01.10.2018 Views

-merged-merged

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รายงานผลการปฏิบัติโครงการ<br />

กิจกรรมพัฒนาสมาชิกให้เป็น “คนเก่งและมีความสุข”<br />

แผนสร้างเสริมบุคลิกภาพและความรับผิดชอบต่อสังคม<br />

โครงการอบรมทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์


บทที่ 1<br />

บทน า<br />

1.1 ความเป็นมาของโครงการ<br />

ตามนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษาก าหนดให้ผู้ส าเร็จการศึกษาต้อง<br />

ผ่านการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ดังนั้นสถานศึกษาจึงจัดให้มีการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์ระหว่างช่วงชั้นปีส าหรับนักศึกษาชั้น ปวส.ของสาขาเพื่อท าการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์ส าหรับนักศึกษาที่ก าลังจะส าเร็จการศึกษาและเพื่อนักศึกษามาตรฐานผ่านเกณฑ์ที่<br />

ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษาก าหนดและเป็นที่พึงพอใจของสถานประกอบการดังนั้น<br />

เพื่อให้สอดรับนโยบายดังกล่าวงานวัดผลและประเมินผลจึงได้จัดท าการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์เพื่อผลักดันการด าเนินการด้านการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องรับต่อการเป็น<br />

ประชาคมอาเซียนและพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะที่ส าคัญส าหรับการด าเนินชีวิตในประชาคม<br />

อาเซียน<br />

1.2 วัตถุประสงค์<br />

1.2.1 เพื่อให้ตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา<br />

1.2.2 เพื่อพัฒนา นักเรียน นักศึกษา ให้มีคุณภาพมาตรฐาน<br />

1.2.3 เพื่อให้ นักเรียน นักศึกษา พัฒนาความรู้และประกอบอาชีพได้<br />

1.3 เป้าหมาย<br />

1.3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ<br />

นักเรียน นักศึกษา แผนกชมรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง<br />

จ านวน 100 คน<br />

1.3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ<br />

นักศึกษาแผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ได้ใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขปัญหาจากเหตุการณ์ที่<br />

เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถน าไปใช้<br />

ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างช านาญและ<br />

สามารถน าไปประกอบอาชีพได้


1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />

1.4.1 นักเรียน นักศึกษา ชมรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจสามารถน าไปประกอบวิชาชีพในการ<br />

ใช้คอมพิวเตอร์ได้<br />

1.4.2 นักเรียน นักศึกษา ชมรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิคระยอง จ านวน 100<br />

คน ได้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้คอมพิวเตอร์ได้ถูกต้อง<br />

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ<br />

1.5.1 มาตรฐานวิชาชีพ หมายถึง ข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ใน<br />

การประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามเพื่อให้<br />

เกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ<br />

1.5.2 มาตรฐานฝีมือแรงงาน หมายถึง ข้อก าหนดเกี่ยวกับความรู้ความสามารถของบุคคลใน<br />

การ ปฏิบัติงานงานอาชีพหนึ่งๆ โดยองค์กรที่เชื่อถือได้เป็นผู้ก าหนดขึ้น โดยค านึงถึงเกณฑ์มาตรฐาน<br />

ของสากล และก าหนดให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม<br />

1.5.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดค าสั่งที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์<br />

ท างานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละขั้นตอนต้องท าอย่างละเอียดและครบถ้วน<br />

1.5.4 PDCA หมายถึง วงจรควบคุมคุณภาพ<br />

1) Plan (วางแผน) หมายถึง การวางแผนการด าเนินงาน<br />

2) Do (ปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การด าเนินการตามแผน<br />

3) Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การประเมินแผน<br />

4) (ปรับปรุงแก้ไข) หมายถึง การน าผลการประเมินมาพัฒนาแผน


บทที่ 2<br />

เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง<br />

ในการจัดท าโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ ผู้จัดท าได้จัดท าขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้<br />

ทดสอบความรู้ความสามารถในด้านการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และได้มีทักษะการใช้งานโปรแกรม<br />

คอมพิวเตอร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ และสามารถน าไปประกอบอาชีพในอนาคตได้<br />

ครั้งนี้ผู้จัดท าได้ศึกษาเอกสาร และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการจัดท าโครงการครั้งนี้ และได้ท าการศึกษา<br />

หาความรู้จากอินเตอร์เน็ต และบทความต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการฝึกวิชาชีพพัฒนาฝีมือแรงงานโดยมีหัวข้อ<br />

ต่างๆ ดังนี้ (1) มาตรฐานวิชาชีพ (2) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (3) นโยบายของส านักงานคณะกรรมการการ<br />

อาชีวศึกษา และ (4) PDCA<br />

2.1 มาตรฐานวิชาชีพ<br />

2.1.1 ความหมายมาตรฐานวิชาชีพ<br />

มาตรฐานวิชาชีพ หมายถึง ข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ในการ<br />

ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบการวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามเพื่อให้เกิด<br />

คุณภาพในการประกอบวิชาชีพสามารถสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้แก่ผู้รับบริการจากวิชาชีพได้ว่าเป็นบริการ<br />

