31.12.2013 Views

อ่านต่อ...

อ่านต่อ...

อ่านต่อ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย<br />

กมล ฉวีวรรณ<br />

ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวนครราชสีมา<br />

การศึกษาซากสุกรเปน การศึกษาสวนประกอบตางๆของสุกรหลังจากชําแหละ การศึกษาคุณภาพเนื้อ และ<br />

คุณภาพซาก เพื่อใชในการประเมินซากของสุกรเพื่อวัตถุประสงคตางๆ เชน ใชประเมินความกาวหนาการพัฒนา<br />

ปรับปรุงพันธุ ประเมินคุณภาพซากสําหรับการบริโภค การกําหนดมาตรฐานของเนื้อสัตว เปนตน โดยในการศึกษา<br />

ซากประกอบดวยขั้นตอนตางๆดังตอไปนี้<br />

ขั้นตอนกอนศึกษาซาก<br />

กอนศึกษาซากสุกรตองอดอาหารสุกรกอนอยางนอย 12 ชม. เพื่อไมใหมีอาหารตกคางอยูในระบบทางเดิน<br />

อาหาร น้ําหนักของสุกรกอนฆาจะเปนน้ําหนักที่ใกลเคียงน้ําหนักของสุกร นําสุกรไปชั่งน้ําหนักกอนที่จะนําไป<br />

ศึกษาซาก ซึ่งเปนน้ําหนักมีชีวิตหรือน้ําหนักกอนฆา (Live weight หรือ Slaughter weight)<br />

การฆาสุกร<br />

1. การทําใหสุกรสลบโดยการช็อตดวยกระแสไฟฟา<br />

กอนฆาสุกรจะตองทําใหสุกรสลบดวยวิธีช็อตไฟฟา ดวยเครื่องช็อตไฟฟา (Electrical stunning instrument)<br />

ที่กระแสไฟฟา 220 โวลต<br />

2. การฆาสุกรและแทงคอเพื่อเอาเลือดออก<br />

ทันทีที่สุกรสลบ นําโซผูกมัดแขงหลังขางใดขางหนึ่งแขวนกับรอกไฟฟา จากนั้นดึงตัวสุกรขึ้นใหพนจาก<br />

พื้น เมื่อแขวนสุกรพนจากพื้นดีแลวจึงแทงคอดวยมีดปลายแหลมขนาดยาว 6-7 นิ้ว ที่ตําแหนงบริเวณกึ่งกลางอก ใต<br />

ยอดอกลงมาประมาณ 2-3 นิ้ว โดยใหปลายมีดแทงชี้ขึ้นไปทางดานบนในทิศทางทางดานหางอยางรวดเร็ว บิดปลาย<br />

มีดเล็กนอยจากนั้นดึงมีดออกมา มีดจะตัดเสนเลือดดํา (Jugular vein) และเสนเลือดแดง (Carotid artery) เพื่อให<br />

เลือดไหลออกจากรางกายมากที่สุด<br />

3. การลวกน้ํารอนและขูดขน<br />

เมื่อเลือดออกจากรางกายสุกรหมดแลว ลดซากสุกรลงมาที่เครื่องขูดขน ซึ่งมีน้ําอุนที่อุณหภูมิเหมาะสําหรับ<br />

การขูดขน ประมาณ 60-65 °ซ ระวังอยาใหน้ํารอนหรือเย็นเกินไป กรณีที่น้ําเย็นเกินไปจะขูดขนไดยาก ทําใหหนังมี<br />

ตําหนิได แตถาน้ํารอนเกินไปจะทําใหความรอนสูงซึมเขาไปใน Hair follicle เร็ว ทําใหโปรตีนภายในเกิดการ<br />

แข็งตัว (Coagulate) สงผลใหขนยึดติดแนนมากขึ้นทําใหขูดขนไดยาก ซึ่งเครื่องขูดขนจะประกอบดวยมอเตอร<br />

ไฟฟาแกนกลมขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 4 ฟุต รอบๆ แกนจะติดแผนขูดขนซึ่งเปนแผนยางที่คอนขางแข็ง ดัง<br />

ภาพที่ 1 เมื่อเปดสวิทซเครื่องขูดขน แกนเครื่องจะหมุนใหแผนขูดขนซากนานประมาณ 2-4 นาที เมื่อเห็นวาสะอาด<br />

ดีขูดขนออกหมดแลว นําซากขึ้นแขวนบนรางแขวนซากโดยใชตะขอเกี่ยวที่เอ็นรอยหวาย (Achilles tendon) บริเวณ


