30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ของลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

ดังนี้ความสําเร็จ:ความลมเหลว<br />

ประมาณ<br />

ดวย 1: โดยที่<br />

2. จํานวนของตัวแปรอิสระ (p) ในการศึกษาครั้งนี้แบงเปน<br />

5 ระดับ คือ<br />

1,2,3,4,5<br />

3. ขนาดตัวอยาง (n) ในการศึกษาครั้งนี้แบงเปน<br />

3 ระดับ คือ เล็ก<br />

n=20,40 กลาง n=60,100 ใหญ n= 150,200<br />

4. ระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ ในการศึกษาครั้งนี้มี<br />

เงื่อนไขคือ<br />

โดยที่<br />

คือสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวาง<br />

ตัวแปรอิสระตัวที่<br />

และตัวแปรอิสระตัวที่<br />

5. การแจกแจงของตัวแปรอิสระในการศึกษาครั้งนี้<br />

มีการแจกแจง แบบ<br />

ยูนิฟอรม<br />

6. กําหนดคาพารามิเตอรเริ่มตนของสมการการถดถอยเปนคาใดๆ<br />

ใน<br />

การศึกษาครั้งนี้กําหนดให<br />

และ<br />

โดย<br />

7. กําหนดระดับนัยสําคัญ ในการศึกษาครั้งนี้ที่ระดับ<br />

0.05<br />

3.2 ทําการจําลองขอมูลโดยใชเทคนิคมอนติคารโล[5] (Monte<br />

Carlo Simulation) ทําการทดลองซ้ํา<br />

500 รอบในแตละ<br />

สถานการณ<br />

3.3 คํานวณหา<br />

1. จุดแบงที่เหมาะสมที่สุดสําหรับขอมูลที่มีลักษณะตามที่ตองการ<br />

ศึกษา<br />

2. คาเฉลี่ยของจุดแบงที่เหมาะสมที่สุดและคารอยละ<br />

(Percent) พรอม<br />

ทั้งชวงความเชื่อมั่น<br />

(Confidence Interval)<br />

3. ใชตัวแบบการถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression model) เพื่อ<br />

ประมาณคาพารามิเตอรสําหรับใชในการประมาณคาจุดแบงที่<br />

เหมาะสมที่สุดในสถานการณอื่นๆ<br />

ตอไป<br />

4. สรุปผลการวิจัย<br />

กรณีตัวแปรอิสระเพิ่ม<br />

352<br />

คาจุดแบงกรณีที่จานวนตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้น<br />

เมื่อระดับ<br />

ความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ สัดสวนของความลมเหลวของ<br />

ลักษณะที่สนใจศึกษาและขนาดตัวอยางคงที่<br />

สรุปผลไดวาเมื่อสัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่<br />

สนใจศึกษามีคาเทากับ 0.1 และ 0.5 ที่ทุกระดับความสัมพันธระหวางตัว<br />

แปรอิสระและทุก ระดับของ ขนาดตัวอยาง พบวา คาจุดแบงมีแนวโนม<br />

ลดลง เมื่อจํานวนตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้นเมื่อสัดสวนของความลมเหลวของ<br />

ลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ<br />

0.9 ตัวแปรอิสระไมมีความสัมพันธกัน<br />

(M = 0) และที่ทุกระดับของขนาดตัวอยาง<br />

พบวา คาจุดแบงมีแนวโนม<br />

เพิ่มขึ้น<br />

เมื่อสัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคา<br />

เทากับ 0.9 ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธกัน (M = 0.33, 0.67, 0.99) และ<br />

ขนาดตัวอยางปานกลาง (n = 60, 100) พบวา คาจุดแบงมีแนวโนมเพิ่มขึ้น<br />

เมื่อสัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ<br />

0.9<br />

ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธกัน (M = 0.33, 0.67, 0.99) และขนาด<br />

ตัวอยางใหญ (n = 200, 250) พบวา คาจุดแบงมีแนวโนมลดลงจาก<br />

ผลลัพธของคาของจุดแบง เมื่อจํานวนตัวแปรอิสระเปลี่ยนแปลง<br />

แต<br />

ขนาดตัวอยางระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและ สัดสวนของ<br />

ความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษาคงที่<br />

สรุปไดวา เมื่อจํานวนตัวแปรอิสระ<br />

เพิ่มขึ้นขนาดตัวอยางเล็ก<br />

และปานกลาง (n = 20, 40, 60,100) ที่สัดสวนของความลมเหลวของ<br />

ลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ<br />

0.1 และ 0.9 คาจุดแบงมีคาลูเขาสู<br />

0.5<br />

ซึ่ง<br />

ที่สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

มีคาเทากับ 0.5<br />

คาจุดแบงจะมีคาใกลเคียง 0.5 ซึ่งเปนคา<br />

จุดแบงที่ถูกกําหนดใหใชกันใน<br />

ปจจุบัน แตเมื่อขนาดตัวอยางใหญ<br />

(n = 150, 200) ที่สัดสวนของความ<br />

ลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ<br />

0.1 และ 0.9คาจุดแบงมี<br />

คาตากวาที่สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคา<br />

เทากับ 0.5 คือมีคาต่ํากวา<br />

0.5 ดังนั้น<br />

จึงสามารถสรุปไดวา สัดสวนของ<br />

ความลมเหลวของ ลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

ระดับความสัมพันธระหวางตัว<br />

แปรอิสระ ขนาดตัวอยางและจํานวนตัวแปรอิสระ เปนปจจัยที่มีผลตอคา<br />

ของจุดแบงที่เหมาะสมสาหรับการพยากรณการจําแนกขอมูลไมจัดกลุม<br />

ในตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ 2 ประเภท เมื่อใชทฤษฎีของ<br />

Hadjicostas P. (2006) [1] ในการหาคาจุดแบง<br />

กรณีระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้น<br />

คาจุดแบงกรณีที่ระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ<br />

เพิ่มขึ้น<br />

เมื่อสัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

ขนาด<br />

ตัวอยางและจานวนตัวแปรอิสระ คงที่<br />

สรุปผลไดวาเมื่อสัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่<br />

สนใจศึกษามี คาเทากับ 0.1 ที่ทุกระดับของ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!