ที่มีคุณภาพ ตอบสังคมได้ว่าการที่กฎหมายให้ความส าคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และก าหนดให้เป็นวิชาชีพ<br />

ควบคุมนั้น เนื่องจากเป็นวิชาชีพที่มีลักษณะเฉพาะต้องใช้ความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการประกอบ<br />

วิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546<br />

2.1.2 ประเภทมาตรฐานวิชาชีพ<br />

2.1.2.1 มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง ข้อก าหนดส าหรับผู้ที่จะเข้ามา<br />

ประกอบวิชาชีพ จะต้องมีความรู้และมีประสบการณ์วิชาชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพจึงจะสามารถขอรับ<br />

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเพื่อให้เป็นหลักฐานแสดงว่าเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์<br />

พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้<br />

2.1.2.2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ข้อก าหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพให้<br />

เกิดผลเป็นไปตามเป้าหมายที่ก าหนด พร้อมกับมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความช านาญใน<br />

การประกอบวิชาชีพ ทั้งความช านาญเฉพาะด้านและความช านาญตามระดับคุณภาพของมาตรฐานการ<br />

ปฏิบัติงาน หรืออย่างน้อยจะต้องมีการพัฒนาตามเกณฑ์ที่ก าหนดว่ามีความสามารถ และความช านาญเพียง<br />

พอที่จะด ารงสถานภาพของการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพต่อไปได้หรือไม่ นั่นก็คือการก าหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพ<br />

จะต้องต่อใบอนุญาตทุกๆ 5 ปี


2.1.2.3 มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ข้อก าหนดปฏิบัติเกี่ยวกับการประพฤติ<br />

ตนของผู้ประกอบวิชาชีพ โดยมีจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นแนวทางและข้อพึงระวังในการประพฤติ<br />

ปฏิบัติ เพื่อด ารงไว้ซึ่งชื่อเสียง ฐานะ เกียรติ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรม ตาม<br />

จรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภาจะก าหนดเป็นข้อบังคับต่อไป หากผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดประพฤติ<br />

ผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพท าให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นจนได้รับการร้องเรียนถึงคุรุสภาแล้ว ผู้<br />

นั้นอาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) ยกข้อ<br />

กล่าวหา (2) ตักเตือน (3) ภาคทัณฑ์ (4) พักใช้ใบอนุญาตมีก าหนดเวลาตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกิน<br />

5 ปี (5) เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (มาตรา 54) ส านักงานเลขาธิการคุรุสภาได้รับความ<br />

เห็นชอบจากคณะกรรมการคุรุสภาในคราวประชุมครั้งที่ 5/2548 วันที่ 21 มีนาคม 2548 และที่<br />

ประชุมคณะกรรมการคุรุสภา ครั้งที่ 6/2548 วันที่ 18 เมษายน 2548 ได้อนุมัติให้ออกข้อบังคับคุรุ<br />

สภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นที่เรียนร้อยแล้วมาตรฐานวิชาชีพทาง<br />

การศึกษาเป็นเครื่องมือส าคัญของผู้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งจะต้องประพฤติปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลดีต่อ<br />

ผู้รับบริการ อันถือเป็นเป้าหมายหลักของการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ<br />

จะต้องศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ให้สามารถน าไปใช้ในการประกอบวิชาชีพให้สม<br />

กับการเป็นวิชาชีพชั้นสูงและได้รับการยอมรับยกย่องจากสังคม<br />

2.2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน<br />

หน่วยงานที่ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานในด้านต่างๆ ผู้ที่ต้องการพัฒนาฝีมือแรงงาน<br />

จะต้องเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ และ<br />

ทัศนคติในการท างานของตน สามารถขอรับการทดสอบฯ ได้ที่หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาฝีมือ<br />

แรงงานทั่วประเทศ และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนอื่นๆ ที่ได้รับอนุญาตจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน<br />

จัดตั้งเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน<br />

2.2.1 ประวัติกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน<br />

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้มีการตราพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.<br />

2545 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 มกราคม 2546 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้สถาน<br />

ประกอบกิจการภาคเอกชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้มากยิ่งขึ้น โดยการใช้มาตรการจูง<br />

ใจในด้านการยกเว้นภาษีอากร รวมทั้งการให้สิทธิประโยชน์ในด้านต่างๆ และปรับปรุงสิทธิและ<br />

ประโยชน์ให้มีความเหมาะสมและเพิ่มมากยิ่งขึ้น ในกรณีที่สถานประกอบกิจการจัดให้มีการฝึกอบรม<br />

ฝีมือแรงงานให้กับบุคคลที่จะเข้ารับท างาน โดยการฝึกเตรียมเข้าท างาน การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน<br />

ให้แก่ ลูกจ้างของตน โดยการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน และการฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ ซึ่งในขณะนี้<br />

โดยเฉพาะด้านภาษีมีสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้เป็นจ านวนร้อยละร้อยของค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการฝึกอบรม<br />

และก าหนดให้มีการส่งเสริมในเรื่องมาตรฐานฝีมือแรงงานให้กว้างขวาง นอกจากนี้ให้มีการจัดตั้ง


กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานขึ้น เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนส าหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ<br />

