๓๐ : ผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา<br />

ที่ ๓ กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบ<br />

ที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ<br />

พ.ศ.๒๕๓๙ : ผู้บังคับกองพันทหารราบ<br />

ที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ<br />

พ.ศ.๒๕๔๑ : ผู้บังคับกองพันทหารราบ<br />

ที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ<br />

พ.ศ.๒๕๕๐ : ผู้บังคับการกรมทหาร<br />

ราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ฯ<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ : ผู้บัญชาการกองพล<br />

ทหารราบที่ ๒ รักษาพระองค์<br />

พ.ศ.๒๕๕๖ : รองแม่ทัพภาคที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ : แม่ทัพน้อยที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ : แม่ทัพภาคที่ ๑<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ : ผู้ช่วยผู้บัญชาการ<br />

ทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ : ปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

ท่านเป็นผู้ที่มีความจงรักภักดีต่อ<br />

สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็น<br />

อย่างยิ่ง และได้ปฏิบัติงานด้วยความวิริยะ<br />

อุตสาหะ เสียสละ รับผิดชอบตามบทบาท<br />

หน้าที่ รวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายจาก<br />

ผู้บังคับบัญชา โดยยึดหลักการทำงาน คือ<br />

“ซื่อสัตย์มีวินัย ใฝ่หน้าที่ภักดีราชวงศ์”<br />

ในด้านการปกครองบังคับบัญชา<br />

ท่านมีลักษณะผู้นำที่เป็นเอกลักษณ์ คือ<br />

มีความสุขุม รอบคอบ สุภาพ อ่อนน้อม<br />

ต่อผู้มีความอาวุโสกว่า มีความเมตตา<br />

กรุณาเอื้ออาทรต่อผู้น้อย ใส่ใจใน<br />

รายละเอียด ทั้งเรื่องงาน และความพร้อม<br />

ของผู้ปฏิบัติงานในทุกด้าน จนถึงความ<br />

เป็นอยู่ในครอบครัว ทำให้สามารถ<br />

ครองใจผู้ใต้บังคับบัญชา และพร้อมที่<br />

จะทุ่มเทสติปัญญา แรงกาย แรงใจ<br />

อย่างเต็มกำลังที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุ<br />

ผลสำเร็จ<br />

คุณลักษณะผู้นำที่โดดเด่นอีก<br />

ประการหนึ่งที่แฝงอยู่ในความเรียบง่าย<br />

คือ ความกล้าหาญ การมีจิตใจที่เข้มแข็ง<br />

เด็ดเดี่ยว ที่แสดงให้เห็นตั้งแต่ดำรง<br />

ตำแหน่งผู้บังคับหมวด โดยที่ท่านได้รับ<br />

มอบหมายให้เป็นหัวหน้าชุดปฏิบัติการ<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

7


เข้าร่วมป้องกันและผลักดันกองกำลัง<br />

ต่างชาติ กรณีเหตุการณ์รุกล้ำเขตแดนไทย<br />

และมีการรบปะทะ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน<br />

พ.ศ.๒๕๒๖ บริเวณเขาพนมปะ อำเภอ<br />

ตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี (จังหวัด<br />

สระแก้วในปัจจุบัน) โดยผลักดันกองกำลัง<br />

ต่างชาติออกไปเป็นผลสำเร็จ และจาก<br />

เหตุการณ์ครั้งนั้น ทำให้ท่านได้หลักการ<br />

ทำงานที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ<br />

“การไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง”<br />

ในด้านสังคม ปกติภารกิจทางทหาร<br />

จะมีโอกาสทำงานเพื่อสังคมที่สำคัญ คือ<br />

การสนับสนุนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง<br />

ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

การช่วยเหลือประชาชนในเรื่องต่างๆ<br />

ที่เร่งด่วนเฉพาะหน้า ซึ่งเรื่อง<br />

ดังกล่าวนี้ ท่านปฏิบัติได้<br />

ครบถ้วน ตามบทบาทหน้าที่<br />

ผู้บังคับหน่วยระดับต่างๆ ตั้งแต่<br />

กองพันจนถึงกองทัพภาค<br />

ผลงานที่โดดเด่นในการ<br />

ช่วยเหลือประชาชน คือ ในคราวที่<br />

ท่านดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการ<br />

กองพลทหารราบที่ ๒ รักษา<br />

พระองค์ นอกจากท่านต้องเตรียม<br />

กำลังตามภารกิจของกองพลทหารราบ<br />

ที่ ๒ รักษาพระองค์ และใช้กำลังตาม<br />

ภารกิจของกองกำลังบูรพาแล้ว ในภารกิจ<br />

การช่วยเหลือประชาชน นับเป็นภารกิจ<br />

ที่ท่านได้รับความไว้วางใจจากผู้บังคับ<br />

บัญชาให้บริหารจัดการสถานการณ์<br />

อุทกภัย เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๔ ซึ่งประเทศไทย<br />

เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ที่สุดในรอบ ๗๐ ปี<br />

ก่อความเสียหายเป็นวงกว้างไปทั่วประเทศ<br />

เวลานั้น พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์<br />

ขณะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองพลทหาร<br />

ราบที่ ๒ รักษาพระองค์ ได้รับคำสั่งให้มา<br />

รับผิดชอบชะลอปริมาณน้ำที่จะไหลเข้า<br />

กรุงเทพฯ โดยนำกำลังพลทั้งหมดไปบรรจุ<br />

กระสอบทรายกว่า ๑,๗๐๐,๐๐๐ กระสอบ<br />

แล้วนำไปวางกั้นน้ำคู่ขนานกับถนนรังสิต<br />

– องครักษ์ ระยะทาง ๑๗ กิโลเมตร เพื่อ<br />

รักษาพื้นที่ชะลอการไหลของน้ำ มิให้น้ำไหล<br />

เข้าท่วมพื้นที่ชั้นใน โดยมีประชาชน<br />

มาร่วมเป็นจิตอาสาจำนวนมาก เนื่องจาก<br />

ปริมาณน้ำฝนในปีนั้นมีปริมาณสูงมาก<br />

จึงไม่อาจต้านทานเอาไว้ได้ น้ำไหลบ่า<br />

เข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน ทำให้ไม่<br />

สามารถสัญจรไปมาได้อย่างสะดวก<br />

ภารกิจจึงเปลี่ยนเป็นการช่วยเหลือ<br />

ประชาชนในทุกด้าน โดยมีภารกิจหลักคือ<br />

นำรถมารับ-ส่งประชาชนถนนรังสิต -<br />

นครนายก จนถึงฟิวเจอร์พาร์ครังสิต<br />

8


ในกรณีที่รถไม่สามารถแล่นได้ก็ใช้วิธี<br />

ลากเรือให้ประชาชนนั่ง รวมไปถึงการตั้ง<br />

โรงครัวทำอาหารนำไปส่งให้ประชาชน<br />

ที่ไม่สามารถทำอาหารหรือออกมาหา<br />

ซื้ออาหารเอง เป็นปฏิบัติการที่มีระยะเวลา<br />

นานนับเดือนกว่าน้ำจะลดลงจนเข้าสู่<br />

สภาวะปกติ แต่ภารกิจของกองทัพก็ยัง<br />

ไม่หมดลงเพียงแค่นั้นเพราะยังมีภารกิจ<br />

ในการฟื้นฟูอีกด้วย ช่วงเวลานั้นท่านไป<br />

ตรวจเยี่ยมกำลังพลหมุนเวียนแต่ละวัน<br />

เพื่อให้ดูแลประชาชนอย่างทั ่วถึง โดยให้<br />

กำลังใจผู้ใต้บังคับบัญชาเสมอว่า<br />

“ขอให้อดทนให้นึกถึงพระมหากรุณา<br />

ธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />

ที่ทรงห่วงใยประชาชนว่าเราต้องทำงาน<br />

รับใช้ประชาชน ต้องช่วยเหลือประชาชน<br />

ทุกเรื่องที่สามารถทำได้โดยไม่มีข้อแม้”<br />

และนั่นทำให้กำลังพลทุกนายทุ่มเท<br />

ทำงานอย่างเต็มที่โดยไม่ได้หวังผลใดๆ<br />

แม้ในเวลานั้นประชาชนทั่วไปอาจไม่ได้<br />

มองกองทัพในทางที่ดีนัก ซึ่งผลการปฏิบัติ<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

งานในครั้งนั้น แม้ไม่สามารถป้องกันน้ำท่วม<br />

ได้ทั้งหมด (ที่ประสบความสำเร็จ<br />

สามารถป้องกันน้ำท่วมได้ คือที่นิคม<br />

อุตสาหกรรมบางชัน) แต่ก็ช่วยฟื้นฟู<br />

ความรู้สึกของประชาชนที่มีต่อกองทัพ<br />

ในทางที่ดีขึ้นอย่างเกินความคาดหมาย<br />

งานเพื่อสังคมที่สำคัญอีกประการหนึ่ง<br />

คือ การทำนุบำรุงพุทธศาสนา ท่านได้ทำ<br />

กิจกรรมสนับสนุนพุทธศาสนา ในโอกาส<br />

ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นประธานการ<br />

จัดสร้างพระพุทธวัชรชัยบพิตรถวาย<br />

ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จ<br />

พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ<br />

ในรัชกาลที่ ๙ ครบรอบ ๘๔ พรรษา<br />

ประดิษฐาน ณ วัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์<br />

ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยา<br />

ณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์<br />

อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์<br />

อนึ่ง ในชีวิตการรับราชการที่ท่าน<br />

ภาคภูมิใจ และถือเป็นสิริมงคลต่อชีวิตท่าน<br />

และครอบครัว นอกเหนือจากความสำเร็จ<br />

ตามแนวทางการรับ<br />

ราชการที่ได้รับความเชื่อมั่น<br />

ไว้วางใจจากผู้บังคับ<br />

บัญชาให้ดำรงตำแหน่ง<br />

ที่สำคัญตามลำดับ<br />

ตั้งแต่ผู้บังคับกองพัน<br />

ผู้บังคับการกรม<br />

ผู้บัญชาการกองพล<br />

แม่ทัพภาค จนถึงปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม คือ การปฏิบัติหน้าที่<br />

นายทหารเสริมกำลังพิเศษถวายความ<br />

ปลอดภัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทร<br />

มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ<br />

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม<br />

ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ อย่างใกล้ชิด<br />

ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และ<br />

แต่ละคราวที่เสด็จแปรพระราชฐาน<br />

ไปประทับแรมในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ<br />

เพื่อเยี่ยมเยียนราษฎร และติดตามงาน<br />

ตามโครงการพระราชดำริต่างๆ ตั้งแต่ปี<br />

พ.ศ.๒๕๒๖ ถึง พ.ศ.๒๕๕๙ รวมถึงปฏิบัติ<br />

หน้าที่เป็นรองผู้อำนวยการศูนย์ศิลปาชีพ<br />

บางไทร ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์<br />

พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ ตั้งแต่ปี<br />

พ.ศ.๒๕๔๕ ถึงปัจจุบัน<br />

ดังนั้น ตลอดชีวิตการรับราชการ<br />

ของท่าน นับแต่จบการศึกษาจากโรงเรียน<br />

นายร้อยพระจุลจอมเกล้าจวบจนปัจจุบัน<br />

ท่านได้สร้างคุณประโยชน์กับทางราชการ<br />

และสังคมในภาพรวมอย่างต่อเนื่อง<br />

อีกทั้งการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแก่ผู้ที่<br />

มีโอกาสได้ร่วมปฏิบัติงานในห้วงเวลา<br />

ต่างๆ ถือว่าเป็นการสร้างคน สร้างสังคม<br />

ให้มีคุณภาพก่อเกิดประโยชน์ต่อกองทัพ<br />

และประเทศชาติ<br />

“ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่หน้าที่<br />

ภักดีราชวงศ์”<br />

9


เกียรติประวัติ<br />

พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

(ดํารงตําแหนงตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑)<br />

นายทหาร เหลาปนใหญ ใจองอาจ ปกปองชาติ ทิศเหนือราบ ปราบเคืองเข็ญ<br />

เสริมมั่นคง ดํารงไทย ใหรมเย็น บังเกิดเปน สงบสุข ทุกโมงยาม<br />

ดูแลงาน กําลังพล พหลกิจ<br />

รักษาสิทธิ ผูทํางาน การสนาม<br />

สันติสุข ชายแดนใต ใครนิยาม เพิ่มกิจนาม พ.ส.ร. กอแรงใจ<br />

รองปลัดฯ งานเลิศลํ้า กําลังพล กอเกิดผล สวัสดิการ งานยิ่งใหญ<br />

อีกบํารุง พระศาสนา พากาวไกล<br />

เคียงคูไทย สองแสงธรรม นําเจริญ<br />

คือ ชายชาญ ทหารกลา เวลานี้ สรางความดี กอมงคล ชนสรรเสริญ<br />

คือ พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน<br />

ผูกาวเดิน บนกิจทหาร สานทางธรรม<br />

10


่<br />

พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน เกิดเมื่อ<br />

วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๐๑<br />

เป็นบุตรของ ร้อยตรี ประเสริฐกับ<br />

นางวิมล นาเงิน สมรสกับ นางวิไลวรรณ<br />

นาเงิน มีบุตร ๑ คนคือ นางสาววิสุตา นาเงิน<br />

สมรสกับ นายกษิดิศ สุวรรณอำไพ<br />

ประวัติการศึกษา<br />

• หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น<br />

โรงเรียนวัดราชาธิวาส<br />

• หลักสูตรนักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๗<br />

• หลักสูตรโรงเรียนนายร้อยพระ<br />

จุลจอมเกล้า รุ่นที่ ๒๘<br />

• หลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการทหารบก<br />

หลักสูตรหลักประจำ ชุดที่ ๖๗<br />

• หลักสูตรปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต<br />

สาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร<br />

ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ ๕๔<br />

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ของ<br />

สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ ๒๕<br />

สถาบันวิทยาการตลาดทุน<br />

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน<br />

วิทยาการพลังงานรุ่นที่ ๑๑ สถาบัน<br />

วิทยาการพลังงาน<br />

แรงบันดาลใจในการเป็นทหาร<br />

“จากการที่เกิดใน<br />

ครอบครัวทหาร ด้วยสายเลือด<br />

ทำให้รักในอาชีพทหาร เพราะ<br />

ทหารทำให้ประเทศไทยสามารถ<br />

รักษาอธิปไตยมาถึงทุกวันนี้”<br />

หลังจากสำเร็จการศึกษา<br />

ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น<br />

โรงเรียนวัดราชาธิวาส จึงสอบเข้าเรียนที่<br />

โรงเรียนเตรียมทหาร และเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๙<br />

สำเร็จการศึกษาได้เลือกศึกษาในหลักสูตร<br />

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าใน<br />

รุ่นที่ ๒๘ โดยสำเร็จการศึกษาบรรจุเข้ารับ<br />

ราชการในปี พ.ศ.๒๕๒๔<br />

ประวัติการทำงาน<br />

พ.ศ.๒๕๒๔ นายทหารลาดตระเวน<br />

และแผนที่ กองร้อยทหารปืนใหญ่ กองพัน<br />

ทหารปืนใหญ่ที่ ๒๐<br />

พ.ศ.๒๕๒๙ ผู้บังคับกองร้อยทหาร<br />

ปืนใหญ่ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๒๐<br />

พ.ศ.๒๕๓๑ นายทหารยุทธการและ<br />

การฝึก กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๒๐<br />

พ.ศ.๒๕๓๔ หัวหน้าแผนก กรม<br />

กำลังพลทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๓๘ นายทหารฝ่ายเสนาธิการ<br />

ประจำกรมกำลังพลทหารบก<br />

พ.ศ.๒๕๔๗ นายทหารฝ่ายเสนาธิการ<br />

ประจำรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด<br />

พ.ศ.๒๕๔๘ ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่าย<br />

เสนาธิการประจำรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด<br />

พ.ศ.๒๕๔๙ ผู้ช่วยเจ้ากรมเสมียนตรา<br />

พ.ศ.๒๕๕๗ รองเจ้ากรมเสมียนตรา<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ เจ้ากรมเสมียนตรา<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ รองปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม<br />

ความภาคภูมิใจในชีวิตรับราชการ<br />

ด้วยในขณะที่สำเร็จการศึกษาจาก<br />

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ช่วงปี<br />

พ.ศ.๒๕๒๔ ในขณะนั้น สถานการณ์<br />

ความมั ่นคงของประเทศไทยมีความคิดที่<br />

แตกต่างทางอุดมการณ์การเมือง แนว<br />

ชายแดนด้านทิศเหนือมีการสู้รบกับ<br />

ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์มากขึ้น ด้วยความ<br />

มุ่งมั่นในการรักษาอธิปไตย และมีความ<br />

ตั้งใจที่จะปฏิบัติราชการที่หน่วยในพื้นที<br />

ชายแดน จึงได้เลือกเข้ารับราชการในเหล่า<br />

ทหารปืนใหญ่ ตำแหน่งนายทหารลาด<br />

ตระเวนและแผนที่ กองร้อยทหารปืนใหญ่<br />

กองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๒๐ จังหวัด<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

11


อุตรดิตถ์ ซึ่งหน่วยได้จัดกำลังพลและ<br />

ยุทโธปกรณ์เข้าปราบปรามผู้ก่อการร้าย<br />

คอมมิวนิสต์ตามแนวชายแดนของจังหวัด<br />

อุตรดิตถ์ และด้านอำเภอห้วยโก๋น จังหวัด<br />

น่าน ซึ่งมีฐานที่มั่นอยู่ห่างไกลจากหน่วย<br />

ปกติมาก การปฏิบัติภารกิจในขณะนั้น เป็น<br />

ไปด้วยความยากลำบาก จากปัญหาการ<br />

เดินทางและการส่งกำลังบำรุง รวมทั้ง<br />

ยุทโธปกรณ์หลักคือ ปืนใหญ่ขนาด ๗๕<br />

มิลลิเมตร ที่จะต้องลำเลียงทางเฮลิคอปเตอร์<br />

ในช่วงที่รับราชการที่หน่วยแห่งนี้ ท่านได้<br />

เข้าร่วมยุทธการป้องกันประเทศหลายครั้ง<br />

โดยตำแหน่งสุดท้ายที่ท่านรับราชการในหน่วยนี้<br />

คือ นายทหารฝ่ายยุทธการและการฝึก<br />

หลังจากสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียน<br />

เสนาธิการทหารบก พ.ศ.๒๕๓๑ ท่านเลือก<br />

ที่จะรับราชการในกรมกำลังพลทหารบก<br />

โดยมุ่งหวังที่จะได้ดูแลสิทธิกำลังพลให้แก่<br />

กำลังพลที่อยู่หน่วยปกติที่มีที่ตั้งห่างไกล<br />

และผู้ที่ปฏิบัติงานสนามอย่างทั่วถึง และ<br />

รวดเร็ว ซึ่งนับเป็นการเริ่มงานด้านการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลของกองทัพบก<br />

ในตำแหน่งหัวหน้าแผนกกรมกำลังพล<br />

ทหารบก และช่วงเวลาต่อมาได้ปฏิบัติงาน<br />

เป็นฝ่ายอำนวยการประจำผู้บังคับบัญชา<br />

ของกองทัพบกซึ่งกำกับดูแลงานด้านการ<br />

กำลังพลของกองทัพบก<br />

พ.ศ.๒๕๔๘ ได้รับพระราชโองการ<br />

โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วย<br />

หัวหน้าฝ่ายเสนาธิการประจำรอง<br />

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (อัตรา พลตรี)<br />

ด้วยประสบการณ์และความมีวิสัยทัศน์<br />

ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล จึงได้<br />

รับมอบหมายจาก รองผู้บัญชาการทหาร<br />

สูงสุดในขณะนั้น ให้ร่วมปฏิบัติงาน<br />

ในกองอำนวยการเสริมสร้างสันติสุขจังหวัด<br />

ชายแดนภาคใต้ ซึ่งจากการที่ได้ปฏิบัติ<br />

ภารกิจนี้ ทำให้เห็นว่าเจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติ<br />

งานอยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยงภัย และมี<br />

ขีดจำกัดในการปฏิบัติ มีโอกาสเกิดการสูญเสีย<br />

ชีวิตอยู่ตลอดเวลา เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ<br />

แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จึงได้เสนอ<br />

แนวทางให้พิจารณาเงินเพิ่มพิเศษเพื่อการ<br />

สู้รบ หรือ พ.ส.ร. ซึ่งแนวทางการได้รับ<br />

พ.ส.ร. ดังกล่าวได้มีการพัฒนาและปฏิบัติ<br />

อย่างเป็นรูปธรรม โดยยังคงยึดถือปฏิบัติ<br />

มาจนถึงปัจจุบัน<br />

เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๙ ท่านได้รับพระบรม<br />

ราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง<br />

ผู้ช่วยเจ้ากรมเสมียนตรา นับเป็นการ<br />

ปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารของหน่วยงาน<br />

ที่มีภารกิจในการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ในระดับกระทรวงกลาโหม ซึ่งได้ใช้ความรู้<br />

ความสามารถปฏิบัติงานเพื่อรักษาสิทธิ<br />

ประโยชน์ให้แก่กำลังพลทุกระดับ เป็นผล<br />

ให้ได้รับความเชื่อมั่นจากหน่วยงานภายใน<br />

กระทรวงกลาโหม และหน่วยงานภายนอก<br />

และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ<br />

แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นรองเจ้ากรม<br />

เสมียนตรา ในปี พ.ศ.๒๕๕๗ และเป็น<br />

เจ้ากรมเสมียนตรา ในปี<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ ตามลำดับ<br />

ตลอดระยะเวลาที่ดำรง<br />

ตำแหน่งผู้บริหารของ<br />

กรมเสมียนตรา ตั้งแต่<br />

ปี พ.ศ.๒๕๔๙ - ๒๕๖๐<br />

ได้แนะนำให้กำลังพล<br />

ปฏิบัติงานในรูปแบบ<br />

ของการทำงานเชิงรุก โดยใช้หลักการคิด<br />

แบบฝ่ายอำนวยการบนพื้นฐานของข้อมูล<br />

ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ<br />

โปร่งใส รอบคอบ รวดเร็ว และมีความ<br />

สุภาพอ่อนน้อมต่อผู้ที่มาติดต่อราชการ<br />

และในขณะดำรงตำแหน่งเจ้ากรมเสมียน<br />

ตรา ได้เพิ่มการดูแลด้านสวัสดิการเพื่อ<br />

แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนขั้นต้น สร้าง<br />

ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานให้แก่กำลัง<br />

พลในสังกัด โดยจัดกิจกรรมการพบปะ<br />

กำลังพล เลี้ยงอาหารกลางวัน แจกจ่าย<br />

สิ่งจำเป็นในการครองชีพอย่างสม่ำเสมอ<br />

เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ทำให้กำลัง<br />

พลมีความสุขในการทำงาน เป็นผลให้<br />

ภารกิจของกรมเสมียนตราบรรลุผลสำเร็จ<br />

เป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานอื่น และ<br />

ได้รับความชื่นชมจากผู้บังคับบัญชา<br />

ชั้นสูงอย่างเสมอมา<br />

12


การพัฒนาตนเอง<br />

นอกจากการใช้ความรู้และ<br />

ประสบการณ์ในการพัฒนาการทำงาน<br />

ให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาแล้ว ยังสร้างโอกาส<br />

ในการพัฒนาตนเองเพื่อจะนำความรู้ที่ได้<br />

รับมาพัฒนาหน่วยงานอีกด้วย โดยได้เข้ารับ<br />

การศึกษาในหลักสูตรต่างๆ เพิ่มเติมดังนี้<br />

พ.ศ.๒๕๔๗ ได้เข้ารับการศึกษา<br />

ในหลักสูตรปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต<br />

สาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ ได้เข้ารับการศึกษา<br />

ในหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร<br />

ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.)<br />

ซึ่งในรุ่นเดียวกันนี้มีผู้บังคับบัญชา<br />

ชั้นสูงของกระทรวงกลาโหม และผู้นำองค์กร<br />

ทั้งในภาครัฐและเอกชนอีกหลายท่าน<br />

เข้ารับการศึกษา ท่านได้รับความไว้วางใจ<br />

จากเพื่อนร่วมรุ่นให้ดำรงตำแหน่งประธาน<br />

นักศึกษาตั้งแต่เมื่อเข้ารับการศึกษาจนถึง<br />

ปัจจุบัน ซึ่งได้ดูแลด้านสวัสดิการให้แก่<br />

เพื่อนนักศึกษา และจัดกิจกรรมเพื่อหาเงิน<br />

รายได้ให้กับรุ่นตลอดมา<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ ได้รับคัดเลือกให้เข้ารับ<br />

การศึกษาในหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง<br />

สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ ๒๕ ของ<br />

สถาบันวิทยาการตลาดทุน<br />

พ.ศ.๒๕๖๑ ได้รับเชิญให้เข้ารับการ<br />

ศึกษาในหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง<br />

ด้านวิทยาการพลังงานรุ่นที่ ๑๑ ของ<br />

สถาบันวิทยาการพลังงาน และได้รับเลือก<br />

ให้รับตำแหน่งประธานนักศึกษาด้วย<br />

ราชการพิเศษ<br />

ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ<br />

แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งราชการพิเศษ ดังนี้<br />

พ.ศ.๒๕๔๙ น า ย ท ห า ร พิ เ ศ ษ<br />

ประจำกรมทหารปืนใหญ่ที่ ๑ รักษาพระองค์<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ นายทหารพิเศษ ประจำ<br />

กรมทหารราบที่ ๑ มหาดเล็กรักษาพระองค์<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ นายทหารพิเศษ ประจำ<br />

กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ ตุลาการศาลทหารสูงสุด<br />

พ.ศ.๒๕๖๐ ราชองครักษ์เวร<br />

รางวัลแห่งความสำเร็จ<br />

จากการเข้ารับการศึกษาในหลักสูตร<br />

ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหาร<br />

รัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านได้<br />

นำความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการ<br />

บริหารหน่วยงาน เป็นผลให้ได้รับความ<br />

เชื่อมั่นจากหน่วยงานภายในกระทรวง<br />

กลาโหมและหน่วยงานภายนอก ประกอบ<br />

กับท่านมีความก้าวหน้าในหน้าที่ราชการ<br />

จนได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ<br />

แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นรองปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม คณะรัฐศาสตร์ร่วมกับ<br />

สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้<br />

มอบรางวัลศิษย์เก่ารัฐศาสตร์ดีเด่น<br />

ด้านความมั่นคง ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐<br />

และในฐานะที่เป็นพุทธมามกะ<br />

ท่านได้ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อทำนุบำรุง<br />

พระพุทธศาสนาในหน่วยงาน และ<br />

สนับสนุนการปฏิบัติกับหน่วยอื่นอย่าง<br />

ต่อเนื่อง จนได้รับการคัดเลือกให้เข้ารับ<br />

พระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร<br />

ประเภทส่งเสริมกิจการคณะสงฆ์<br />

จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ<br />

สยามบรมราชกุมารี เนื่องในเทศกาล<br />

วิสาขบูชา ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ ซึ่งนับว่า<br />

เป็นรางวัลทรงเกียรติสูงสุดในชีวิตของ<br />

พุทธศาสนิกชน<br />

แนวทางในการรับราชการที่ทำให้ประสบ<br />

ความสำเร็จ<br />

ในฐานะของการเป็นฝ่ายอำนวยการ<br />

ต้องทำงานบนพื้นฐานของข้อมูล ข้อเท็จจริง<br />

ที่ถูกต้องครบถ้วน ทำการวิเคราะห์ตาม<br />

หลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ นำเรียนให้ข้อเสนอแนะ<br />

ที่เหมาะสม เพื่อประกอบการตัดสินใจของ<br />

ผู้บังคับบัญชา<br />

คติประจำใจ “คิดอย่างฝ่ายอำนวยการ<br />

ทำงานอย่างมืออาชีพ”<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

13


เกียรติประวัติ<br />

พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

(ดํารงตําแหนงตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑)<br />

ผูการเรือ เลิศลํ้า นําคุณคา ลอยนาวา สวนสนาม งามศักดิ์ศรี<br />

รวมอวดธง สวยสงา ราชนาวี เรือหลวงกระบี่ ความภูมิใจ ไทยทั้งมวล<br />

ถวายงาน แด ลนเกลาฯ ของเผาไทย ณ แดนใต ดวยจงรัก ภักดีถวน<br />

ปรากฏเกียรติ นาสรรเสริญ เกินประมวล ทุกกิจลวน จิตเชิดชู องคภูมินทร<br />

เกียรติยศจักรดาว เพริศพราวสงา คือศรัทธา ปรากฏอยู มิรูสิ้น<br />

รองปลัดฯ รังสรรคงาน การแผนดิน นํายลยิน ธัชวิทยา พามงคล<br />

ปรัชญา ผูนําดี มีคุณธรรม<br />

นําความรู สูปฏิบัติ วิวัฒนผล<br />

พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท ผูบริพนธ ความมั่นคง ทางทะเล<br />

14


พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท์<br />

เกิดที่โรงพยาบาลศิริราช<br />

เขตบางกอกน้อย จังหวัด<br />

กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นาวาเอก<br />

ณรงค์ - นางทัศนีย์ ลุมพิกานนท์<br />

ด้านครอบครัว<br />

ท่านสมรสกับ นาวาเอกหญิง ศศิธร<br />

ลุมพิกานนท์ มีบุตรสาวหนึ่งคน คือ<br />

เรือตรีหญิง ศจีนาฏ ลุมพิกานนท์<br />

ด้านการศึกษา<br />

หลังจากสำเร็จ<br />

การศึกษาระดับชั้น<br />

มัธยมศึกษา จากโรงเรียน<br />

อัสสัมชัญธนบุรี<br />

ท่านเข้ารับการศึกษา<br />

ณ โรงเรียนเตรียมทหาร<br />

รุ่นที่ ๑๗ นักเรียนนายเรือ รุ่นที่ ๗๔ ระหว่าง<br />

รับราชการ ท่านได้เข้ารับการศึกษาเพิ่มเติม<br />

ในหลักสูตรต่างๆ ตามแนวทางการรับ<br />

ราชการ อาทิ หลักสูตรเสนาธิการทหารเรือ<br />

รุ่นที่ ๕๒ วิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที่ ๓๕<br />

หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ<br />

ร่วมเอกชน (ปรอ.รุ่นที่ ๒๔) วิทยาลัย<br />

ป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการ<br />

ป้องกันประเทศ รุ่นที่ ๒๕๕๔ และหลักสูตร<br />

ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร<br />

มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

ด้านการรับราชการ<br />

เริ่มต้นบรรจุเป็นนายทหารสัญญาบัตร<br />

ในกองเรือยุทธการ และรับตำแหน่ง<br />

สำคัญเป็น ผู้บังคับการเรือในกองเรือ<br />

ยุทธการนี้ถึง ๔ ลำ คือ เรือหลวงจุฬา<br />

เรือหลวงกูด เรือหลวงพงัน และเรือหลวง<br />

สีชัง ซึ่งในระหว่างนั้นได้มีผลงานที่โดดเด่น<br />

อาทิ ในระหว่างเป็นผู้บังคับการเรือหลวงพงัน<br />

ได้ปฏิบัติภารกิจค้นหาและกู้เครื่องบิน<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