ขาหลัง จากนั้นขูดขนที่เหลือบริเวณ หัว ซอกขาหนา-หลัง และลําตัวใหเรียบรอยดวยมีดที่มีความคมมากหรือมีด<br />

โกน (วโรชา จําปารัตน)<br />

ภาพที่ 1 เครื่องขูดขนสุกร<br />

4. ตัดแยกหัวและเปดซาก<br />

ใชน้ําเย็นลางซากใหสะอาดกอนตัดหัวแยกออกจากสวนลําตัว โดยใชมีดเลาะกระดูกแทงเขาที่ทายทอยตรง<br />

รอยตอกะโหลกศีรษะกับกระดูกคอ จากนั้นใชมีดควานมาตามกระดูกขากรรไกรจนรอบคอ ตัดแยกหัวออก และ<br />

เปดซากโดยใชมีดควานรอบชองทวาร เพื่อใหกลามเนื้อที่ยึดรอบๆ ชองทวารหลุดออกใหหมด จากนั้นใชมีดผา<br />

กลางระหวางขาหลังทั้งสอง ดังแสดงในภาพที่ 2 ระวังอยาใหปลายมีดทิ่มทะลุอวัยวะภายในชองทอง ใชมีดเลาะเอา<br />

อวัยวะออกจากชองทองอยางเบามือ เวนสวนของไตและมันเปลวใหติดอยูกับซาก แยกอวัยวะภายในสวนตางๆ<br />

นําไปชั่งน้ําหนัก<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 2


ภาพที่ 2 ขั้นตอนการตัดแยกหัวและเปดซาก<br />

5. การผาซาก<br />

ลางทําความสะอาดซากสุกรที่แยกอวัยวะภายในชองทองและชองอกออกไปหมดแลว จากนั้นใชเลื่อย<br />

ไฟฟาแบงซากออกเปนสองซีกตามแนวกึ่งกลางของกระดูกสันหลัง อยาใหเบี่ยงไปดานใดดานหนึ่งเนื่องจากจะทํา<br />

ใหสวนสันนอก (Longissimus dorsi) ไมสวยงาม หรือมีรอยตําหนิ จากนั้นใชน้ําลางทําความสะอาดอีกครั้ง<br />

6. การชั่งน้ําหนักซากอุน (Hot carcass weight)<br />

ชั่งน้ําหนักซากหลังจากทําความสะอาดแลวคราวละหนึ่งซีก นําน้ําหนักทั้งสองซีกมารวมกันเปนน้ําหนัก<br />

ซากอุน<br />

7. การแชเย็น (Chilled)<br />

นําซากทั้งสองซีกไปแชเย็น หรือเรียกวาการชิล (Chill) ที่อุณหภูมิ 2-5 ซ นานประมาณ 18-24 ชั่วโมง<br />

จากนั้นนําซากมาชั่งน้ําหนักโดยน้ําหนักที่ไดจะเปนน้ําหนักซาก หรือน้ําหนักซากเย็น (Chilled carcass weight)<br />

กอนจะนําไปตกแตงซากและศึกษาสวนประกอบของซากตอไป<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 3


การตัดแตงซากและศึกษาสวนประกอบของซาก<br />

ตัดแตงซากและศึกษาซากสุกรตามวิธีการตัดแตงซากของอเมริกา หรือ National Livestock and Meat<br />

Board ซึ่งเปนที่ยอมรับกันอยางแพรหลาย ชิ้นสวนของสุกรที่ตัดแตงซากนั้นจะมาจาก 5 ชิ้นสวนใหญ ไดแก ขาหลัง<br />

(Ham) สัน (Loin) ไหล (Boston shoulder) ขาหนา (Picnic shoulder) และสามชั้น (Belly) ดังแสดงในภาพที่ 3<br />

Ham Loin Picnic<br />

Belly<br />

ภาพที่ 3 ชิ้นสวนของสุกรที่ตัดแตงซากแบบ National Livestock and Meat Board<br />

กอนดําเนินการตัดแตงซาก จะวัดขอมูลลักษณะซากดังนี้<br />

1. ความยาวซาก วัดความยาวซากสองสวนดวยกันคือ<br />

• สวนที่ 1 ความยาวลําตัว วัดจาก Aitch Bone ถึงกระดูกอก Atlast ดังแสดงในภาพที่ 4B<br />