แรงงาน โดยก าหนดให้ผู้ประกอบกิจการในประเภท ชนิด ขนาด รวมทั้งสัดส่วนจ านวนผู้รับการฝึกต่อ<br />

จ านวนลูกจ้างทั้งหมดในเขตพื้นที่ตามที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด มีหน้าที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุน<br />

พัฒนาฝีมือแรงงานในอัตราไม่เกินร้อยละ 1ของค่าจ้างที่ผู้ประกอบกิจการจ่ายให้แก่ลูกจ้างในปีสุดท้าย<br />

ปีที่มีการส่งเงินสมทบ เว้นแต่เป็นผู้ซึ่งจัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามสัดส่วนที่ก าหนด ซึ่งจาก<br />

การที่พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29<br />

มกราคม 2546 เป็นต้นมา ท าให้มีกระบวนการที่จะต้องด าเนินการ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ<br />

แรงงานตามกฎหมายก าหนดหลายประการ เช่น แต่งตั้งและจัดประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการ<br />

พัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกิจการ<br />

ที่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน รับและตรวจสอบแบบแสดงการจ่ายเงินสมทบ<br />

กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน รับช าระเงินสมทบกองทุน<br />

พัฒนาฝีมือแรงงาน ตรวจสอบ และติดตามเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้กู้ยืมเงินกองทุน<br />

พัฒนาฝีมือแรงงานกระบวน ช่วยเหลือและอุดหนุนเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน เร่งช าระหนี้<br />

เงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน จัดตั้งบัญชีเงิน กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน จัดท างบดุลและรายงาน<br />

การรับ-จ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นต้น<br />

2.2.2 อ านาจหน้าที่<br />

2.2.2.1 ด าเนินงานให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน และ<br />

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ยกเว้นงานมาตรฐานฝีมือแรงงาน)<br />

2.2.2.2 ท าหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานโดยด าเนินการจัด<br />

ประชุมคณะกรรมการ รับและกลั่นกรองเรื่องที่จะน าเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการตามอ านาจหน้าที่ที่<br />

กฎหมายก าหนด<br />

2.2.2.3 รับค าขอและพิจารณาด าเนินการออกหนังสือรับรองหรือใบอนุญาตเกี่ยวกับการให้<br />

ความเห็นชอบหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 เพื่อ<br />

ขอรับสิทธิและประโยชน์ตามที่กฎหมายก าหนด<br />

2.2.2.4 เป็นศูนย์กลางข้อมูลในการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน และเผยแพร่สิทธิ และ<br />

ประโยชน์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545<br />

2.2.2.5 ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งด าเนินการจัดท าหลักเกณฑ์การ<br />

ขอรับสิทธิประโยชน์ และเสนอแนวทางในการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานแก่ภาคเอกชน<br />

2.2.2.6 รับแบบและพิจารณาการประเมินเงินสมทบ จัดเก็บข้อมูลผู้ประกอบกิจการที่อยู่ใน<br />

ข่ายบังคับกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ตรวจสอบติดตามและเร่งรัดการช าระเงินสมทบ รวมทั้งรับเรื่องอุทธรณ์เงิน<br />

สมทบ


2.2.2.7 รับค าขอและพิจารณาการขอกู้ยืมเงินกองทุนการขอรับเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือหรือ<br />

อุดหนุนกิจการที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานจัดท านิติกรรมสัญญากู้ยืมเงิน และตรวจสอบติดตาม<br />

เร่งรัดหนี้เงินกู้ยืม<br />

2.2.2.8 จัดท างบประมาณกองทุน ด าเนินการด้านการเงินกองทุนและบริหารกองทุนจัดท า<br />

บัญชีกองทุน งบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินกองทุนตามที่กฎหมายก าหนด<br />

2.2.2.9 ติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน การใช้สิทธิประโยชน์และ<br />

กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน<br />

2.2.2.10 ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย<br />

2.2.3 การเปิดการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน<br />

ผู้ที่สนใจเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพื่อประเมินความรู้<br />

ความสามารถ และทัศนคติในการท างานของตน สามารถขอรับการทดสอบฯ ได้ที่หน่วยงานในสังกัด<br />

กรมพัฒนาฝีมือแรงงานทั่วประเทศ และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนอื่นๆ ที่ได้รับอนุญาตจากกรม<br />

พัฒนาฝีมือแรงงานจัดตั้งเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน โดยมีอัตราเรียกเก็บค่าธรรมเนียม<br />

หรือค่าเปิดการทดสอบ ดังนี้<br />

2.2.3.1 หน่วยงานภายใต้สังกัดกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สามารถเรียกเก็บค่าธรรมเนียม<br />

การทดสอบในอัตรา ดังนี้<br />

1) ระดับ 1 จ านวน 100 บาท<br />

2) ระดับ 2 จ านวน 150 บาท<br />

3) ระดับ 3 จ านวน 200 บาท<br />

2.2.3.2 หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนอื่นที่ได้รับอนุญาตเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือ<br />

แรงงานจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน สามารถเรียกเก็บค่าทดสอบฝีมือ ในอัตรา 500 - 2,000 บาท ใน<br />

แต่ละสาขาอาชีพ และแต่ละระดับ ตามประกาศของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน<br />