ปราบเรือดำน้ำของกองทัพเรือ ซึ่งประสบ<br />

อุบัติเหตุตกในทะเลที่จังหวัดสงขลา จน<br />

สามารถนำร่างนักบินและลูกเรือ และซาก<br />

เครื่องบินทั้งลำส่งให้กองการบินทหารเรือ<br />

พิสูจน์หาสาเหตุต่อไป จนได้รับหนังสือ<br />

ชมเชยการปฏิบัติราชการ และได้รับ<br />

เครื่องหมายความสามารถนักบินกิตติมศักดิ์<br />

ของกองทัพเรือเป็นกรณีพิเศษ<br />

ผลงานโดดเด่นอีกครั้งเมื่อดำรง<br />

ตำแหน่งผู้บังคับการเรือหลวงสีชัง ได้รับ<br />

ภารกิจจากรัฐบาลให้นำข้าวสารไปช่วย<br />

เหลือประเทศฟิลิปปินส์ ที่ประสบภัยพิบัติ<br />

จากภูเขาไฟปินาตูโบระเบิด และได้รับ<br />

เกียรติเข้าพบประธานาธิบดีของประเทศ<br />

ฟิลิปปินส์ ณ ทำเนียบมาลากันยัง<br />

อีกหนึ่งงานสำคัญที่ถือได้ว่าเป็น<br />

เกียรติยศสูงสุดคือ การที่ได้มีโอกาสร่วม<br />

ถวายงานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม<br />

ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ และสมเด็จ<br />

พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร<br />

เทพยวรางกูร ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนิน<br />

แปรพระราชฐาน ณ เรือนรับรองที่ประทับ<br />

แหลมหางนาค จังหวัดกระบี่ และพระ<br />

ตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ จังหวัดนราธิวาส<br />

ในคณะนายทหารเรือที่ได้ถวายความ<br />

ปลอดภัยระหว่างที่พระองค์ท่านทรงงาน<br />

ในพื้นที่ จนได้รับพระราชทานเหรียญ<br />

ที่ระลึกสำหรับผู้ถวายงานใกล้ชิด<br />

อีกครั้งหนึ่งเมื่อท่านดำรงตำแหน่ง<br />

เสนาธิการโรงเรียนนายเรือ ได้รับมอบ<br />

ภารกิจให้ปฏิบัติหน้าที่ในเรือหลวง<br />

ในตำแหน่งผู้บังคับหน่วยเรือฝึกนายทหาร<br />

นักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต<br />

ปฏิบัติภารกิจในการฝึกผสม Asian Defence<br />

Ministers’ Meeting Plus Maritime<br />

Security Field Training Exercise (ADMM-<br />

PLUS MS FTX), การฝึก Triton<br />

Centenary 2013-1 (TC 13-1) และเข้า<br />

ร่วมสวนสนามทางเรือนานาชาติ International<br />

Fleet Review 2013 (IFR 2013) ในโอกาส<br />

ครบรอบ ๑๐๐ ปี กองทัพเรือออสเตรเลีย<br />

ซึ่งนับเป็นเกียรติยศสูงสุดของนายทหารเรือไทย<br />

ที่ได้นำเรือหลวงกระบี่ เรือตรวจการณ์ไกล<br />

ฝั่งที่ต่อโดยคนไทยพร้อมกำลังพล ๑๗๘<br />

ชีวิต ไปอวดธงราชนาวีร่วมการฝึกและ<br />

สวนสนามนานาชาติร่วมกับประเทศต่างๆ<br />

กว่า ๒๐ ประเทศ ใช้เวลาในการปฏิบัติ<br />

ภารกิจนี้ ๗๕ วัน รวมระยะทางกว่า<br />

๑๓,๐๐๐ ไมล์ทะเล<br />

และในภารกิจนี้เอง ท่านยังได้นำ<br />

โครงการ “กองทุนน้ำใจไทย เพื่อผู้เสียสละ<br />

ในจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่รับผิดชอบ<br />

กองทัพเรือ” ไปเผยแพร่ให้คนไทย<br />

ในเครือรัฐออสเตรเลีย ได้มีส่วนร่วมในการ<br />

แสดงความรักชาติ และตระหนักถึงความ<br />

เสียสละ ผลการดำเนินการทำให้คนไทย<br />

ในเครือรัฐออสเตรเลียร่วมใจกันบริจาค<br />

และร่วมจัดงานราตรี “ร่วมร้อยดวงใจ<br />

คนไทยไกลบ้านเพื่อกองทัพเรือ” ได้เงินบริจาค<br />

กว่า ๑,๗๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านเจ็ดแสน<br />

บาทถ้วน)<br />

15


นอกจำกนี้ท่ำนได้ดำรงตำแหน่ง<br />

สำคัญของกองทัพเรือ ได้แก่ ผู้อำนวยกำร<br />

ศูนย์ศึกษำยุทธศำสตร์ทหำรเรือ เจ้ำกรม<br />

กิจกำรพลเรือนทหำรเรือ รองเสนำธิกำร<br />

ทหำรเรือ และดำรงตำแหน่งเป็นรองปลัด<br />

กระทรวงกลำโหม ระหว่ำง ๑ ตุลำคม<br />

๒๕๖๐ ถึง ๓๐ กันยำยน ๒๕๖๑ โดยเมื่อ<br />

ท่ำนดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยกำรศูนย์<br />

ศึกษำยุทธศำสตร์ทหำรเรือ ในปี พ.ศ.<br />

๒๕๕๑ ได้ร่วมงำนกับสำนักงำนสภำควำม<br />

มั่นคงแห่งชำติ โดยได้รับมอบหมำยให้เป็น<br />

หัวหน้ำคณะทำงำนในกำรศึกษำควำมเป็น<br />

ไปได้ในกำรจัดตั้งหน่วยยำมฝั่ง (Coast<br />

Guards) ของประเทศไทย และต่อเนื่อง<br />

ด้วยกำรเป็นอนุกรรมกำรเฉพำะกิจจัดทำ<br />

ร่ำงนโยบำยควำมมั่นคงแห่งชำติทำงทะเล<br />

พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ จำกนั้นแม้ว่ำจะต้อง<br />

ย้ำยไปดำรงตำแหน่งตำมกำรเจริญเติบโตใน<br />

หน้ำที่รำชกำร แต่ พลเรือเอก จุมพลฯ ก็ยัง<br />

ได้รับมอบหมำยให้มีส่วนร่วมในงำนด้ำน<br />

ควำมมั่นคงแห่งชำติทำงทะเลอย่ำงต่อเนื่อง<br />

อำทิ เป็นอนุกรรมกำรจัดกำรควำมรู้<br />

เพื่อผลประโยชน์แห่งชำติทำงทะเล เป็น<br />

ประธำนอนุกรรมกำรด้ำนกำรให้ควำมรู้<br />

เกี่ยวกับผลประโยชน์และควำมมั่นคงแห่ง<br />

ชำติทำงทะเล และหัวหน้ำคณะทำงำนใน<br />

กำรจัดทำร่ำงยุทธศำสตร์ควำมมั่นคงแห่งชำติ<br />

ทำงทะเล พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ ซึ่งต่อมำ<br />

ได้พัฒนำมำเป็นแผนควำมมั่นคงแห่งชำติ<br />

ทำงทะเล พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ ตำมมติ<br />

คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๑ ตุลำคม ๒๕๕๗<br />

ต่อเนื่องมำถึงกำรเป็นรองประธำน<br />

อนุกรรมกำรประสำนแผนติดตำมและ<br />

ประเมินผลกำรปฏิบัติงำนตำมแผนควำม<br />

มั่นคงแห่งชำติทำงทะเล พ.ศ.๒๕๕๘ –<br />

๒๕๖๔ ในคณะกรรมกำรประสำนงำนของ<br />

สภำควำมมั่นคงแห่งชำติ นอกจำกนั้นยังได้<br />

รับมอบหมำยให้ทำงำนด้ำนควำมมั่นคง<br />

แห่งชำติทำงทะเลอีกหลำยคณะ เนื่องจำก<br />

เป็นผู้ที่รอบรู้ในด้ำนงำนควำมมั่นคงทำง<br />

ทะเลอย่ำงแท้จริง ซึ่งจะเห็นได้จำกควำม<br />

สำเร็จของแผนควำมมั่นคงแห่งชำติทำงทะเล<br />

พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ ที่สำมำรถนำมำสู่กำร<br />

ปฏิบัติอย่ำงเป็นรูปธรรมได้<br />

ถือได้ว่ำจำกควำมมำนะ อุตสำหะของ<br />

ท่ำนที่พยำยำมแสวงหำและใช้ควำมรู้ควำม<br />

สำมำรถและประสบกำรณ์ในกำรปฏิบัติงำน<br />

ทำงทะเล โดยใช้หลักกำร “มั่นคง มั่งคั่ง<br />

ยั่งยืน” มำเป็นกรอบแนวคิด ควบคู่ไปกับ<br />

ประสำนควำมเข้ำใจกับหน่วยงำนทำงทะเล<br />

ทั้งงำนควำมมั่นคง ควำมมั่งคั่ง และมีอยู่<br />

อย่ำงยั่งยืน มำนำเสนอให้เห็นถึงควำมสำคัญ<br />

ของผลประโยชน์ของชำติทำงทะเลที่มี<br />

มูลค่ำมหำศำล มีภัยคุกคำมรูปแบบใดบ้ำง<br />

ที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์และจะทำให้<br />

ผลประโยชน์ที่มีอยู่อย่ำงยั่งยืนได้อย่ำงไร<br />

โดยกำหนดเป็นยุทธศำสตร์และแนวทำง<br />

กำรปฏิบัติพร้อมกำหนดหน่วยงำนรับผิดชอบ<br />

ไว้อย่ำงชัดเจน นับเป็นแผนระดับชำติ<br />

ฉบับแรกที่ได้บูรณำกำรงำนควำมมั่นคง<br />

มั่งคั่ง และยั่งยืนไว้อย่ำงชัดเจน ไม่เพียงแต่<br />

ผลงำนในกำรจัดทำแผนควำมมั่นคงแห่ง<br />

ชำติทำงทะเลเท่ำนั้น ท่ำนยังได้รับมอบ<br />

หมำยให้เป็นหัวหน้ำคณะทำงำนต่อเนื่อง<br />

ในกำรจัดทำร่ำงพระรำชบัญญัติกำรรักษำ<br />

ผลประโยชน์แห่งชำติทำงทะเล พ.ศ. .... เพื่อ<br />

เป็นเครื่องมือในกำรขับเคลื่อนแผนควำม<br />

มั่นคงแห่งชำติทำงทะเลอีกด้วย ซึ่งเมื่อ<br />

พระรำชบัญญัติดังกล่ำวประกำศออกใช้อย่ำง<br />

เป็นทำงกำรแล้ว จะทำให้ประเทศไทยมีกำร<br />

บูรณำกำร ในกำรดูแลผลประโยชน์ของชำติ<br />

ทำงทะเลได้อย่ำงสมบูรณ์ ทั้งในระดับ<br />

นโยบำย ระดับปฏิบัติ และจะก่อให้มีกำร<br />

เสริมสร้ำงงำนวิชำกำรที่เกี่ยวข้องกับกำร<br />

รักษำผลประโยชน์ของชำติทำงทะเล จึงนับ<br />

ได้ว่ำท่ำนได้ดำเนินงำนด้ำนผลประโยชน์<br />

และควำมมั่นคงของชำติทำงทะเล มำตั้งแต่<br />

เริ่มต้นจนถึงปัจจุบันมีควำมเป็นรูปธรรม<br />

ทั้งแผนควำมมั่นคงแห่งชำติทำงทะเล พระรำช<br />

บัญญัติกำรรักษำผลประโยชน์แห่งชำติ<br />

ทำงทะเล ซึ่งถือได้ว่ำทะเลไทยได้มีทิศทำง<br />

และแนวทำงในกำรดูแลผลประโยชน์แห่ง<br />

ชำติทำงทะเล ทั้งในมิติของควำมมั่นคง<br />

มั่งคั่ง และยั่งยืนแล้ว ด้วยควำมรู้ควำม<br />

สำมำรถและประสบกำรณ์ในกำรทำงำน<br />

ของท่ำน ในเรื่องผลประโยชน์และควำม<br />

มั่นคงแห่งชำติทำงทะเลดังกล่ำว ทำให้<br />

ผู้บังคับบัญชำให้ควำมไว้วำงใจมอบหมำย<br />

งำนให้ทำหน้ำที่สำคัญ คืองำนโฆษกกองทัพ<br />

เรือ และโฆษกศูนย์บัญชำกำรแก้ไขปัญหำ<br />

กำรทำกำรประมงผิดกฎหมำย (ศปมผ.)<br />

ซึ่งท่ำนได้มีส่วนร่วมในกำรแก้ไขปัญหำกำร<br />

ทำประมง และปัญหำแรงงำนผิดกฎหมำย<br />

ในเรือประมงและโรงงำนแปรรูปสัตว์น้ำ<br />

ด้วย โดยงำนดังกล่ำวเป็นเรื่องที่เป็นมิติทำง<br />

วิชำกำรที่เข้ำใจได้ยำก มีควำมซับซ้อน<br />

จำเป็นต้องอธิบำยให้สื่อมวลชนหรือ<br />

ประชำชน ทั้งทำงวิทยุ โทรทัศน์ และสื่อ<br />

สำธำรณะต่ำงๆ<br />

นอกจำกนี้ท่ำนยังได้รับมอบหน้ำที่<br />

สำคัญเป็นตัวแทนประเทศไทย ไปร่วม<br />

ประชุมเกี่ยวกับงำนผลประโยชน์และควำม<br />

มั่นคงของชำติทำงทะเล ที่สำคัญ อำทิ<br />

- เป็นผู้แทนประเทศไทยไปร่วม<br />

ประชุม The Council for Security<br />

Cooperation in the Asia Pacific<br />

(CSCAP) ซึ่งเป็นกำรประชุมเกี่ยวกับควำม<br />

ร่วมมือด้ำนควำมมั่นคงทำงทะเลในภูมิภำค<br />

เอเชีย-แปซิฟิก ที่สำธำรณรัฐเกำหลี<br />

- เป็นหัวหน้ำคณะผู้แทนประเทศไทย<br />

เข้ำร่วมประชุม The 20 th Anniversary of<br />

the code of Conduct for Responsible<br />

Fisheries of the FAO ซึ่งเป็นกำรประชุม<br />

เกี่ยวกับปัญหำกำรทำกำรประมง<br />

ผิดกฎหมำย ณ รำชอำณำจักรสเปน<br />

16


- เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนประเทศไทย<br />

ในการประชุมคณะทำงานเฉพาะกิจความ<br />

มั่นคงทางทะเล (Maritime Security)<br />

ระหว่างไทย-อินเดีย ณ กรุงนิวเดลี<br />

สาธารณรัฐอินเดีย<br />

- เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนรัฐมนตรี<br />

ว่าการกระทรวงกลาโหมในการประชุม<br />

Moscow Conference on International<br />

Security 2018 ณ กรุงมอสโก<br />

สหพันธรัฐรัสเซีย<br />

ไม่เพียงแต่การเป็นผู้ที่ริเริ่มและเป็น<br />

หลักสำคัญในการจัดทำแผนความมั่นคง<br />

แห่งชาติทางทะเลและร่างพระราชบัญญัติ<br />

รักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลเท่านั้น<br />

ท่านยังนำความรู้และประสบการณ์ที่มี<br />

เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องสู่ภาค<br />

ประชาชน ทั้งในรูปแบบของการบรรยาย<br />

ตามสถานศึกษาตั้งแต่ระดับบริหาร ได้แก่<br />

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัย<br />

เสนาธิการทหาร วิทยาลัยการทัพ โรงเรียน<br />

เสนาธิการเหล่าทัพ ตลอดจนถึงระดับ<br />

มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน และระดับ<br />

ปฏิบัติคือ หลักสูตรต่างๆ ของกองทัพเรือ<br />

และในสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

ในรูปแบบของการให้ความรู้ในเวทีเสวนา<br />

ทางวิชาการสาธารณะทั้งที่จัดโดยภาครัฐ<br />

สื่อมวลชน และเวทีระหว่างประเทศ<br />

ด้วยความรู้ความสามารถ ความ<br />

เชี่ยวชาญ ความรอบรู้ ทำให้ท่านได้รับการ<br />

แต่งตั้งเป็นคณะทำงานเรื่องทรัพยากรทาง<br />

ทะเลและชายฝั่ง ในคณะกรรมการปฏิรูป<br />

ประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อม<br />

นอกจากงานด้านผลประโยชน์และ<br />

ความมั่นคงของชาติทางทะเลแล้ว ท่านยัง<br />

มีความโดดเด่นในความรู้เกี่ยวกับเอกลักษณ์<br />

และความภูมิใจในความเป็นชาติ โดย<br />

พลเรือเอก จุมพลฯ เป็นนักธัชวิทยา (ผู้รอบรู้<br />

เกี่ยวกับเรื่องธง) ที่รอบรู้เรื่องธงชาติ และ<br />

ธงราชนาวี จนสำนักงานส่งเสริมเอกลักษณ์<br />

ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ได้เชิญให้เป็น<br />

วิทยากรหลักในการให้ความรู้กับประชาชน<br />

ในโครงการ “ธงไตรรงค์ธำรงไทย” และนำ<br />

เสนอให้เกิดโครงการ “๑๐๐ ปี ธงชาติไทย<br />

ร้อยดวงใจไทยทั้งชาติ” จนกระทั่งรัฐบาล<br />

กำหนดให้วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐<br />

เป็นวันครบรอบ ๑๐๐ ปี การประกาศใช้<br />

ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย พร้อมทั้งกำหนด<br />

ให้วันที่ ๒๘ กันยายนของทุกปีเป็น “วัน<br />

พระราชทานธงชาติไทย” กับทั้งได้เขียน<br />

บทความเกี่ยวกับธงชาติและธงราชนาวี<br />

จนได้รับรางวัลบทความดีเด่น “รางวัล<br />

พลเรือเอก กวี สิงหะ” ประจำปี ๒๕๕๔<br />

จากผลงานที่เป็นที่ประจักษ์เป็น<br />

ประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม ท่านได้ปฏิบัติ<br />

และดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้<br />

ช่วงเวลาที่ผ่านมา หลายองค์กรได้เล็งเห็น<br />

ในคุณความดี การเสียสละเป็นคุณูปการแก่<br />

ประเทศชาติ จึงได้มอบรางวัลเกียรติยศ<br />

ให้ท่าน ดังนี้<br />

๑. รางวัลตราชั่งทอง กระทรวง<br />

ยุติธรรม ปี ๒๕๕๗ โดย พลอากาศเอก กำธน<br />

สินธวานนท์ องคมนตรี มอบให้ในฐานะเป็น<br />

บุคคลที่มีจิตอาสา ด้านการสงเคราะห์และ<br />

ทำคุณประโยชน์ให้กับสังคม<br />

๒. รางวัลโล่เกียรติคุณ “สิงห์ทอง”<br />

โดย นายอำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี<br />

มอบให้แก่ผู้ที่เป็นแบบอย่าง “ผู้บริหารและ<br />

นักพัฒนาองค์กรดีเด่นแห่งปี ประจำปี<br />

๒๕๕๘ “รางวัลธรรมาภิบาล”<br />

๓. รางวัล “เกียรติยศจักรดาว” สาขา<br />

บริหารการปกครองและเสริมสร้างความ<br />

มั่นคงฯ ประจำปี ๒๕๖๐ โดย พลเอก<br />

ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี<br />

และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม<br />

มอบให้แก่ศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร<br />

ที่มีผลงานดีเด่น<br />

๔. รางวัลเกียรติบัตร “พ่อตัวอย่าง”<br />

ประจำปี ๒๕๖๐ โดย พลอากาศเอก ชลิต<br />

พุกผาสุข องคมนตรี มอบให้แก่ ผู้ที่มีความ<br />

จงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์<br />

มีความเลื่อมใสในการปกครองระบอบ<br />

ประชาธิปไตย มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป มีภรรยา<br />

คนเดียว ส่งบุตร-ธิดาได้รับการศึกษา<br />

ไม่ทอดทิ้ง บุตรธิดาประกอบอาชีพสุจริต<br />

เป็นผู้เสียสละ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม,<br />

ดำรงตนในศีลธรรมและประกอบสัมมาชีพ<br />

โดยสุจริต<br />

๕. รางวัลโล่เกียรติคุณ “ศิษย์เก่า<br />

ดีเด่นโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี” ประจำปี<br />

๒๕๖๐ โดย ดร.วีรยุทธ บุญพราหมณ์<br />

ผู้อำนวยการโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี<br />

ด้วยผลงานจากความรู้ความสามารถ<br />

และประสบการณ์ ในการปฏิบัติราชการ<br />

ของ พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท์ ทั้งใน<br />

ด้านการบริหารปกครองในฐานะผู้บังคับ<br />

หน่วยทหาร รวมทั้งงานด้านการรักษา<br />

ผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติทาง<br />

ทะเล ที่เป็นที่ประจักษ์จนได้รับการยอมรับ<br />

ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน<br />

ทั่วไป จึงนับเป็นแบบอย่างที่ดี ควรค่า<br />

ที่จะได้รับการยกย่องเชิดชู เป็นแบบอย่าง<br />

ให้อนุชนรุ่นหลังและนายทหารรุ่นน้องต่อไป<br />

สมกับที ่ได้ตั้งปณิธานในการรับราชการ<br />

ไว้ว่า “ผู้นำที่ดีต้องมีคุณธรรม”<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

17


เกียรติประวัติ<br />

พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุงทอง<br />

รองปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

(ดํารงตําแหนงตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑)<br />

ยอดนักบิน เครื่องบินรบ บรรจบกิจ พรอมอุทิศ เลือดเนื้อ เพื่อฟนฝา<br />

ปกปองชาติ อธิปไตย ในนภา ทั่วนานฟา ชาติไทย ใหมั่นคง<br />

ผูชวยทูต กิจทหาร งานสรางสรรค เสริมวิเทศสัมพันธ อันสูงสง<br />

รองปลัดฯ เทคโนโลยี ที่ยืนยง รวมธํารง อุตสาหกรรม นําพึ่งพา<br />

งานเสนาธิการกิจ วิศิษฐเยี่ยม จึงคงเปยม ผลงานดี ทวีคา<br />

งานนิติบัญญัติ เสริมรัฐ วัฒนา สรางมรรคา นิติธรรม นําใฝปอง<br />

คือนักรบ เจนจบงาน การเวหา คือผูบังคับบัญชา สมญากอง<br />

พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุงทอง สานครรลอง ราชการ งานชอบธรรม<br />

18


พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุ่งทอง<br />

เกิดเมื่อวันที่๒ กรกฎาคม พ.ศ.<br />

๒๕๐๑ สมรสกับนางจารุณี<br />

ทุ่งทอง มีบุตร ธิดา ๒ คน คือ นายเมษย์<br />

ทุ่งทอง และนางสาวปณิตา ทุ่งทอง<br />

ด้านการศึกษา<br />

ท่านสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา<br />

จากโรงเรียนทองประสาทเวทย์ จังหวัด<br />

อุทัยธานีสอบได้เข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร<br />

รุ่นที่ ๑๘ เลือกเรียนเหล่าทหารอากาศ<br />

เป็นนักเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่๒๕ หลังจาก<br />

ที่สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายเรือ<br />

อากาศ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๕ แล้วได้เข้ารับ<br />

การศึกษาต่อที่โรงเรียนการบิน (กำแพงแสน)<br />

รุ่น น.๗๑–๒๕-๑ จนสำเร็จการศึกษา<br />

ได้รับการบรรจุเป็นนักบินของกองทัพ<br />

อากาศ ท่านได้เข้ารับการศึกษาในหลักสูตร<br />

หลักต่างๆ ของทางราชการอย่างต่อเนื่อง<br />

อาทิ โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง<br />

รุ่นที่ ๖๕ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ<br />

รุ่นที่๓๗ วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่๔๒<br />

และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่๕๔<br />

รวมทั้งได้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรจาก<br />

ต่างประเทศ เช่น Mission Commander<br />

Course ณ The Pacific Advanced Combat<br />

Employment School at Clark Airbase, F-5<br />

Advanced Fighter Course MTT กองบิน ๑<br />

และการฝึกอบรมการตรวจสอบและสร้าง<br />

เครื่องบินขับไล่และฝึกไอพ่นแบบ L-39<br />

(บ.ขฝ.๑) ณ ประเทศสาธารณรัฐเช็ก และ<br />

เครื่องบินโจมตีไอพ่นแบบ Alpha Jet<br />

ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นต้น<br />

ด้านการบิน<br />

หลังจากที่ได้สำเร็จการฝึกบินขั้น<br />

พื้นฐานจากโรงเรียนการบินแล้ว ท่านได้<br />

รับการฝึกอบรมเพื ่อเป็นนักบินขับไล่กับ<br />

เครื่องบินฝึกไอพ่นขั้นสูงแบบ T-33 (บ.ฝ.๑๑)<br />

จนสำเร็จหลักสูตรฯ จากนั้นเส้นทาง<br />

ของนักบินรบจึงได้เริ่มต้นขึ้น ท่านได้รับ<br />

การคัดเลือกให้ทำการบินกับเครื่องบินขับไล่<br />

ไอพ่น แบบ F-5 (บ.ข.๑๘/ก/ข/ค)<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

19


กับฝูงบิน ๑๐๓ และฝูงบิน ๑๐๒ กองบิน ๑<br />

ซึ่งในขณะนั้นประเทศไทยกำลังเกิดข้อ<br />

พิพาทบริเวณแนวชายแดนทางด้าน<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ<br />

รวมทั้งตกอยู่ในระหว่างสถานการณ์การ<br />

ปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ท่านได้รับ<br />

มอบหมายจากกองทัพอากาศให้ร่วม<br />

วางแผนการโจมตีทางอากาศและเข้า<br />

ปฏิบัติการรบทางอากาศเหนือพื้นที่<br />

เป้าหมายของข้าศึก เป็นการแสดงออกถึง<br />

ความสามารถและความกล้าหาญของท่าน<br />

ในฐานะนักบินรบของกองทัพอากาศ<br />

อีกทั้งเป็นนักบินทดสอบระบบอาวุธตาม<br />

โครงการพัฒนาขีดความสามารถเครื่องบิน<br />

แบบ F-5 E/F นอกจากนี้ท่านได้มีส่วนร่วม<br />

ในการก่อตั้งฝูงบิน ๗๑๑ กองบิน ๗<br />

(สุราษฎร์ธานี) ซึ่งได้รับการบรรจุเครื่องบิน<br />

ขับไล่ไอพ่น แบบ F-5 ทดแทนเครื่องบิน<br />

โจมตี OV-10 (บ.จ.๕) แบบเดิม เป็น<br />

การวางรากฐานกำลังรบในการดูแล<br />

ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของ<br />

ประเทศไทย ครองอากาศเหนือน่านฟ้า<br />

อ่าวไทยและอันดามัน เมื่อกองทัพอากาศ<br />

ได้ริเริ่มจัดตั้งฝูงฝึกนักบินขับไล่โจมตี<br />

ขั้นต้น ณ ฝูงบิน ๑๐๑ กองบิน ๑ (นครราชสีมา)<br />

โดยใช้เครื่องบินขับไล่และฝึกไอพ่น แบบ<br />

L-39 (บ.ขฝ.๑) ในการฝึกบินนักบินขับไล่<br />

ขั้นต้น และสนับสนุนทางอากาศ<br />

โดยใกล้ชิด นับได้ว่าเป็นห้วงเวลาที่สำคัญ<br />

ในการเสริมเขี้ยวเล็บใหม่ของกองทัพ<br />

อากาศให้มีขีดความสามารถทางอากาศ<br />

ทัดเทียมนานาอารยประเทศ ในการ<br />

พัฒนาด้านการฝึกอบรมนักบินให้มีความ<br />

พร้อมในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพ<br />

อากาศนั้น จึงมีความต้องการนักบินขับไล่<br />

โจมตีที ่มีความรู้ ความสามารถ เพื่อริเริ่ม<br />

และก่อตั้งฝูงบินฝึกขับไล่โจมตีขั้นต้น ท่าน<br />

ได้อาสาสมัครและได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วม<br />

ปฏิบัติภารกิจอันสำคัญนี้โดยมีส่วนสำคัญ<br />

20


ในการไปเข้ารับการฝึกบิน เพื่อเป็นนักบิน<br />

พร้อมรบ นักบินลองเครื่อง และครูการบิน<br />

เครื่องบินไอพ่น แบบ L-39 ณ ประเทศ<br />

สาธารณรัฐเช็ก ตลอดจนเป็นคณะ<br />

กรรมการตรวจรับอากาศยานดังกล่าว<br />

รวมทั้งจัดทำคู่มือการฝึกบินและเอกสาร<br />

เทคนิคการเสนอแนะข้อมูลในการ<br />

ปรับปรุงระบบอากาศยาน ซึ่งข้อมูลต่างๆ<br />

เหล่านี้ได้ถูกพัฒนาและใช้งานจนกระทั่ง<br />

ปัจจุบัน จากประวัติและผลงานด้านการบิน<br />

ที่ผ่านมา นับได้ว่าท่านปฏิบัติหน้าที่<br />

นักรบทางอากาศ หรือเสืออากาศได้<br />

อย่างสมบูรณ์แบบ<br />

ในการรับราชการทหาร ท่านได้ดำรง<br />

ตำแหน่งสำคัญๆ อาทิ เป็นผู้บังคับฝูงบิน<br />

๑๐๑ กองบิน ๑ (นครราชสีมา) เป็น<br />

ผู้บังคับการกองบิน ๒๓ (อุดรธานี) เป็นผู้ช่วย<br />

ทูตทหารอากาศไทย ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเสนาธิการ<br />

กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ เป็น<br />

เจ้ากรมข่าวทหารอากาศ เป็นรองเสนาธิการ<br />

ทหารอากาศ เป็นเสนาธิการทหารอากาศ<br />

จนกระทั่งปัจจุบันท่านได้รับพระราช<br />

โองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รับ<br />

ราชการในตำแหน่งรองปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม โดยตลอดระยะเวลา ๑ ปี ท่าน<br />

ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในสายงาน<br />

ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและ<br />

พลังงานทหาร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

กิจการอวกาศและไซเบอร์ และด้าน<br />

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีป้องกันประเทศ<br />

นอกจากนั้นท่านยังได้รับมอบหมายให้<br />

ดำรงตำแหน่งสำคัญของกองทัพไทยและ<br />

ประเทศชาติ เช่น เป็นสมาชิกสภา<br />

นิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นกรรมการสถาบัน<br />

เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การ<br />

มหาชน) และเป็นกรรมการสภาองค์การ<br />

สงเคราะห์ทหารผ่านศึก<br />

ตลอดระยะเวลารับราชการ ท่านได้<br />

ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความทุ่มเท<br />

เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์แก่ประเทศ<br />

ชาติบ้านเมือง จนได้รับพระราชทานเครื่องราช<br />

อิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย<br />

ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ และเครื่องราช<br />

อิสริยาภรณ์ Legion of Merit Officer<br />

Degree ของประเทศสหรัฐอเมริกา นับว่า<br />

ท่านเป็นบุคลากรที่ทรงคุณค่าของกองทัพ<br />

กระทรวงกลาโหม และประเทศชาติ<br />

ที่ภาคภูมิใจ และน่ายกย่องเป็นอย่างยิ่ง<br />

ด้วยบุคลิกลักษณะ<br />

ส่วนตัวที่เป็นผู้ใฝ่หา<br />

ความรู้อยู่เสมอ มุ่งมั่น<br />

ในการทำงาน ใส่ใจใน<br />

รายละเอียด มีวิสัยทัศน์<br />

มองการณ์ไกล ส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่<br />

ในทุกตำแหน่งที่ท่านได้รับมอบหมาย<br />

ประสบความสำเร็จและเป็นที่ยอมรับจาก<br />

ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ประกอบกับ<br />

อุปนิสัยของท่านเป็นผู้ที่มีอารมณ์ดี<br />

มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ชอบช่วยเหลือ<br />

ผู้อื่น ให้ความสำคัญและห่วงใยผู้ใต้บังคับ<br />

บัญชาอย่างเท่าเทียมกัน อีกทั้งยังมีความ<br />

สามารถพิเศษทางด้านดนตรี ท่านจึงเป็น<br />

ที่ไว้วางใจของผู้บังคับบัญชา เป็นที่รักและ<br />

เคารพของผู้ใต้บังคับบัญชา ตลอดจน<br />

บุคคลอื่นที่มีโอกาสได้รู้จักท่านอย่างเสมอมา<br />

นับต่อจากนี้เส้นทางการรับราชการของ<br />

พลอากาศเอก สุรศักดิ์ ทุ่งทอง รองปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม ก็จะถึงเวลาต้องอำลา<br />

ชีวิตราชการไปตามวาระเกษียณอายุ<br />

คุณงามความดีและผลงานที่ท่านได้กระทำ<br />

จารึกไว้ ยังคงปรากฏเป็นเกียรติประวัติ<br />

เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับข้าราชการทหาร<br />

รุ่นหลังสืบไป<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

21


พลเอก ฐิตินันท ธัญญสิริ<br />

ประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม<br />

พลเอก ฐิตินันท ธัญญสิริ เกิดเมื่อ<br />

วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๐<br />

เปนบุตรพลตรี มรกต และพันโทหญิง<br />

อาภรณ สมรสกับนางณัฏฐชยธร มีธิดาและ<br />

บุตร ๓ คน คือ นางสาวพัทธนันท<br />

รอยโท บดินทร และรอยตรี บพิธ<br />

ดานการศึกษา<br />

จบชั้นมัธยมตนจากโรงเรียนสวนกุหลาบ<br />

วิทยาลัย จบโรงเรียนเตรียมทหาร รุนที่ ๑๕<br />

จบโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา<br />

ชั้นปที่ ๑ และไดรับทุนกองทัพบก<br />

ศึกษาตอ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี<br />

Bachelor of Science (Distinguished<br />

Honors in Chemistry) (พ.ศ.๒๕๒๑) จาก<br />

Virginia Military Institute, U.S.A. ปริญญาโท<br />

Master of Science (Chemistry) (พ.ศ.<br />

๒๕๒๓) และ ปริญญาเอก Doctor of<br />

Philosophy (Chemistry) (พ.ศ.๒๕๓๐) จาก<br />

University of Virginia, U.S.A. ตอมาไดรับทุน<br />

กระทรวงกลาโหมออสเตรเลีย ปริญญาโท<br />

Master of Arts (Strategic Studies) (พ.ศ.<br />

๒๕๓๘) จาก Australian National University<br />

และนิติศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัย<br />

รามคําแหง (พ.ศ.๒๕๕๙)<br />

การศึกษาทางทหาร จบหลักสูตรหลัก<br />

ประจําโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ไดรับ<br />

ประกาศนียบัตรชมเชยเปนผูมีผลการศึกษาอยู<br />

ในเกณฑดีมาก หลักสูตรหลักประจําวิทยาลัย<br />

การทัพบก Defence and Strategic Studies<br />

Course (เทียบเทาหลักสูตรวิทยาลัยปองกัน<br />

ราชอาณาจักร) Australian Defence College<br />

หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร<br />

รุนที่ ๒๕๕๖ เอกสารวิจัยสวนบุคคลไดรับ<br />

รางวัลชมเชยจากสภาการศึกษาของวิทยาลัย<br />

ปองกันราชอาณาจักร<br />

ดานการทํางาน<br />

• อาจารยและผูชวยศาสตราจารย<br />

กองวิชาเคมี โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา<br />

ระหวาง พ.ศ.๒๕๒๔ - ๒๕๓๖ (๘ ป ๑ เดือน)<br />

• หัวหนาแผนกผูชวยทูตทหารตางประเทศ<br />

กองการตางประเทศ กรมขาวทหารบก ระหวาง<br />

พ.ศ.๒๕๓๖ – ๒๕๓๗ (๑ ป)<br />

• อาจารยหัวหนากองโรงเรียน<br />

เสนาธิการทหารบก ระหวาง พ.ศ.๒๕๓๘ -<br />

๒๕๔๐ (๒ ป ๘ เดือน)<br />

• ผูอํานวยการกองการตางประเทศ<br />

ผูอํานวยการกองแผนและการจัดและผูอํานวย<br />

การกองนโยบายและยุทธศาสตร สํานัก<br />

นโยบายและแผนกลาโหม ระหวาง พ.ศ.๒๕๔๐<br />

- ๒๕๔๗ (๕ ป ๔ เดือน)<br />

• ผูชวยและรองผูอํานวยการของหนวย<br />

งานดานการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยีปองกันประเทศ ระหวาง พ.ศ.<br />