• สวนที่ 2 ความยาวชองทองหรือความยาวซาก (Carcass length) วัดจาก Aitch Bone ถึงกระดูก<br />

ซี่โครงซี่แรกติดกับกระดูกอก<br />

2. นับจํานวนซี่โครง<br />

3. วัดความหนาไขมันสันหลัง 3 ตําแหนง ดังรายละเอียดแสดงในภาพที่ 4C, 4D และ 4E คือ<br />

• ความหนาไขมันสันหลังตําแหนงบริเวณไหล ตรงกับกระดูกซี่โครงซี ่แรก<br />

• ความหนาไขมันสันหลังตําแหนงบริเวณซี่โครงซี่สุดทาย<br />

• ความหนาไขมัน Side fat ตําแหนงซี่โครงซี่ที่ 10-11 ณ จุดที่ 3 ใน 4 จากแนวกระดูกสันหลัง<br />

วัดใหตั้งฉากกับกลามเนื้อ<br />

4. วัดพื้นที่หนาตัดเนื้อสัน โดยใชพลาสติกหรือกระดาษไขทาบลงบนหนาตัดของเนื้อสัน และใชปากกา<br />

เมจิกชนิดติดแนน (Permanent) เขียนขอบเขตของเนื้อสัน หรือใชกลองถายภาพของหนาตัดเนื้อสัน<br />

โดยมีไมบรรทัดแสดงระยะที่ใชอางอิงได ดังแสดงในภาพที่ 4F และ 4G<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 4


5. วัดเปรียบเทียบระดับสีของเนื้อแดง ระดับของไขมันแทรก และระดับสีของไขมัน กับคามาตรฐาน ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 4H และ 4I<br />

A B C<br />

D E F<br />

G H I<br />

ภาพที่ 4 ขั้นตอนการวัดซากสุกร<br />

A: การศึกษาซาก<br />

B: การวัดความยาวลําตัวจาก Aitch Bone ถึงกระดูกอก Atlast<br />

C: การวัดความหนาไขมันสันหลังตําแหนงบริเวณไหล<br />

D: การวัดความหนาไขมันสันหลัง ตําแหนงบริเวณซี่โครงซี่สุดทาย<br />

E. การวัดความหนาไขมัน Side fat ตําแหนงซี่โครงซี่ที่ 10-11<br />

F: วัดพื้นที่หนาตัดเนื้อสัน<br />

G: การถายภาพหนาตัดเนื้อสัน<br />

H: การวัดเปรียบเทียบระดับสีของเนื้อแดง<br />

I: การวัดเปรียบเทียบระดับสีของไขมัน<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 5


ขั้นตอนการตัดแตงซากมีดังตอไปนี้ (วโรชา จําปารัตน)<br />

1. สวนคาง (Jowl) ตัดชิ้นสวนของคางตามแนวระหวางขาหนากับคาง ตัดใหเปนแนวเสนตรงตั้งฉากกับ<br />

ลําตัว จะไดสวนของขาหนาที่เปนแนวตรง<br />

2. สวนแขง (Shank) ตัดแขงออกจากสวนขาหนาและขาหลัง โดยเลื่อยเหนือบริเวณขอศอกเล็กนอย<br />

3. สวนไหล (Shoulder) แยกสวนไหลที่ติดกับขาหนาออกโดยเลื่อยที่ตําแหนงระหวางซี่โครงซี่ที่ 3 และ 4<br />

เปนแนวตั้งฉากกับลําตัว จากนั้นเลาะกระดูกออกใหหมด เลาะเอาสวนมันและหนังของขาหนาออก<br />

4. สวนขาหลัง (Ham) แยกขาหลังออกจากซากโดยเลื่อยระหวางกระดูกสันหลังตําแหนงสะโพกขอที่ 2<br />

และ 3 ซึ่งแนวนี้ตัดทํามุม 90 องศากับขาหลัง (กระดูกแขง, Tibia) หลัง เมื่อแยกเรียบรอยแลวทําการ<br />

เลาะแยกมัน หนัง และกระดูก ออกจากชิ้นสวนขาหลัง<br />

5. สวนเนื้อสัน (Loin) แยกสวนสันนอกออกจากสวนสามชั้น (Belly) และเลาะสวนสันในออกจาก<br />

ตําแหนงที่ยึดกับกระดูกสันหลัง ใชมีดเลาะเอาหนังและมันที ่หุมหลังออกจากสวนสันนอกดวย<br />