2.3 นโยบายของส านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา<br />

ตามนโยบายของส านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ก าหนดให้ผู้ที่จะส าเร็จการศึกษาต้อง<br />

ผ่านการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ ดังนั้นสถานศึกษาจึงจัดให้มีการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพระหว่าง<br />

ช่วงชั้นชั้นปีส าหรับนักเรียนนักศึกษาชั้น ปวช. และ ปวส. การทดสอบมาตรฐานคอมพิวเตอร์ส าหรับ<br />

นักเรียนที่ก าลังจะส าเร็จการศึกษา และเพื่อให้นักเรียนนักศึกษามีมาตรฐานผ่านเกณฑ์ที่ส านักงาน<br />

คณะกรรมการอาชีวศึกษาก าหนด และเป็นที่พึงพอใจของสถานประกอบการตลอดจนเพื่อให้<br />

สอดคล้องนโยบายดังกล่าว งานวัดผลและประเมินผล จึงได้จัดท าการทดสอบมาตรฐานคอมพิวเตอร์<br />

เพื่อผลักดันการด าเนินการด้านการศึกษาของประเทศไทยให้สอดคล้องรับต่อการเป็นประชาอาเซียน<br />

และพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะที่ส าคัญส าหรับการด าเนินชีวิตในประชาคมอาเซียน


2.4 วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA)<br />

วงจรการบริหารงานคุณภาพ ย่อมาจากค าศัพท์ทั้งหมด 4 ค าด้วยกัน ซึ่งได้แก่ (1) Plan<br />

(วางแผน) (2) Do(ปฏิบัติ) (3) Check(ตรวจสอบ) และ(4) Act(การด าเนินการให้เหมาะสม) ซึ่งวงจร<br />

PDCA สามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกๆเรื่องนับตั้งแต่กิจกรรมส่วนตัว เช่น การปรุงอาหาร การเดินทาง<br />

ไปท างานในแต่ละวันการตั้งเป้าหมายชีวิต และการด าเนินงานในระดับบริษัท ซึ่งรายละเอียดในแต่ละ<br />

ขั้นตอนมีดังนี้<br />

2.4.1 วางแผน (Plan) หมายถึง การวางแผนการด าเนินงานอย่างรอบคอบ และครอบคลุม<br />

การก าหนดหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น<br />

จากการปฏิบัติงาน อาจประกอบด้วยการก าหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการด าเนินงาน Plan<br />

การจัดอันดับความส าคัญของเป้าหมายก าหนดการด าเนินงานก าหนดระยะเวลาการด าเนินงาน<br />

ก าหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ด าเนินการ และก าหนดงบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผนดังกล่าวอาจ<br />

ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะการด าเนินงาน การวางแผนยังช่วยให้เราสามารถ<br />

คาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้<br />

2.4.2 ปฏิบัติตามแผน (Do) หมายถึง การด าเนินการตามแผนอาจประกอบด้วยการมี<br />

โครงสร้างรองรับ การด าเนินการ (เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงานของคณะ) มีวิธีการ ด าเนินการ<br />

(เช่น มีการประชุมของคณะกรรมการมีการจัดการเรียนการสอน มีการแสดงความจ านงขอรับ<br />

นักศึกษาไปยังทบวงมหาวิทยาลัย) และมีผลของการด าเนินการ(เช่น รายชื่อนักศึกษาที่รับในแต่ละปี)<br />

2.4.3 ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) หมายถึง การประเมินแผนได้ประกอบด้วย<br />

การประเมินโครงสร้างที่รองรับการด าเนินการ การประเมินขั้นตอนการด าเนินงาน และการ<br />

ประเมินผลของการด าเนินงานตามแผนที่ได้ตั้งไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถท าได้เองโดย<br />

คณะกรรมการที่รับผิดชอบแผนการด าเนินงานนั้นๆ ซึ่งเป็นลักษณะของการประเมินตนเอง โดยไม่<br />

จ าเป็นต้องตั้งคณะกรรมการอีกชุดมาประเมินแผนหรือไม่จ าเป็นต้องคิดเครื่องมือหรือแบบประเมินที่<br />

ยุ่งยากซับซ้อน<br />

2.4.4 ปรับปรุงแก้ไข (Act) หมายถึง การน าผลการประเมินมาพัฒนาแผนประกอบด้วย การ<br />

น า ผลการประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้างหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนา<br />

สิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นไปอีก และสังเคราะห์รูปแบบการด าเนินการใหม่ที่เหมาะสมส าหรับการ<br />

ด าเนินการในปีต่อไป


ภาพที่ 2-1 แสดงวงจร PDCA


บทที่ 3<br />

วิธีการด าเนินงาน<br />

การด าเนินโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมน าเสนอข้อมูล<br />

(Microsoft PowerPoint) มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักศึกษาทดสอบความรู้ความสามารถใน<br />

ด้านการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (2) เพื่อให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (3)<br />

เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในการด าเนินโครงการครอบคลุม<br />

หัวข้อดังนี้ (1)การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น (2)ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (3)ขั้นตอนการเตรียมงาน<br />

(4)เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล (5)การวิเคราะห์ข้อมูลโครงการ และ(6)สถิติที่ใช้ในการ<br />