๒๕๔๗ - ๒๕๕๒ (๕ ป)<br />

• ผูอํานวยการสถาบันเทคโนโลยีปองกัน<br />

ประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงกลาโหม<br />

ระหวาง พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๖ (๔ ป ๖ เดือน)<br />

• ฝายเสนาธิการและหัวหนา<br />

ฝายเสนาธิการประจําปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

ระหวาง พ.ศ.๒๕๕๗ - ๒๕๕๙ (๒ ป)<br />

• ผูอํานวยการศูนยการอุตสาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร ระหวาง<br />

พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ (๑ ป)<br />

ราชการพิเศษ<br />

• นายทหารติดตอประจําคณะ<br />

กรรมาธิการสงบศึกทางทหาร กองกําลัง<br />

สหประชาชาติกรุงโซล ประเทศสาธารณรัฐ<br />

เกาหลี ระหวาง พ.ศ.๒๕๓๓ - ๒๕๓๔ (๑ ป<br />

๑ เดือน)<br />

• นายทหารพิเศษประจํากรมนักเรียน<br />

นายรอยรักษาพระองค<br />

• ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ<br />

• ตุลาการศาลทหารกลาง<br />

• ตุลาการศาลทหารสูงสุด<br />

• ราชองครักษพิเศษ<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณและเหรียญ<br />

• มหาปรมาภรณชางเผือก<br />

• มหาวชิรมงกุฎ<br />

• เหรียญชัยสมรภูมิ (กรณีสงครามเกาหลี<br />

พ.ศ.๒๕๓๓)<br />

ผลงานที่ภาคภูมิใจ<br />

ไดเปนอาจารยสอนถายทอดความรู<br />

และประสบการณใหลูกศิษยในโรงเรียนหลัก<br />

ของกองทัพบก ๒ แหง ไดแก โรงเรียนนายรอย<br />

พระจุลจอมเกลา และโรงเรียนเสนาธิการ<br />

ทหารบก รวมเวลาประมาณ ๑๑ ป<br />

การปฏิบัติราชการในสํานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม ตั้งแต พ.ศ.๒๕๔๐ เปน<br />

ผูปฏิบัติหลักในสํานักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

ในการจัดทําแผนแมบทการปฏิรูปกระทรวง<br />

กลาโหมและการปรับปรุงโครงสรางกองทัพไทย<br />

ฉบับแรกในรอบ ๔๐ ป และเปนผูนําในการ<br />

ปฏิรูประบบงานวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยีปองกันประเทศ ดวยการจัดทํา<br />

โครงการวิจัยและพัฒนาขนาดใหญและการจัดตั้ง<br />

สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (สทป.)<br />

เปนองคการมหาชนแหงแรกของกระทรวง<br />

กลาโหม รวมทั้งไดรับแตงตั้งและไดรับสรรหา<br />

ใหเปน ผูอํานวยการสถาบันเทคโนโลยีปองกัน<br />

ประเทศคนแรก เปนเวลา ๔ ป ๖ เดือน<br />

เมื่อกลับเขารับราชการ ในตําแหนง<br />

ผูอํานวยการศูนยการอุตสาหกรรมปองกัน<br />

ประเทศและพลังงานทหาร ไดเปนผูนําในการ<br />

จัดทํายุทธศาสตร ๒๐ ป ในการพัฒนา<br />

วิทยาศาสตร เทคโนโลยี อุตสาหกรรมปองกัน<br />

ประเทศ เพื่อผลักดันใหเกิดการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมปองกันประเทศที่ภาคเอกชน<br />

มีบทบาทสําคัญ ซึ่งไดรับความเห็นชอบจาก<br />

สภากลาโหม เมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๖๐ และ<br />

ไดจัดทําแผนพัฒนา ๕ ปแรก รองรับยุทธศาสตร<br />

๒๐ ปดังกลาว<br />

แนวทางในการทํางาน<br />

“ริเริ่ม รวดเร็ว รอบคอบ กอปรคุณธรรม<br />

นําธรรมาภิบาล”<br />

คติประจําใจ<br />

“ปฏิบัติตามคําสอนของ “พอ” โดยทํา<br />

หนาที่ของตนเองใหดีที่สุด”<br />

22


พลเอก สิงหศักดิ์ อุทัยมงคล<br />

จเรทหารทั่วไป<br />

พลเอก สิงหศักดิ์ อุทัยมงคล<br />

เกิดวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๐๐<br />

เปนบุตรของพันเอก สมบูรณ<br />

และนางละลิต อุทัยมงคล สมรสกับนาง<br />

ณัฏฐพร อุทัยมงคล มีบุตร-ธิดา ๓ คน<br />

(๑) นางสาวสลิตา อุทัยมงคล<br />

(๒) นายธรรศ อุทัยมงคล กําลัง<br />

ศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตรชั้นปที่ ๓<br />

มหาวิทยาลัยหอการคาไทย<br />

(๓) นายธิปก อุทัยมงคล กําลังศึกษา<br />

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

ชั้นปที่ ๒ มหาวิทยาลัยรังสิต<br />

ดานการศึกษา<br />

ทานสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียน<br />

สาธิตวิทยาลัยครูเทพสตรี จ.ลพบุรี<br />

เมื่อป พ.ศ.๒๕๑๕ จากนั้นเขาศึกษาตอที่<br />

โรงเรียนเตรียมทหาร รุนที่ ๑๖ โรงเรียน<br />

นายรอยพระจุลจอมเกลา รุนที่ ๒๗ และได<br />

เขารับการศึกษาอบรมในหลักสูตรตางๆ<br />

ดังนี้ โรงเรียนชั้นนายรอยเหลาราบ รุนที่ ๖๓<br />

โรงเรียนชั้นนายพันเหลาราบ รุนที่ ๔๕<br />

โรงเรียนชั้นนายพัน Ft. Benning,<br />

USA, 1987 หลักสูตรเสนาธิการทหารบก<br />

หลักสูตรหลักประจํา ชุดที่ ๖๗ วิทยาลัย<br />

เสนาธิการทหาร รุนที่ ๔๔ วิทยาลัย<br />

ปองกันราชอาณาจักร รุนที่ ๕๔<br />

ทานไดเขารับราชการในตําแหนง<br />

สําคัญ ดังนี้<br />

• ผูบังคับหมวดลาดตระเวน กองรอย<br />

สนับสนุนการรบ กองพันทหารราบ<br />

ที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• ผูบังคับหมวดปนเล็ก กองรอย<br />

อาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหาร<br />

ราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• รองผูบังคับการกองรอยอาวุธเบา<br />

กองพันทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๓๑<br />

รักษาพระองค<br />

• ผูชวยฝายยุทธการ กองพันทหาร<br />

ราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษา<br />

พระองค<br />

• ผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพัน<br />

ทหารราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษา<br />

พระองค<br />

• หัวหนาฝายยุทธการ กองพันทหาร<br />

ราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษา<br />

พระองค<br />

• รองหัวหนากองสงกําลังบํารุง<br />

มณฑลทหารบกที่ ๑๔<br />

• รองผูอํานวยการกองสงกําลังบํารุง<br />

กองทัพภาคที่ ๑<br />

• รองผูอํานวยการกองกําลังพล<br />

กองทัพภาคที่ ๑<br />

• ผูอํานวยการกองขาว กองทัพนอย<br />

ที่ ๑<br />

• ผูอํานวยการกองกําลังพล กองทัพ<br />

นอยที่ ๑<br />

• ผูอํานวยการกองยุทธการ กองทัพ<br />

นอยที่ ๑<br />

• รองเสนาธิการ กองทัพนอยที่ ๑<br />

• รองผูบัญชาการมณฑลทหารบก<br />

ที่ ๑๒<br />

• รองผูบัญชาการมณฑลทหารบก<br />

ที่ ๑๑<br />

• เสนาธิการกองทัพนอยที่ ๑<br />

• ผูบัญชาการมณฑลทหารบกที่ ๑๑<br />

• รองแมทัพภาคที่ ๑<br />

• ที่ปรึกษากองทัพบก<br />

• ผูทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก<br />

• จเรทหารทั่วไป<br />

ราชการสนามและราชการพิเศษ<br />

• ปฏิบัติราชการปราบปรามผูกอการ<br />

รายคอมมิวนิสต ระยะเวลาปฏิบัติราชการ<br />

๖ ป<br />

• ปฏิบัติหนาที่ราชการตามแผน<br />

ปองกันประเทศของกองทัพบกระยะเวลา<br />

ปฏิบัติราชการ ๑๐ ป<br />

• ปฏิบัติราชการ ๓ จังหวัดชายแดน<br />

ภาคใตในสายงานกองอํานวยการรักษา<br />

ความมั่นคงภายในประเทศในตําแหนง<br />

ผูบังคับหนวยเฉพาะกิจนราธิวาส ระยะ<br />

เวลาปฏิบัติราชการ ๑ ป<br />

มีความภาคภูมิใจที่ไดรับราชการ<br />

ทั้งในสวนกองทัพบก และกระทรวง<br />

กลาโหม ไดรับโปรดเกลาโปรดกระหมอม<br />

เปนราชองครักษเวรและราชองครักษ<br />

พิเศษ ตลอดจนไดปฏิบัติราชการสนาม<br />

ไดรับพระราชทานเหรียญพิทักษเสรีชน<br />

และเหรียญราชการชายแดน ในแนวทาง<br />

การรับราชการไดยึดถือความมุงมั่นในการ<br />

ปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจาก<br />

ผูบังคับบัญชาอยางเต็มกําลังขีดความ<br />

สามารถ หมั่นศึกษาหาความรู และที่สําคัญ<br />

การสรางครอบครัวใหมีความอบอุน ซึ่งจะ<br />

เปนกําลังใจในการปฏิบัติหนาที่ไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

ตลอดระยะเวลาในการรับราชการ<br />

พลเอก สิงหศักดิ์ อุทัยมงคล ไดปฏิบัติ<br />

หนาที่ราชการดวยความทุมเท เสียสละ<br />

อุทิศตนเพื่อประโยชนแกประเทศชาติ<br />

บานเมืองจนไดรับพระราชทานเครื่องราช<br />

อิสริยาภรณชั้นมหาวชิรมงกุฎ นับวา<br />

ทานเปนบุคลากรที่ทรงคุณคาของ<br />

กองทัพบก กระทรวงกลาโหม และ<br />

ประเทศชาติ ที่นาภาคภูมิใจ และนายกยอง<br />

เปนอยางยิ่ง<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

23


พลเอก สัมพันธ ธัญญพืช<br />

ผูอํานวยการองคการสงเคราะหทหารผานศึก<br />

พลเอก สัมพันธ ธัญญพืช<br />

เกิดเมื่อ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๐๑<br />

คุณวุฒิทางการศึกษากอน<br />

เขารับราชการ<br />

• โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล (ชั้นมัธยม<br />

ศึกษาปที่ ๓)<br />

• โรงเรียนเตรียมทหาร รุนที่ ๑๗<br />

• โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา<br />

รุนที่ ๒๘<br />

คุณวุฒิทางการศึกษาเมื่อเขารับราชการ<br />

• หลักสูตรโดดรม รุนที่ ๑๒๑<br />

• หลักสูตรจูโจม รุนที่ ๕๗<br />

• หลักสูตรชั้นนายรอย รุนที่ ๖๖<br />

• Infantry Officer Basic Course<br />

(IOBC)<br />

• Infantry Mortar Platoon<br />

Course (IMPC)<br />

• Intructor Training Course (ITC)<br />

• หลักสูตรชั้นนายพัน รุนที่ ๔๙<br />

• หลักสูตรหลักประจํา ชุดที่ ๖๘<br />

• หลักสูตรวิทยาลัยเสนาธิการทหาร<br />

รุนที่ ๔๐<br />

• หลักสูตรปริญญารัฐศาสตรมหา<br />

บัณฑิต (บริหารรัฐกิจ)<br />

• หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร<br />

ภาครัฐรวมเอกชน<br />

ตําแหนงทางทหารที่สําคัญ<br />

• ผูบังคับหมวดปนเล็ก กองรอย<br />

อาวุธเบา กองพันทหารราบที่ ๑ กรมทหาร<br />

ราบที่ ๑๑ รักษาพระองค<br />

• ผูบังคับกองรอยอาวุธเบา กองพัน<br />

ทหารราบที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษา<br />

พระองค<br />

• นายทหารฝายยุทธการ กองพัน<br />

ทหารราบที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๑๑<br />

รักษาพระองค<br />

• ประจํากองกําลังพล กองทัพ<br />

ภาคที่ ๑<br />

• ผูชวยหัวหนาฝายยุทธการฝาย<br />

อากาศ กองพลที่ ๑ รักษาพระองค<br />

• รองผูบังคับกองพันทหารราบที่ ๑<br />

กรมทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• รองผูชวยทูตฝายทหารบก ประจํา<br />

สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงปกกิ่ง<br />

• หัวหนากองธุรการ กรมขาวทหารบก<br />

• ผูอํานวยการกอง โรงเรียนกรมขาว<br />

ทหารบก<br />

• ผูชวยทูตฝายทหารบก และรักษา<br />

ราชการ ผูชวยทูตฝายทหาร ประจําสถาน<br />

เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงฮานอย<br />

• นายทหารฝายเสนาธิการประจํา<br />

รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม<br />

• นักวิชาการพิเศษ กรมวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยีกลาโหม<br />

• ผูอํานวยการสํานักนโยบาย<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีปองกัน<br />

ประเทศ กรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

กลาโหม<br />

• ผูทรงคุณวุฒิ สํานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

• ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ (อัตรา พลโท)<br />

สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

• เจากรมการสรรพกําลังกลาโหม<br />

• ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ (อัตรา พลเอก)<br />

สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

• ผูอํานวยการองคการสงเคราะห<br />

ทหารผานศึก<br />

ราชการสนาม/พิเศษ<br />

• ปฏิบัติราชการสนาม (ผบ.รอยสนาม)<br />

• ราชองครักษเวร<br />

• นายทหารพิเศษ ประจํากรม<br />

ทหารราบที่ ๓๑ รักษาพระองค<br />

• นายทหารพิเศษ ประจํากรม<br />

นักเรียนนายรอยรักษาพระองค<br />

• นายสถานีวิทยุ FM90 กองพล<br />

ที่ ๑ รักษาพระองค<br />

• ตุลาการศาลทหารกรุงเทพ<br />

• ตุลาการศาลทหารกลาง<br />

• ตุลาการศาลทหารสูงสุด<br />

ตามที่สภากลาโหมไดแตงตั้งให<br />

พลเอก สัมพันธ ธัญญพืช มาดํารงตําแหนง<br />

ผูอํานวยการองคการสงเคราะหทหารผานศึก<br />

ตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ นั้น ตลอดระยะ<br />

เวลา ๑ ป ที่ดํารงตําแหนงไดทุมเท<br />

กําลังกาย กําลังใจ กําลังความคิด ในการที่<br />

จะยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตของ<br />

ทหารผานศึก ครอบครัวทหารผานศึก และ<br />

ทหารนอกประจําการ และเชิดชูเกียรติ<br />

ทหารผานศึก รวมทั้งการรวมมือกับภาค<br />

เอกชนเพื่อสงเสริมสิทธิและเกียรติ ใหแก<br />

ทหารผานศึก<br />

ตลอดชีวิตรับราชการของ พลเอก<br />

สัมพันธ ธัญญพืช ทานไดปฏิบัติหนาที่ดวย<br />

ความทุมเท เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน<br />

แกประเทศชาติ องคกร ทหารผานศึก<br />

ครอบครัวทหารผานศึก และทหารนอก<br />

ประจําการ อยางแทจริง<br />

24


หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

25


๒๐ กันยายน<br />

วันคล้ายวันเฉลิมพระชนม์<br />

องค์ทวิราชา<br />

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์<br />

วั<br />

นที่ในประวัติศาสตร์ที่ได้จารึกว่า<br />

เป็นวันสำคัญของชาติ เพื่อเป็นการ<br />

ถวายราชสักการะแด่พระคุณอัน<br />

ประเสริฐและพระมหากรุณาธิคุณของอดีต<br />

บูรพมหากษัตริย์ของประเทศไทยนั้น<br />

ส่วนมากทางราชการจะกำหนดในวันที่เสด็จ<br />

สวรรคตให้เป็นวันที่จะเชิญชวนประชาชน<br />

ชาวไทยร่วมรำลึก และร่วมถวายความ<br />

จงรักภักดีซึ่งเป็นไปตามธรรมเนียมสากลที่<br />

ทั่วโลกต่างกำหนดให้เป็นรัฐพิธี จึงทำให้<br />

ประชาชนในรุ่นปัจจุบันและอนุชนรุ่นต่อๆ ไป<br />

ต่างรำลึกในวันสวรรคตของอดีตบูรพ<br />

มหากษัตริย์ว่า เป็นวันสำคัญของชาติ<br />

อย่างไรก็ตาม วันสำคัญของอดีตบูรพ<br />

มหากษัตริย์ที่ประชาชนชาวไทยควร<br />

รับทราบอีกวาระหนึ่ง เนื่องเพราะเป็นวัน<br />

คล้ายวันพระราชสมภพหรือวันคล้ายวัน<br />

เฉลิมพระชนมพรรษาของอดีตบูรพมหา<br />

กษัตริย์ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาได้มีการกำหนด<br />

แนวทางในการกำหนดวันสำคัญของอดีต<br />

บูรพมหากษัตริย์ไว้ว่า เมื่อทรงดำรง<br />

พระชนม์ชีพอยู่ให้กำหนดวันคล้ายวันพระ<br />

ราชสมภพหรือวันคล้ายวันเฉลิม<br />

พระชนมพรรษาเป็นวันสำคัญของชาติ<br />

และเมื่อเสด็จสวรรคตแล้วให้กำหนดวัน<br />

คล้ายวันเสด็จสวรรคตเป็นวันสำคัญ ทั้งนี้<br />

หากประชาชนชาวไทยจะรำลึกถึงวันคล้าย<br />

วันพระราชสมภพหรือวันคล้ายวันเฉลิม<br />

พระชนมพรรษา ก็สามารถกระทำได้ด้วย<br />

จิตใจที่เปี่ยมล้นไปด้วยความจงรักภักดี<br />

ต่อพระมหากรุณาธิคุณของอดีตบูรพ<br />

มหากษัตริย์<br />

ผู้เขียนจึงขอเรียนเชิญทุกท่าน ร่วม<br />

รำลึกถึงวันสำคัญอีกวันหนึ่งในปีปฏิทิน<br />

สากล คือวันที่ ๒๐ กันยายน เพราะเป็น<br />

วันแห่งปรากฏการณ์สำคัญของกรุง<br />

รัตนโกสินทร์ เนื่องจากเป็นวันคล้ายวัน<br />

เฉลิมพระชนมพรรษาของอดีตพระมหา<br />

กษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ถึง ๒ พระองค์<br />

คือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา<br />

จุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา<br />

อานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร<br />

ซึ่งผู้เขียนขออัญเชิญพระราชประวัติของ<br />

องค์ทวิราชหรืออดีตพระมหากษัตริย์ทั้ง ๒<br />

พระองค์ เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้กรุณารับทราบ<br />

ถึงพระราชกรณียกิจที่สำคัญ กล่าวคือ<br />

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา<br />

จุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๕ แห่ง<br />

ราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่<br />

๒๐ กันยายน ๒๓๙๖ (วันอังคาร เดือน ๑๐<br />

แรม ๓ ค่ำ ปีฉลู) เป็นพระราชโอรสพระองค์<br />

ที่ ๔ ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร<br />

มหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ<br />

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีเสด็จขึ้น<br />

ครองสิริราชสมบัติเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม<br />

26<br />

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


๒๔๑๑ และเสด็จสวรรคต เมื่อวัน<br />

อาทิตย์ที่๒๓ ตุลาคม ๒๔๕๓ ตลอดรัชสมัย<br />

ของพระองค์ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ<br />

เพื่อวางรากฐานปรับปรุงประเทศไทยให้<br />

พัฒนาและเจริญก้าวหน้าทัดเทียมนานา<br />

อารยประเทศ โดยในยุคดังกล่าวนั้น<br />

ประเทศต่างๆ รอบประเทศไทยล้วนแล้วแต่<br />

ตกเป็นอาณานิคมของประเทศมหาอำนาจ<br />

คือ อังกฤษและฝรั่งเศสด้วยกันทั้งสิ้น<br />

พระองค์จึงทรงริเริ่มการพัฒนาประเทศ<br />

ด้วยพระปรีชาสามารถ และด้วย<br />

สายพระเนตรที่ยาวไกล จึงทำให้<br />

ประเทศไทยได้รับการพัฒนาอย่างเป็น<br />

มาตรฐานสากล จนประเทศมหาอำนาจ<br />

ดังกล่าวไม่สามารถอ้างเหตุผลเข้ายึดครอง<br />

ประเทศไทยได้ ทั้งนี้ พระราชกรณียกิจ<br />

อันสำคัญที่ขออัญเชิญมาประดิษฐาน<br />

ในบทความนี้ ประกอบด้วย<br />

๑. พระราชกรณียกิจด้านการทหาร<br />

โดยในวันศุกร์ที่ ๘ เมษายน ๒๔๓๐ ทรง<br />

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ<br />

พระบรมราชโองการ ชื่อว่า ประกาศจัดการ<br />

ทหาร ด้วยการตั้งกรมยุทธนาธิการ ที่รวม<br />

กรมทหารบกและกรมทหารเรือไว้ด้วยกัน<br />

ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๓๓ ทรงพระกรุณาโปรด<br />

เกล้าฯ ให้ยกระดับกรมยุทธนาธิการขึ้น<br />

เป็นกระทรวงยุทธนาธิการและได้พัฒนา<br />

อย่างต่อเนื่องจนเป็นกระทรวงกลาโหม<br />

ในปัจจุบัน ทั้งนี้ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ<br />

ให้ตั้งโรงเรียนนายร้อยและโรงเรียนนายเรือ<br />

เพื่อผลิตบุคลากรทางการทหาร ควบคู่ไป<br />

กับการพัฒนาขีดความสามารถทางการรบ<br />

ให้ทันสมัยทัดเทียมนานาอารยประเทศ<br />

อย่างต่อเนื่องอีกด้วย<br />

๒. พระราชกรณียกิจด้านการปฏิรูป<br />

ระบบราชการ โดยในวันที่ ๑ เมษายน<br />

๒๔๓๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้<br />

ประกาศพระบรมราชโองการชื่อว่า<br />

ประกาศจัดตั้งเสนาบดี จึงทำให้เกิด<br />

กระทรวงจำนวน ๑๒ กระทรวง คือ<br />

กระทรวงมหาดไทย กระทรวงนครบาล<br />

กระทรวงโยธาธิการ กระทรวงธรรมการ<br />

กระทรวงเกษตรพานิชการ กระทรวง<br />

ยุติธรรม กระทรวงมรุธาธร กระทรวงยุทธ-<br />

นาธิการ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ<br />

กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม<br />

และกระทรวงวัง จึงนับเป็นการปฏิรูประบบ<br />

ราชการไทยครั้งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์<br />

๓. พระราชกรณียกิจด้านการศึกษา<br />

โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง<br />

โรงเรียนหลวงแห่งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๔๔๔<br />

คือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม เพื่อให้บุตรหลาน<br />

ของประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสศึกษา<br />

หาความรู้กันอย่างเป็นระบบ พร้อมกับ<br />

พัฒนาระบบการสอบไล่สามัญศึกษาขึ้น<br />

เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ที่ได้ศึกษา<br />

เล่าเรียนมา นอกจากนี ้ ยังทรงพระกรุณา<br />

โปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างโรงเรียนหลวงขึ้น<br />

อีกหลายแห่ง กระจัดกระจายไปตามวัด<br />

ต่างๆ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ต่อมา<br />

เมื่อการศึกษาขยายตัวเจริญขึ้นด้วยความ<br />

สนใจของประชาชนที่ต้องการมีความรู้<br />

มากขึ้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้<br />

โอนโรงเรียนเหล่านี้อยู่ภายใต้การควบคุม<br />

ของกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการ<br />

ในปัจจุบัน) นอกจากนี้ ยังมีการพิมพ์ตำรา<br />

พระราชทานเพื่อเป็นตำราในการเรียน<br />

การสอนที่เป็นมาตรฐานด้วย<br />

๔. พระราชกรณียกิจด้าน<br />

สาธารณูปโภค ประกอบด้วย<br />

๔.๑ กิจการไปรษณีย์โทรเลข ทรงมี<br />

พระราชวินิจฉัยว่า การสื่อสารเป็นเรื่อง<br />

สำคัญเร่งด่วนและจำเป็นอย่างมากใน<br />

อนาคต จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้<br />

กรมกลาโหม ดำเนินการก่อสร้างวางสาย<br />

โทรเลขสายแรกของประเทศ ซึ่งเริ่ม<br />

ก่อสร้างในปีพ.ศ.๒๔๑๘ เส้นทางกรุงเทพฯ<br />

– ปากน้ำ (สมุทรปราการ) ระยะทาง ๔๕<br />

กิโลเมตรและได้วางสายใต้น้ำต่อยาวออก<br />

ไปจนถึงประภาคารที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา<br />

สำหรับการบอกข่าวเรือเข้า-ออก ต่อมา<br />

ได้วางสายโทรเลขขึ้นอีกสายหนึ่งจาก<br />

กรุงเทพฯ-บางปะอิน และขยายไปทั่วถึง<br />

ในเวลาต่อมา พร้อมกับทรงพระกรุณา<br />

โปรดเกล้าฯ จัดตั้งเป็นกรมโทรเลขในปี<br />

พ.ศ.๒๔๒๙ สำหรับกิจการไปรษณีย์จึงทรง<br />

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกิจการ<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