6. สวนสามชั้น (Belly) แยกสวนสามชั้นออกจากซี่โครง จะไดเปนเนื้อสามชั้น และกระดูกซี่โครง (Rib)<br />

การรวบรวมขอมูลและการคํานวณการศึกษาซากสุกร<br />

1. จัดเก็บขอมูลการศึกษาซากโดยเปนขอมูลดังนี้<br />

• ขอมูลการทดสอบพันธุ<br />

• น้ําหนักกอนฆา<br />

• น้ําหนักเครื่องใน ไดแก หัว หัวใจ ปอด ตับ ไต มาม ลําไสเล็ก-ใหญ กระเพาะอาหาร กระเพาะ<br />

ปสสาวะ และอวัยวะเพศ<br />

• น้ําหนักซากอุนที่ตัดสวนหัว เอาเลือดและเครื่องในออกแลว (ยกเวนไตและมันเปลวที่ติดอยู กับซาก)<br />

• วัด pH และอุณหภูมิที่ตําแหนงใจกลางกลามเนื้อสันนอกที่ตําแหนงระหวางซี่โครงซี่ที่ 13 และ 14<br />

โดยแทงลึกลงไปประมาณ 5 ซม. (อุณหภูมิ) หรือ 1.5 ซม. (pH) หลังจากฆาสุกร 45 นาที<br />

• น้ําหนักซากเย็น หลังจากเก็บซากที่อุณหภูมิ 4 °ซ นาน 24 ชม.<br />

• วัด pH และอุณหภูมิที่เนื้อสันนอก หลังแชเย็นนาน 24 ชม.<br />

• น้ําหนักที่หายไปหลังฆา = น้ําหนักสุกรกอนฆา – (น้ําหนักซากอุน รวมน้ําหนักหัว และน้ําหนัก<br />

เครื่องในที่ลางแลว)<br />

• น้ําหนักที่หายไประหวางชําแหละ = น้ําหนักซากเย็นกอนชําแหละ - น้ําหนักรวมของซากเย็นแตละ<br />

สวนหลังชําแหละ<br />

• เก็บบันทึกขอมูลสวนตางๆ ตามแบบฟอรมศึกษาซาก (ดังแบบฟอรมแนบทาย)<br />

• กรอกขอมูลในแบบฟอรมศึกษาซากในโปรแกรมฐานขอมูล Access เพื่อคํานวณขอมูลสวนตางๆ<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 6


2. รายละเอียดการคํานวณ<br />

• น้ําหนักเนื้อแดงทั้งหมด = เนื้อแดงที่ไดจาก 4 สวน ไดแก ไหล ขาหนา เนื้อสัน (สันนอกและสัน<br />

ใน) และขาหลัง<br />

• น้ําหนักกระดูกทั้งหมด = กระดูกที่ไดจาก ไหล ขาหนา ซี่โครง-กระดูกสวนกลาง และขาหลัง<br />

• น้ําหนักไขมันและหนัง = ไขมันและหนังที่ไดจาก ไหล ขาหนา สวนกลาง (สัน) และขาหลัง<br />

• น้ําหนักกระดูก = ผลรวมของน้ําหนักกระดูกขาหลัง ขอขาหลัง กระดูกขาหนา ขอขาหนา หาง<br />

และกระดูกซี่โครง<br />

• น้ําหนักมันหนัง = ผลรวมของมันหนังขาหนา มันหนังขาหลัง มันหนังสวนกลาง (สัน) คาง และ<br />

มันเปลว<br />

• เปอรเซ็นตเนื้อแดงเทียบกับน้ําหนักมีชีวิต = น้ําหนักเนื้อแดงทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักมีชีวิต<br />

• เปอรเซ็นตเนื้อแดงเทียบกับน้ําหนักซาก = น้ําหนักเนื้อแดงทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักซากเย็น<br />

• เปอรเซ็นตกระดูกเทียบกับน้ําหนักมีชีวิต = น้ําหนักกระดูกทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักมีชีวิต<br />

• เปอรเซ็นตกระดูกเทียบกับน้ําหนักซาก = น้ําหนักกระดูกทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักซากเย็น<br />

• เปอรเซ็นตมันหนังเทียบกับน้ําหนักมีชีวิต = น้ําหนักมันหนังทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักมีชีวิต<br />

• เปอรเซ็นตมันหนังเทียบกับน้ําหนักซาก = น้ําหนักมันหนังทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักซากเย็น<br />