วิเคราะห์ข้อมูล<br />

3.1 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น<br />

3.1.1 ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต าราและสื่อต่างๆ<br />

3.1.2 คณะผู้จัดท าร่วมกันออกแบบสอบถาม โดยใช้ความรู้จากการศึกษาค้นคว้า<br />

เรื่องการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ<br />

3.1.3 ส ารวจกลุ่มเป้าหมายและจัดท าโครงร่างแบบสอบถาม<br />

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง<br />

3.2.1 ประชากร<br />

การศึกษาครั้งนี้ประชากรที่ใช้การจัดท าโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์<br />

ได้แก่ นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จ านวน 100 คน<br />

3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง<br />

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการจัดท าโครงการในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์<br />

ธุรกิจ จ านวน 100 คน


3.3 ขั้นตอนการเตรียมงาน<br />

รายการด าเนินงาน<br />

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561<br />

รายงาน<br />

1. เสนอโครงการ<br />

2. ขออนุมัติโครงการ<br />

3. ด าเนินการโครงการ<br />

4. ประเมินผลโครงการ<br />

พ.ค<br />

2561<br />

มิ.ย<br />

2561<br />

ก.ค<br />

2561<br />

ส.ค<br />

2561<br />

ก.ย<br />

2561<br />

3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

3.4.1 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเครื่องมือเชิงปริมาณ (Quantitative Research)<br />

เป็นแบบสอบถามที่ผู้จัดท าโครงการสร้างขึ้นจ านวน 100 ฉบับโดยยึดตามวัตถุประสงค์และกรอบ<br />

แนวคิดในการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ<br />

ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามปัจจัยของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ระดับชั้น เพศ อายุ<br />

ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถาม การจัดท าโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5<br />

ระดับ โดยค่าแต่ระดับมีความหมายดังนี้<br />

5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด<br />

4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก<br />

3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง<br />

2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย<br />

1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด<br />

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะการจัดท าโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์<br />

3.4.2 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีดังนี้<br />

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลการจัดท าโครงการ ผู้จัดท าโครงการได้สร้างขึ้นเองตาม<br />

ขั้นตอนดังนี้


12<br />

3.4.2.1 ก าหนดโครงสร้างและขอบข่ายเนื้อหาสาระของแบบสอบถามโดยก าหนดเนื้อหา<br />

สาระที่น ามาสร้างแบบสอบถาม ให้เห็นขอบเขตของค าถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และ<br />

ครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษา โดยค าแนะน าจากครูที่ปรึกษาโครงการ<br />

3.4.2.2 ศึกษาแนวทางทฤษฎีหลักการสร้างแบบสอบถามจากเอกสาร ต ารา บทความ<br />

ทางวิชาการ<br />

3.4.2.3 ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สร้าง<br />

แบบสอบถามฉบับร่าง โดยเขียนข้อความให้สอดคล้องกับตัวแปรที่ศึกษาให้ครบถ้วนตามโครงสร้าง) 5<br />

ระดับ คือ ระดับดีมาก ดี ปานกลาง น้อย และปรับปรุง<br />

3.4.2.4 ด าเนินการสร้างแบบสอบถามขึ้นมา ให้ครอบคลุมกับการจัดท าโครงการการ<br />

ทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์<br />

3.4.2.5 ตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามเบื้องต้น โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการและ<br />

ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบพิจารณา เพื่อความเที่ยงตรงของเนื้อหา และความถูกต้องในส านวนภาษาที่ใช้<br />

เพื่อให้ค าถามครอบคลุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานโครงการ แล้วปรับปรุงแก้ไขตาม<br />

ค าแนะน าของครูที่ปรึกษา<br />

3.4.2.6 จัดท าแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ ตามค าแนะน าของครูที่ปรึกษา น ามาจัดท า<br />

แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อน าไปใช้ต่อไป<br />

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูลโครงการ<br />

3.5.1 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการจัดท าโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์<br />

ซึ่งมีข้อมูล ดังนี้<br />

3.5.1.1 วิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามโดยแจกแจง<br />

ความถี่ (Frequency) และการหาค่าร้อยละ (Percentage)<br />

3.5.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

(Standard Deviation) แล้วน ามาเทียบเกณฑ์ต่อไปนี้<br />

ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด<br />

ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับมาก<br />

ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับปานกลาง<br />

ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับน้อย<br />

ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด<br />

3.5.1.3 วิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 3 ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อเสนอแนะของนักเรียน<br />

นักศึกษาเกี่ยวกับโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ สรุปหาข้อมูลน ามาสังเคราะห์


12<br />

และสรุปตามข้อเสนอแนะเพื่อแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขให้ดียิ่งขึ้นของคณะผู้จัดท า<br />