27


ไปรษณีย์ขึ้นเป็นครั้งแรกในวันที่ ๒<br />

กรกฎาคม ๒๔๒๔ มีที่ทำการเรียกว่า<br />

ไปรษณียาคาร (ริมแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณ<br />

ปากคลองตลาด) และเปิดดำเนินการอย่าง<br />

เป็นทางการครั้งแรกในวันที่ ๔ สิงหาคม<br />

๒๔๒๖ หลังจากนั้น จึงทรงพระกรุณา<br />

โปรดเกล้าฯ ให้กรมโทรเลขรวมเข้ากับ<br />

กรมไปรษณีย์ชื่อว่า กรมไปรษณีย์โทรเลข<br />

ในปี พ.ศ.๒๔๔๑<br />

๔.๒ กิจการไฟฟ้า ทรงมีพระราช<br />

วินิจฉัยว่า ไฟฟ้าเป็นพลังงานที่สำคัญและ<br />

มีประโยชน์อย่างมาก เมื่อมีโอกาสประพาส<br />

ต่างประเทศ ได้ทอดพระเนตรกิจการไฟฟ้า<br />

และทรงเห็นถึงประโยชน์มหาศาลที่จะเกิด<br />

จากการมีไฟฟ้า พระองค์จึงทรงมอบหมายให้<br />

เจ้าหมื่นไวยวรนารถ ดำเนินการผลิตและจ่าย<br />

กระแสไฟฟ้าขึ้นอย่างเป็นระบบ ในปี พ.ศ.<br />

๒๔๒๗ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๓ จึงทรงพระ<br />

กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งโรงไฟฟ้าที่<br />

วัดเลียบหรือวัดราชบูรณะ และพัฒนากิจการ<br />

จนเป็นมาตรฐานใช้สืบต่อมาจนปัจจุบัน<br />

๔.๓ กิจการประปา เมื่อเสด็จ<br />

ประพาสยุโรป ได้ทอดพระเนตรเห็น<br />

คุณภาพชีวิตที่ดีของชาว<br />

ตะวันตก ที่มีน้ำที่สะอาดไว้ใน<br />

การอุปโภคและบริโภคจาก<br />

ระบบการผลิตและจ่ายน้ำ ชื่อ<br />

“WATER WORKS” จึงทรงมี<br />

พระราชดำริให้มีการก่อสร้าง<br />

กิจการประปาขึ้นใน<br />

ประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย<br />

ในวันที่๑๓ กรกฎาคม ๒๔๕๒<br />

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้<br />

ประกาศพระบรมราชโองการสร้างการ<br />

ประปา โดยให้กรมสุขาภิบาลเป็นผู้ดูแล<br />

รับผิดชอบจัดการที่จะนำน้ำสะอาดมาใช้<br />

ในพระนครและพัฒนากิจการจนเป็น<br />

มาตรฐานใช้สืบต่อมาจนปัจจุบัน<br />

๔.๔ กิจการโทรศัพท์ ทรงมีพระ<br />

ราชวินิจฉัยถึงวิทยาการในการติดต่อ<br />

สื่อสารที่ทันสมัย ที่จะเป็นประโยชน์ในการ<br />

พัฒนาประเทศ จึงทรงพระกรุณาโปรด<br />

เกล้าฯ ให้ กรมกลาโหมวางสายโทรศัพท์<br />

และนำโทรศัพท์เข้ามาทดลองใช้เป็น<br />

ครั้งแรก ในปี พ.ศ.๒๔๒๔ จากกรุงเทพฯ<br />

- สมุทรปราการ เพื่อแจ้งข่าวเรือเข้า–ออก<br />

ที่ปากน้ำ และพัฒนากิจการจนเป็น<br />

มาตรฐานใช้สืบต่อมาจนปัจจุบัน<br />

๕. พระราชกรณียกิจด้านการพยาบาล<br />

และสาธารณสุข ทรงมีพระราชดำริที่จะ<br />

สร้างโรงพยาบาลเพื่อรักษาประชาชนด้วย<br />

วิธีการแพทย์แผนใหม่ที่เป็นมาตรฐาน<br />

สากลทดแทนการรักษาแบบเดิมที่ล้าสมัย<br />

ไม่สามารถช่วยคนได้อย่างทันท่วงที<br />

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้าง<br />

โรงพยาบาลขึ้นบริเวณริมคลองบางกอกน้อย<br />

ซึ่งเป็นที่ตั้งของพระราชวัง<br />

บวรสถานพิมุข (วังหลัง) โดยได้<br />

พระราชทานทรัพย์สินส่วน<br />

พระองค์ จำนวน ๑๖,๐๐๐ บาท<br />

เป็นทุนเริ่มแรกในการสร้าง<br />

โรงพยาบาล ให้ใช้ชื่อว่า<br />

โรงพยาบาลวังหลัง เปิด<br />

ทำการรักษาแก่ประชาชน<br />

ทั่วไปเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน<br />

๒๔๓๑ ต่อมา ได้พระราชทานนาม<br />

โรงพยาบาลใหม่ว่า โรงพยาบาลศิริราช เพื่อเป็น<br />

การระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าลูกยาเธอ<br />

เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ พระราชธิดาที่<br />

ประสูติในสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี<br />

พระบรมราชินีนาถ ซึ่งสิ้นพระชนม์ในขณะ<br />

มีพระชนมายุเพียง ๑ ปี ๗ เดือน พร้อมกับ<br />

เครื่องใช้และทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จ<br />

พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์<br />

จำนวน ๕๖,๐๐๐ บาท เพื่อเป็นทุนในการใช้จ่าย<br />

๖. พระราชกรณียกิจด้านการคมนาคม<br />

ในปี พ.ศ.๒๔๓๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ<br />

ให้คณะเสนาบดีและกรมโยธาธิการสำรวจ<br />

เส้นทาง เพื่อวางรากฐานการสร้างทาง<br />

รถไฟจากกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ มีการ<br />

วางแผนให้ทางรถไฟสายนี้ตัดเข้าเมือง<br />

ใหญ่ๆ ในบริเวณภาคกลางของประเทศ<br />

แล้วแยกเป็นชุมสายตัดเข้าสู่จังหวัดใหญ่<br />

ทางแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งการ<br />

สำรวจเส้นทางในการวางเส้นทางรถไฟนี้<br />

เสร็จสิ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๔ และวันที่ ๙<br />

มีนาคม ๒๔๓๔ เสด็จพระราชดำเนินขุดดิน<br />

ก่อพระฤกษ์เพื่อสร้างทางรถไฟครั้งแรก<br />

ในประเทศไทย<br />

๗. พระราชกรณียกิจด้านการกฎหมาย<br />

ทรงมีพระราชวินิจฉัยว่ากฎหมายในเวลานั้น<br />

ล้าสมัย ทำให้ชาวต่างชาติใช้เป็นข้ออ้าง<br />

ในการเอาเปรียบไทยเรื่องการทำสนธิ<br />

สัญญาเกี่ยวกับการขึ้นศาลตัดสินคดีที่ไม่ให้<br />

ชาวต่างชาติขึ้นศาลไทย โดยตั้งศาลกงสุล<br />

พิจารณาคดีคนในบังคับต่างชาติเอง แม้ว่า<br />

จะมีคดีความกับชาวไทยก็ตาม จึงทรง<br />

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้ประมวล<br />

กฎหมายอาญาให้ทันสมัยทัดเทียมกับ<br />

อารยประเทศ ในปี พ.ศ.๒๔๔๐ ทั้งยังทรง<br />

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดตั้งโรงเรียน<br />

กฎหมายแห่งแรกของประเทศไทย เพื่อเป็น<br />

สถานที่สำคัญที่ผลิตนักกฎหมายที่มีความรู้<br />

ความสามารถในการพัฒนาประเทศและ<br />

พัฒนามาจวบจนปัจจุบัน<br />

28<br />

พลตรี ชัยวิทย์ ชยาภินันท์


๘. พระราชกรณียกิจด้านระบบเงินตรา<br />

ทรงมีพระราชดำริปรับปรุงระบบเงินตรา<br />

ของไทย โดยครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๔๑๗<br />

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำธนบัตร<br />

ขึ้น เรียกว่า อัฐ เป็นกระดาษมีมูลค่าเท่ากับ<br />

เหรียญทองแดง ๑ อัฐ และได้พัฒนาอย่าง<br />

ต่อเนื่อง จนในปี พ.ศ.๒๔๕๑ จึงทรงพระ<br />

กรุณาโปรดเกล้าฯ ออกประกาศพระบรม<br />

ราชโองการยกเลิกการใช้เงินพดด้วงและ<br />

ตราพระราชบัญญัติมาตราทองคำ ร.ศ.<br />

๑๒๗ ประกาศใช้เมื่อวันที่๑๑ พฤศจิกายน<br />

๒๔๕๑ ว่าด้วยเรื่องให้ใช้แร่ทองคำเป็น<br />

มาตรฐานเงินตราแทนแร่เงิน เพื่อให้<br />

เสถียรภาพเงินตราของไทยสอดคล้องกับ<br />

หลักสากล และพัฒนามาจวบจนปัจจุบัน<br />

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา<br />

อานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร<br />

พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๘ แห่ง<br />

ราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่<br />

๒๐ กันยายน ๒๔๖๘ เป็นพระโอรสใน<br />

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม<br />

พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทรา<br />

บรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินีและ<br />

พระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก ๒ พระองค์<br />

คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยา<br />

ณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์<br />

และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา<br />

ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จขึ้น<br />

ทรงราชย์เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ และ<br />

เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙<br />

ทั้งนี้ พระราชกรณียกิจอันสำคัญที่ขอ<br />

อัญเชิญมาประดิษฐานในบทความนี้<br />

ประกอบด้วย<br />

๑. พระราชกรณียกิจด้านการปกครอง<br />

เสด็จพระราชดำเนินไปในพระราชพิธี<br />

พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่<br />

๙ พฤษภาคม ๒๔๘๙ และเสด็จ<br />

พระราชดำเนินไปในการเปิดประชุมสภา<br />

ผู้แทนราษฎรในวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๘๙<br />

ซึ่งพระราชกรณียกิจที่สำคัญคือ เสด็จ<br />

พระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมชาวไทยเชื้อสายจีน<br />

ณ พื้นที่สำเพ็ง จังหวัดพระนคร พร้อมด้วย<br />

สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล<br />

อดุลยเดช (พระอิสริยยศในขณะนั้น) เมื่อวันที่<br />

๓ มิถุนายน ๒๔๘๙ เพื่อลดความขัดแย้งกัน<br />

ระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน<br />

โดยเสด็จพระราชดำเนินด้วยพระบาทเป็น<br />

ระยะทางประมาณ ๓ กิโลเมตร ซึ่งการ<br />

เสด็จพระราชดำเนินสำเพ็งในครั้งนี้<br />

เป็นการประสานรอยร้าวที่เกิดขึ้นของ<br />

พสกนิกรภายใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร<br />

๒. พระราชกรณียกิจด้านการศาสนา<br />

เสด็จพระราชดำเนินไปในการประกอบพิธี<br />

ทรงปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะท่ามกลาง<br />

มณฑลสงฆ์ในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตน-<br />

ศาสดาราม เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน<br />

๒๔๘๑ นอกจากนี้ ยังเสด็จพระราชดำเนิน<br />

ไปทรงสักการะพระพุทธรูปในพระอารามที่<br />

สำคัญ อาทิ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม<br />

ราชวรมหาวิหาร วัดเบญจมบพิตร<br />

ดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร วัดสระเกศราช<br />

วรมหาวิหาร วัดอรุณราชวรารามราช<br />

วรมหาวิหาร วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร และ<br />

วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร นอกจากนี้<br />

ยังทรงพระราชทานพระราชทรัพย์บำรุง<br />

วัดวาอาราม กับพระราชทานพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์แก่ศาสนาอื่นตามสมควร<br />

๓. พระราชกรณียกิจด้านการศึกษา<br />

เสด็จพระราชดำเนินไปประกอบพระราช<br />

กรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของ<br />

ประเทศ โดยเสด็จพระราชดำเนินทอด<br />

พระเนตรกิจการของหอสมุดแห่งชาติและ<br />

ทรงเยี่ยมสถานศึกษาหลายแห่ง อาทิ<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียน<br />

อัสสัมชัญ โรงเรียนเทพศิรินทร์ นอกจากนี้<br />

ยังได้เสด็จพระราชดำเนินพระราชทาน<br />

ปริญญาบัตรเป็นครั้งแรก ณ หอประชุม<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๓<br />

เมษายน ๒๔๘๙ และหอประชุมราช<br />

แพทยาลัย ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย<br />

แพทยศาสตร์ เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน<br />

๒๔๘๙<br />

๔. พระราชกรณียกิจด้านการเกษตร<br />

เสด็จพระราชดำเนินไปทรงหว่านข้าว<br />

ณ แปลงสาธิต ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ เพื่อทรงเป็น<br />

มิ่งขวัญให้แก่เกษตรกรชาวไทยที่เป็น<br />

พสกนิกรของพระองค์<br />

ในโอกาสอันสำคัญคือ วันที่ ๒๐<br />

กันยายน ๒๕๖๑ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเฉลิม<br />

พระชนมพรรษาขององค์ทวิราชา คือ พระบาท<br />

สมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาท<br />

สมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล<br />

พระอัฐมรามาธิบดินทรนี้ ผู้เขียนจึงขอ<br />

เรียนเชิญทุกท่านได้ร่วมน้อมรำลึกถึง<br />

พระมหากรุณาธิคุณของทั ้งสองบูรพกษัตริยา<br />

ธิราชเจ้าแห่งราชวงศ์จักรี พระผู้ทรงมี<br />

คุณูปการแก่ประเทศไทยด้วยกันทุกพระองค์<br />

ทั้งยัง จะได้ร่วมกันเทิดทูนสถาบันพระมหา<br />

กษัตริย์อันเป็นสถาบันที่เคารพเทิดทูน<br />

ของประชาชนชาวไทยตลอดนิรันดรกาล<br />

ด้วยเทอญ<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

29


พระผู้ทรงพัฒนาระบบข้าราชการพลเรือน<br />

ในระบบประชาธิปไตย<br />

หลักประการที่ ๔ ให้ข้าราชการ<br />

พลเรือนมีวินัย พระบาทสมเด็จ<br />

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง<br />

บันทึกเมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช<br />

๒๔๖๙ หลังจากสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนคร<br />

สวรรค์วรพินิต ทูลเกล้าฯ ถวายร่างพระราช<br />

บัญญัติว่าด้วยการลงโทษข้าราชการ ที่นาย<br />

อาร์.กียอง ร่างถวาย มีข้อความในพระราช<br />

บันทึกตอนหนี่งว่า<br />

“...ร่างพระราชบัญญัติ ควรส่งไปให้<br />

เสนาบดีออกความเห็นมาก่อน เดิมคิดว่า<br />

จะออกให้ทันใช้ในศกหน้า รวมกันกับ<br />

ระเบียบการรับข้าราชการพลเรือนเข้าทา<br />

ราชการ แต่ถ้าจะออกระเบียบการลงโทษนี้<br />

เสียก่อนก็ได้ ให้เสนาบดีพิจารณาว่าจะ<br />

๑. ควรออกพระราชบัญญัติระเบียบการ<br />

ลงโทษโดยเร็วหรือจะรอเอาไว้ออกพร้อม<br />

กับระเบียบการรับคนเข้าทาราชการ ๒. จะควร<br />

(ตอนที ่ ๑๐)<br />

สานักพัฒนาระบบราชการกลาโหม<br />

ทาเป็นสองพระราชบัญญัติหรือรวมไป<br />

ในพระราชบัญญัติเดียวกัน...”<br />

เมื่อเป็นที่ตกลงกันว่าให้รวม<br />

ระเบียบการลงโทษข้าราชการกับระเบียบ<br />

การรับคนเข้าทาราชการไว้ในพระราช<br />

บัญญัติเดียวกันจึงมีคาปรารภในพระราช<br />

บัญญัติระเบียบข้าราชการ พ.ศ.๒๔๗๑<br />

ซึ่งแสดงพระราชประสงค์มีความตอนหนึ่งว่า<br />

“...ส่วนฝ่ายข้าราชการก็ให้ได้รับ<br />

ประโยชน์ยิ่งขึ้น เนื่องจากความสะพรั่ง<br />

พร้อมด้วยข้าราชการซึ่งมีความสามารถ<br />

และอุบายของราชการกับหน้าที่ และวินัย<br />

อันตนพึงรักษาเป็นนิตยกาล...”<br />

พระราชบันทึกและพระราชประสงค์<br />

ตามคาปรารภในพระราชบัญญัติดังกล่าว<br />

เป็นหลักฐานยืนยันว่าทรงวางรากฐานระบบ<br />

ข้าราชการพลเรือนให้ข้าราชการพลเรือนมี<br />

วินัยด้วย ทั้งนี้ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ<br />

30<br />

Êํҹѡ¾Ñ²¹ÒÃкºÃÒª¡ÒáÅÒâËÁ


พลเรือน พุทธศักราช ๒๔๗๑ ได้บัญญัติ<br />

เกี่ยวกับวินัยและการลงโทษไว้หลายประการ<br />

สำหรับวินัยที่กำหนดให้ข้าราชการ<br />

ต้องถือปฏิบัติ ได้แก่<br />

๑. อุทิศเวลาทั้งหมดของตนให้แก่<br />

ราชการ<br />

๒. รักษาชื่อเสียงมิให้ขึ้นชื่อว่าเป็น<br />

ผู้ประพฤติชั่ว<br />

๓. เคารพเชื่อฟังผู้บังคับบัญชา<br />

๔. ถือประโยชน์ของราชการแผ่นดิน<br />

เป็นที่ตั้ง<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

๕. ไม่กระทำกิจการใดๆ อันอาจ<br />

เสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่<br />

ราชการ<br />

ส่วนวินัยที่เป็นข้อห้ามมิให้ข้าราชการ<br />

ปฏิบัติ ได้แก่<br />

๑. ห้ามมิให้อาศัยอำนาจหน้าที่<br />

ราชการจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมก็ตาม<br />

เพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเอง หรือแก่<br />

ญาติมิตรของตน<br />

๒. ห้ามมิให้เป็นตัวกระทำการ<br />

ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทใดๆ<br />

๓. ห้ามกระทำการหาผลประโยชน์<br />

ใดๆ อันอาจเป็นทางทำให้เสียความเที่ยงธรรม<br />

ในตำแหน่งหน้าที่ของตน<br />

๔. ในการปฏิบัติราชการ<br />

ห้ามมิให้กระทำการข้าม<br />

ผู้บังคับบัญชาเหนือตน<br />

เว้นไว้แต่จะได้รับอนุญาต<br />

เป็นพิเศษชั่วคราว<br />

นอกจากนี้ ยังได้บัญญัติ<br />

ให้ข้าราชการต้องปฏิบัติ<br />

ตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา<br />

ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการ<br />

โดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้าไม่<br />

เห็นพ้องด้วยจะเสนอ<br />

ทัดทานเป็นลายลักษณ์<br />

อักษรก็ได้ แต่ต้องเสนอทันที<br />

31


และเมื่อได้เสนอทัดทานแล้วผู้บังคับบัญชา<br />

มิได้สั่งถอนหรือแก้ไขคำสั่งที่สั่งไป<br />

ข้าราชการซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้อง<br />

ปฏิบัติตาม<br />

สำหรับโทษผิดวินัยข้าราชการพลเรือน<br />

พระราชบัญญัตินี้ได้กำหนดไว้ ๔ สถาน ได้แก่<br />

๑. ไล่ออก<br />

๒. ลดตำแหน่งหรือลดขั้นเงินเดือน<br />

๓. ตัดเงินเดือน<br />

๔. ตำหนิโทษเป็นลายลักษณ์อักษร<br />

การวางรากฐานของระบบข้าราชการ<br />

พลเรือนด้วยหลัก ๔ ประการ ให้สัมฤทธิผลได้<br />

ก็ด้วยพระราชปณิธานอัน<br />

แน่วแน่ของพระบาทสมเด็จ<br />

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นับตั้งแต่<br />

ทรงมีพระราชดำริให้วางระบบ<br />

ข้าราชการพลเรือน ทรงขอ<br />

คำปรึกษาจากผู้ที่เกี่ยวข้อง<br />

และผู้รู้ ทรงร่วมพิจารณา<br />

ร่างระเบียบฯ ทรงรับสั่งถาม<br />

ในข้อสงสัย การแก้ไขถ้อยคำ<br />

หาความหมาย ขณะเมื่อร่าง<br />

ก่อนจะเป็นพระราชบัญญัติ<br />

ที่สมบูรณ์ด้วยพระองค์เอง<br />

พระราชดำริให้วาง<br />

ระบบข้าราชการพลเรือน<br />

ปรากฏหลักฐานตามหนังสือ<br />

ราชเลขาธิการทูลสมาชิกอภิรัฐมนตรีและ<br />

เสนาบดีกระทรวงต่างๆ ซึ่งสมเด็จพระเจ้า<br />

บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ<br />

ทูลเกล้าฯ ถวายและร่างพระราชบัญญัติว่า<br />

ด้วยการลงโทษข้าราชการพลเรือน และ<br />

สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต<br />

ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อให้อภิรัฐมนตรี และ<br />

เสนาบดีพิจารณาถวายความเห็น<br />

ส่วนที่ทรงขอคำแนะนำจากผู้ที่<br />

เกี่ยวข้องและรู้นั้นปรากฏว่า ทรงขอความ<br />

เห็นเกี่ยวกับร่างระเบียบข้าราชการ<br />

พลเรือนและร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการ<br />

ลงโทษข้าราชการพลเรือนจากอภิรัฐมนตรี<br />

และเสนาบดีกระทรวงต่างๆ ตลอดจนรับ<br />

ฟังความคิดเห็นของที่ปรึกษากระทรวง<br />

ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ มีอังกฤษ<br />

ฝรั่งเศส และอเมริกัน แสดงให้เห็นว่าทรง<br />

มีความรอบคอบระมัดระวังในการริเริ่มวาง<br />

หลักใหม่เป็นครั้งแรกและมีพระราชหฤทัย<br />

เป็นนักประชาธิปไตยที่จะต้องรับฟัง<br />

ความเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องก่อนที่จะตัดสิน<br />

32<br />

สำนักพัฒนาระบบราชการกลาโหม


พระราชหฤทัย<br />

การที่ทรงรับสั่งถามข้อสงสัยในร่าง<br />

ระเบียบข้าราชการพลเรือน มีทั้ง<br />

พระราชทานคำแนะนำ และทรงแก้ไข<br />

ถ้อยคำในระเบียบฯ ดังปรากฏหลักฐานร่าง<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน<br />

ที่กรรมการร่างพระราชบัญญัตินำขึ้น<br />

ทูลเกล้าฯ ถวาย มีพระราชหัตถเลขาด้วย<br />

เส้นดินสอแดงบ้าง น้ำเงินบ้าง ซึ่งราช<br />

เลขาธิการได้บันทึกไว้ว่า “มีพระราช<br />

กระแสว่าพระราชหัตถเลขาที่ทรงเขียน<br />

ด้วยเส้นแดงนั้น เป็นพระราชดำรัส ส่วนที่<br />

ทรงเขียนด้วยดินสอน้ำเงินนั้น โปรดเกล้าฯ<br />

ให้สอบสวน ทั้งนี้แสดงถึงว่า ทรงพระปรีชา<br />

สามารถรอบรู้ในหลักวิชาและระเบียบ<br />

เกี่ยวกับระเบียบข้าราชการพลเรือนอย่าง<br />

ลึกซึ้งกว้างขวาง”<br />

ก่อนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ<br />

ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว คำว่า “ข้าราชการ<br />

พลเรือน” ยังไม่ได้ใช้กันเป็นทางการ เพียง<br />

แต่มีการแบ่งเรียกข้าราชการเป็น ๒ ฝ่าย<br />

คือ “ข้าราชการฝ่ายทหาร” และ<br />

“ข้าราชการฝ่ายพลเรือน” ซึ่งจะมีคำว่า<br />

“ฝ่าย” อยู่ด้วย คำว่า “ข้าราชการ<br />

พลเรือน” ซึ่งไม่มีคำว่า “ฝ่าย” เพิ่งจะใช้<br />

เป็นทางการ เมื่อพระบาทสมเด็จพระ<br />

ปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตราพระราชบัญญัติ<br />

ระเบียบข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช<br />

๒๔๙๑ ขึ้น โดยพระราชบัญญัติฉบับนี้<br />

ตราขึ้นตามหลัก ๔ ประการที่ทรงมีพระราช<br />

ดำริพระราชทานไว้ดังกล่าวข้างต้น<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน<br />

พุทธศักราช ๒๔๗๑ คำปรารภว่า<br />

“...พระบาทสมเด็จพระปรมินทร<br />

มหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

มีพระบรมราชโองการดำรัสเหนือเกล้าฯ<br />

สั่งว่า<br />

โดยที่มีพระราชประสงค์ จะทรงวาง<br />

ระเบียบข้าราชการพลเรือนให้เป็นไปใน<br />

ทางเลือกสรรผู้มีความรู้และความสามารถ<br />

เข้ารับราชการเป็นอาชีพ ไม่มีกังวลด้วยการ<br />

แสวงผลประโยชน์ในทางอื่น ส่วนฝ่าย<br />

ข้าราชการก็ให้ได้รับประโยชน์ยิ่งขึ้น<br />

เนื่องจากความสะพรั่งพร้อมด้วยข้าราชการ<br />

ซึ่งมีความสามารถและรอบรู้ในวิถีและ<br />

อุบายของราชการ กับทั้งหน้าที่และวินัย<br />

อันตนพึงรักษาเป็นนิตยกาล<br />

จึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา<br />

พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยบทมาตรา<br />

ต่อไปนี้...”<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

33


เสด็จเตี ่ยออกศึก<br />

ภารกิจร่วมปราบจลาจลที ่เกาะครีต (ตอนที<br />

พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์<br />

ทรงเครื่องเเบบนักเรียนทำการนายเรือสยาม<br />

ฉายในเดือนกันยายน พ.ศ.๒๔๔๐ พระชันษา ๑๗ ปี<br />

ต่อจากฉบับที่แล้ว<br />

ข<br />

๕. นักเรียนทำการนายเรือ “อาภากร”<br />

ณะที่พระองค์เจ้าอาภากรฯ กำลัง<br />

ทรงศึกษาวิชาการทหารเรืออยู่ที่<br />

ประเทศอังกฤษนั้น พระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ<br />

๑<br />

สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ ๒ หลวงสุนทร ๓ หลวงสุนทร ๔ กัปตัน ๕ กินเข้า<br />

ประพาสทวีปยุโรปครั้งเเรกโดยเรือ<br />

พระที่นั่งมหาจักรี เมื่อปีระกา พ.ศ.๒๔๔๐<br />

ระหว่างทาง พระองค์เจ้าอาภากรฯ ขอลา<br />

มารับเสด็จพระบรมชนกนาถ โดยเสด็จจาก<br />

เมืองกรีนิช (Greenwich) ประเทศอังกฤษ<br />

่ ๒)<br />

พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์<br />

อันเป็นที่ตั้งโรงเรียนของมิสเตอร์ลิตเติล<br />

จอห์น เพื่อเข้ากระบวนเสด็จที่เมืองกอล<br />

(Galle) ในเกาะลังกา ทรงพระกรุณา<br />

โปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้าอาภากรฯ<br />

รับราชการตำเเหน่งออฟฟิเซอร์ในเรือ<br />

อยู่ในบังคับกัปตันคัมมิง (Capt. R.S.D.<br />

Cumming R.N.) เพื่อได้เป็นการฝึกหัด<br />

เดินเรือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชหัตถเลขาพระราชทาน<br />

เเด่สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี<br />

พระบรมราชินีนาถ ๑ (ขณะที่ทรงดำรง<br />

ตำเเหน่ง “ผู้สำเร็จราชการเเผ่นดินต่าง<br />

พระองค์”) ในตอนท้ายของ ฉบับวันที่ ๑๙<br />

เมษายน พ.ศ.๒๔๔๐ กล่าวถึงพระองค์เจ้า<br />

อาภากรฯ ว่า<br />

“ในเวลาเขียนหนังสืออยู่นี ้ อาภากร,<br />

หลวงสุนทร, ๒ มาถึง อาภากรโตขึ้นมากเเล<br />

ขาวขึ้น เขามีเครื่องเเต่งตัวเป็นมิดชิบเเมน ๓<br />

มาพร้อมเเล้ว ฉันได้มอบให้อยู่ในใต้บังคับ<br />

กัปตัน ๔ เป็นสิทธิขาด เว้นเเต่วันนี้เขา<br />

อนุญาตให้มากินเข้า ๕ กับฉันวันหนึ่ง”<br />

พระองค์เจ้าอาภากรฯ ทรงเป็น<br />

นักเรียนทำการนายเรืออังกฤษ ขณะที่มี<br />

พระชันษาเพียง ๑๘ ปีเท่านั้น คือในราวปี<br />

พ.ศ.๒๔๔๐ เเละเป็นช่วงเวลาที่พระองค์<br />

ทรงฝึกงานอยู่ในเรือ Revenge ของราช<br />

นาวีอังกฤษ โดยลงประจำเรือ Revenge<br />

ในวันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๔๐<br />

๖. เรือ Revenge<br />

เรือ Revenge ที่พระองค์เจ้าอาภากรฯ<br />

ทรงรับการฝึก เป็นเรือประจัญบานชั้นที่ ๑<br />

34<br />

พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์


เรือพระที่นั่งมหาจักรีลาที่ ๑<br />

กัปตันคัมมิง<br />

Capt. R.S.D. Cumming. R.N.<br />

ผู้บังคับการเรือ เรือพระที่นั่งมหาจักรี<br />

หลวงสุนทร<br />

(หลวงสุนทรโกษา)<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ ๑<br />

เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ โดยเรือพระที่นั่งมหาจักรี<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี<br />

พระบรมราชินีนาถ<br />

“ผู้สาเร็จราชการเเผ่นดินต่างพระองค์”<br />

ในเรือพระที่นั่งมหาจักรี ณ เมืองเวนิส พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ฉายพระรูปร่วมกับกัปตันคัมมิง นายทหารเรืออังกฤษ เเละนักเรียนทาการนายเรือ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์<br />

ของราชนาวีอังกฤษในสมัยนั้น ปล่อยเรือ<br />

ลงน้าใน ค.ศ.๑๘๙๒ (พ.ศ.๒๔๓๕) สร้าง<br />

เสร็จใน ค.ศ.๑๘๙๔ (พ.ศ.๒๔๓๗) ระวาง<br />

ขับน้า ๑๔,๑๕๐ ตัน ยาว ๓๘๐ ฟุต กว้าง<br />

๗๕ ฟุต กินน้าลึก ๒๗ ฟุตครึ่ง เครื่องจักร<br />

๑๓,๐๐๐ แรงม้า ความเร็วสูงสุด ๑๗.๕ นอต<br />

ระยะปฏิบัติการเมื่อใช้ความเร็ว ๑๐ นอต<br />

๕,๐๐๐ ไมล์ มีเกราะเหล็กกล้านิคเกิลหนา<br />

๑๘ นิ้ว ติดปนใหญ่ขนาด ๑๓.๕ นิ้ว<br />

ปอมคู่ ๒ ปอม ปนยิงเร็วขนาด ๖ นิ้ว<br />

๑๐ กระบอก ปนยิงเร็วขนาด ๖ ปอนด์<br />

(๕๗ มิลลิเมตร) ๑๖ กระบอก ปนยิงเร็ว<br />

ขนาด ๓ ปอนด์ (๔๗ มิลลิเมตร) ๑๒ กระบอก<br />

ในระหว่างที่พระองค์เจ้าอาภากรฯ<br />

ทรงฝึกงานอยู่ในเรือ Revenge ในฐานะ<br />

35


นักเรียนทาการนายเรือ มีพลเรือตรี โนเเอล<br />

(Gerard Henry U. Noel) เป็นผู้บังคับการ<br />

กองเรือ ซึ่งมาเเทนพลเรือตรี แฮร์ริส (R.B.<br />

Harris) เเละมีนาวาเอก เรจินัลด์ โปรเธโร<br />

(Reginald Charles Prothero) เป็น<br />

ผู้บังคับการเรือ Revenge ทั้งพลเรือตรี<br />

โนเเอลเเละนาวาเอก โปรเธโร ทั้งคู่นี้นับว่า<br />

เป็น “นักไลลูกไล” ชั้นเยี่ยมของราชนาวี<br />

อังกฤษ<br />

นาวาเอก เรจินัลด์ โปรเธโร ผู้บังคับ<br />

การเรือ Revenge มีฉายาว่า “Prothero<br />

the Bad” คู่กับนายทหารเรือ “Prothero”<br />

อีกคนหนึ่ง ซึ่งมีฉายาว่า “Prothero the<br />

Good” นาวาเอก เรจินัลด์ โปรเธโร<br />

(the Bad) มีรูปร่างสูงใหญ่ ตาคล้ายเหยี่ยว<br />

จมูกงุ้ม ไว้เคราดา ยาวลงมาถึงเอว ลูกน้อง<br />

ของท่านให้ฉายาว่า “Shylock” (ไชล็อก)<br />

มีชื่อเสียงในทาง “ไลลูกไล” ผู้ใต้บังคับ<br />

บัญชา เป็นผู้ที่รู้จักกันดีในราชนาวีอังกฤษ<br />

เรือของท่านจะต้องเป็น “เรือชั้นเยี่ยม”<br />

(Crack Ship) เสมอ<br />

นาวาเอก โปรเธโร ท่านชอบกวดขัน<br />

หรือไล่ลูกไล่อยู่ใต้บังคับบัญชา โดยเฉพาะ<br />

นักเรียนทาการนายเรือ ทั้งในด้านการงาน<br />

ระเบียบวินัย เเละความสะอาดเรียบร้อย<br />

ของเรือ เป็นคนชนิด “ปากว่ามือถึง” ในชั้นเเรก<br />

เรือรีเวนจ์ของราชนาวีอังกฤษ<br />

H.M.S. REVENGE (1892)<br />

ผู้ใต้บังคับบัญชาจะเกลียดท่านทุกคน<br />

เเต่เมื ่ออยู่ด้วยกันไปนานๆ ก็จะชอบเเละ<br />

เคารพท่านมาก เพราะเห็นว่าท่านเป็นคน<br />

ที่มีทั้งมนุษยธรรมเเละความยุติธรรม<br />

สาหรับพระองค์เจ้าอาภากรฯ เชื่อกันว่า<br />

พระองค์จะต้องได้รับความประทับใจ เเละ<br />

สานึกในหน้าที่ ตลอดจนการปฏิบัติตาม<br />

ประเพณี นิติธรรมของทหารเรือ เเละทรง<br />

สามารถ “ผ่าน” การไล่ลูกไล่ของนาวาเอก<br />

โปรเธโรได้เรียบร้อย ดังจะเห็นได้จากการ<br />

ที่นาวาเอก โปรเธโรได้รับรองว่า การงาน<br />

ของพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ อยู่ใน<br />

ระดับ “ดีมาก” (Very Good)<br />

การที่มีชื่อเสียงในการ “ไล่ลูกไล่”<br />

เเละจากการที่มีรูปร่างสูงใหญ่ ตาคล้าย<br />

เหยี่ยว จมูกงุ้ม ไว้เคราดายาว ของนาวาเอก<br />

เรจินัลด์ โปรเธโร เช่นนี้ จึงทาให้มีผู้เขียน<br />

ภาพล้อของนาวาเอก เรจินัลด์ โปรเธโร<br />

(the Bad) ขึ้น เป็นภาพที่เเสดงถึงความ<br />

น่าเกรงขาม จนนกนางนวลยังต้องบินหนี<br />

เเละกะลาสีต้องวิ่งหนี ดังแสดงในภาพ<br />

“Shylock” (ไชล็อก) คืออะไร<br />

“ไชล็อก” คือตัวละครในบทละคร<br />

เรื่อง “The Merchant of Venice” ของ<br />

William Shakespere (วิลเลียม เชกสเปียร์)<br />

ระหว่างปี ค.ศ.๑๕๙๕ - ๑๕๙๗ เป็นเรื่อง<br />

ที่เกิดขึ้นที่เมือง Venice ประเทศ<br />

อิตาลี พระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล<br />

ที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์แปลและ<br />

เรียบเรียงเป็นภาษาไทย ชื่อ<br />

“เวนิสวานิช” ไว้เมื่อปี พ.ศ.<br />

๒๔๕๙ จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.<br />

๒๔๖๖ เพื่อพระราชทานสาหรับ<br />

ใช้เป็นแบบเรียนของนักเรียนชั ้น<br />

มัธยมศึกษาตอนกลางและตอน<br />

ปลาย หลังจากนั้นกระทรวง<br />

ศึกษาธิการได้จัดพิมพ์ต่อมาอีก<br />

หลายสิบครั้ง สาหรับใช้เป็น<br />

แบบเรียน และหนังสืออ่านกวี<br />

นิพนธ์นอกเวลา<br />

“ไชล็อก” คือ “ยิวผู้มีทรัพย์” เป็น<br />

“ตัวเอก” แต่ไม่ใช่ “พระเอก” “อันโตนิโย”<br />

(Antonio) พ่อค้าหนุ่มแห่งเมืองเวนิสเป็น<br />

“ตัวเอก”`อีกคนหนึ่ง “นางเอก” คือ “นาง<br />

ปอร์เชีย” (Portia) `หญิงสาวผู้มั่งมี<br />

“พระเอก” คือ “บัสสานิโย” (Bassanio)<br />

หนุ ่มเจ้าสาราญเป็นเพื่อนรักของอันโตนิโย<br />

“ไชล็อก” เป็นชนชาติยิว (Jew) มี<br />

อาชีพในทางให้กู้เงิน โดยคิดดอกเบี้ย<br />

แพงมาก หน้าเลือด มีนิสัยรักเงิน พยาบาท<br />

เคียดแค้น อาฆาตมาดร้าย โหดเหี้ยม โลภ<br />

ตลบตะแลง ตระหนี่<br />

ในสมัยนั้นชนชาติยิวเป็นที่ดูหมิ่น<br />

เหยียดหยามเป็นที่น่ารังเกียจ ดังที่<br />

“สะละรีโน” สหายคนหนึ่งของ “อันโตนิโย”<br />

ได้กล่าวถึง “ไชล็อก” ว่า<br />

“อ้ายนี่เป็นสัตว์ป่าทารุณสุด<br />

มาเที่ยวปนฝูงมนุษย์อยู่นี่ได้!”<br />

แต่นาวาเอก เรจินัลด์ โปรเธโร (Prothero<br />

the Bad) ท่านไม่ได้มีนิสัยเช่น<br />

Shylock แต่อย่างใดเลย ท่านได้ฉายาว่า<br />

“Shylock” ก็ตรงที่ท่านมี “รูปร่างสูงใหญ่<br />

ตาคล้ายเหยี่ยว จมูกงุ้ม ไว้เคราดายาว”<br />

เหมือน Shylock เท่านั้นเอง ดังที่ได้แสดง<br />

รูปเปรียบเทียบระหว่างภาพล้อของนาวาเอก<br />

36<br />

¾ÅàÃ×͵ÃÕ ¡ÃÕ±Ò ¾Ãø¹Ðá¾·Â


ซ้าย-ภาพล้อของนาวาเอก โปรเธโร (Reginald Charles Prothero) ผู้บังคับการเรือประจัญบาน Revenge<br />

เรือฝึกพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ แสดงถึงความน่าเกรงขาม จนนกนางนวลบินหนี และกะลาสีวิ่งหนี<br />

