07.01.2015 Views

โรคเมลิออยโดสิสในเด็กภาคใต้ - Health Science Journals in Thailand

โรคเมลิออยโดสิสในเด็กภาคใต้ - Health Science Journals in Thailand

โรคเมลิออยโดสิสในเด็กภาคใต้ - Health Science Journals in Thailand

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

้<br />

้<br />

Songkla Med J<br />

Melioidosis <strong>in</strong> southern Thai children<br />

Vol. 22 Suppl. (2) August 2004<br />

367<br />

Silpapojakul K.<br />

ที ่เป็นโรคนี ้ มีประมาณหนึ ่งในสามของผู ้ป่วยทั ้งหมด ซึ ่งดูเหมือนว่า<br />

เป็นสัดส่วนสูงกว่ารายงานอื ่นๆ จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ ่ง<br />

พบผู ้ป่วยเด็กเพียงร้อยละ 10-17 ของผู ้ป่วยทั ้งหมด 10 ความแตกต่าง<br />

นี ้ยังไม่สามารถอธิบายได้ แต่อาจจะเกี่ยวกับการที่ประชากร<br />

ผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นชาวนา ซึ ่งมี<br />

โอกาสสัมผัสกับดิน ซึ่งเป็นแหล่งของเชื้อ Burkholderia pseudomaelei<br />

มากกว่าผู ้ป่วยในภาคใต้ซึ ่งทำสวนยาง 11<br />

รายงานนี้พบผู้ป่วยเด็กที่เป็นเมลิออยโดสิสมากในฤดูฝน<br />

(รูปที่ 1) ซึ่งสอดคล้องกับรายงานจากทางภาคตะวันออกเฉียง-<br />

เหนือ (ขอนแก่น 12 , บุรีรัมย์13 , อุบลราชธานี14 และ นครราชสีมา 15 )<br />

ซึ่งพบผู้ป่วยมากขึ้นในฤดูฝนเหมือนกัน ทั้งนี้เพราะว่าในฤดูฝน<br />

น้ำที ่ซึมลงไปในดินเป็นตัวพาเชื ้อ B. pseudomallei ที ่อยู ่ในดิน<br />

ชั ้นลึกขึ ้นมาสู ่ผิวพื ้นดิน ทำให้โอกาสที ่จะได้รับเชื ้อมีมากขึ ้น 16<br />

ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่เป็นเด็กจากชนบทนอกเขตเทศบาล<br />

โดยมีผู ้ป่วยจากเมืองหาดใหญ่เพียงคนเดียว ทั ้งนี ้อาจจะเกี ่ยวกับ<br />

โอกาสที่เด็กจะได้รับเชื้อจากน้ำหรือดิน ในเด็กชนบทมีมากกว่า<br />

เด็กในเมือง รายงานนี้พบว่าเด็กที่เป็นโรคเมลิออยโดสิสเป็นเพศ<br />

หญิงและเพศชายพอ ๆ กัน ซึ ่งต่างจากผู ้ป่วยผู ้ใหญ่ ซึ ่งพบในเพศ<br />

ชายมากกว่าเพศหญิง 1, 11 ความแตกต่างระหว่างผู ้ใหญ่กับเด็กนี<br />

มีรายงานจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วย 12 และอธิบายได้จาก<br />

ลักษณะของการทำงานของผู้ใหญ่เพศชายซึ่งส่วนใหญ่ทำงาน<br />

เกษตรกรรมในไร่นา ซึ ่งเป็นปัจจัยเสี ่ยงที ่สำคัญในการได้รับเชื ้อ<br />

B. pseudomallei มากกว่าเพศหญิง 11 รายงานนี ้พบโรคเมลิออย-<br />

โดสิสในทารกแรกเกิด (neonatal melioidosis) 8 ราย ซึ ่งมากกว่า<br />

ในรายงานอื ่นๆ โดยมีผู ้ป่วยอยู ่ 1 ราย ซึ ่งอาจเกี ่ยวข้องกับการ<br />

ติดเชื้อทางสายสะดือของเด็กแรกเกิด<br />

ผู้วิจัยได้แบ่งผู ้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่มตามลักษณะทาง<br />

คลินิกที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน กลุ่มแรกเป็นผู้ป่วยมีการติด<br />

เชื ้อชนิดแพร่กระจาย (septicemic form) ซึ ่งพบหนึ ่งในสามของ<br />

ผู้ป่วยทั้งหมด (22 ราย) ผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเด็กที่อายุน้อยกว่า<br />

2 ปี ถึง 12 ราย โดยเป็นเด็กทารกแรกเกิด (neonatal meliodosis)<br />

ถึง 8 ราย แต่กลุ ่มที ่มีการติดเชื ้อเฉพาะที ่ ไม่มีรายใดอายุ<br />

ต่ำกว่า 2 ปี<br />

การศึกษานี ้พบว่า ผู ้ป่วยกลุ ่มที ่เป็นโรคเมลิออยโดสิสชนิด<br />

แพร่กระจาย มีลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ คือ มีไข้สูง ร่วมกับ<br />

ปอดอักเสบถึงร้อยละ 73 ของผู ้ป่วยทั ้งหมด โดยผู ้ป่วยมีรอยโรค<br />

การติดเชื ้อในอวัยวะหลายแห่ง ถึงสองในสามของผู ้ป่วยทั ้งหมด<br />

เป็นที่น่าสังเกตว่าผู้ป่วยเกือบครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 45) มีประวัติ<br />