โครงการในครั้งต่อไป<br />

3.6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

ในการจัดท าโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

แบ่งออกได้ดังนี้<br />

3.6.1 ค่าสถิติร้อยละ (Percentage)<br />

3.6.2 การหาค่าเฉลี่ย ( )<br />

สูตร P =<br />

เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ<br />

F แทน จ านวนหรือความถี่ที่ต้องการหาค่าร้อยละ<br />

N แทน จ านวนข้อมูลทั้งหมด<br />

สูตร ̅ =<br />

เมื่อ ̅ แทน คะแนนตัวกลางเลขคณิต<br />

∑ แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน<br />

N แทน จ านวนคะแนนในข้อมูล<br />

3.6.3 การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Devotion)<br />

การวิเคราะห์ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

สูตร S.D = √ ∑ –<br />

∑<br />

N<br />

เมื่อ S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง<br />

∑ แทน ผลรวม<br />

N แทน จ านวนคนในกลุ่มตัวอย่าง<br />

แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง<br />

แทน คะแนนแต่ละค่า<br />

แทน ความถี่ของคะแนนแต่ละค่า


12<br />

บทที ่ 4<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

จากการติดตามประเมินผลผู ้ประเมินผลด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความตามล าดับดังนี ้<br />

4.1 ผลการด าเนินงาน<br />

การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปจากการติดตามประเมินผลผู ้ประเมินด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและแปล<br />

ความหมายตามล าดับ ดังนี ้ผู ้ตอบแบบประเมิน จ านวน 100 คน แสดงผู ้ตอบแบบประเมินที่ได้เข้าร่วมโครงการ ผลดัง<br />

ตารางที่ 4-1<br />

่<br />

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป<br />

ตารางที่ 4-1 การวิเคราะห์ข้อมูลแสดงเพศของผู ้ตอบแบบประเมินที่ได้เข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ<br />

จ าแนกตามเพศ<br />

ล าดับที<br />

เพศ จ านวน (คน) ร้อยละ<br />

1 ชาย 35 35%<br />

2 หญิง 65 65%<br />

รวมทั ้งสิ ้น 100 100<br />

จากตารางที ่ 4-1 พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ ่มตัวอย่างของ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทดสอบมาตรฐาน<br />

การใช้คอมพิวเตอร์ เป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 35% ของประชากรทั ้งหมดและเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 65% ของ<br />

ประชากรทั ้งหมด<br />

แผนภูมิแสดงเพศของนักศึกษา<br />

35%<br />

65%<br />

ชาย<br />

หญิง<br />

ภาพที ่ 4-1 แผนภูมิแสดงเพศของนักเรียนนักศึกษาที่ได้เข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้ อยละจ าแนกตามเพศ


ตารางที่ 4.2 แสดงอายุของผู ้ตอบแบบประเมินที่ได้เข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้ อยละจ าแนกตามอายุ<br />

่ ล าดับที<br />

อายุ จ านวน (คน) ร้อยละ<br />

1 18-20 ปี 32 32%<br />

2 21-25 ปี 77 77%<br />

รวมทั ้งสิ ้น 100 100<br />

จากแผนภูมิที่ 4-2 แสดงจ านวนร้ อยละของผู ้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามอายุที่เข้าร่วมโครงการ<br />

ทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ และส่งแบบประเมินกลับคืน ดังนี ้อายุ 18-20 ปี คิดเป็นร้ อยละ 32% ของ<br />

ประชากรทั ้งหมดและ 21-25 ปี คิดเป็นร้อยละ 77% ของประชากรทั ้งหมด<br />

แสดงอายุของผู ้ตอบแบบประเมินที่ได้เข้าร่วมโครงการ<br />

23%<br />

77%<br />

อายุ 18-20 อายุ 21-25<br />

ภาพที ่ 4-2 แผนภูมิแสดงระดับการศึกษาของนักเรียน นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ<br />

ตารางที่ 4-3 แสดงระดับการศึกษาของผู ้ตอบแบบประเมินที่ได้เข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้ อยละจ าแนกตามระดับ<br />

การศึกษา<br />

ล าดับที ่ ระดับการศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ<br />

1 ปวช. 0 0<br />

2 ปวส. 100 100<br />

รวมทั ้งสิ ้น 100 100<br />

จากแผนภูมิที่ 4-3 แสดงจ านวนร้ อยละของผู ้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามระดับชั ้นของผู ้ที่เข้าร่วม<br />

โครงการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพและส่งแบบสอบถมกลับคืน ดังนี ้ปวส. คิดเป็นร้ อยละ 100 ของประชากร


แผนภูมิแสดงระดับการศึกษา<br />

0%<br />

100%<br />

ปวช.<br />

ปวส.<br />

ภาพที ่ 4--3 แผนภูมิแสดงระดับการศึกษาของนักเรียน นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ<br />

4.2 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ<br />

จากแบบประเมินจ านวน 100 ชุด พบว่าผู ้เข้าร่วมโครงการต้องการให้ท าโครงการนี ้ขึ ้น<br />

ตารางที่ 4-3 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์ ด้านการด าเนินงาน<br />

เรื่องการประเมิน ̅ S.D.<br />

1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการมีความเหมาะสม<br />

1.2 การอ านวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่<br />

1.3 สถานที่ในการจัดที่เหมาะสม<br />

1.4 ระยะเวลาในการจัดอบรมมีความเหมาะสม<br />

1.5 ความพร้อมของสื่อและเอกสารประกอบการทดสอบมาตรฐาน<br />

การใช้คอมพิวเตอร์<br />

4.32<br />

4.18<br />

4.41<br />

4.27<br />

4.50<br />

0.5<br />

0.65<br />

0.54<br />

0.54<br />

0.5<br />

ความพึง<br />

พอใจ<br />

มาก<br />

มาก<br />

มาก<br />

มาก<br />

มากที่สุด<br />

ค่าเฉลี่ยรวม 4.31 0.57 มาก


จากตารางที่ 4.3 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพครั้งที<br />