• เปอรเซ็นตสามชั้นเทียบกับน้ําหนักมีชีวิต = น้ําหนักสามชั้นทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักมีชีวิต<br />

• เปอรเซ็นตสามชั้นเทียบกับน้ําหนักซาก = น้ําหนักสามชั้นทั้งหมด X 100<br />

น้ําหนักซากเย็น<br />

• เปอรเซ็นตซากอุน = น้ําหนักซากอุน X 100<br />

น้ําหนักมีชีวิต<br />

• เปอรเซ็นตซาก (เย็น) (Dressing percentage) = น้ําหนักซากเย็น X 100<br />

น้ําหนักมีชีวิต<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 7


3. การคํานวณพื้นที่หนาตัดเนื้อสัน<br />

a. การคํานวณพื้นที่หนาตัดเนื้อสันดวยวิธีวาดขอบเขตพื้นที่หนาตัดเสื้อสัน ณ ตําแหนงซี่โครงที่ 10-<br />

11 บนพลาสติกหรือกระดาษไข คํานวณพื้นที่โดยใชชองตารางคํานวณที่มีขนาดของแตละชอง<br />

เทากับ 1 ตร.ซม. เปนการประมาณการโดยคราวๆ หรือพลานิมิเตอร (Planimeter) ดังภาพที่ 5 ที่ใช<br />

สําหรับวัดขนาดพื้นที่ซึ่งจะมีความแมนยํากวา<br />

b. การคํานวณพื้นที่หนาตัดเนื้อสันดวยวิธี Image analysis โดยใชการถายภาพพื้นที่หนาตัดเนื้อสันให<br />

ตั้งฉากกับพื้นที่หนาตัดเนื้อสัน ถายภาพพรอมไมบรรทัดที่มีสเกล (Scale) เปนระยะสําหรับใช<br />

อางอิง และนําไปคํานวณโดยใชวิธีตามเอกสาร “การใช Image analysis สําหรับงานทางดาน<br />

การศึกษาซากสุกร” (กมล ฉวีวรรณ)<br />

ภาพที่ 5 การคํานวณพื้นที่หนาตัดเนื้อสัน<br />

A: การคํานวณพื้นที่โดยใชชองตารางคํานวณ<br />

B: พลานิมิเตอร (Planimeter) ที่ใชสําหรับวัดขนาดพื้นที่<br />

4. การศึกษาทางดานวิทยาศาสตรเนื้อสัตว<br />

การนําเนื้อมาใชศึกษาทางดานวิทยาศาสตรเนื้อสัตว จะใชเนื้อสวนของเนื้อสันนอก ตั้งแตบริเวณซี่โครงซี่ที่<br />

10 ไปทางดานหลัง ประมาณ 1 กิโลกรัม และเนื้อแดงสวนสะโพกบริเวณ Semi membranosus หรือ Biceps femoris<br />

ประมาณ 1 กิโลกรัม ดังแสดงในภาพที่ 6) โดยเก็บตัวอยางเนื้อสุกร (เนื้อสัน กับเนื้อสะโพก) อยางละ 1 กก. ติด<br />

ฉลากใหเรียบรอยและชัดเจนถึงชนิดของเนื้อและระยะเวลาที่เก็บ บรรจุเนื้อในถุง (ถาบรรจุดวย Vacuum pack ยิ่งดี)<br />

ถาไมมีใชถุงพลาสติกอยางหนา มัดปากถุงใหแนนดวยยางหนังสติก ใสกลองโฟม ใสน้ําแข็งใหทวม ปดฝาใหมิดชิด<br />

กอนสงไปหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรเนื้อสัตว (สุทธิพงศ อุริยะพงศสรรค)<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 8


1. Rectus femoris<br />

2. Vastus intermedius<br />

3. Vastus lateralis<br />

4. Vastus medialis<br />

5. Biceps femoris<br />

6. Adductor magnus<br />

7. Semimembranosus<br />

8. Semitendinosus<br />

9. Sartorius<br />

10. Gracilis<br />

ภาพที่ 6 กลามเนื้อบริเวณขาหลังของสุกร แสดงสวนกลามเนื้อที่นําไปศึกษาดานวิทยาศาสตรเนื้อสัตว<br />

(Biceps femoris หรือ Semimembranosus) (สุทธิพงศ อุริยะพงศสรรค)<br />

a. การวัดความเหนียวนุมของเนื้อ โดยการวัดดวย Texture analyzer หรือวัดดวยเครื่อง Shear force<br />