การมีอุจจาระร่วงร่วมด้วย ซึ่งเป็นอาการที่ไม่มีการกล่าวถึงใน<br />

รายงานโรคนี้ในเด็กภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 แต่เป็นอาการ<br />

ที่ได้รับการกล่าวถึงในรายงานฉบับแรกๆ เกี่ยวกับโรคนี้โดย<br />

นายแพทย์วิทมอร์และนายแพทย์กฤษณะสวามี ซึ ่งเป็นผู ้รายงาน<br />

โรคนี ้เป็นคนแรกจากประเทศพม่า 17 และในรายงานของนายแพทย์<br />

สแตนตัน และนายแพทย์เฟลทเชอร์ จากมาลายา 18 เป็นที ่น่าสนใจ<br />

ว่ากลุ่มศึกษาโรคเมลิออยโดสิสที่จังหวัดอุบลราชธานี ได้รายงาน<br />

การเพาะเชื ้อ B. pseudomallei ได้จากตัวอย่างอุจจาระของผู ้ป่วย<br />

ถึง 13 ใน 59 ตัวอย่าง โดยใช้อาหารเพาะเลี ้ยงเชื ้อ พิเศษ (selective<br />

media) 9<br />

รายงานนี้พบผู้ป่วยกลุ่มที่เป็นโรคชนิดแพร่กระจายเพียง<br />

ร้อยละ 23 ของผู ้ป่วยโรคเมลิออยโดสิสทั ้งหมดเท่านั ้น ซึ ่งต่างจาก<br />

รายงานจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ขอนแก่น หรือ<br />

บุรีรัมย์ ซึ่งพบถึงร้อยละ 55 และร้อยละ 53 ตามลำดับ 12,13<br />

ทั้งนี้น่าจะเป็นเพราะว่าเด็กที่เป็นโรคนี้ในรายงานดังกล่าวมีปัจจัย<br />

ที่มีโรคเดิมที่ทำให้เกิดภาวะภูมิคุ้มกันโรคต่ำลงจนทำให้เกิดโรค<br />

เมลิออยโดสิสชนิดรุนแรง เช่น เบาหวาน โรคไต หรือโรคเลือด<br />

มากกว่าเด็กในการศึกษานี ้12<br />

โดยรายงานดังกล่าวพบเด็กที ่มีโรค<br />

เดิมที ่ทำให้ภาวะภูมิคุ ้มกันต่ำลงถึงร้อยละ 20 ในขณะที ่การศึกษานี<br />

พบภาวะดังกล่าวเพียงร้อยละ 5 (3 รายใน 59 ราย) ภาวะภูมิ<br />

คุ ้มกันโรคต่ำลง เป็นปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ ่งที ่ทำให้เด็กที ่เป็นโรค<br />

นี ้เป็นรุนแรง ดังจะเห็นได้จากผลการศึกษานี้ซึ่งสอดคล้องกับ<br />

รายงานจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12 ซึ ่งพบว่าเด็กกลุ ่มที ่มีการ<br />

ติดเชื ้อเฉพาะที ่ไม่มีรายใดมีโรคเดิมที ่ทำให้เกิดภาวะภูมิคุ ้มกันต่ำ<br />

ก่อนที ่จะเป็นโรคนี ้เลย ผู ้ป่วยที ่มีภาวะภูมิคุ ้มกันโรคต่ำลงที ่เป็น<br />

โรคเมลิออยโดสิสชนิดแพร่กระจาย ในการศึกษานี ้ทั ้ง 3 ราย เป็น<br />

ผู้ป่วยที่ได้รับยาคอร์ติโคสเตียรอยด์มาก่อนทั้งสิ้น<br />

อัตราการตายของกลุ่มติดเชื้อชนิดแพร่กระจาย ในการ<br />

ศึกษานี ้สูงถึงร้อยละ 81 ซึ ่งอาจเป็นเพราะสาเหตุ 2 ประการ คือ<br />

ในกลุ ่มนี ้มีเด็กอายุน้อยกว่า 1 เดือนร่วมอยู ่ด้วยถึงหนึ ่งในสามและ<br />

โรคนี ้พบไม่บ่อยเท่าทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้แพทย์<br />

คิดถึงโรคนี ้น้อย ในการศึกษานี ้แพทย์ผู ้รักษาให้การวินิจฉัยว่าเป็น<br />

โรคเมลิออยโดสิสชนิดแพร่กระจายก่อนทราบผลเพาะเชื้อเพียง<br />

ร้อยละ 10 ทำให้คนไข้ได้รับยาที ่เหมาะสมกับเชื ้อช้าไป<br />

กลุ่มผู้ป่วยชนิดติดเชื้อเฉพาะที่ ต่างจากกลุ่มติดเชื้อชนิด<br />

แพร่กระจายอย่างชัดเจนในเรื ่องของอายุผู ้ป่วย, ลักษณะทางคลินิก<br />

และอัตราการตาย กล่าวคือ ไม่พบในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี และ<br />

ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาด้วยอาการเป็นฝีต่อมน้ำลายพาโรติดและต่อม<br />

น้ำเหลืองที ่คอ แม้ผู ้ป่วยกลุ ่มนี ้จะมีอาการไม่รุนแรงและไม่มีผู ้ป่วย<br />

เสียชีวิตทั ้งๆ ที ่ผู ้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการรักษาหลังจากมีอาการมา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!