3 กระบวนการขั้นตอนการบริหารในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.31) เมื่อพิจารณารายชื่อจากการประมวลผล 5<br />

ข้อพบว่าการประชาสัมพันธ์ ( ̅=4.32) การอ านวยความสะดวก ( ̅=4.18) สถานที่ในการจัดที่เหมาะสม ( ̅=4.32)<br />

ระยะเวลาในการจัดอบรมมีความเหมาะสม ( ̅=4.27) ความพร้อมของสื่อและเอกสารประกอบ ( ̅=4.50)<br />

แผนภูมิแสดงด้านการบริหารโครงการ<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5<br />

ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

ภาพที ่ 4-3 แสดงแผนภูมิระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ<br />

ตารางที ่ 4-4 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ ด้าน<br />

วิทยากรให้การอบรม<br />

̅ เรื่องการประเมิน S.D. ความพึงพอใจ<br />

2.1 บุคลิกภาพและการเป็นกัลยาณมิตรของวิทยากร<br />

2.2 การเตรียมความพร้อมของวิทยากร<br />

4.50<br />

4.59<br />

0.5<br />

0.49<br />

มาก<br />

มากที่สุด<br />

ค่าเฉลี่ยรวม 4.55 0.50 มาก<br />

จากตารางที่ 4.4 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์ กระบวนการขั้นตอนการบริหารในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.55) เมื่อพิจารณารายชื่อจากการ<br />

ประมวลผล 2 ข้อพบว่า บุคลิกภาพและการเป็นกัลยาณมิตรของวิทยากร ( ̅=4.50) การเตรียมความพร้อมของ<br />

วิทยากร ( ̅=4.59)


แผนภูมิแสดงด้านผู ้เข้าร่วมโครงการ<br />

5<br />

4.5<br />

4<br />

3.5<br />

3<br />

2.5<br />

2<br />

1.5<br />

1<br />

0.5<br />

0<br />

2.1 2.2<br />

ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

ภาพที ่ 4-4 แสดงแผนภูมิระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์ ด้านผู ้เข้าร่วมโครงการ<br />

ตารางที่ 4-5 แสดงระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพครั ้งที่ 1<br />

ด้านผลสัมฤทธิ์ในการเข้าร่วมโครงการ<br />

เรื่องการประเมิน ̅ S.D. ความพึงพอใจ<br />

3.1 มีความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ<br />

4.50<br />

0.5<br />

มาก<br />

3.2 ความพึงพอใจต่อผลของการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ<br />

4.36<br />

0.62<br />

มาก<br />

3.3 เป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

4.50<br />

0.49<br />

มากที่สุด<br />

ค่าเฉลี่ยรวม 4.45 0.54 มาก<br />

จากตารางที่ 4.5 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์ กระบวนการขั้นตอนการบริหารในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.45) เมื่อพิจารณารายชื่อจากการ


้<br />

ประมวลผล 3 ข้อพบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ ( ̅=4.50) ความพึงพอใจต่อผลของการทดสอบ<br />

มาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ ( ̅=4.36) เป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ( ̅=4.50)<br />

แผนภูมิแสดงความรู ้ที่ได้รับจากการท ากิจกรรม<br />

5<br />

0<br />

3.1 3.2 3.3<br />

ภาพที ่ 4-5 แสดงแผนภูมิระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมทดสอบมาตรฐานวิชาชีพการใช้คอมพิวเตอร์ความรู<br />

ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

ที่ได้รับจากการท ากิจกรรม


Descriptive Statistics<br />

ตารางที ่ 4-6 แสดงสถิติระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์<br />

เรื่องการประเมิน N Mcan StdDcviation ระดับการประเมิน<br />

1.ด้านการด าเนินงาน<br />

1.1 การประชาสัมพันธ์<br />

1.2 การอ านวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่<br />

1.3 สถานที่ ที่เหมาะสม<br />

1.4 ระยะเวลาที่เหมาะสม<br />

1.5 ความเหมาะสมของเวลา<br />

๒. 2.ด้านวิทยากรผู้ให้การอบรม<br />

2.1 บุคลิกภาพและการเป็นกัลยาณมิตรของวิทยากร<br />

2.2 การเตรียมความพร้อมของวิทยากร<br />

3.ด้านผลสัมฤทธิ์ในการเข้าร่วมโครงการ<br />

3.1 มีความพึงพอใจพึงพอใจในภาพรวม ของโครงการ<br />

3.2 ความพึงพอใจต่อผลของการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ<br />