ขวา-ภาพวาด Shylock (ไชล็อก) จากหนังสืออ่านกวีนิพนธ์ “เวนิสวานิช”<br />

พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

เรจินัลด์ โปรเธโร กับภาพของไชล็อก<br />

จากหนังสือ “เวนิสวานิช”<br />

จากที่ได้เล่ามาตั้งแต่ต้น ก็เพื่อจะได้<br />

เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า พระองค์เจ้าอาภากรฯ<br />

ทรงมี ครู ผู้ปกครอง และผู้บังคับบัญชาที่<br />

เป็นนักกวดขันการงาน เป็นนักไล่ลูกไล่<br />

ชั้นยอด นับตั้งแต่ มิสเตอร์ลิตเติลจอห์น<br />

พลเรือตรี โนแอล จนถึงนาวาเอก โปรเธโร<br />

พระองค์ต้องทรงฝ่าฟัน ผ่านอุปสรรค<br />

อย่างหนักมาโดยตลอด จึงทำให้พระองค์<br />

ทรงเข้มแข็ง ทรหดอดทน แกร่งทั้งพระวรกาย<br />

และพระหฤทัย มีลักษณะของผู้นำ พร้อมที่<br />

จะเป็นนายทหารเรือที่ดี<br />

๗. การจลาจลบนเกาะครีต (Crete)<br />

ในช่วงเวลาที่พระองค์เจ้าอาภากรฯ<br />

ทรงฝึกงานอยู่ในเรือ Revenge ในทะเล<br />

เมดิเตอร์เรเนียน (Mediteranean) นั้น<br />

ได้เกิดความไม่สงบหรือเกิดการจลาจลขึ้น<br />

ประเทศ GREECE ประเทศ TURKEY และเกาะ CRETE<br />

บนเกาะครีต (Crete) ซึ่งในเวลานั้นอยู่ใน<br />

ความปกครองของประเทศตุรกี (Turkey)<br />

(OTTOMAN EMPIRE : ราชอาณาจักร<br />

ออตโตมานแต่ก่อน) ประเทศตุรกีตั้งอยู่บนฝั่ง<br />

ของ ๒ ทวีป คือ ทั้งทวีปยุโรป (Europe)<br />

และทวีปเอเชีย (Asia) ส่วนประเทศกรีซ<br />

(Greece) นั้นตั้งอยู่โดยมีอาณาเขตติดต่อ<br />

กับประเทศตุรกี บนเกาะครีตมีชุมชนที่<br />

นับถือศาสนาอยู่สองชุมชน คือชาวมุสลิม<br />

และชาวคริสต์ จึงเกิดความตึงเครียดขึ ้น<br />

ระหว่างสองชุมชน<br />

ในเดือนมกราคม ค.ศ.๑๘๙๗ (พ.ศ.<br />

๒๔๔๐) ความรุนแรงและความวุ่นวาย<br />

ได้ทวีมากขึ้นบนเกาะครีต พลเมืองที่นับถือ<br />

ศาสนาคริสต์ถูกเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของ<br />

ตุรกี กดขี่ข่มเหงอย่างไม่เป็นธรรม จึงก่อ<br />

การจลาจลขึ้นตั้งแต่เดือนมกราคม ค.ศ.<br />

๑๘๙๗ (พ.ศ.๒๔๔๐) ชาติมหาอำนาจใน<br />

ยุโรป ๖ ชาติ ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส<br />

เยอรมัน รัสเซีย อิตาลี และออสเตรีย ได้ส่ง<br />

เรือรบไปยังเกาะครีต เพื่อช่วยแก้ไข<br />

สถานการณ์และยับยั้ง กรีซได้ส่งเรือรบและ<br />

ทหารมาช่วยพลเมืองที่นับถือศาสนาคริสต์<br />

ทำให้การจลาจลไม่ลุกลามและสงบลงได้<br />

ชั่วคราว<br />

ในเดือนกันยายน ค.ศ.๑๘๙๘ (พ.ศ.<br />

๒๔๔๑) ได้เกิดความรุนแรงขึ้นอีก เมื่อทหาร<br />

อังกฤษที่ขึ้นไปรักษาการณ์บนเกาะครีต<br />

ถูกชาวตุรกีโจมตี เสียชีวิตไป ๑๗ นาย<br />

อังกฤษจึงส่งกองเรือของพลเรือตรี โนแอล<br />

(Gerard Henry U. Noel) ซึ่งมีเรือ<br />

ประจัญบาน Revenge เป็นเรือธง<br />

(พระองค์เจ้าอาภากรฯ เป็นนักเรียนทำการ<br />

นายเรืออยู่ในเรือนี้ด้วย) กับเรือประจัญบาน<br />

Illustrious และเรือลาดตระเวน<br />

Venus มาที่เกาะครีต ได้ทำการยกพลขึ้นบก<br />

และบังคับเจ้าเมืองตุรกีให้ปราบปราม<br />

พวกที่เข้าโจมตีทหารอังกฤษ<br />

(โปรดติดตามตอนต่อไป)<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

37


พลตรี ภราดร จินดาลัทธ<br />

ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม<br />

ประวัติความเป็นมา<br />

สำ<br />

นักงานตรวจสอบภายใน<br />

กลาโหม เป็นส่วนราชการ<br />

ขึ้นตรงต่อสำนักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม เดิมมีชื่อว่า “สำนักงาน<br />

๑ กันยายน ๒๕๖๑<br />

วันคล้ายวันสถาปนา ปีที ่ ๒๙<br />

สำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม<br />

กองวิชาการและระบบงาน สำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม<br />

ตรวจบัญชีกลาโหม” จัดตั้งขึ้นเพื่อทดแทน<br />

กองตรวจสอบภายในกรมการเงินกลาโหม<br />

ที่ได้ถูกยุบเลิกอัตราและให้โอนอัตรา<br />

กำลังพลให้กับสำนักงานตรวจบัญชีกลาโหม<br />

ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๓๒ ดังนั้น<br />

จึงได้ถือเอาวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๓๒<br />

เป็นวันก่อตั้งสำนักงานตรวจบัญชีกลาโหม<br />

ต่อมาได้มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกา<br />

แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของ<br />

ส่วนราชการสำนักงานรัฐมนตรีสำนักงาน<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม กระทรวงกลาโหม<br />

พ.ศ.๒๕๕๒ โดยเปลี่ยนนามหน่วยจาก<br />

“สำนักงานตรวจบัญชีกลาโหม” เป็น<br />

“สำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม”<br />

เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒<br />

ภารกิจการจัดส่วนราชการ<br />

สำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม<br />

มีหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน และ<br />

การตรวจการปฏิบัติราชการให้แก่ส่วน<br />

ราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม และสำนักงานรัฐมนตรีว่าการ<br />

กระทรวงกลาโหมและการตรวจสอบ<br />

ภายในระดับกระทรวงให้แก่ส่วนราชการใน<br />

กระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย<br />

และเหล่าทัพ ให้เป็นไปตามระเบียบ<br />

แบบแผนของทางราชการ รวมทั้งงานด้าน<br />

การพิจารณาความรับผิดทางละเมิดและ<br />

แพ่งกรณีเกิดความเสียหายแก่เงินราชการ<br />

ทรัพย์สินของทางราชการของหน่วยงาน<br />

ในสังกัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการ<br />

กองทัพไทย และเหล่าทัพ นอกจากนี้<br />

ยังเป็นหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนการ<br />

ปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ<br />

และประเมินผลประจำกระทรวงกลาโหม<br />

(ค.ต.ป. ประจำ กห.)<br />

ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญในรอบปี<br />

๒๕๖๑<br />

๑. งานตามภารกิจหน่วย การตรวจ<br />

สอบภายใน การตรวจการปฏิบัติราชการ<br />

การตรวจสอบภายในระดับกระทรวง และ<br />

การพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง<br />

38<br />

กองวิชาการและระบบงาน สำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม


๑.๑ การตรวจสอบภายในด้านการเงิน<br />

การบัญชี การพัสดุ และทรัพย์สิน เงินทุน<br />

หมุนเวียน เงินอุดหนุน การควบคุมงบประมาณ<br />

เฉพาะการเบิกจ่ายเงิน การปฏิบัติตามกฎ<br />

ระเบียบ ข้อบังคับ การสอบทานการ<br />

ประเมินความเพียงพอของระบบการ<br />

ควบคุมภายใน การตรวจสอบการดำเนินงาน<br />

และการตรวจสอบสารสนเทศ โดยใน<br />

ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ได้ให้ความสำคัญ<br />

ในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง<br />

เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับแนวทางการ<br />

ปฏิบัติงานของปลัดกระทรวงกลาโหมที่ให้<br />

ดำเนินการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง การทำ<br />

สัญญาในโครงการต่างๆ ให้เป็นไปด้วย<br />

ความเรียบร้อย ถูกต้อง โปร่งใส และปฏิบัติ<br />

ตามระเบียบที่เกี่ยวข้องโดยเคร่งครัด<br />

เพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ<br />

และไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทางราชการ<br />

๑.๒ การตรวจการปฏิบัติราชการ<br />

ด้านการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับ<br />

บุคคล เอกสาร และสถานที่ด้านงาน<br />

สารบรรณ ด้านการป้องกันและระงับอัคคีภัย<br />

ด้านสายกำลังพล ด้านยานพาหนะ และ<br />

ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

๑.๓ การตรวจสอบภายในระดับ<br />

กระทรวง เป็นการตรวจสอบและประเมิน<br />

ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/งาน/<br />

โครงการที่มีความสำคัญของหน่วยขึ้นตรง<br />

กระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย<br />

และเหล่าทัพ หรือเป็นงาน/โครงการที่มี<br />

ความเสี่ยงสูง หรือเชื่อมโยงกับหลายส่วน<br />

ราชการ หรือที่ได้รับมอบหมายจาก<br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและ/หรือ<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม โดยในปีงบประมาณ<br />

๒๕๖๑ ได้เริ่มดำเนินการตรวจสอบภายใน<br />

ระดับกระทรวงแบบบูรณาการ ระหว่าง<br />

ผู้ตรวจสอบของสำนักงานตรวจสอบภายใน<br />

กลาโหม สำนักงานตรวจสอบภายในทหาร<br />

และสำนักงานตรวจสอบภายในเหล่าทัพ<br />

โครงการจัดหาเฮลิคอปเตอร์แบบใช้งาน<br />

ทั่วไป ทดแทนเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป<br />

แบบที่ ๑ (ระยะที่ ๔) ของกองทัพบก ณ<br />

ศูนย์การบินทหารบก จังหวัดลพบุรี ซึ่งถือ<br />

ได้ว่าเป็นการเริ่มต้นการตรวจสอบภายใน<br />

ระดับกระทรวงแบบบูรณาการเป็นครั้งแรก<br />

๑.๔ การพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง<br />

ดำเนินการพิจารณากลั่นกรองเรื่องที่<br />

เกี่ยวกับการรายงานทรัพย์สินหรือเงิน<br />

ราชการเสียหายสูญหายขาดบัญชีหรือ<br />

เจ้าหน้าที่ของรัฐทุจริต และรายงานผลการ<br />

สอบสวนข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด<br />

รวมทั้งพิจารณาการขออนุมัติผ่อนชำระ<br />

กรณีผิดสัญญา ลาศึกษา เพื่อให้เป็นไปตาม<br />

ระเบียบและหลักเกณฑ์ที่กำหนด<br />

๒. งานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับ<br />

บัญชา<br />

สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะ<br />

กรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำ<br />

กระทรวงกลาโหม (ค.ต.ป.ประจำ กห.)<br />

โดยมี พลเรือเอก ประเสริฐ บุญทรง<br />

เป็นประธานกรรมการและผู้อำนวยการ<br />

สำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม<br />

เป็นกรรมการและเลขานุการ โดยจัดการ<br />

ประชุมและทำหน้าที่สอบทานและติดตาม<br />

ตรวจสอบ ประเมินผลโครงการตาม<br />

แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาค<br />

ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑<br />

ตลอดระยะเวลา ๒๙ ปีที่ผ่านมา<br />

สำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม มีความ<br />

มุ่งมั่นที่จะปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจที่<br />

ได้รับมอบหมายให้สำเร็จเป็นไปตาม<br />

วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ รวมทั้งเป็นไปตาม<br />

นโยบายของผู้บังคับบัญชาระดับสูง เพื่อให้<br />

การบริหารราชการของหน่วยขึ้นตรง<br />

กระทรวงกลาโหม และสำนักงานรัฐมนตรี<br />

ว่าการกระทรวงกลาโหม มีความถูกต้อง<br />

เป็นไปตามระเบียบแบบแผนของทาง<br />

ราชการ และเป็นการเตรียมความพร้อม<br />

ล่วงหน้าก่อนที่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน<br />

จะเข้าทำการตรวจสอบ<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

39


พลโท ปรีชา สายเพ็ชร<br />

เจากรมการสรรพกําลังกลาโหม<br />

ในอดีต กองบัญชาการทหารสูงสุด<br />

ได้พิจารณาเห็นความจาเป็นในการ<br />

จัดตั้งกรมการสรรพกาลังทหาร เพื่อ<br />

ปฏิบัติภารกิจในการระดมสรรพกาลังเพื่อ<br />

การทหารเมื่อเกิดภาวะไม่ปกติ และมี<br />

ความจาเป็นต้องระดมทรัพยากรให้กับ<br />

กองทัพ ดังนั้น จึงมีความจาเป็นต้องเตรียม<br />

ความพร้อมไว้ตั้งแต่ภาวะปกติ และต้องมี<br />

หน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้านระดมสรรพ<br />

กาลัง กระทั่งเมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๓๓<br />

ได้มีพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการ<br />

กระทรวงกลาโหมให้จัดตั้งส่วนราชการ<br />

กรมการสรรพกาลังทหาร ให้เป็นหน่วยขึ้นตรง<br />

กองบัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น<br />

ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๕๐ ได้มีมติประชุมคณะ<br />

กรรมการพิจารณาการรับโอน กรมการ<br />

สรรพกาลังทหาร มาเป็นหน่วยขึ้นตรงของ<br />

สานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมตามแผน<br />

แม่บทการปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง<br />

กลาโหม พ.ศ.๒๕๕๐ เสนอรัฐมนตรีว่าการ<br />

วันคล้ายวันสถาปนา<br />

กรมการสรรพกําลังกลาโหม<br />

๖ กันยายน ๒๕๖๑ ครบรอบ ๒๘ ปี<br />

กระทรวงกลาโหม และได้รับอนุมัติเมื่อวันที่<br />

๓ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ให้ปรับโอน กรมการ<br />

สรรพกาลังทหาร มาเป็นหน่วยขึ้นตรง<br />

สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและ<br />

เปลี่ยนชื่อหน่วยจากกรมการสรรพกาลัง<br />

ทหาร เป็น กรมการสรรพกาลังกลาโหม<br />

โดยมี พลโท ธรรมรัชต์ เจริญกุล เป็น เจ้ากรม<br />

การสรรพกาลังกลาโหม ท่านแรก ต่อมา<br />

เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๐ กรมการ<br />

สรรพกาลังกลาโหมได้ย้ายหน่วยเข้าที่ตั้ง<br />

แห่งใหม่ ณ อาคารสานักงานปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม (แจ้งวัฒนะ) ชั้น ๗ ถนนแจ้งวัฒนะ<br />

เมืองทองธานี อาเภอปากเกร็ด จังหวัด<br />

นนทบุรี ปัจจุบันกรมการสรรพกาลัง<br />

กลาโหมได้ย้ายหน่วยมาเข้าที่ตั้ง ณ อาคาร<br />

สานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (พื้นที่<br />

ศรีสมาน) ตาบลบ้านใหม่ อาเภอปากเกร็ด<br />

จังหวัดนนทบุรี ซึ่งในปี ๒๕๖๑ นี้ ครบรอบ<br />

วันคล้ายวันสถาปนากรมการ<br />

สรรพกาลังกลาโหม ครบรอบปี ๒๘<br />

โดยมี พลโท ปรีชา สายเพ็ชร<br />

ดารงตาแหน่งเจ้ากรมการ<br />

สรรพกาลังกลาโหมท่านปัจจุบัน<br />

ภารกิจ มีหน้าที่พิจารณา<br />

เสนอความเห็น วางแผน<br />

ประสานงาน กากับดูแล ดาเนิน<br />

การเกี่ยวกับการระดมสรรพ<br />

กาลังเพื่อการทหาร การกาลัง<br />

สารอง การสัสดี ตลอดจน<br />

ประสานความร่วมมือระหว่าง<br />

ประเทศ และปฏิบัติงานอื่น<br />

ตามที่ได้รับมอบหมาย<br />

การปฏิบัติงานสาคัญที่ผานมา<br />

กรมการสรรพกาลัง<br />

กลาโหม ได้ดาเนินงานที่สาคัญ<br />

กองวิชาการและระบบงาน กรมการสรรพกําลังกลาโหม<br />

ตามภารกิจของหน่วย ได้แก่ งานด้านการ<br />

ระดมสรรพกาลังเพื่อการทหาร งานด้าน<br />

การกาลังสารอง และงานด้านการสัสดี<br />

ด้านการระดมสรรพกาลังเพื่อการทหาร<br />

- กรมการสรรพกาลังกลาโหม จัดการ<br />

ฝึกปัญหาที่บังคับการ (CPX) การฝึกการ<br />

ระดมสรรพกาลังเพื่อการทหาร ประจาปี<br />

๒๕๖๑ (กรส.๖๑) ระหว่างวันที่ ๒๒ - ๒๔<br />

พฤษภาคม ๒๕๖๑ ณ กรมการสรรพกาลัง<br />

กลาโหม ชั้น ๔ อาคารสานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) โดยเป็นการ<br />

ฝึกร่วมกันระหว่างส่วนราชการทหาร<br />

ส่วนราชการพลเรือน รัฐวิสาหกิจ และภาค<br />

เอกชนที่เกี่ยวข้อง ตามแผนผนึกกาลังและ<br />

ทรัพยากรเพื่อการปองกันประเทศ การฝึกฯ<br />

มุ่งเน้นการสนับสนุนทรัพยากรตาม<br />

ความต้องการทางทหาร ซึ่งมีการจัดตั้งศูนย์<br />

ปฏิบัติการ ได้แก่ ศูนย์ระดมสรรพกาลัง (ศรส.)<br />

40<br />

¡Í§ÇÔªÒ¡ÒÃáÅÐÃкº§Ò¹ ¡ÃÁ¡ÒÃÊÃþ¡ํÒÅѧ¡ÅÒâËÁ


ศูนย์บัญชาการทางทหาร (ศบท.), และ<br />

ศูนย์ปฏิบัติการที่รับผิดชอบทรัพยากร<br />

ทั้ง ๑๐ ด้าน ทั้งนี้ ศูนย์ปฏิบัติการจาก<br />

ทุกภาคส่วนได้ร่วมกันระดมทรัพยากร<br />

ตามที่หน่วยรับผิดชอบ ในการแก้ปัญหา<br />

บ่งการ โดยผ่านช่องทางระบบติดต่อสื่อสาร<br />

ที่กำหนดได้เป็นอย่างดี<br />

- การฝึกภาคสนาม (FTX) การฝึกการ<br />

ระดมสรรพกำลังเพื่อการทหาร ประจำปี<br />

๒๕๖๑ (กรส.๖๑) ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๐<br />

มิถุนายน ๒๕๖๑ ณ บริเวณพื้นที่<br />

กองบัญชาการช่วยรบที่ ๒ จังหวัดนครราชสีมา<br />

เป็นการบูรณาการการฝึกร่วมกันกับ<br />

ทุกภาคส่วน ตามแผนผนึกกำลังฯ โดยมุ่งเน้น<br />

การระดมทรัพยากรจากฝ่ายพลเรือน<br />

สนับสนุนตามความต้องการทางฝ่ายทหาร<br />

และการสร้างความเข้าใจในขั้นตอนการ<br />

รับ - ส่ง ทรัพยากร และการฝึกซ้อมปฏิบัติงาน<br />

ร่วมกันระหว่างทหารกับพลเรือน ทั้งนี้<br />

มีหน่วยเข้าร่วมการฝึก ๘๔ หน่วยงาน<br />

จำนวน ๖๕๐ คน ซึ่งทุกภาคส่วนได้ร่วมมือกัน<br />

อย่างเป็นระบบ และดำเนินการประสาน<br />

สอดคล้องอย่างบูรณาการร่วมกัน<br />

ด้านการกำลังสำรอง<br />

- การเดินทางไปราชการเพื่อเข้าร่วม<br />

ประชุมหารือและรับทราบแนวทางการ<br />

ปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับกิจการ<br />

กำลังพลสำรองในพื้นที่กองทัพภาคที่ ๑<br />

ระหว่างวันที่ ๒๘ - ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๑ และ<br />

กองทัพภาคที่ ๓ ระหว่างวันที่ ๑๓ - ๑๕<br />

มิถุนายน ๒๕๖๑<br />

- การจัดทำหนังสือ<br />

ประวัติความเป็นมา<br />

กระบวนการ เจตนารมณ์<br />

และสาระสำคัญของ<br />

พระราชบัญญัติกำลังพล<br />

สำรอง พ.ศ.๒๕๕๘ ให้กับทุกส่วนราชการ<br />

ที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม<br />

- จัดงานการแสดงศักยภาพของกำลัง<br />

พลสำรอง ๓ เหล่าทัพ โดย พลเอก เทพพงศ์<br />

ทิพยจันทร์ ปลัดกระทรวงกลาโหม กรุณา<br />

เป็นประธานเปิดในวันที่ ๑๖ พฤษภาคม<br />

๒๕๖๑ ณ ลานหน้าอาคารบริการสำนักงาน<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม (ศรีสมาน) โดยมี<br />

กำลังพลจากกองทัพบก จำนวน ๒๐๗ นาย<br />

กองทัพเรือ จำนวน ๑๑๐ นาย กองทัพ<br />

อากาศ จำนวน ๖๐ นาย และผู้ร่วมงาน<br />

ประมาณ ๒๐๐ คน<br />

ด้านการสัสดี<br />

- พลเอก วิสุทธิ์ นาเงิน รองปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม ผู้แทนปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม พร้อมคณะ ได้เดินทางไปตรวจ<br />

เยี่ยมการตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ารับ<br />

ราชการทหารกองประจำการ ประจำปี ๒๕๖๑<br />

เมื่อ ๒ เมษายน ๒๕๖๑ ณ วัดโกมุทพุทธรังสี<br />

เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ โดยมี พลโท ปรีชา<br />

สายเพ็ชร เจ้ากรมการสรรพกำลังกลาโหม<br />

ร่วมคณะตรวจเยี่ยมด้วย<br />

- กรมการสรรพกำลังกลาโหม ได้จัด<br />

ประชุมติดตามและสรุปผลดำเนินการ<br />

การลงบัญชีทหารกองเกินนอกพื้นที่ภูมิลำเนา<br />

ทหาร เมื่อ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ณ ห้อง<br />

ประชุมกรมการสรรพกำลังกลาโหม<br />

อาคารสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

(ศรีสมาน) โดยมี พลตรี เพิ่มศักดิ์ รอบจังหวัด<br />

รองเจ้ากรมการสรรพกำลังกลาโหม เป็น<br />

ประธานการประชุม โดยมีผู้แทนส่วน<br />

ราชการที่เกี่ยวข้องจากส่วนราชการทั ้ง<br />

ภายในและนอกกระทรวงกลาโหม<br />

วัตถุประสงค์เพื่อรายงานความคืบหน้าใน<br />

การดำเนินการการลงบัญชีทหารกองเกิน<br />

นอกพื้นที่ภูมิลำเนาทหารโดยใช้เทคโนโลยี<br />

สารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยจาก<br />

ระบบเลขประจำตัวประชาชน ๑๓ หลัก<br />

ตามกรอบระยะเวลาที่รัฐมนตรีว่าการ<br />

กระทรวงกลาโหม ได้กรุณาอนุมัติ<br />

หลักการไว้<br />

กรมการสรรพกำลังกลาโหม เป็น<br />

องค์กรนำในงานด้านการระดมสรรพกำลัง<br />

การกำลังสำรองและการสัสดีของ<br />

กระทรวงกลาโหม ที่มุ่งเน้นการพัฒนา<br />

ความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพื่อการ<br />

บริหารจัดการการสรรพกำลังกลาโหมให้<br />

กับกองทัพไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

41


พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจริญ<br />

ก<br />

เจากรมพระธรรมนูญ<br />

รมพระธรรมนูญเป็นหน่วยงาน<br />

ระดับกรมขึ้นตรงต่อสานักงาน<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม ซึ่งได้รับการ<br />

ก่อตั้งจวบจนปัจจุบันมาเป็นระยะเวลา<br />

๑๑๒ ปี และย่างเข้าสู่ปีที่ ๑๑๓ นับตั้งแต่<br />

วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๑ เป็นต้นไป<br />

จะเป็นปีที่สังคมโลกในยุคปัจจุบันเผชิญกับ<br />

การเปลี่ยนแปลง ด้วยเหตุที่มีการพัฒนาการ<br />

ทางสังคม เศรษฐกิจ และมีความเจริญ<br />

ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง<br />

ไร้พรมแดน<br />

ตามประวัติเดิม การศาล การคดีขึ้นอยู่<br />

กับปลัดทหารบกใหญ่ กรมยุทธนาธิการ<br />

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ได้ทรงมีพระราช<br />

หัตถเลขาถึงกรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม<br />

เสนาบดีว่าการกระทรวงกลาโหมความว่า<br />

“ดวยการปฤกษาลงโทษทหาร ซึ่งไดสังเกต<br />

๑๒ กันยายน ๒๕๖๑ วันคล้ายวันสถาปนา<br />

กรมพระธรรมนูญ<br />

๑๑๒ ปี ยุคแห่งการปฏิรูปประเทศ<br />

เหนเมื่อพิจารณาโดย<br />

ที่ประชุมทหาร (คอตมาแส)<br />

ยอมลงโทษแปลกๆ ซึ่งก็มี<br />

เหตุที่เขาคิดเหน แตเปนที่<br />

นาสงไสยวาจะพอควรฤา<br />

เกินไปเบาไปอยางไร...เห็นวา<br />

ควรจะมีเอดโวเคตเยเนราล ๒<br />

เสียเหมือนอยางประเทศ<br />

อื่นๆ” ๓ อันเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้า<br />

ล้นกระหม่อมของพระบาทสมเด็จพระ<br />

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทาน<br />

กาเนิดพระธรรมนูญโดยพระองค์ทรงมี<br />

พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรม<br />

พระธรรมนูญทหารบกขึ ้นตรงต่อกรมยุทธนา<br />

ธิการ เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน รัตนโกสินทรศก<br />

๑๒๕ (พุทธศักราช ๒๔๔๙) มีหน้าที่รับ<br />

ปฤกษาหารือในการที่เกี่ยวด้วยพระราช<br />

กาหนดกฎหมาย คาสั่งที่เกี่ยวกับการไต่สวน<br />

และคดีของศาล ดาริห์จัดการในหน้าที่ของ<br />

อัยการและศาลทหาร ตรวจตราอานวยการ<br />

ในกองทหารบกทั่วไป จัดระเบียบการ<br />

ไต่สวน ระเบียบทางตุลาการกับตรวจการ<br />

ไต่สวนและศาลทหาร ให้ดาเนินไปโดยชอบ<br />

ด้วยกฎหมายและข้อบังคับทุกประการ<br />

หลังจากนั้นมีการตั้งกรมพระธรรมนูญ<br />

ทหารเรือขึ้นตรงต่อกรมบัญชาการกลาง<br />

กรมทหารเรือ เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน<br />

รัตนโกสินทรศก ๑๒๗ (พุทธศักราช ๒๔๕๑)<br />

ต่อมา ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๔ ได้มีคาสั่งให้<br />

รวมกรมพระธรรมนูญทหารบก และกรม<br />

พระธรรมนูญทหารเรือ เป็นกรมพระ<br />

ธรรมนูญทหาร จนกระทั่งในปีพุทธศักราช<br />

๒๔๗๖ ได้มีการจัดระเบียบราชการ<br />

กระทรวงกลาโหมใหม่ ให้เปลี่ยนแปลงชื่อ<br />

๑<br />

เจ้ากรมพระธรรมนูญ<br />

๒<br />

ADVOCATE GENERAL หมายถึง เจ้ากรมพระธรรมนูญ<br />

๓<br />

พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ ๓๑/๘๕๘ ลงวันที่ ๒๙ ตุลาคม รัตนโกสินทรศก ๑๑๘<br />

พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจริญ ๑<br />

กรมพระธรรมนูญทหาร เป็นกรมพระ<br />

ธรรมนูญ และให้ขึ้นต่อปลัดทูลฉลอง<br />

มีภารกิจหน้าที่รับผิดชอบและการดาเนินงาน<br />

เกี่ยวกับงานด้านกฎหมายและกระบวนการ<br />

ยุติธรรมของทหาร ศาลทหาร อัยการทหาร<br />

ทนายทหาร และนายทหารพระธรรมนูญ<br />

การคุ้มครองพยานในคดีอาญา การให้การ<br />

ศึกษาอบรม งานตรวจร่างและแก้ไขปรับปรุง<br />

กฎหมาย การดาเนินการประสานงาน<br />

การทาข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง<br />

กับทหาร งานคดี งานตรวจร่างสัญญา การ<br />

ตอบข้อหารือ งานราชทัณฑ์ และการให้ข้อ<br />

เสนอแนะทางกฎหมายแก่ผู้บังคับบัญชา<br />

กาลังพล และประชาชนที่เป็นสมาชิก<br />

ในครอบครัวของกาลังพล<br />

ในระยะเวลาที่ผ่านมา กรมพระ<br />

ธรรมนูญปฏิบัติภารกิจสาเร็จลุล่วงด้วยดี<br />

ได้ดาเนินการจัดทาเครื่องหมายราชการศาล<br />

ทหาร ได้รับอนุมัติจาก พลเอก เทพพงศ์<br />

ทิพยจันทร์ ปลัดกระทรวงกลาโหม ทาการ<br />

ปรับปรุงสถานที่คุมขังผู้ต้องหาหรือจาเลยซึ่ง<br />

อยู่ในอานาจของศาลทหารให้อยู่ในสภาพที่<br />

เหมาะสม ตามหลักสิทธิมนุษยชน ได้ริเริ่ม<br />

ดาเนินการให้มีการปรับปรุงหลักสูตรของ<br />

โรงเรียนเหล่าทหารพระธรรมนูญให้<br />

สอดคล้องกับสภาพการปฏิบัติราชการ<br />

42<br />

¾ÅàÃ×ÍàÍ¡ »ÃÕªÒÞ ¨ÒÁà¨ÃÔÞ


ที่เปลี่ยนแปลงไป ได้จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยว<br />

กับกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและ<br />

การบริหารพัสดุภาครัฐแก่กำลังพลให้มี<br />

ความรู้และปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง อันเป็น<br />

การคุ้มครองการใช้อำนาจของผู้บังคับ<br />

บัญชาให้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย<br />

ได้ประสานงานส่งผลให้มีการยกร่างพระราช<br />

บัญญัติหลักเกณฑ์การเทียบตำแหน่ง<br />

หัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเท่าอธิบดี พ.ศ.<br />

.... ได้ดำเนินการหารือกับคณะกรรมการ<br />

กฤษฎีกาและคณะกรรมการกฤษฎีกา<br />

ได้ตอบข้อหารือว่าเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมี<br />

อำนาจคุ้มครองพยานในคดีความผิดเกี่ยวกับ<br />

ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรในพื้นที่<br />

จังหวัดชายแดนภาคใต้ แม้จะเป็นคดีที่ไม่<br />

อยู่ในอำนาจศาลทหารตามแนวคิดของผู้แทน<br />

พิเศษของรัฐบาล และคำแนะนำของ<br />

พลเอก ชัยชาญ ช้างมงคล รัฐมนตรีช่วย<br />

ว่าการกระทรวงกลาโหมในฐานะรองผู้แทน<br />

พิเศษของรัฐบาล ได้จัดทำหลักสูตรโครงการ<br />

อบรมพนักงานเจ้าหน้าที่คุ้มครองพยานของ<br />

กระทรวงกลาโหม และจัดอบรมพนักงาน<br />

เจ้าหน้าที่ดังกล่าว เพื่อทำหน้าที่คุ้มครอง<br />

พยานให้เป็นไปตามกฎหมายอันจะเป็น<br />

กลไกหนึ่งในการสนับสนุนการแก้ไขปัญหา<br />

ความไม่สงบเรียบร้อยในจังหวัดชายแดน<br />

ภาคใต้<br />

ในปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งราช<br />

อาณาจักรไทย มาตรา ๖๕ กำหนดให้รัฐจัด<br />

ให้มียุทธศาสตร์ชาติเพื่อเป็นเป้าหมายระยะ<br />

ยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับ<br />

มาตรา ๒๕๗ และมาตรา ๒๕๙ กำหนดให้<br />

ทำการปฏิรูปประเทศเพื่อวางรากฐานการ<br />

พัฒนาไปสู่ประเทศที่มีความสามัคคี<br />

ปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลัก<br />

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีความสมดุล<br />

ประชาชนในสังคมให้มีโอกาสทัดเทียมกัน<br />

และมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมีส่วนร่วมใน<br />

การพัฒนาประเทศและการปกครองใน<br />

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์<br />

ทรงเป็นประมุข โดยจะต้องดำเนินการ<br />

ปฏิรูปอย่างต่อเนื่องในช่วงห้าปีข้างหน้าเพื่อ<br />

ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนการ<br />

ปฏิรูปแต่ละด้าน จากนั้น ได้มีการตราพระราช<br />

บัญญัติว่าด้วยแผนและขั้นตอนการ<br />

ปฏิรูปประเทศ พ.ศ.๒๕๖๐ และแต่งตั้ง<br />

คณะกรรมการปฏิรูปประเทศภายใต้พระราช<br />

บัญญัติว่าด้วยแผนและขั้นตอนการปฏิรูป<br />

ประเทศ พ.ศ.๒๕๖๐ ที่เกี่ยวข้องกับกรม<br />

พระธรรมนูญ ได้แก่ คณะกรรมการปฏิรูป<br />

ประเทศด้านกฎหมายคณะกรรมการปฏิรูป<br />

ประเทศด้านกระบวนการยุติธรรมโดยจัดทำ<br />

แผนการปฏิรูปประเทศซึ่งคณะรัฐมนตรี<br />

ได้มีมติเห็นชอบร่างแผนการปฏิรูปประเทศ<br />

และให้รายงานต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ<br />

เพื่อทราบต่อไป<br />

ทั้งนี้ พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรรณ<br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้กรุณา<br />