ซึ่งวัดแรงตัดเฉือนชิ้นเนื้อ โดยนําตัวอยางชิ้นเนื้อที่ผานขั้นตอนการทําใหสุก ตัดเปนชิ้นรูป<br />

สี่เหลี่ยมผืนผาโดยตามแนวยาวของเสนใยกลามเนื้อใหมีขนาดยาวประมาณ 3 ซม. มีพื้นที่หนาตัด<br />

ของขนาดชิ้นเนื้อประมาณ 1.25 ซม. จากนั้นนําชิ้นเนื้อไปวัดคาแรงตัดผานเนื้อดวยเครื่องมือวัด<br />

ความนุมของเนื้อ (Instron Model 1011) โดยตัดตามขวางของเสนใยกลามเนื้อตามวิธีการของ Van<br />

Oeckel et al.(1999)<br />

b. การศึกษาลักษณะปรากฏของเนื้อ คาความแดง ความเหลืองและคาความสวาง การวัดไขมันแทรก<br />

สีของไขมัน โดยนําตัวอยางเนื้อสันนอก หลังเก็บไวที่อุณหภูมิ 4 °ซ นาน 24 ชั่วโมง มาตัด<br />

แบงเปน 2 ชิ้น มีขนาดประมาณ 5 x 10 ซม. หนาประมาณ 3 ซม. ตัดแตงพังผืด และไขมันสันหลัง<br />

ออก นําไปวัดสีดวยเครื่องมือวัดสีของเนื้อ (Minolta Chromameter CR – 300) ซึ่งแสดงผลในรูป<br />

ของ L* (luminance) a* (redness) และ b* (yellowness) (จุฑารัตน เศรษฐกุลและคณะ)<br />

c. การวัดคาการสูญเสียน้ําหนักเนื่องจากการปรุงอาหาร (Cooking loss) โดยการนําเนื้อสวนสันนอก<br />

ขนาดประมาณ 10 x 5 ซม. หนาประมาณ 2 ซม. มาชั่งน้ําหนักบันทึกเปนน้ําหนักเริ่มตน (W1)<br />

นําไปบรรจุในถุงสุญญากาศ ทําใหสุกดวยเตาอบไฟฟา จนอุณหภูมิภายในเนื้อเทากับ 71 °ซ ทิ้งไว<br />

ใหเย็นที่อุณหภูมิหอง นําไปชั่งน้ําหนักเนื้อสุก (W2) คํานวณหาเปอรเซ็นตน้ําหนักที่สูญเสียหลัง<br />

ปรุงสุก ตามวิธีการของ Berge et al. ( 1993 )<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 9


เปอรเซ็นตการสูญเสียน้ําหนักระหวางการทําใหสุก = (W1 - W2) x 100<br />

W1<br />

d. การวัด Water holding capacity เปนการวัดความสามารถในการอุมน้ํา หรือการวัด Drip loss โดย<br />

การนําเนื้อสันนอกหนา 1.5 ซม. ใสถุงพลาสติกที่ปดสนิท นําไปชั่งน้ําหนัก และแขวนเก็บที่<br />

อุณหภูมิ 4 °ซ เปนเวลา 48 ชั่วโมง จากนั้นนําเนื้อออกจากถุงโดยซับของเหลวที่ติดมากันเนื้อสัน<br />

ดวยกระดาษทิชชุ ชั่งน้ําหนักเนื้อสัน คํานวณการสูญเสียน้ําจากน้ําหนักที่สูญเสีย (มก.) ตอน้ําหนัก<br />

เนื้อเริ่มตน (กรัม) หรือคํานวณเปนเปอรเซ็นตการสูญเสีย (คมกฤษณ และสุทธิพงศ)<br />

เอกสารประกอบการเรียบเรียง<br />

1. สุทธิพงศ อุริยะพงศสรรค, Personal communication<br />

2. กมล ฉวีวรรณ, การใช Image analysis สําหรับงานทางดานการศึกษาซากสุกร<br />

3. วโรชา จําปารัตน, การศึกษาซากสุกร<br />

4. คมกฤษณ ปูพันธ และ สุทธิพงศ อุริยะพงศสรรค, ผลการจัดการกอนฆาตอคุณภาพเนื้อสุกร<br />

5. จุฑารัตน เศรษฐกุล และคณะ, ผลของสารซัลบูตามอลตอคุณภาพเนื้อ<br />

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย 10

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!