3.3เป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

22<br />

22<br />

22<br />

22<br />

22<br />

22<br />

22<br />

22<br />

22<br />

22<br />

4.32<br />

4.18<br />

4.41<br />

4.27<br />

4.36<br />

4.50<br />

4.59<br />

4.50<br />

4.36<br />

4.50<br />

0.55<br />

0.65<br />

0.54<br />

0.54<br />

0.57<br />

0.5<br />

0.49<br />

0.5<br />

0.62<br />

0.49<br />

มาก<br />

มาก<br />

มากที่สุด<br />

มาก<br />

มาก<br />

รวม 4.45 0.54 มาก<br />

มาก<br />

มากที่สุด<br />

มาก<br />

มาก<br />

มากที่สุด<br />

จากตารางที่ 4.6 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้<br />

คอมพิวเตอร์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.45) โดยมีความพึงพอใจสูงสุดในหัวข้อเรื่องการพัฒนาการเรียนการ<br />

สอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ( ̅=4.50) และมีความพึงพอใจต่ าสุดในหัวข้อเรื่องการอ านวยความสะดวกของ<br />

เจ้าหน้าที่ ( ̅=4.18)


แผนภูมิแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษาที่เข้าโครงการการทดสอบ<br />

มาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์<br />

5<br />

4.5<br />

4<br />

3.5<br />

3<br />

2.5<br />

2<br />

1.5<br />

1<br />

0.5<br />

0<br />

ภาพที ่ 4-6 แสดงสถิติระดับความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพ<br />

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 3.1 3.2 3.3<br />

ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

ครั ้งที่ 1


บทที ่ 5<br />

สรุปผล การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ<br />

5.1 สรุปผลโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์<br />

5.1.1 วัตถุประสงค์<br />

1) เพื่อให้นักศึกษาทดสอบความรู ้ความสามารถในด้านการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์<br />

2) เพื่อให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์<br />

3) เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น<br />

5.1.2 ประโยชน์ที ่คาดว่าจะได้รับ<br />

1) นักศึกษาได้ทดสอบความรู ้ความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์<br />

2) นักศึกษาฝึกทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์<br />

3) นักศึกษามีพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น<br />

5.1.3 การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

การด าเนินโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้ คอมพิวเตอร์ ได้ด าเนินการเพื่อให้ได้ผลตรงตาม<br />

วัตถุประสงค์ของโครงการ โดยการฝึกทดสอบความรู ้ ความสามารถด้านการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเสริม<br />

ความรู ้ให้นักศึกษาได้มีทักษะความรู ้เพิ่มขึ ้นนอกเหนือจากในตารางเรียน เพื่อให้นักศึกษาสามารถน าความรู ้ ที่รับ<br />

ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป<br />

5.1.4 เครื ่องมือใช้ในการสร้างความพึงพอใจ<br />

จัดท าแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์<br />

5.1.5 สถานนะภาพทั ่วไปของผู ้ตอบแบบประเมิน<br />

จากการประเมินโครงการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ ในสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและส่ง<br />

แบบประเมินกลับคืน ดังนี ้นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับชั ้น ปวส.<br />

เป็นเพศชายคิดเป็นร้ อยละ 35% ของประชากรทั ้งหมดและเป็นเพศหญิงคิดเป็นร้ อยละ 65% ของประชากร<br />

ทั ้งหมดจ านวนร้ อยละของผู ้ตอบแบบประเมินระดับชั ้น ปวส. จ าแนกตามอายุ 18-20 ปี คิดเป็นร้ อยละ 32%<br />

ของประชากรทั ้งหมดและ 21-25 ปี คิดเป็นร้อยละ 77% ของประชากรทั ้งหมด<br />

5.3 อภิปลายรายงานผลการประเมิน<br />

การประเมินครั ้งนี ้พบว่าโครงการทดสอบมาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ ในสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ<br />

ระดับความพึงพอใจของผู ้ประเมินกลุ ่มตัวอย่าง จ านวน 100 คน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยพบประเด็นที่สมควรน ามา<br />

พิจารณา ดังนี ้


5.2.1 ด้านการความพึงพอใจ พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทดสอบ<br />

มาตรฐานการใช้คอมพิวเตอร์ กระบวนการขั ้นตอนการบริหารในภาพรวมอยู ่ในระดับมาก ( ̅=.31) เมื่อ<br />

พิจารณารายชื่อจากการประมวลผล 5 ข้อพบว่าการประชาสัมพันธ์ ( ̅=4.32) การอ านวยความสะดวก<br />

( ̅=4.18) สถานที่ในการจัดที่เหมาะสม ( ̅=4.32) ระยะเวลาในการจัดอบรมมีความเหมาะสม ( ̅=4.27) ความ<br />

พร้อมของสื่อและเอกสารประกอบ ( ̅=4.50)<br />

5.2.1 ผลสัมฤทธิ์การเข้าร่วมโครงการ พบว่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทดสอบ<br />

มาตรฐานวิชาชีพครั ้งที่ 1ภาพรวมอยู ่ในระดับมาก ( ̅=4.45) โดยมีความพึงพอใจสูงสุดในหัวข้อเรื่องการ<br />

พัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ ้น ( ̅=4.50) และมีความพึงพอใจต ่าสุดในหัวข้อเรื่องการ<br />

อ านวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ ( ̅=4.18)<br />

5.4 ข้อเสนอแนะ<br />

1. อยากให้เวลาที่ท าเวลามากพอกับการท า

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!