อนุมัติให้กรมพระธรรมนูญจัดทำแผนงาน/<br />

โครงการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและ<br />

กระบวนการยุติธรรม รวมทั้งสิ้น ๒๖<br />

โครงการ ที่สำคัญได้แก่ โครงการกำหนด<br />

ระยะเวลาดำเนินงานในศาลทหารโดยไม่<br />

ล่าช้าและพัฒนาการเข้าถึงกระบวนการ<br />

ยุติธรรม โครงการระบบการตรวจสอบความ<br />

คืบหน้าของการดำเนินงานในศาลทหารและ<br />

อัยการทหาร โครงการคุ้มครองพยานเพื่อ<br />

ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร โครงการ<br />

พัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ในศาลทหาร<br />

โครงการปรับปรุงระบบการสอบสวนคดี<br />

อาญาเพื่อให้มีการตรวจสอบและถ่วงดุล<br />

ระหว่างพนักงานสอบสวนกับอัยการทหาร<br />

เกี่ยวกับระยะเวลาการส่งสำนวนการ<br />

สอบสวนเป็นต้น เพื่อคุ้มครองสิทธิของ<br />

ผู้ต้องหาจำเลยในศาลทหารให้มีการ<br />

พิจารณาคดีที่รวดเร็วก่อให้เกิดความเป็นธรรม<br />

และคุ้มครองสิทธิของพยานให้เป็นไปตาม<br />

กฎหมาย<br />

กรมพระธรรมนูญมุ่งมั่นที่จะปฏิรูป<br />

งานด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม<br />

ทหารให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อย่าง<br />

ต่อเนื่องสอดคล้องกับการปฏิรูปประเทศ<br />

การบริหารราชการภายใต้นโยบายของ<br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ<br />

แนวทางการปฏิบัติงานของปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม เพื่อให้ประเทศชาติมีความมั่นคง<br />

มีการพัฒนาที่ยั่งยืน ประชาชนชาวไทย<br />

ประสบแต่ความสงบสุขสืบไป<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

43


พลตรี กานต กลัมพสุต<br />

ผูอํานวยการศูนยพัฒนาปโตรเลียมภาคเหนือ<br />

กกรมการพลังงานทหาร ศูนยการอุตสาหกรรมปองกัน<br />

ประเทศและพลังงานทหาร<br />

ารพัฒนาประเทศ เป็นภารกิจที่<br />

สาคัญประการหนึ่งของกระทรวง<br />

กลาโหม นอกเหนือจากการพิทักษ์<br />

รักษาเอกราชและความมั่นคงแห่งราช<br />

อาณาจักร โดยการพัฒนาประเทศมีความ<br />

จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ทรัพยากรต่างๆ<br />

ร่วมกันให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด ซึ่ง<br />

ทรัพยากรด้านพลังงานถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่ง<br />

ปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาและ<br />

ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ<br />

การค้นพบน้ามันดิบในประเทศไทย<br />

เกิดขึ้นมาตั้งแต่เมื่อประมาณร้อยปีเศษ<br />

โดยชาวบ้านท้องที่อาเภอฝาง พบน้ามัน<br />

ลักษณะสีดาไหลซึมขึ้นมาบนผิวดิน บางคน<br />

เข้าใจว่าเป็นน้ามันศักดิ์สิทธิ์ จึงนามาทา<br />

ร่างกายเพื่อรักษาโรคต่างๆ ความทราบถึง<br />

เจ้าหลวงเชียงใหม่ จึงสั่งให้ขุดบ่อเพื่อกัก<br />

๑๒ กันยายน ๒๕๖๑<br />

๖๒ ปี ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ<br />

กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม<br />

ปองกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

น้ามันไว้ มีชื่อเรียกว่า “บ่อหลวง” หรือ<br />

“บ่อเจ้าหลวง”<br />

การสารวจปิโตรเลียมในประเทศไทย<br />

เริ่มขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๖๔ โดยพลเอก<br />

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกาแพงเพชร<br />

อัครโยธิน เมื่อครั้งดารงพระอิสริยยศเป็น<br />

พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนกาแพงเพชร<br />

อัครโยธิน พระโอรสองค์ที่ ๓๕ ในพระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น<br />

ผู้บัญชาการรถไฟทรงทราบถึงการค้นพบ<br />

น้ามันของชาวบ้านท้องที่ อาเภอฝาง<br />

จังหวัดเชียงใหม่ จึงทรงติดต่อว่าจ้าง<br />

นักธรณีวิทยาชาวอเมริกัน ชื่อ Mr. Wallace<br />

Lee เข้ามาเจาะสารวจหาน้ามันดิบในบริเวณ<br />

บ่อหลวงโดยภายหลังจากการสารวจเป็น<br />

เวลา ๒ ปี จึงได้มีการค้นพบแหล่งน้ามันดิบ<br />

แห่งแรกของประเทศไทยซึ่งต่อมาหน่วยงาน<br />

หลายฝ่ายได้ให้ความสนใจ จึงทาให้เกิดการ<br />

สารวจและพัฒนาการผลิตปิโตรเลียม<br />

อย่างต่อเนื่องตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<br />

ปี พ.ศ.๒๔๙๙ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็น<br />

ชอบให้กระทรวงกลาโหมดาเนินการสะสม<br />

น้ามันเชื้อเพลิงและน้ามันหล่อลื่น ตลอดจน<br />

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไว้สารองจ่ายให้แก่<br />

ทางราชการทหารและหน่วยงานราชการ<br />

ทั่วไปในยามมีสถานการณ์ฉุกเฉิน เนื่องจาก<br />

สถานการณ์ในขณะนั้นเกิดความขัดแย้งกัน<br />

หลายประการเกี่ยวกับเส้นทางลาเลียงและ<br />

แหล่งผลิตน้ามันของโลก ซึ่งอาจขยายตัว<br />

ถึงขั้นวิกฤติได้ และเมื่อ ๑๒ กันยายน<br />

พ.ศ.๒๔๙๙ ได้อนุมัติหลักการตามที่<br />

กระทรวงกลาโหมเสนอตามโครงการ<br />

พัฒนาการน้ามัน อาเภอฝาง จังหวัด<br />

พันเอก เชษฐกิตติ์ โสมอํ่า<br />

เชียงใหม่ เพื่อขยายกิจการและสนองความ<br />

จาเป็นทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค<br />

โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ภาคเหนือสาหรับ<br />

จัดตั้งคลังน้ามันสารองขนาดใหญ่<br />

ณ จังหวัดเชียงใหม่ โดยรับโอนกิจการ<br />

ทางด้านการกลั่นน้ามันจาก“หน่วยสารวจ<br />

น้ามันฝาง”กรมโลหะกิจ กระทรวง<br />

อุตสาหกรรม ที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่<br />

มาดาเนินการโดยให้เป็นหน่วยขึ้นตรง<br />

กับกรมการพลังงานทหารเพื่อให้ประสาน<br />

กับกิจการกลั่นกรองน ้ามันที่กระทรวง<br />

กลาโหมกาลังดาเนินการอยู่<br />

ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ กรมการ<br />

พลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรม<br />

ป้องกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

(ศพปน.พท.ศอพท.) มีที่ตั้งอยู่ที่อาเภอฝาง<br />

จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหน่วยงานในสังกัด<br />

สานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมที่ดาเนิน<br />

การด้านปิโตรเลียมบนบกมาเป็นเวลากว่า<br />

๖๐ ปี เป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อของ “บ่อน้า<br />

มันฝาง” ซึ่งเป็นแหล่งผลิตน้ามันแห่งแรก<br />

ของประเทศไทย มีหน้าที่ในการอานวยการ<br />

และปฏิบัติการสารวจ การผลิตและการ<br />

กลั่นกรองปิโตรเลียม ให้เป็นไปตามนโยบาย<br />

และแผนที่กาหนดไว้ อาจจะกล่าวได้ว่า<br />

งานของศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ<br />

เป็นการปฏิบัติงานด้านกิจการปิโตรเลียม<br />

ที่ครบวงจร นับตั้งแต่การสารวจ ขุดเจาะ<br />

ผลิต และกลั่นน้ามันดิบ ตลอดจนการ<br />

จาหน่ายและการสารองผลิตภัณฑ์<br />

ปิโตรเลียมเพื่อความมั่นคง ภายใต้กรอบ<br />

แนวทางที่กระทรวงกลาโหมกาหนด<br />

โดยการปฏิบัติงานดังกล่าวได้กระทาใน<br />

44<br />

¾Ñ¹àÍ¡ àªÉ°¡ÔµµÔ์ âÊÁÍํ่Ò


พื้นที่ที่ได้สงวนไว้เพื่อกิจการปิโตรเลียม<br />

ของกระทรวงกลาโหมตามมติคณะ<br />

รัฐมนตรี โดยมีพื้นที่ดำเนินการประมาณ<br />

๓๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ซึ่งครอบคลุม<br />

พื้นที่บางส่วนของ ๖ จังหวัดภาคเหนือ<br />

ตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่<br />

พะเยา ลำปาง แพร่ และลำพูน<br />

การดำเนินงานของศูนย์พัฒนา<br />

ปิโตรเลียมภาคเหนือตั้งแต่อดีตจนถึง<br />

ปัจจุบันได้รับการพัฒนาปรับปรุง จนกล่าว<br />

ได้ว่าเป็นหน่วยงานเพียงหน่วยเดียวที่<br />

สามารถดำเนินการปิโตรเลียมได้อย่างครบ<br />

วงจร โดยใช้ทรัพยากรและขีดความสามารถ<br />

ของหน่วยเองตั้งแต่การสำรวจหาแหล่ง<br />

น้ำมันดิบการเจาะการผลิต/สูบน้ำมันดิบ<br />

การกลั่นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันชนิด<br />

ต่างๆ ได้แก่ แนฟทาน้ำมันก๊าดดีเซลหมุนเร็ว<br />

และน้ำมันเตาชนิดต่างๆ จากโรงกลั่นน้ำมัน<br />

ฝาง ซึ่งเป็นโรงกลั่นแบบที่มีการกลั่นแบบง่ายๆ<br />

(Simple Refinery) ที่มีขีดความสามารถ<br />

ในการกลั่นสูงสูด ๒,๕๐๐ บาร์เรลต่อวัน<br />

(๓๙๗,๔๘๖ ลิตรต่อวัน) การจำหน่ายตลอดจน<br />

การศึกษา วิจัย และพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์<br />

ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานสากล<br />

นอกจากการดำเนินกิจการปิโตรเลียม<br />

แล้วศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือยังได้<br />

ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในโรงกลั่นน้ำมัน<br />

ฝาง โดยใช้น้ำมันเตาที่กลั่นได้เป็นเชื้อเพลิง<br />

สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ขนาด ๑๒.๑๔<br />

เมกะวัตต์ และผลิตกระแสไฟฟ้าจำหน่าย<br />

ให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย<br />

(กฟผ.) แบบผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small<br />

Power Producer: SPP) ในกำลังการผลิต<br />

๔.๕ เมกะวัตต์ โดยจำหน่ายกระแสไฟฟ้า<br />

ผ่านระบบสายส่งของการไฟฟ้าส่วน<br />

ภูมิภาค (กฟภ.) แรงดัน ๒๒ KV ในลักษณะ<br />

กำหนดกำลังไฟฟ้า (Firm) เพื่อช่วยเสริม<br />

ความสมบูรณ์ในระบบการจ่ายกระแส<br />

ไฟฟ้าให้กับประชาชนในพื้นที่อำเภอฝาง<br />

อำเภอแม่อาย และอำเภอไชยปราการ<br />

ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการในปัจจุบัน<br />

จากภารกิจงานด้านกิจการ<br />

ปิโตรเลียม ซึ่งเป็นงานที่ต้องใช้บุคลากรที่มี<br />

ความรู้ความสามารถเฉพาะทาง ทำให้ใน<br />

ทุกๆ ปีสถาบันการศึกษาต่างๆ ของ<br />

ประเทศได้ส่งนักเรียน นักศึกษา ในระดับ<br />

ต่างๆ ตั ้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ<br />

(ปวช.) จนถึงระดับปริญญาตรี เข้ารับ<br />

การฝึกงานในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ<br />

การปิโตรเลียม เช่น การสำรวจขุดเจาะ<br />

การกลั่นปิโตรเลียม การควบคุมคุณภาพ<br />

ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น<br />

นอกจากนี้ ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียม<br />

ภาคเหนือยังได้วางแผนจัดทำโครงการความ<br />

ร่วมมือร่วมกับหน่วยงานต่างๆ และบริษัท<br />

เอกชนในโครงการจัดตั้งสถาบันฝึกอบรม<br />

และพัฒนาบุคลากรด้านปิโตรเลียม เพื่อเป็น<br />

ศูนย์ฝึกอบรมบุคลากรด้านปิโตรเลียม<br />

บนบก หรือ on shore ในอนาคตอีกด้วย<br />

ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ<br />

ได้ก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่ายทอด<br />

ความรู้ด้านพลังงานปิโตรเลียมเพื่อเฉลิม<br />

พระเกียรติฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร<br />

มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร<br />

เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุ ครบ<br />

๘๐ พรรษา เพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับ<br />

ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการของ<br />

การปิโตรเลียม เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้<br />

กับบุคลากรของกระทรวงกลาโหม หน่วยงาน<br />

ต่างๆ สถาบันการศึกษา และประชาชน<br />

ทั่วไป ได้ศึกษาหาความรู้ และเป็นแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวที่สำคัญของ อำเภอฝาง จังหวัด<br />

เชียงใหม่<br />

ตลอดระยะเวลา ๖๑ ปีที่ผ่านมา<br />

ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ ได้มุ่งมั่นและ<br />

ทุ่มเททรัพยากรทั้งด้านบุคลากร องค์ความรู้<br />

และเทคโนโลยี ตลอดจนการสร้างความ<br />

ตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อม<br />

และประชาชนในพื้นที่ เพื่อพัฒนาศักยภาพ<br />

และปฏิบัติภารกิจต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย<br />

อย่างเต็มกำลังขีดความสามารถ และใน<br />

ปัจจุบัน ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ<br />

ภายใต้การบังคับบัญชาของ พลตรี กานต์<br />

กลัมพสุต ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนา<br />

ปิโตรเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร<br />

ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ<br />

และพลังงานทหาร ยังคงปฏิบัติงาน<br />

ด้านกิจการปิโตรเลียม ด้วยความมุ่งมั่น<br />

ทุ่มเท เพื่อให้ภารกิจบรรลุวัตถุประสงค์<br />

อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และรักษาไว้ซึ่ง<br />

ผลประโยชน์แห่งชาติ รวมทั้งเพื่อเป็นกำลัง<br />

สำคัญด้านพลังงานในการสนับสนุนกองทัพ<br />

และความมั่นคงของประเทศให้มีความ<br />

มั่นคง ยั่งยืน ตลอดไป<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

45


๑๘ กันยายน ๒๕๖๑<br />

๓๙ ปี ศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธ<br />

ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

ศูนย์อานวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

พลโท นรเศรษฐ ขรรทมาศ<br />

พ.<br />

ผู้บัญชาการศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การ<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร<br />

ศ.๒๕๑๘ กองทัพบกต้อง<br />

ประสบปัญหาการขาดแคลน<br />

อาวุธ และกระสุนเป็นอย่างมาก<br />

เนื่องจากการลดความช่วยเหลือทาง<br />

ด้านการทหารของชาติพันธมิตร ประกอบ<br />

กับกองทัพมีภารกิจสำคัญในการปราบปราม<br />

ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ศูนย์อำนวยการ<br />

สร้างอาวุธจึงได้ก่อกำเนิดขึ้นโดยกองทัพบก<br />

ตามความคิดริเริ่มของ พลเอก สัมผัส<br />

พาสนยงภิญโญ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่ง<br />

ผู้บัญชาการศูนย์การทหารปืนใหญ่ ชั้นยศ<br />

พลตรีที่ได้เห็นถึงความสำคัญในการวิจัย<br />

การพัฒนาและการผลิตอาวุธบนพื้นฐาน<br />

ของการพึ่งพาตนเอง เพื ่อเพิ่มศักยภาพ<br />

และเป็นหลักประกันในด้านความมั่นคง<br />

ทางด้านการทหาร ศูนย์อำนวยการสร้าง<br />

อาวุธตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ๒๕๒๒ ต่อมาได้มีการ<br />

พัฒนา ทั้งทางด้านการวิจัย การพัฒนา<br />

และการผลิตยุทโธปกรณ์อย่างต่อเนื่อง<br />

มีประสิทธิภาพ จนได้รับการรับรอง<br />

มาตรฐาน ISO 9001 ทั้งหน่วยงาน เมื่อ ๑๘<br />

กันยายน พ.ศ.๒๕๔๓ ต่อมาได้ปรับโอนจาก<br />

หน่วยขึ้นตรงของกองทัพบก มาเป็นหน่วย<br />

ขึ้นตรงของศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศและพลังงานทหาร สำนักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม เมื่อ ๘ มิถุนายน<br />

พ.ศ.๒๕๔๕<br />

ปัจจุบันมี พลโท นรเศรษฐ<br />

ขรรทมาศ เป็นผู้บัญชาการศูนย์อำนวยการ<br />

สร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศและพลังงานทหาร<br />

วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานที่ได้รับการ<br />

ยอมรับในมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และ<br />

ประสิทธิภาพทางการบริหาร การผลิต<br />

อาวุธ กระสุน และยุทโธปกรณ์ เพื่อการ<br />

พึ่งพาตนเองของกองทัพและมุ่งไปสู่การขาย<br />

ยังต่างประเทศในโอกาสต่อไป<br />

พันธกิจ ดำเนินการศึกษาวิจัยพัฒนา<br />

ผลิตอาวุธ กระสุน และยุทโธปกรณ์ที่ได้<br />

มาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับ เพื่อ<br />

สนับสนุนกองทัพตามขีดความสามารถใน<br />

ลักษณะของการผลิตเพื่อแจกจ่าย และการ<br />

รับการสั่งซื้อ รวมทั้งขยายขีดความสามารถ<br />

โดยรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผู้ผลิตที่<br />

มีมาตรฐานระดับสากล และมุ่งขยายตลาด<br />

ในการนำผลิตภัณฑ์ไปสู่การขายยังต่างประเทศ<br />

ต่อไป<br />

ศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธฯ มีการจัด<br />

ตามอัตราการจัดเฉพาะกิจหมายเลข<br />

๐๖๐๔ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ ๔ ส่วน<br />

คือ กองบัญชาการ, โรงงานต้นแบบการวิจัย<br />

พัฒนาอาวุธ, โรงงานสร้างปืนใหญ่และ<br />

เครื่องยิงลูกระเบิด และโรงงานผลิตกระสุน<br />

ปืนใหญ่และลูกระเบิดยิง<br />

โรงงานต้นแบบการวิจัยพัฒนาอาวุธ<br />

มีขีดความสามารถในการวิจัยพัฒนา<br />

ยุทโธปกรณ์ให้เป็นต้นแบบเพื่อนำเข้าสู่<br />

46<br />

ศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร


สายการผลิต และผลิตเครื่องช่วยฝกและ<br />

ยุทโธปกรณ์ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมี<br />

ผลงานวิจัยที่สาคัญ เช่น เครื่องช่วยฝก<br />

ลากล้องชนิดอัดอากาศที่ใช้กับเครื่องยิง<br />

ลูกระเบิดและหน่วยช่วยขับเคลื่อน (APU)<br />

ของปืนใหญ่หนักกระสุนวิถีราบ ขนาด<br />

๑๕๕ มิลลิเมตร แบบ ๓๔ (GHN-45)<br />

โรงงานสร้างปนใหญและเครื่องยิง<br />

ลูกระเบิด มีขีดความสามารถในการผลิต<br />

เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๖๐, ๘๑ และ<br />

ขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร และปรับปรุงพัฒนา<br />

เครื่องยิงลูกระเบิดขนาดต่างๆ ผลิต/<br />

ปรับปรุงพัฒนาปืนใหญ่ขนาด ๑๐๕<br />

มิลลิเมตร ปรับปรุงพัฒนาปืนใหญ่ ขนาด<br />

๑๕๕ มิลลิเมตร แบบลากจูง ให้เป็นแบบ<br />

อัตตาจรล้อยาง โรงงานผลิตกระสุนปืนใหญ่<br />

และลูกระเบิดยิง มีขีดความสามารถใน<br />

การผลิต/ประกอบรวมลูกระเบิดยิงจาก<br />

เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๖๐, ๘๑, และ<br />

๑๒๐ มิลลิเมตร ทั้งชนิดระเบิดและควัน<br />

ฟอสฟอรัส การผลิตกระสุนปืนใหญ่<br />

ขนาด ๑๐๕ มิลลิเมตร ชนิดระเบิด<br />

เพิ่มระยะกลาง ชนิดระเบิดเพิ่ม<br />

ระยะไกล ชนิดควันฟอสฟอรัส และชนิด<br />

ส่องแสง การผลิตกระสุนปืนรถถัง ขนาด<br />

๑๐๕ มิลลิเมตร และผลิตกระสุนปืนใหญ่<br />

ขนาด ๑๕๕ มิลลิเมตร ชนิดระเบิด เอ็ม<br />

๑๐๗ ชนิดระเบิดเพิ่มระยะกลาง (ERFB/<br />

BT) และชนิดระเบิดเพิ่มระยะไกล (ERFB/<br />

BB) ศูนย์อานวยการสร้างอาวุธฯ มีขีดความ<br />

สามารถในการวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์<br />

และเครื่องช่วยฝก โดยร่วมมือกับนักวิจัย<br />

จากภายนอก และดาเนินการวิจัยได้เอง<br />

ตามขีดความสามารถของนักวิจัยที่มีอยู่<br />

โดยมีโครงการวิจัยและพัฒนาที่สาคัญและ<br />

สามารถนามาพัฒนาเข้าสู่สายการผลิต<br />

ต่อไป ได้แก่<br />

๑. โครงการวิจัยและพัฒนาชนวนหัว<br />

กระทบแตกไว/ถ่วงเวลาสาหรับลูกระเบิด<br />

ยิงจากเครื่องยิงลูกระเบิด<br />

๒. โครงการวิจัยและพัฒนาระบบ<br />

รับแรงเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๘๑ มิลลิเมตร<br />

เพื่อพัฒนาต้นแบบไปติดตั้งกับรถสายพาน<br />

แบบ ๓๐ (T-85)<br />

๓. โครงการวิจัยและพัฒนาระบบ<br />

รับแรงเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐<br />

มิลลิเมตร บนยานเกราะล้อยาง (BTR-3E1)<br />

๔. โครงการวิจัยและพัฒนาระบบตั้ง<br />

หลักฐานยิงอัตโนมัติ เครื่องยิงลูกระเบิด<br />

ขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร<br />

๕. โครงการวิจัยและพัฒนาระบบ<br />

ควบคุมและอานวยการยิงอัตโนมัติ สาหรับ<br />

ปืนใหญ่เบากระสุนวิถีโค้งขนาด ๑๐๕<br />

มิลลิเมตร แบบอัตตาจรล้อยาง<br />

๖. โครงการวิจัยและพัฒนาชนวนหัว<br />

อิเล็กทรอนิกส์ สาหรับลูกระเบิดยิงจาก<br />

เครื่องยิงลูกระเบิด<br />

๗. โครงการศึกษาความเป็นไปได้<br />

ในการวิจัยและพัฒนาชนวนหัว<br />

อิเล็กทรอนิกส์ สาหรับกระสุนปืนใหญ่<br />

ศูนย์อานวยการสร้างอาวุธฯ จะได้นา<br />

ผลงานวิจัยที่ได้ดาเนินการ เช่น ชนวนหัว<br />

อิเล็กทรอนิกส์สาหรับลูกระเบิดยิงจาก<br />

เครื่องยิงลูกระเบิดและชนวนหัว<br />

อิเล็กทรอนิกส์สาหรับกระสุนปืนใหญ่<br />

เข้าสู่สายการผลิตเพื่อใช้ในกองทัพ และ<br />

นาระบบตั้งหลักฐานยิงอัตโนมัติเครื่องยิง<br />

ลูกระเบิด ขนาด ๑๒๐ มิลลิเมตร และ<br />

ระบบควบคุมและอานวยการยิงอัตโนมัติ<br />

สาหรับปืนใหญ่เบากระสุนวิถีโค้ง ขนาด<br />

๑๐๕ มิลลิเมตร แบบอัตตาจรล้อยาง<br />

ปรับปรุงพัฒนาใช้กับยุทโธปกรณ์ของ<br />

กองทัพ เพื่อให้มีความทันสมัยทัดเทียมกับ<br />

ยุทโธปกรณ์ที่จัดหาจากต่างประเทศต่อไป<br />

ในวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑ นี้<br />

เป็นโอกาสอันดีที่ศูนย์อานวยการสร้าง<br />

อาวุธฯ ดาเนินงานมาจนครบรอบปีที่ ๓๙<br />

ซึ่งศูนย์อานวยการสร้างอาวุธฯ จะมุ่งมั่นใน<br />

การวิจัย พัฒนาและผลิตอาวุธ บนพื้นฐาน<br />

ของการพึ่งพาตนเอง เพื่อเพิ่มศักยภาพ<br />

และเป็นหลักประกันในด้านความมั่นคง<br />

ทางด้านการทหารในอนาคต<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

47


Desert Storm<br />

ปฏิบัติการพายุทะเลทราย<br />

“กำลังทางอากาศคือกำลังหลักอันโดดเด่นที ่บุกเบิกทางไปสู่การปลดปล่อยอิรัก”<br />

พลอากาศตรี ปิยะพันธ์ ขันถม<br />

สงครามอ่าวครั้งที่ ๑ ถูกปลุก<br />

ประสาทชาวโลกเมื่อกองทัพอิรัก<br />

บุกเข้ายึดครองคูเวต ในวันที่ ๒<br />

สิงหาคม ๒๕๓๓ หมายจะหาทางออกสู่<br />

ทะเลเพื่อการลำเลียงน้ำมันเข้าสู่ตลาดโลก<br />

ได้ง่ายขึ้น โดยต้องการรื้อฟื้นความล่มจม<br />

หรือย่ำแย่อย่างที่สุดในระบบเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศ มองไปทางไหนมีแต่ความ<br />

ขาดแคลนข้นแค้น ความศรัทธาต่อรัฐบาล<br />

ถดถอย ซึ่งเป็นผลจากสงครามแปดปีกับ<br />

อิหร่านในช่วงปี ๑๙๘๐ – ๑๙๘๘ การบุก<br />

ของอิรักทำให้เกิดการประณามจาก<br />

นานาชาติ เรื่องปวดใจที่ตามมาคือ สมาชิก<br />

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ<br />

ตัดสินใจเลือกใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจ<br />

ต่ออิรัก เป็นเครื่องมือในการกดดันต่อความ<br />

ฮึกเหิมแบบไร้ขีดจำกัดของอิรัก และนั่นคือ<br />

จุดเริ่มต้นของความวุ่นวายนานาประการ<br />

ในประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรม<br />

โลกตั้งแต่ยุคโบราณ<br />

อิรักเป็นดินแดนที่มี<br />

ประวัติศาสตร์ยาวนานจากการ<br />

เป็นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่<br />

ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของโลก<br />

เรียกว่าดินแดนแถบเมโสโปเตเมีย<br />

(Mesopotamia : Meso;<br />

กึ่งกลาง, ระหว่าง : Potamia;<br />

แผ่นดิน) หมายถึง แผ่นดินที่ตั้ง<br />

อยู่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำไทกริส<br />

(Tigris) และแม่น้ำยูเฟรตีส (Euphrates)<br />

ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มาก จึงมีอาณาจักร<br />

ของชนเผ่าที่โด่งดังในยุคนั้นอาศัยร่วมกัน<br />

พร้อมกับการทำลายล้างกันอยู่มาก เช่น<br />

อาณาจักรซูเมเรียน (Sumerian Civilization)<br />

48<br />

พลอากาศตรี ปิยะพันธ์ ขันถม


อาณาจักรบาบิโลเนีย (Babylonia)<br />

อาณาจักรอัสซีเรีย (Assyria) อาณาจักร<br />

มีเดีย (Media) เป็นต้น ครั้นล่วงเข้า<br />

ศตวรรษที่ ๑๗ เป็นยุคที่ชาวเติร์กแห่ง<br />

จักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman) เริ่ม<br />

รุ่งเรือง จึงได้ยึดครองดินแดนเกือบทั้งหมด<br />

ในแถบนี้ซึ่งรวมถึงอิรักด้วย เข้าเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของความเป็นออตโตมัน ซึ่งก็คือตุรกี<br />

ในปัจจุบัน<br />

ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๑ ยุติ<br />

อาณาจักรออตโตมันที่เคยเป็นมหาอำนาจ<br />

ในภูมิภาคนี้ต้องตกเป็นผู้แพ้สงคราม ดินแดน<br />

ต่างๆ ที่ออตโตมันปกครองก็ถูกแบ่ง<br />

แยกออกเป็นรัฐต่างๆ ซึ่งอิรักเป็นหนึ่งของ<br />

รัฐที่ถูกแบ่งแยกออกมา โดยอังกฤษเข้ามา<br />

เป็นผู้ปกครองในฐานะรัฐอารักขาตั้งแต่ปี<br />

ค.ศ.๑๙๒๐ จนกระทั่งในปี ค.ศ.๑๙๓๒<br />

อังกฤษจึงได้ให้เอกราชแก่อิรัก ประเทศนี้<br />

ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม มีสาย<br />

ความเชื่อหรือสายพันธ์ุเป็นซุนนีย์ (Sunni)<br />

ชีอะฮ์(Shia) และชาวเคิร์ด (Kurdish)<br />

ที่ต่างกันออกไปแต่ก็ยังเป็นมุสลิม<br />

สงครามอ่าวครั้งแรกนี้<br />

ประธานาธิบดีGeorge H.W.Bush<br />

ได้ให้คำแนะนำอย่างหนักแน่นแก่<br />

พลเอก H.Norman Schwarzkopf<br />

ผู้บัญชาการ USCC (United<br />

States Central Command) ซึ่งเหมือน<br />

กับกองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งชาติ<br />

ถึงการประกาศสงครามกับอิรักให้เร็วที่สุด<br />

ภายหลังวันที่๑๕ มกราคม ๑๙๙๑ ในขณะ<br />

ที่สภาคองเกรสยังอึดอัดและลังเลใจถึงการ<br />

ตัดสินใจของประธานาธิบดี<br />

แต่ท้ายที่สุดสงครามเพื่อการปลด<br />

ปล่อยอิรัก ตามยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ ใน<br />

ปัญหาตะวันออกกลางก็ต้องเกิด และชาวโลก<br />

ได้เห็นหน้าตาของสงครามที่เปลี่ยนไป<br />

ซึ่งอีกฝ่ายได้เปรียบตั้งแต่ต้นในเรื่อง<br />

เทคโนโลยี ว่าการดำเนินการยุทธ์แบบ<br />

ผสมผสานและผลของสงครามจะเป็นอย่างไร<br />

สงครามครั้งนี้นับได้ว่าเป็นยุทธศาสตร์และ<br />

ยุทธศิลป์ที่ผสมผสานกองกำลังและ<br />

เทคโนโลยีกันได้อย่างลงตัว เป็นบทเรียน<br />

ในสถาบันทางทหารของบ้านเราอยู่มาก<br />

อนึ่งการสงครามครั้งนี้ชาติตะวันตกแทบจะ<br />

ไม่ได้ใช้จ่ายอะไรมากมายนัก เนื่องจาก<br />

มีสปอนเซอร์ให้การสนับสนุนรายใหญ่<br />

เป็นเงินเกือบครึ่งแสนล้านดอลลาร์ คือ<br />

ประเทศซาอุดีอาระเบีย มหามิตรใน<br />

ตะวันออกกลางของสหรัฐฯ นั่นเอง<br />

เมื่อ ๒๐ ปีที่ผ่านมา ก่อนสงครามอ่าว<br />

เกิดขึ้น แนวความคิดการใช้กำลังทาง<br />

อากาศอย่างเฉียบขาดด้วยการผสมผสาน<br />

เทคโนโลยีของกำลังทางอากาศและด้าน<br />

อวกาศ ให้เกิดคุณลักษณะที่โดดเด่นของ<br />

กำลังทางอากาศ ตั้งแต่การพลางตนเองใน<br />

ระดับที่ล่องหน (Stealth) อันยอดเยี่ยม<br />

การบูรณาการด้านการข่าวที่เชื่อถือได้<br />

ความรวดเร็ว ความแม่นยำ รวมไปถึงการ<br />

ลดการบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิตนั้นยังเป็น<br />

เรื่องที่รางเลือนและห่างไกลอยู่มาก<br />

ครั้นเมื่อสถานการณ์ความขัดแย้ง<br />

ของสังคมโลก โดยมีตะวันออกกลาง<br />

เป็นต้นตอของปัญหา ทั้งเรื่องการสะสมอาวุธ<br />

นิวเคลียร์ เป็นแหล่งเพาะบ่มและส่งเสริม<br />

การก่อการร้ายข้ามชาติ เป็นศูนย์รวมของ<br />

การล้มล้างอิสราเอลที่ดูแลเมืองศักดิ์สิทธิ์<br />

เยรูซาเล็มของชาวคริสต์ เมื่อความวุ่นวาย<br />

เหล่านี้เดินทางมาถึงจุดสุกงอมและแตกหัก<br />

การบุกเข้ายึดครองคูเวตของอิรัก ชาติ<br />

ตะวันตก โดยเฉพาะสหรัฐฯ รีบพลิกกลับ<br />

สถานการณ์ทันที การเปิดปฏิบัติการพายุ<br />

ทะเลทรายในค่ำคืนของวันที่ ๑๗<br />

กุมภาพันธ์ ๑๙๙๑ ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเปิด<br />

บทบาทการสงครามยุคใหม่ของโลก โดยการ<br />

ขับเคลื่อนของกำลังทางอากาศแห่งกองทัพ<br />

อากาศสหรัฐฯ ภายใต้การจัดกำลังแบบ<br />

เฉพาะกิจร่วม (Joint Operation) จาก<br />

ทุกเหล่าทัพของสหรัฐฯ<br />

๖ สัปดาห์ของการทำสงครามทาง<br />

อากาศ ได้พลิกผันสิ่งที่คาดว่าจะมีการบาดเจ็บ<br />

ล้มตายอย่างมากนั้นลงไปโดยสิ้นเชิง<br />

และนอกจากนั้นกำลังทางอากาศยังทำลาย<br />

และปราบปรามการรุกรานของกำลังทาง<br />

อากาศและกำลังทางบกของอิรัก ซึ่งทำให้<br />

กำลังทางบกของสหรัฐฯ ใช้เวลาเพียงแค่<br />

๔ วัน ในการเข้ายึดครองคูเวตและผลักดัน<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

49


ให้กองทัพอิรักถอยร่นเข้าสู่แผ่นดินของ<br />

ตนเองได้อย่างเด็ดขาด<br />

เครื่องบินล่องหน แบบ F-111s และ<br />

F-117s รวมถึงเครื่องบินรบ แบบ F-15E<br />

ขึ้นปฏิบัติการซ้ำแล้วซ้ำเล่า ผนวกกับการมี<br />

ประสิทธิภาพอย่างไร้ที่ติของลูกระเบิดแบบ<br />

LGB (Laser Guided Bombs) นำวิถีด้วย<br />

เลเซอร์ ความผิดพลาดต่อเป้าหมายเป็นศูนย์<br />

รถถังหรือกำลังต่างๆ ของอิรักกลาง<br />

ทะเลทรายในคูเวตถูกโจมตีแบบไม่มีทาง<br />

ต่อสู้ หมดหนทางในการเอาตัวรอด<br />

ท่ามกลางทะเลทรายที่เวิ้งว้างอย่างสิ้นเชิง<br />

ท้องฟ้าเต็มไปด้วยเสียงกัมปนาทกึกก้อง<br />

ของเครื่องยนต์ไอพ่น เมฆหมอกที่เคยมีถูก<br />

ทดแทนด้วยห่าฝนของจรวดนำวิถีและ<br />

ลูกระเบิดร่อน<br />

ในปฏิบัติการพายุทะเลทรายมีภารกิจ<br />

ทางอากาศต่อเป้าหมายภาคพื้นมากกว่า<br />

๔๓,๐๐๐ เที่ยวบิน โดยประกอบกำลังร่วม<br />

ของฝูงบินรบแถวหน้าของโลก เช่น เครื่อง-<br />

บิน แบบ A-10, F-16, F-4G, F/A-18, C/<br />

AC-130, B-52, AWACS, BQM-74C<br />

(Drone), KC-10, KC-135 และเครื่องบิน<br />

แบบต่างๆ อีกทั้งขีปนาวุธประจำเครื่องบิน<br />

เกือบทุกแบบ ล้วนแล้วแต่มีความมหัศจรรย์<br />

พันลึก ที่โดดเด่นคือขีปนาวุธ แบบ AGM-88<br />

(HARM) ที่ยิงจากเรือบรรทุกเครื่องบินเพื่อ<br />

โจมตีในช่วงเริ่มต้นของพายุทะเลทราย<br />

เป็นการโจมตีจากระยะไกล ไร้การต่อต้าน<br />

และแม่นยำ ไม่มีลูกใดตกทิ้งให้เสียของ<br />

ในทะเล หรือส่วนที่ไม่ใช่เป้าหมาย<br />

ดาวเทียมทางทหารทุกดวงพุ่งความ<br />

สำคัญไปที่ยุทธบริเวณ ช่วยเสริมสร้างความ<br />

เที่ยงตรงของข่าวกรองทางทหารและระบบ<br />

พิกัดระบุตำแหน่ง ความสำเร็จของกำลัง<br />

ทางอากาศในครั้งนี้ หัวหน้านายทหารฝ่าย<br />

เสนาธิการกองทัพอากาศ พลอากาศเอก<br />

Merrill A.Mc Peak ได้กล่าวสรุปว่า “นี่คือ<br />

ครั้งแรกในประวัติศาสตร์สงครามที่กำลัง<br />

ทางอากาศสามารถเอาชนะกำลังทางบกได้<br />

อย่างหมดสิ้น” ก็น่าจะเป็นเช่นนั้น<br />

เพราะสัดส่วนของขีดความสามารถ<br />

ต่างกันหลายทศวรรษ และในเรื่องนี้<br />

ภายในระยะเวลาไม่นานมาก ก่อให้<br />

เกิดการปรับปรุงและพัฒนากำลัง<br />

ทางอากาศของจีนแบบก้าวกระโดด<br />

เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่<br />

ประจักษ์แล้วว่า กำลังทางอากาศ<br />

ของตนเองตกยุคและอ่อนล้าเหลือเกิน<br />

ในช่วงเริ่มต้นของปฏิบัติการพายุทะเล<br />

ทราย มีความเชื่อมั่นไม่มากนักถึงผลของ<br />

รูปแบบการปฏิบัติการของกำลังทางอากาศ<br />

แม้ว่ากองกำลังร่วมเฉพาะกิจจะมีการ<br />

เตรียมการเรื่องการจัดหน่วยและฝึกล่วงหน้า<br />

มาแล้วกว่าห้าเดือน สิ่งที่วิตกกังวลกัน<br />

นั้นคือ การบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิตจะมี<br />

มากมายขนาดไหน โดยพิจารณาถึงขีด<br />

ความสามารถการตอบโต้ที่มีพื้นฐานจาก<br />

ความแข็งแกร่งของกองทัพอิรัก ซึ่งมีความ<br />

ใหญ่โตของกองทัพเป็นอันดับสี่ของโลก<br />

และเป็นอันดับหกเมื่อเปรียบเทียบเฉพาะ<br />

กองทัพอากาศ อีกทั้งยังมีความช ่ำชองใน<br />

สมรภูมิกลางทะเลทรายที่เคยกรำศึกมา<br />

อย่างยาวนานในสงครามแปดปีกับอิหร่าน<br />

ตั้งแต่ปี ๑๙๘๐ – ๑๙๘๘ นอกจากนั้น<br />

ยังต้องระวังเป็นอย่างยิ่งในการถูกโจมตี<br />

ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ชีวะ เคมีจากอิรักอีก<br />

ด้วย ด้วยความกังวลดังกล่าว กองกำลังร่วม<br />

เฉพาะกิจของสหรัฐฯ จึงได้เตรียมโรงพยาบาล<br />

ไว้ถึง ๖๓ แห่ง เรือพยาบาล ๒ ลำและ<br />

เตียงสนามในพื้นที่การรบอีกถึง ๑๘,๐๐๐ เตียง<br />

ซึ่งก็คือมิติของส่วนยุทธบริการที่ต้อง<br />

ไม่ละเลย<br />

ด้วยเหตุที่ต้องการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง<br />

ที่จะทำให้เกิดความสูญเสียของทหาร<br />

จำนวนมาก กำลังทางอากาศจึงได้รับการ<br />

ยอมรับให้เป็นกำลังหลักในการโจมตีต่อ<br />

กองกำลังทหารของอิรักก่อนการโจมตี<br />

ของกองกำลังภาคพื ้นอื่นๆ พลเอก<br />

Schwarzkopf จึงได้อนุมัติให้เปิดปฏิบัติการ<br />

ทางทหารเป็นสี่ช่วงปฏิบัติการ สามช่วงแรก<br />

เป็นการปฏิบัติการของกำลังทางอากาศ<br />

แต่เพียงลำพัง ช่วงสุดท้ายเป็นการ<br />

สนับสนุนโดยใกล้ชิดแก่กองกำลังภาคพื้นดิน<br />

เพื่อผลักดันและยึดครองคูเวตคืนจาก<br />

อิรัก โดยที่ในช่วงแรกเป็นการปฏิบัติการ<br />

เพื่อครองอากาศและทำลายรถถัง ปืนใหญ่<br />

เป้าหมายทางยุทธศาสตร์และกองกำลังใน<br />

50<br />

พลอากาศตรี ปิยะพันธ์ ขันถม


แนวหน้าของอิรักให้ราบคาบ หลังจากนั้น<br />

จึงเป็นการบุกรุกคืบตีให้ถอยร่นของกำลัง<br />

ภาคพื้นในช่วงสุดท้าย<br />

เมื่อหลักนิยมการปฏิบัติการมุ่งเน้นมาที่<br />

กำลังทางอากาศ ฉะนั้นการตัดสินใจเริ่มต้น<br />

ของปฏิบัติการพายุทะเลทรายจึงขึ้นอยู่กับ<br />

พลอากาศโท Charles A.Horner<br />

ผู้บัญชาการกองกำลังทางอากาศร่วม ซึ่ง<br />

Horner ได้วางแผนให้F-117s โจมตีเป้าหมาย<br />

ส่วนบัญชาการหรือ 2CI ในกรุงแบกแดด<br />

และระบบป้องกันภัยทางอากาศของอิรัก<br />

ในคืนเดือนมืดก่อนรุ่งสว่างของเช้าวันที่๒๗<br />

มกราคม ๑๙๙๑ และเชื่อมต่อกับการ<br />

ปฏิบัติการทางอากาศที่ตามมาอย่าง<br />

ต่อเนื่องในตอนเช้า สำหรับระบบป้องกัน<br />

ภัยทางอากาศของอิรักนั้น สหรัฐฯ ได้รับ<br />

การเอื้อเฟื้อข้อมูลทุกอย่างเป็นอย่างดีโดย<br />

มิต้องร้องขอจากบริษัทของฝรั่งเศสและ<br />

สวีเดนที่เป็นบริษัทผู้ติดตั้งระบบป้องกันภัย<br />

ทางอากาศให้แก่อิรัก ในโลกของสงครามนั้น<br />

ไม่เคยมีมิตรแท้เลย เคยเป็นคู่ค้าแต่กลับ<br />

ปันใจป้อนข้อมูลสำคัญให้กับอีกฝ่าย<br />

แม้ว่ายุทธศาสตร์ทางทหารของอิรักจะ<br />

ถูกทำลายอย่างย่อยยับ จากมรสุมของ<br />

เทคโนโลยีสงครามเกือบทุกชนิดของ<br />

สหรัฐฯ แต่ก็ยังมีความพยายามต่อต้านจาก<br />

อิรักอยู่บ้าง โดยอิรักยิงขีปนาวุธแบบ SAM<br />

เพื่อต่อต้านอากาศยานและยิงขีปนาวุธ<br />

แบบ Scud โจมตีอิสราเอลและ<br />

ซาอุดีอาระเบียแต่ก็ถูกต่อต้านจากขีปนาวุธ<br />

ต่อต้านขีปนาวุธแบบ Patriot ของกองทัพบก<br />

สหรัฐฯ<br />

ช่วงสุดท้ายของพายุทะเลทราย หลังจาก<br />

สิ้นสุดการปฏิบัติการทางอากาศของ<br />

กำลังทางอากาศซึ่งใช้เวลาทั้งสิ้นห้าสัปดาห์<br />

และมั่นใจถึงการครองอากาศแล้วนั้น ก่อน<br />

ที่กำลังทางอากาศจะต้องลดบทบาทลงมา<br />

เพื่อการสนับสนุนกำลังภาคพื้น พลเอก<br />

Schwarzkopf ได้ประเมินผลการปฏิบัติ<br />

การถึงความเสียหายของกองกำลังอิรัก พบว่า<br />

กองกำลังอิรักเกือบทั้งหมดแม้กระทั่งกอง<br />

กำลังทั้งสามกองพันของ Republican<br />

Guard เพื ่อพิทักษ์ประธานาธิบดีซัดดัม<br />

ฮุสเซน ก็อยู่ในสภาพที่ย่ำแย่มีระดับความ<br />

พร้อมรบไม่ถึง ๖๐ เปอร์เซ็นต์ คือแค่เอา<br />

ตัวรอดเท่านั้น ไม่อาจหักหาญกับใครได้<br />

การปฏิบัติการของกำลังภาคพื้นสหรัฐฯ<br />

เริ่มขึ้นเมื่อวันที่๒๔ กุมภาพันธ์๑๙๙๑ เป็น<br />

วันที่ชุ่มฉ่ำไปด้วยลมฝน โคลนตมและเมฆ<br />

หมอก แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคแต่อย่างใด<br />

เนื่องจากความยุ่งยากใจทุกอย่างนั้น กำลัง<br />

ทางอากาศได้ขจัดให้เสียจนหมดสิ้นแล้ว<br />

การปฏิบัติการในช่วงสุดท้ายนี้ใช้เวลาเพียง<br />

แค่สี่วันเท่านั้น ประธานาธิบดีบุชจึงได้<br />

ประกาศหยุดยิงและปิดฉากมหากาพย์<br />

สงครามยุคใหม่พายุทะเลทรายกับชัยชนะ<br />

อย่างเด็ดขาดที่มีการบาดเจ็บหรือสูญเสีย<br />

ชีวิตน้อยที่สุด เมื่อเวลา ๕ นาฬิกา (Riyadh<br />

time) ของวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๑๙๙๑<br />

หลังสิ้นสุดปฏิบัติการพายุทะเลทราย<br />

สหรัฐฯ ได้ส่งมอบความรับผิดชอบต่อไปให้<br />

กับสหประชาชาติและมีการกำหนดเขต<br />

ห้ามบิน (No Fly Zone) ขึ้น ในขณะที่ภาพ<br />

สุดท้ายของการปฏิบัติการเพื่อปลดปล่อย<br />

คูเวตก็เป็นการพิสูจน์ให้เห็นถึงศักยภาพ<br />

และเอกภาพของกำลังทางอากาศใน<br />

สงครามยุคใหม่ที่เพียบพร้อมไปด้วย<br />

เทคโนโลยี และมีการปฏิบัติการในห้วง<br />

อวกาศเข้ามามีส่วนร่วมด้วยเป็นอย่างมาก<br />

จึงก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่เบ็ดเสร็จ ไม่เกิด<br />

ความยืดเยื้อยาวนานเหมือนสงคราม<br />

ในยุคก่อน ประธานาธิบดีบุชถึงกับกล่าว<br />

อย่างมั่นใจถึงการสิ้นสุดของสงครามครั้งนี้<br />

ว่า “Now, We have Saddam Hussein<br />

still there. : ซัดดัม ฮุสเซ็น กลับอิรัก<br />

ไปแล้ว”<br />

จาก : Air Force Magazine, Jan 2011<br />

ผู้เขียน : Rebecca Grant<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

51


เปิดประตูสู่เทคโนโลยี<br />

ปองกันประเทศ ปองกันประเทศ ปองกันประเทศ ๖๘<br />

สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องค์การมหาชน)<br />

กับการขับเคลื ่อนอุตสาหกรรม<br />

New S-Curve 11<br />

สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน)<br />

52 ÊҺѹ෤â¹âÅÂÕ»‡Í§¡Ñ¹»ÃÐà·È (ͧ¤¡ÒÃÁËÒª¹)


New S-Curve ที่ ๑๑ หรือ<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ<br />

เป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาท<br />

แตกต่างจากอุตสาหกรรมประเภทอื่น<br />

ในด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหลักประกัน<br />

ทางด้านความมั่นคงของประเทศ เพื่อ<br />

เสริมสร้างความพร้อมรบของกองทัพ<br />

ด้านยุทโธปกรณ์ในการปกป้องอธิปไตย และ<br />

ผลประโยชน์ของประเทศ อีกทั้งมีความ<br />

สำคัญในเชิงเศรษฐกิจอีกด้วย เพราะเมื่อ<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศได้รับการ<br />

ส่งเสริมและสนับสนุนอย่างเป็นระบบ<br />

จะสามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศได้เป็น<br />

จำนวนมาก รวมไปถึงการพัฒนาทางด้าน<br />

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการสร้าง<br />

บุคลากรที่มีทักษะสูงให้กับประเทศ<br />

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ<br />

(องค์การมหาชน) หรือ สทป. เป็นหน่วย<br />

งานในรูปแบบองค์การมหาชนของ<br />

กระทรวงกลาโหม ภายใต้การกำกับของ<br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม จัดตั้ง<br />

ขึ้นเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๒<br />

มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัย และ<br />

พัฒนานวัตกรรมและดำเนินการอื่นที่เกี่ยว<br />

กับหรือต่อเนื่องกับการวิจัยและพัฒนา<br />

เพื่อนำไปสู่อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ<br />

รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจการ<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของ<br />

กระทรวงกลาโหม หน่วยงานภาครัฐและ<br />

ภาคเอกชน สทป. ดำเนินการภายใต้<br />

ยุทธศาสตร์ ๔ ด้าน คือ การวิจัยพัฒนา<br />

เทคโนโลยีป้องกันประเทศ การพัฒนา<br />

ความรู้และนวัตกรรมสู่<br />

ประชาสังคม การพัฒนา<br />

เครือข่ายความร่วมมือ<br />

และการพัฒนาองค์กร<br />

เพื่อความยั่งยืนที่<br />

สอดคล้องกับยุทธศาสตร์<br />

ชาติ ระยะ ๒๐ ปี<br />

ภายใต้เป้าประสงค์การ<br />

สนับสนุนให้กองทัพ<br />

มีอาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยี<br />

ที่จำเป็นในการต่อสู้ภัยคุกคามทุกรูปแบบ<br />

การรักษาดุลยภาพด้านความมั่นคง<br />

ของรัฐ และวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์และ<br />

เทคโนโลยีป้องกันประเทศนำไปสู่การผลิต<br />

เชิงอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ การ<br />

ดำเนินงานของ สทป. ยังมีความสอดคล้อง<br />

กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม<br />

แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ซึ่งระบุถึงการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศโดยเสริม<br />

สร้างการวิจัยและพัฒนาควบคู่ไปกับการ<br />

สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน<br />

และมิตรประเทศในการสร้างองค์ความรู้<br />

และแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม<br />

ขีดความสามารถในการพัฒนาอาวุธ<br />

ยุทโธปกรณ์ และยุทธภัณฑ์ พร้อมทั้ง<br />

ส่งเสริมนวัตกรรมด้านอุตสาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศ โดยหน่วยงานภาครัฐเป็นหนึ่งใน<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

53


กลไกขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและ<br />

ยั่งยืน ตามโมเดลไทยแลนด์ ๔.๐ สทป. จึง<br />

เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการสนับสนุนการ<br />

พัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ที่ใช้<br />

เทคโนโลยีขั้นสูงในการผลิต และเป็น<br />

อุตสาหกรรมที่มีการพัฒนาในด้าน<br />

ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมต่างๆ<br />

ซึ่งรัฐบาลได้จัดให้อยู่ในกลุ่มของ<br />

อุตสาหกรรม New S-Curve ลำดับที่ ๑๑<br />

เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ที่มีการใช้<br />

เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างเข้มข้น<br />

กลุ่มนี้มีความสามารถในการเติบโตต่อไป<br />

ในอนาคตสูง<br />

เทคโนโลยีเป้าหมายของสถาบัน<br />

เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การ<br />

มหาชน)<br />

ตามแผนยุทธศาสตร์ที่ ๑ การวิจัย<br />

และพัฒนาเทคโนโลยีป้องกันประเทศ โดย<br />

สทป. เป็นกลไกขับเคลื่อนหลักให้กับการ<br />

พัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ซึ่งมี<br />

เทคโนโลยีเป้าหมาย ๕ เทคโนโลยี โดยมี<br />

ผลงานเป็นรูปธรรมจากผลการดำเนินงาน<br />

ที่สนับสนุนงานด้านความมั่นคงและภาค<br />

ประชาสังคม ดังนี้<br />

๑. เทคโนโลยี<br />

จรวดและอาวุธนำวิถี:<br />

โดยการวิจัยและ<br />

พัฒนาเทคโนโลยี<br />

จรวดและอาวุธนำวิถี<br />

ที่มีความแม่นยำสูง<br />

นอกจากจะใช้เพื่อ<br />

ป้องกันภัยภายนอก<br />

ประเทศแล้ว ยังได้นำ<br />

ความรู้จากเทคโนโลยีดังกล่าวมาต่อยอด<br />

เป็นจรวดดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อช่วยใน<br />

การทำฝนเทียมในโครงการวิจัยและ<br />

พัฒนาจรวดดัดแปรสภาพอากาศร่วมกับ<br />

กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กระทรวง<br />

เกษตรและสหกรณ์ยังมีประโยชน์กับ<br />

พี่น้องเกษตรกรอีกด้วย<br />

๒. เทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร<br />

ทางทหาร : โครงการวิจัยและพัฒนา<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศแบบรวมศูนย์และ<br />

โปรแกรมประยุกต์สำหรับเจ้าหน้าที่หน่วย<br />

งานด้านความมั่นคง เพื่อสนับสนุนการ<br />

แก้ไขปัญหา ๓ จังหวัดชายแดนใต้<br />

๓. เทคโนโลยีการจำลองยุทธ์และ<br />

การฝึกเสมือนจริง : โครงการวิจัยและพัฒนา<br />

เครื่องช่วยฝึกยานรบเสมือนจริง โครงการ<br />

ประยุกต์ใช้แผนที่สถานการณ์เพื่อจำลอง<br />

ภารกิจการช่วยเหลือทางทหารใน<br />

สถานการณ์ฉุกเฉิน<br />

๔. เทคโนโลยียานไร้คนขับ : โครงการ<br />

วิจัยและพัฒนาองค์ประกอบพื้นฐานระบบ<br />

54 สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)


ยานไร้คนขับและโครงการวิจัยและพัฒนา<br />

หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด ที่ร่วมกันพัฒนา<br />

กับทั้งกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพ<br />

อากาศ สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาค<br />

รัฐและเอกชน ใช้งานทั้งในงานด้านความ<br />

มั่นคงและในเชิงพาณิชย์<br />

๕. เทคโนโลยียานรบและระบบอาวุธ :<br />

โครงการวิจัยและพัฒนาร่วมยานเกราะ<br />

ล้อยาง และโครงการวิจัยและพัฒนาร่วม<br />

ยานเกราะล้อยางสำหรับปฏิบัติภารกิจ<br />

ของหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน สำหรับ<br />

สนับสนุนภารกิจของเหล่าทัพและ<br />

เทคโนโลยีที่จะวิจัยและพัฒนาต่อไปใน<br />

อนาคต<br />

วันนี้ สทป. มุ่งมั่นวิจัยและพัฒนา<br />

เทคโนโลยี จากองค์ความรู้เพื่อนำไปขยายผล<br />

ต่อยอดสู่อุตสาหกรรม ผ่านการบูรณาการ<br />

ความร่วมมือที่เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน<br />

ทั้งภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา<br />

พร้อมขับเคลื่อนไปสู่การมีอุตสาหกรรม<br />

ป้องกันประเทศที่เข้มแข็ง สามารถวิจัย<br />

พัฒนานวัตกรรมอาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อ<br />

ตอบสนองการใช้งานของเหล่าทัพที่มี<br />

ความต้องการหลากหลายมิติ นำไปสู่การ<br />

ผลิตเชิงอุตสาหกรรม ลดการพึ่งพา<br />

ต่างประเทศและพัฒนาเทคโนโลยีต่อเนื่อง<br />

สำหรับการใช้ประโยชน์ทางภาคสังคมและ<br />

เป็นการสร้างบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ<br />

และทันสมัยในเทคโนโลยีต่างๆ มุ่งเน้นให้<br />

เกิดการทำงานในรูปแบบประชารัฐ เพื่อผลิต<br />

ไปสู่การใช้งานในราชการและในเชิงพาณิชย์<br />

ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง<br />

กลาโหม พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ<br />

สนับสนุนการพัฒนาประเทศเพื่อก้าวไปสู่<br />

Thailand 4.0 เพื่อให้ยุทโธปกรณ์สามารถ<br />

ตอบสนองการใช้งานของเหล่าทัพที่มี<br />

ความต้องการหลากหลายมิติและสามารถ<br />

พัฒนาเทคโนโลยีต่อเนื่องสำหรับการใช้<br />

ประโยชน์ทางภาคสังคม ให้ความสำคัญ<br />

กับการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก<br />

ทั้งภาครัฐและเอกชน นำไปสู่การผลิต<br />

เชิงอุตสาหกรรม ลดการพึ่งพาต่างชาติ<br />

เพื่อความมั่นคงที่ยั่งยืน ถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ในการตอบสนองนโยบายพัฒนาประเทศ<br />

ในการปรับปรุงอุตสาหกรรมเป้าหมาย<br />

ในการส่งเสริมและผลักดันอุตสาหกรรม<br />

แห่งอนาคต หรือ New S-Curve<br />

ลำดับที่ ๑๑<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

55


โครงการผลิต<br />

กระสุนขนาดกลาง<br />

ร้อยโท จิรวัฒน์ ถนอมธรรม<br />

โครงการผลิตกระสุนขนาดกลาง<br />

ร่วมกับกรมสรรพาวุธทหารอากาศ<br />

มีระยะเวลาดำเนินโครงการ ๖ ปี<br />

ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ โดยใช้<br />

เงินทุนหมุนเวียนอุตสาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศ ลงทุนวงเงินผลิตกระสุน ๒ ขนาด<br />

ประกอบด้วย กระสุนขนาด ๒๓ มิลลิเมตร<br />

ชนิด TP จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ นัด และ<br />

กระสุนขนาด ๓๐ x ๑๗๓ มิลลิเมตร ชนิด<br />

TP-T จำนวน ๒๕,๐๐๐ นัด เพื่อส่งให้กับ<br />

เหล่าทัพ<br />

ศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธฯ เป็น<br />

หน่วยงานด้านอุตสาหกรรมป้องกัน<br />

ประเทศที่สำคัญของกระทรวงกลาโหม<br />

มีภารกิจในการดำเนินงานด้านการวิจัย<br />

พัฒนา และผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์<br />

สนับสนุนเหล่าทัพ เพื่อการ<br />

พึ่งพาตนเองในด้านความ<br />

มั่นคงของชาติรวมทั้งปฏิบัติ<br />

งานอื่นที่เกี ่ยวข้องตาม<br />

นโยบายของกระทรวงกลาโหม<br />

และปฏิบัติงานอื่น ซึ่งการ<br />

ผลิตแบ่งออกเป็น<br />

๑. ผลิตเอง<br />

๒. ผลิตร่วมกับเหล่าทัพ<br />

จากการบูรณาการร่วม<br />

กับเหล่าทัพ พิจารณาและเห็นว่าสายงาน<br />

การผลิตที่มีอยู่เดิมของเหล่าทัพนั้น<br />

ถ้าปรับปรุงพัฒนาเพื่อรองรับการผลิตก็จะใช้<br />

56 ร้อยโท จิรวัฒน์ ถนอมธรรม


งบประมาณที่ถูกกว่า ในด้านการผลิต<br />

กระสุนปืนใหญ่และลูกระเบิดยิง<br />

ศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธ ศูนย์การ<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงาน<br />

ทหาร ได้ทำการผลิตกระสุนปืนใหญ่และ<br />

ลูกระเบิดยิงสนับสนุนให้กับเหล่าทัพ<br />

ที่สำคัญ ได้แก่ โครงการผลิตกระสุน<br />

ขนาดกลาง ซึ่งประกอบด้วย ๒ ประเภท คือ<br />

๑. โครงการผลิตลูกปืนต่อสู้<br />

อากาศยาน ขนาด ๒๓ มิลลิเมตร ชนิดฝึก<br />

โครงการผลิตลูกปืนต่อสู้อากาศยาน ขนาด<br />

๒๓ มิลลิเมตร ชนิดฝึกต่อเนื่อง<br />

(ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) เป็น<br />

โครงการเริ่มใหม่ประจำปีงบประมาณ<br />

๒๕๖๐ โดยใช้เงินทุนหมุนเวียน<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ระยะเวลา<br />

ดำเนินการ ๖ ปี ผลิตลูกปืนต่อสู้<br />

อากาศยาน ขนาด ๓๗ มิลลิเมตร<br />

Type 74 ชนิดฝึก จำนวน<br />

๒๕,๐๐๐ นัด โดยใน<br />

ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จะ<br />

เป็นการจัดพัสดุสำหรับการผลิต<br />

ให้กับโครงการฯ และจะเริ่ม<br />

ผลิตตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๖๑<br />

- ๒๕๖๕ เพื่อขายให้กับกองทัพเรือ<br />

๒. โครงการผลิตลูกปืน<br />

ต่อสู้อากาศยานขนาด ๓๐ x ๑๗๓<br />

มิลลิเมตร ชนิดฝึก ปลัดกระทรวง<br />

กลาโหมได้อนุมัติเมื่อวันที่ ๒<br />

พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ให้โครงการ<br />

ผลิตลูกปืนต่อสู้อากาศยาน<br />

ขนาด ๓๐ x ๑๗๓ มิลลิเมตร<br />

ชนิดฝึก (ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)<br />

เป็นโครงการเริ่มใหม่ประจำปีงบประมาณ<br />

๒๕๖๑ โดยใช้เงินทุนหมุนเวียน<br />

อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ระยะเวลา<br />

ดำเนินโครงการฯ ๕ ปี ผลิตลูกปืนต่อสู้<br />

อากาศยานขนาด ๓๐ x ๑๗๓ มิลลิเมตร<br />

ชนิดฝึก จำนวน ๑๕,๐๐๐ นัด เพื ่อขาย<br />

ให้กับกองทัพเรือ<br />

ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนิน<br />

โครงการ<br />

- กองทัพมีศักยภาพในการผลิตอาวุธ<br />

ยุทโธปกรณ์<br />

- กองทัพสามารถพึ่งพาตนเองได้<br />

- ลดการนำเข้าและประหยัด<br />

งบประมาณของประเทศ<br />

- เพิ่มพูนทักษะและองค์ความรู้จาก<br />

การผลิตฯ ให้บุคลากร<br />

- เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือ<br />

สนับสนุนอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ<br />

ทั้งในและต่างประเทศ<br />

- ลดปัจจัยเสี่ยงด้านงบประมาณ<br />

ผลิตตามความต้องการของเหล่าทัพ<br />

ข้อมูลจาก : ศอว.ศอพท.<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

57


โครงการสืบสานพระราชปณิธาน<br />

การอนุรักษ์ ดิน น ้ำ และป่ า<br />

เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร<br />

เนื ่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

พันโทหญิง สุนิภา แจ้งเจนเวทย์ สำนักงานกิจการพลเรือน สำนักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

เมื่อวันที่ ๕ - ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

สำนักงานกิจการพลเรือน สำนัก<br />

นโยบายและแผนกลาโหม ได้จัด<br />

กิจกรรม “สืบสานพระราชปณิธาน<br />

การอนุรักษ์ดิน น้ำ และป่า เฉลิมพระเกียรติ<br />

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ<br />

บดินทรเทพยวรางกูร เนื่องในโอกาส<br />

เฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม<br />

๒๕๖๑ และร่วมกิจกรรมสร้างฝายชะลอน้ำ<br />

ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี<br />

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กำลังพล<br />

ของสำนักนโยบายและแผนกลาโหม<br />

มีความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ<br />

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ<br />

บดินทรเทพยวรางกูร ที่ทรงมีพระราช<br />

ประสงค์ในการสืบสานรักษา และน้อมนำ<br />

แนวทางพระราชดำริต่างๆ<br />

ของพระบาทสมเด็จ<br />

พระปรมินทรมหาภูมิพล<br />

อดุลยเดช บรมนาถบพิตร<br />

มาขยายผลในการแก้ไข<br />

ปัญหาเรื่อง ดิน น้ำ และป่า<br />

ให้มีความอุดมสมบูรณ์<br />

และนำความรู้ที่ได้รับ<br />

ไปเผยแพร่ให้หน่วยงาน และบุคคลใน<br />

ครอบครัวได้น้อมนำแนวทางพระราชดำริ<br />

ของพระองค์ท่านมาปรับใช้ให้เกิด<br />

ประโยชน์แก่ตนเองและประเทศชาติ<br />

58 พันโทหญิง สุนิภา แจ้งเจนเวทย์


โดยได้รับฟังการบรรยายพิเศษ เรื่อง<br />

ประโยชน์ของฝายชะลอน้า โดยวิทยากร<br />

จาก บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน)<br />

สรุปว่า ฝายเปนสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นด้วยฝมือ<br />

มนุษย์สาหรับช่วยกักเก็บน้าและชะลอการ<br />

ไหลเวียนของน้า ปองกันน้าท่วมจากแม่น้า<br />

ลาธารในฤดูฝนในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อกระแสน้า<br />

ที่รุนแรง อีกทั้งยังช่วยปกปองหน้าดิน ช่วย<br />

ลดการพังทลายของหน้าดินได้เปนอย่างดี<br />

โดยฝายชะลอน้าส่วนใหญ่จะถูกสร้าง<br />

บริเวณลาห้วย ลาธาร เส้นทางน้า<br />

ขนาดเล็ก เพื่อช่วยกักเก็บ<br />

ตะกอน รักษาหน้าดิน และ<br />

คงความชุ่มชื้น<br />

หลังจากการสัมมนาได้<br />

ดาเนินกิจกรรมสร้างฝาย<br />

ชะลอน้าร่วมกับพนักงาน<br />

บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย<br />

จากัด (มหาชน) นักศึกษา<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

วิทยาเขตกาญจนบุรี<br />

ประชาชนและนักเรียนในพื้นที่ตาบล<br />

ลุ่มสุ่ม อาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี<br />

ประมาณ ๒๐๐ คน แบ่งเปน ๑๕ กลุ่ม<br />

ร่วมกันสร้างฝายชะลอน้า จานวน ๑๑ ฝาย<br />

เปนระยะทาง ๑.๕ กิโลเมตร โดยใช้วัสดุ<br />

ธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่ และก้อนหินที่อยู่ใน<br />

พื้นที่ โดยพื้นที่สร้างฝายเปนป่าชุมชน<br />

เนื้อที่ ๑,๐๐๐ ไร่เศษ อยู่ในความดูแลของ<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี<br />

ซึ่งประชาชนที่อยู่โดยรอบได้รับประโยชน์<br />

โดยตรงจากการสร้างฝาย ทาให้มีอาชีพ<br />

สร้างรายได้จากการเก็บ<br />

ของป่ามาจาหน่าย ได้แก่<br />

หน่อไม้ และเห็ด มีคุณภาพ<br />

ชีวิตที่ดีขึ้น เปนผลมาจาก<br />

ความอุดมสมบูรณ์ของ<br />

ผืนป่า<br />

การดาเนินกิจกรรม<br />

สร้างฝายชะลอน้าในครั้งนี้<br />

ทาให้ทราบถึงความสาคัญ<br />

ในการอนุรักษ์ ดิน น้า<br />

และป่า ตามแนวทาง<br />

พระราชดาริของพระบาท<br />

สมเด็จพระปรมินทร<br />

มหาภูมิพลอดุลยเดช<br />

บรมนาถบพิตร อีกทั้งเปน<br />

โอกาสอันดีที่ข้าราชการ<br />

สานักนโยบายและแผน<br />

กลาโหม ได้ร่วมแรงร่วมใจ<br />

ทากิจกรรมอันเปน<br />

ประโยชน์ และแสดงออกถึงความเอื้อเฟอ<br />

ช่วยเหลือสังคมด้วยการนาสิ่งของ<br />

เครื่องใช้ อุปโภค บริโภค รวมถึงหนังสือ<br />

และอุปกรณ์การเรียน ที่ข้าราชการและ<br />

ผู้บังคับบัญชาได้ร่วมกันบริจาค ไปมอบให้<br />

กับโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน<br />

บ้านแม่น้าน้อยในพื้นที่อีกด้วย<br />

การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ได้บรรลุผล<br />

สาเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ<br />

ทาให้ข้าราชการมีความสานึกใน<br />

พระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จ<br />

พระเจ้าอยู่หัวและสถาบันพระมหากษัตริย์<br />

และได้ร่วมกันสืบสานการอนุรักษ์ ดิน น้า<br />

และป่า โดยการทากิจกรรมร่วมกับ<br />

เครือข่ายองค์กร ภาคเอกชน และ<br />

ประชาชนในพื้นที่ อีกทั้งเปนการสร้าง<br />

บรรยากาศของความร่วมมือในการ<br />

ทาคุณประโยชน์ให้แก่สังคมและ<br />

ประเทศชาติอีกทางหนึ่งด้วย<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

59


Violent Extremism<br />

พันเอกหญิง ดร.วันดี โตสุวรรณ<br />

ห้<br />

วงเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๑ ที่ผ่านมา<br />

ผู้เขียนได้เข้าร่วมสัมมนา<br />

นานาชาติในหัวข้อเรื่อง “Countering<br />

Violent Extremist Narratives in the<br />

Global Context” ซึ่งแปลเป็นภาษาไทย<br />

ได้ว่า การเล่าเรื่องการต่อต้านกลุ่มคนที่มี<br />

ความคิดรุนแรงแบบสุดขั้วในระดับโลก<br />

ณ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์กองบัญชาการ<br />

กองทัพไทยเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา<br />

จังหวัดชลบุรี ทำให้อดสะพรึงกลัวไม่ได้ว่า<br />

สถานการณ์ความมั่นคงของประชาคมโลก<br />

ปัจจุบันยังแฝงไปด้วยอันตราย ความรุนแรง<br />

และภัยมืดที่ยากต่อการกำจัด ปราบปราม<br />

แก้ไขได้โดยง่าย ในทางตรงกันข้ามหน่วย<br />

งานด้านความมั่นคงของแต่ละประเทศจะ<br />

ต้องมีการพัฒนา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง<br />

และที่สำคัญจะต้องรวมพลังกันเพื่อยับยั้ง<br />

แนวคิดความรุนแรงแบบสุดโต่งของ<br />

กลุ่มคนที่ไม่หวังดี กลุ่มคนหรือคนที่<br />

คลั่งไคล้ในลัทธิความเชื่อ หรือมีแรงกดดัน<br />

ต่างๆ ให้หมดสิ้นไป<br />

สารานุกรมวิกิพีเดีย (Wikipedia) ได้<br />

อธิบายความหมายของคำว่า Violent<br />

Extremism ไว้ดังนี้ Violent Extremism<br />

refers to the beliefs and actions of<br />

people who support or use<br />

ideologically motivated violence to<br />

achieve radical ideological, religious<br />

or political views. แนวคิดความรุนแรง<br />

แบบสุดโต่ง อ้างถึงความเชื่อและการกระทำ<br />

ของกลุ่มคนที่สนับสนุนหรือใช้ความ<br />

รุนแรงจากแรงกระตุ้นของลัทธิที่นิยม<br />

เพื่อมาต่อสู้หรือขัดขวางแนวคิดทาง<br />

การเมืองด้านศาสนาและลัทธิความขัดแย้ง<br />

อื่นๆ ส่วนคำว่า Violent Extremist<br />

คนที่มีแนวคิดความรุนแรงแบบสุดโต่งนั้น<br />

อาจจะมาจากประเด็นทางด้านการเมือง<br />

ศาสนา และด้านเพศ (Violent views can<br />

be exhibited along a range of issues<br />

including politics, religion and<br />

genders.)<br />

นักวิชาการเล่าว่า สาเหตุที่ทำให้กลุ่มคน<br />

กลายเป็นพวกหัวรุนแรงนั้น อาจจะ<br />

เริ่มจากความต้องการในส่วนบุคคล<br />

(Personal Need) เช่น ความต้องการใน<br />

อำนาจ ( Power) ความสำเร็จ (Achievement)<br />

ความสำคัญ (Importance) เหตุผล<br />

(Purpose) คุณธรรม (Morality) and<br />

ความตื่นเต้น (Excitement)<br />

ดร.นามรัต โกสวามี นักวิชาการชาวอินเดีย<br />

ได้กล่าวไว้ในวารสาร Indo Pacific<br />

Forum ว่า กลุ่มลัทธิสุดโต่งที่นิยมความ<br />

รุนแรงโดยทั่วไปจะมีรูปแบบที่โดดเด่น<br />

ได้แก่ กลุ่มที่ไม่มีแบบแผนที่เข้าร่วมใน<br />

60<br />

พันเอกหญิง ดร.วันดี โตสุวรรณ


กิจกรรมต่างๆ เช่น การจลาจลที่ไม่ได้<br />

วางแผนล่วงหน้า กลุ่มก่อการร้ายที่มุ่งให้<br />

ประชาชนเผยแพร่จุดยืนของตนและกลุ่ม<br />

ก่อความไม่สงบที่มีการจัดโครงสร้างอย่าง<br />

มีแบบแผนอย่างยิ่ง กลุ่มลัทธิสุดโต่งที่นิยม<br />

ความรุนแรงส่วนใหญ่มีเป้าหมายที่จะ<br />

ชักชวน บีบบังคับและข่มขู่ประชาชนให้<br />

สนับสนุนเจตจำนงทางการเมืองของกลุ่ม<br />

ตนในระยะสั้น กลุ่มลัทธิสุดโต่งจะมุ่ง<br />

ทำลายความชอบธรรมของรัฐในทาง<br />

การเมือง สร้างความวุ่นวายและเข้าควบคุม<br />

ประชาชน กลุ่มลัทธิสุดโต่งกระทำการ<br />

ดังกล่าวโดยการสร้างระบอบการปกครอง<br />

แบบคู่ขนานกับรัฐบาล ประกาศจุดยืนของ<br />

กลุ่มอย่างชัดเจนและสร้างภัยคุกคามที่จะ<br />

ก่อให้เกิดผลอันเลวร้ายกับประชาชน<br />

หากตนไม่ได้รับการสนับสนุน<br />

เรามาฝึกอ่านและศึกษาคำศัพท์<br />

ตลอดจนประโยคภาษาอังกฤษที ่กล่าวถึง<br />

การที่คนหนุ่มสาวอาจจะถูกชักชวนให้เข้า<br />

ร่วมกับกลุ่มที่มีแนวคิดที่มีความรุนแรง<br />

แบบสุดโต่งดังนี้<br />

Fear (ความกลัว)<br />

Violent Extremist may try to<br />

recruit you by tapping into your<br />

personal problems. Remember that<br />

everyone experiences difficult emotions.<br />

Seek help or be supportive of<br />

other going through a tough time.<br />

(กลุ่มหัวรุนแรงอาจจะพยายามชักชวนคุณ<br />

ด้วยการเข้ามาตีสนิทและช่วยเหลือปัญหา<br />

ของคุณ ในช่วงที่คุณอยู่ในสภาพทางด้าน<br />

อารมณ์ที่ลำบากใจ ต้องการความช่วยเหลือ<br />

และกำลังใจเพื่อให้ผ่านช่วงวิกฤตให้ได้)<br />

Social Alienation (ความห่างเหินทาง<br />

สังคม)<br />

Those who feel isolated can<br />

sometimes be easily convinced by<br />

violent extremist beliefs. Don’t<br />

become a puppet for violent<br />

extremists by joining groups that want<br />

to hurt others just so you feel less<br />

alone. Consider healthy ways you<br />

can connect with others, including<br />

people that share your interests.<br />

(กลุ่มคนที่รู้สึกโดดเดี่ยวมีแนวโน้มที่จะ<br />

ได้รับการชักชวนได้ง่าย โดยความเชื่อของ<br />

กลุ่มที่มีความรุนแรงแบบสุดโต่ง อย่ากลาย<br />

เป็นหุ่นเชิดในการเข้าร่วมกลุ่มที่จะทำร้าย<br />

ผู้อื่นเพียงเพื่อให้คุณรู้สึกโดดเดี่ยวน้อยลง<br />

ขอให้พินิจพิเคราะห์อย่างรอบคอบว่าคุณ<br />

สามารถติดต่อเพื่อนๆ ได้เองอยู่แล้ว<br />

รวมถึงสามารถร่วมแสดงประเด็นที่มี<br />

ความสนใจร่วมกันได้)<br />

Anxiety (ความกังวล)<br />

Teens can be stressed by problems<br />

at home, grades, peer pressure,<br />

bullying, and other issues. Blaming<br />

other people, groups, or the government<br />

is not a good way to cope with your<br />

anxiety. Look for other ways to<br />

reduce stress, such as talking to<br />

friends or exercising. (กลุ่มคนวัยรุ่น<br />

อาจจะมีความเครียดจากปัญหาทางบ้าน<br />

คะแนนผลการเรียน หรือความกดดันจาก<br />

เพื่อนๆ การถูกข่มเหงและปัญหาอื่นๆ การ<br />

โทษคนอื่น กลุ่มหรือรัฐบาลไม่ใช่เป็น<br />

วิธีการแก้ปัญหาที่ดีในการขจัด)<br />

Frustration (ความขุ่นมัว)<br />

It is natural to feel frustrated or<br />

angry when you are treated<br />

unfairly or rejected by others. But<br />

don’t become a puppet for violent<br />

extremists to create an outlet for<br />

your anger and revenge. Find peaceful,<br />

constructive ways of dealing<br />

with feelings of frustration. (เป็น<br />

ธรรมชาติที่รู้สึกอึดอัดใจหรือโกรธเมื่อคุณ<br />

ได้รับการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม หรือ<br />

ถูกปฏิเสธโดยผู้อื่น แต่อย่ากลายเป็นหุ่นเชิด<br />

สำหรับกลุ่มหัวรุนแรงเพื่อหาทางออก<br />

เพื่อระบายความโกรธและการแก้แค้น<br />

ของคุณ ควรหาวิธีการที่สร้างสรรค์และ<br />

สงบสุขในการรับมือกับความรู้สึกหงุดหงิด<br />

เหล่านั้น)<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

<strong>61</strong>


สาระน่ารู้ทางการแพทย์<br />

“ช่วยหยุด<br />

การฆ่าตัวตาย”<br />

ปั<br />

ญหาการฆ่าตัวตายเริ่มพบ<br />

มากขึ้นในสังคมไทย ล่าสุด<br />

กับกรณีน้องโอม (สงวนชื่อ<br />

และนามสกุล) นักเรียนชั้น ม.๖<br />

โดยน้องโอมได้กระโดดจากตึกลงมา<br />

เสียชีวิต ซึ่งจะมีสาเหตุอะไรบ้าง และ<br />

จะมีวิธีการอย่างไรไม่ให้มีความคิด<br />

ฆ่าตัวตาย บทความฉบับนี้สำนักงาน<br />

แพทย์สำนักงานสนับสนุนสำนักงาน<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม มีข้อแนะนำ<br />

มาฝากท่านผู้อ่าน ครับ<br />

ปัญหาการฆ่าตัวตาย เกิดจาก<br />

หลายสาเหตุ แต่สาเหตุใหญ่ที่ทำให้คนคิด<br />

อยากฆ่าตัวตายเกิดจากโรคซึมเศร้า คนที่<br />

เป็นโรคซึมเศร้าจะมีความรู้สึกเบื่ออย่าง<br />

รุนแรงแทบทุกอย่างในชีวิต เบื่อที่จะมีชีวิต<br />

อยู่ต่อไป ความเศร้าที่รุนแรงมากๆ<br />

อาจทำให้คิดว่าตนเองผิด ไร้ค่า และคิด<br />

อยากฆ่าตัวตาย การตายจึงเป็นเหมือน<br />

ทางออกของปัญหาในระยะสั้น เพื่อไม่ต้อง<br />

เผชิญกับปัญหาอีกต่อไป ความคิดของคน<br />

ที่จะฆ่าตัวตายมักไม่เห็นหนทางแก้ไข<br />

ปัญหา ชีวิตมืดมนและหมดหวัง ทั้งๆ ที่<br />

ความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น<br />

อาการของโรคซึมเศร้า มักเริ่มเป็น<br />

จากอาการน้อยๆ แล้วมากขึ้นอย่างรวดเร็ว<br />

สามารถสังเกตได้ไม่ยาก ดังนี้<br />

๑. อารมณ์ไม่สนุกสนานเหมือนเดิม<br />

ไม่มีความสุข เบื่อ ท้อแท้หงุดหงิดและเศร้า<br />

๒. หมดความสนใจในสิ่งต่างๆ เบื่อสิ่ง<br />

62<br />

ที่เคยทำแล้วสนุก มีความสุข ไม่อยากทำ<br />

อะไร ไม่อยากเจอใคร<br />

๓. เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลงมาก (บาง<br />

คนกินมากเพื่อให้หายเครียด ทำให้น้ำหนัก<br />

เพิ่มขึ้น)<br />

๔. นอนไม่หลับ หลับๆ ตื่นๆ หรือตื่น<br />

เร็วกว่าเดิม ๒ - ๓ ชั่วโมงแล้วนอนต่อไม่ได้<br />

(บางคนนอนมากขึ้น เนื่องจากไม่อยากทำ<br />

อะไร พยายามนอนแต่ไม่หลับ)<br />

๕. เหนื่อยหน่าย อ่อนเพลีย ไม่มีแรง<br />

ไม่อยากทำอะไร<br />

๖. ความคิดช้า การเคลื่อนไหวช้า<br />

ไม่มั่นใจตนเอง ไม่กล้าคิด ลังเลตัดสินใจ<br />

ลำบาก<br />

๗. สมาธิความจำเสีย ตั้งใจทำงานไม่ได้<br />

ลืมง่าย ความสามารถในการจำลดลง<br />

๘. คิดว่าตัวเองไร้ค่า ทำผิด ทำไม่ดี<br />

คิดไม่ดีต่อตัวเอง<br />

สำนักงานแพทย์ สำนักงานสนับสนุนสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

๙. คิดอยากตาย และพยายาม<br />

ฆ่าตัวตาย<br />

โรคซึมเศร้า อาจเกิดหลังจากปัญหา<br />

ความเครียดในชีวิต เช่น การสูญเสียคนรัก<br />

หรือสิ ่งที่รักในชีวิต ปัญหาเรื่องการเรียน<br />

การทำงาน ปัญหาอื่นๆ แต่ในบางคนอาจ<br />

เกิดขึ้นเองโดยไม่มีสาเหตุก็ได้ ถ้าเริ่มมี<br />

อาการ ผู้ป่วยมักจะรู้ตัวและอาจมาพบ<br />

จิตแพทย์ แต่ถ้ามีอาการมากอาจไม่รู้ตัวจึง<br />

ไม่มารับการรักษา บางคนกลัวว่าการมาพบ<br />

จิตแพทย์ แสดงว่าตนเองเป็นโรคจิต<br />

โรคประสาท ทำให้ไม่ได้รับการรักษาและ<br />

โรคมีอาการมากขึ้น จนถึงระดับที่คิดอยาก<br />

ตายได้ จากการสำรวจทั่วโลกพบว่า ในผู้ที่<br />

ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ๑๐๐ คน มีเพียง ๑๐ คน<br />

เท่านั้นที่มาพบแพทย์และได้รับการรักษา<br />

อย่างถูกต้อง<br />

สำนักงานแพทย์ สำนักงานสนับสนุนสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม


การรักษาโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นการแก้ไข<br />

สาเหตุของการฆ่าตัวตาย โรคซึมเศร้า<br />

สามารถรักษาให้หายได้ไม่ยาก เนื่องจาก<br />

ปัจจุบันนี้ทางการแพทย์สามารถรู้ถึงสาเหตุ<br />

ของโรคซึมเศร้าแล้วว่าเกิดจากการทำงาน<br />

แปรปรวนของสารสื่อนำประสาทที่มีผล<br />

ต่ออารมณ์ ยารักษาโรคซึมเศร้าช่วยให้การ<br />

ทำงานของสารสื่อนำประสาทนั้นกลับมา<br />

เป็นปกติ ผู้ป่วยร้อยละ ๘๐ รักษาให้หาย<br />

ได้ เมื่อได้รับยาร่วมกับการรักษาทางจิตใจ<br />

เมื่อหายป่วยแล้วจะกลับมาเป็นปกติ<br />

เหมือนเดิม โรคซึมเศร้าจึงไม่ใช่โรคจิต<br />

หรือโรคประสาท แต่เป็นโรคทางอารมณ์<br />

ที่สามารถรักษาให้หายได้<br />

หากสงสัยว่าคนใกล้ชิดมีอาการคล้าย<br />

โรคซึมเศร้า เช่น ซึมเฉย เงียบ ไม่พูดจา<br />

เฉื่อยชา เชื่องช้า ทำอะไรผิดไปจากเดิม<br />

มากๆ การเรียนหรือการทำงานเสียไป บางคน<br />

อาจใช้คำพูด เช่น “รู้สึกเบื่อจัง ไม่รู้จะ<br />

อยู่ไปทำไม” “ฝากดูแลลูกด้วยนะ”<br />

หลักเมือง กันยายน ๒๕๖๑<br />

หรือดำเนินการบางอย่างที่น่าสงสัยว่าจะไม่<br />

อยากมีชีวิตต่อไป เช่น ทำพินัยกรรม โอน<br />

ทรัพย์สมบัติให้ลูกหลาน จึงควรให้ความ<br />

ห่วงใยสอบถามถึงความรู้สึก ความคิด และ<br />

สังเกตอาการของโรคซึมเศร้า ซึ่งจะเป็นการ<br />

ช่วยเหลือในเบื้องต้น ทำให้ผู้ที่กำลัง<br />

ซึมเศร้ารู้สึกว่ามีคนห่วงใย มีเพื่อน มีที่พึ่ง<br />

ช่วยให้อาการซึมเศร้าดีขึ้นและไม่คิดอยาก<br />

ฆ่าตัวตาย ถ้าพบว่าผู้ใดมีอาการของโรค<br />

ซึมเศร้าข้างต้นเกิน ๕ ข้อ ควรแนะนำให้ผู้นั้น<br />

มาพบจิตแพทย์ เพื่อรับการตรวจและ<br />

ช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว การรักษาโรคซึมเศร้า<br />

ได้เร็วจะช่วยป้องกันการฆ่าตัวตายได้<br />

ถ้าสงสัยว่าผู้นั้นคิดฆ่าตัวตายหรือไม่<br />

ควรถาม<br />

การถามเรื่องการฆ่าตัวตายสามารถ<br />

ทำได้ เพราะอาจช่วยรักษาชีวิตเขาไว้ได้<br />

วิธีการถามควรใช้ชุดคำถามแบบขั้นบันได<br />

ดังนี้<br />

๑. เมื่อพบว่าใครมีอารมณ์ซึมเศร้า<br />

ให้ถามว่า “ความเศร้านั้นมาก<br />

จนทำให้เบื่อชีวิตหรือไม่”<br />

๒. ถ้าตอบรับ ให้ถามต่อไป<br />

ว่า “ความรู้สึกเบื่อชีวิตนั้น<br />

ทำให้คิดอยากตายหรือไม่”<br />

๓. ถ้าตอบรับ ให้ถามต่อไป<br />

ว่า “เมื่อคิดอยากตาย เคยคิด<br />

จะทำหรือไม่”<br />

๔. ถ้าตอบรับ ให้ถามต่อไปว่า “คิดจะ<br />

ทำอย่างไร”<br />

๕. ถ้าตอบรับ ให้ถามต่อไปว่า “เคย<br />

ทำหรือไม่”<br />

๖. ถ้าตอบรับ ให้ถามต่อไปว่า “เคย<br />

ทำอย่างไร”<br />

๗. สุดท้าย ให้ถามต่อไปว่า “มีอะไร<br />

ยับยั้งใจ หรือหยุดความคิดนี้ได้ จนทำให้<br />

ไม่ได้ทำ”<br />

คำถามข้อสุดท้ายไม่ว่าจะตอบอย่างไร<br />

แสดงถึงปัจจัยบวกของผู้นั้นที่ช่วยให้เขา<br />

ยั้งคิด และป้องกันไม่ให้ฆ่าตัวตาย ควรชม<br />

และส่งเสริมให้กำลังใจในข้อดีนี้เพื่อให้เป็น<br />

ปัจจัยป้องกันในครั้งต่อไป<br />

บางคนเชื่อว่า การถามเรื่องฆ่าตัวตาย<br />

จะไปกระตุ้นผู้ที่ยังไม่คิดให้คิด หรือกระตุ้น<br />

ให้ผู้ที่คิดอยู่บ้างทำจริงๆ ความเชื่อนี้ไม่<br />

ถูกต้องเพราะในความเป็นจริงการถาม<br />

เรื่องนี้ไม่ได้ชักจูงหรือกระตุ้นให้คิดหรือทำ<br />

แต่สำหรับผู้ที่คิดจะทำอยู่แล้ว เมื่อมีคน<br />

ถามจะรู้สึกว่ามีคนเข้าใจทำให้รู้สึกดีขึ้น<br />

จนไม่คิดอยากทำ<br />

ทุกคนมีส่วนร่วมในการช่วยป้องกัน<br />

การฆ่าตัวตาย โดย...<br />

• สนใจ ใส่ใจ สังเกตตนเอง เพื่อนๆ<br />

และคนใกล้ชิด ว่ามีอาการของโรคซึมเศร้า<br />

หรือไม่ ถ้ามีอาการมากให้ถามถึงอาการซึมเศร้า<br />

และถามถึงความคิดอยากฆ่าตัวตาย<br />

• ถ้าตนเองเกิดโรคซึมเศร้า ให้ปรึกษา<br />

ทีมสุขภาพจิตโดยเร็ว<br />

• แนะนำผู้ที่มีอาการซึมเศร้า รีบมาพบ<br />

ทีมสุขภาพจิต เพราะการรักษาอย่าง<br />

รวดเร็วจะได้ผลดีกว่า และเพื่อเป็นการ<br />

ป้องกันก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์น่าเศร้าขึ้น<br />

โดยเฉพาะกับผู้ที่มีความคิดอยากตายหรือ<br />

เคยฆ่าตัวตาย<br />

ที่มาข้อมูลเพิ่มเติม http://www.si.mahidol.ac.th/<br />

th/department/psychiatrics<br />

63


สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จเปนองคประธานประกอบพิธีเบิกเนตรพระพุทธชินราช และบรรจุ<br />

พระบรมสารีริกธาตุ โดยมี พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เปนประธานฝายฆราวาส และ<br />

พลเอก ชัยชาญ ชางมงคล รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม รวมพิธี ณ พระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร เมื่อ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

พลเอก ชัยชาญ ชางมงคล รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม<br />

พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม นางนริศรา ทิพยจันทร<br />

นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รวมลงนาม<br />

ถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร<br />

เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

ณ พระบรมมหาราชวัง เมื่อ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

64


พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ เปนประธานในพิธีจุดเทียนชัยถวายพระพรชัยมงคล<br />

สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ โดยมี พลเอก เทพพงศ<br />

ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม ผูบัญชาการทหารสูงสุด และผูบัญชาการเหลาทัพ และนายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมรวมพิธี<br />

ณ มณฑลพิธีทองสนามหลวง เมื่อ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม รวมพิธีทางศาสนามหามงคล ๕ ศาสนา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๖ พรรษา<br />

สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ และรวมกิจกรรมจิตอาสา “เราทําความ ดี ดวยหัวใจ” ณ ตึกสันติไมตรี<br />

ทําเนียบรัฐบาล เมื่อ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

65


พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม พลเอก ชัยชาญ ชางมงคล รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง<br />

กลาโหม พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม รวมงานวันพระราชทานกําเนิดโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา ครบรอบ ๑๓๑ ป<br />

โดยมีนายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมรวมพิธี ณ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา จังหวัดนครนายก เมื่อ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการ<br />

กระทรวงกลาโหม รวมบันทึกเทปอาเศียรวาท สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์<br />

พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที ่ ๙ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม<br />

พระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ โดยมี พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร<br />

ปลัดกระทรวงกลาโหม ผูบัญชาการทหารสูงสุด และผูบัญชาการเหลาทัพ<br />

รวมบันทึกเทป ณ สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก เมื่อ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

66


พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ผูบัญชาการ<br />

ทหารสูงสุด ผูบัญชาการเหลาทัพ รวมพิธีทําบุญตักบาตร เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ และพิธีถวายสัตยปฏิญาณเพื่อเปนขาราชการ<br />

ที่ดีและพลังของแผนดิน โดยมีนายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมรวมพิธี ณ มณฑลพิธีทองสนามหลวง เมื่อ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

รวมบันทึกเทปอาเศียรวาทสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

โดยมีนายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมรวมบันทึกเทป ณ สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบก เมื่อ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

67


พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม รวมพิธีอัญเชิญพานพุมราชสักการะถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรม<br />

ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ ไปทูลเกลาฯ ถวาย ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน<br />

เมื่อ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม ลงนามถวายพระพร สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาส<br />

มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ โดยมี นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และ<br />

นายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม รวมลงนาม ณ ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

68


พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม เปนประธานรวมการประชุมคณะกรรมการรวมดานความมั่นคงไทย–เวียดนาม โดยมี<br />

พลโท อาวุโส เหวียน จี๋ วิง รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหมสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และนายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวง<br />

กลาโหมรวมประชุม ณ หองยุทธนาธิการ ภายในศาลาวาการกลาโหม เมื่อ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม เปนประธานในพิธีเปดงานนิทรรศการ KM DAY สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ๒๐๑๘<br />

โดยมีนายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมรวมพิธี ณ หองพินิตประชานาถ ภายในศาลาวาการกลาโหม เมื่อ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

69


กิจกรรมสมาคมภริยาข้าราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พรอมดวยคณะกรรมการสมาคมฯ รวมกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ<br />

สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๖ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ซึ่งจัดโดยสมาคม<br />

แมบานทหาร - ตํารวจ รวมกับ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา โดยมีสมาคมแมบานทหารอากาศเปนเจาภาพ ในงานมีบริการตรวจรักษาโรคทั่วไป ตรวจรักษา<br />

ทางทันตกรรม บริการตัดผม เลี้ยงอาหารกลางวัน และแจกสิ่งของอุปโภค-บริโภค ใหกับประชาชนที่มารวมงาน ณ แหลงชุมนุมนายทหาร โรงพยาบาล<br />

พระมงกุฎเกลา เมื่อ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พรอมดวยคณะกรรมการสมาคมฯ รวมกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ<br />

พิธีเจริญพระพุทธมนตถวายพระพรชัยมงคล พิธีทําบุญตักบาตรพระสงฆและสามเณร ถวายพระราชกุศล และพิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล<br />

เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๖๖ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ ลานอเนกประสงค<br />

ภายในศาลาวาการกลาโหม เมื่อ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

70


นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคม<br />

ภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม พรอมดวยคณะกรรมการสมาคมฯ<br />

รวมกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจา<br />

สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เนื่องใน<br />

โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา<br />

๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ ซึ่งจัดโดยสมาคมแมบาน<br />

ทหาร-ตํารวจ รวมกับ โรงพยาบาล<br />

พระมงกุฎเกลา โดยมีสมาคมแมบานตํารวจ<br />

เปนเจาภาพ ในงานมีบริการตรวจรักษา<br />

โรคทั่วไป ตรวจรักษาทางทันตกรรม บริการตัดผม<br />

เลี้ยงอาหารกลางวัน และแจกสิ่งของอุปโภค<br />

บริโภคใหกับประชาชนที่มารวมงาน ณ แหลง<br />

ชุมนุมนายทหาร โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา<br />

เมื่อ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

สมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม รวมกับสํานักงานสลากกินแบง<br />

รัฐบาล จัดพิธีมอบทุนการศึกษาใหกับบุตรกําลังพล<br />

ของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โดยมี<br />

นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยา<br />

ขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

เปนประธาน พรอมกันนี้ สมาคมฯ ไดมอบเงิน<br />

ชวยเหลือแกบุตรและคูสมรสที่อยูในโครงการ<br />

สายใยรักษ : เพื่อคนพิเศษ ณ หองประชาชื่น<br />

ชั้น ๖ อาคารสํานักงานสนับสนุน สํานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม (พื้นที่ประชาชื่น) เมื่อ ๑๘<br />

กรกฎาคม ๒๕๖๑<br />

ËÅÑ¡àÁ×ͧ ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöñ<br />

71


นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม พรอมดวยคณะกรรมการสมาคมฯ รวมรับเสด็จ<br />

พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเปนองคประธานในงานวันคลายวันสถาปนา สมาคมแมบานทหารบก ประจําป ๒๕๖๑<br />

ณ สมาคมแมบานทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

นางนริศรา ทิพยจันทร นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัด<br />

กระทรวงกลาโหม พรอมดวยคณะกรรมการสมาคมฯ รวมกิจกรรมบริจาค<br />

โลหิต ถวายเปนพระราชกุศลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา<br />

สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ และสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประจําป ๒๕๖๑<br />

ณ หองพินิตประชานาถ ในศาลาวาการกลาโหม เมื่อ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑<br />

72


พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร ปลัดกระทรวงกลาโหม เปนประธานในการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ<br />

ในรัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา (๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑) โดยมีพิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล พิธีทําบุญตักบาตร<br />

พระสงฆและสามเณร เพื ่อถวายเปนพระราชกุศลฯ พรอมทั้งเปนประธานในพิธีเจริญพระพุทธมนตถวายพระพรชัยมงคล โดยมีนางนริศรา ทิพยจันทร<br />

นายกสมาคมภริยาขาราชการสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม และนายทหารชั้นผูใหญของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมรวมพิธี ณ ศาลาวาการกลาโหม<br />

เมื่อ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๑


เกษียณสุข...<br />

ISSN 0858 - 3803<br />

9 770858 380005

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!