03.09.2015 Views

บทคัดย่อ

01 - บทคัดย่อ

01 - บทคัดย่อ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>บทคัดย่อ</strong><br />

ชือเรือง : แรงจูงใจทีมีผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ในการ<br />

เลือกรับราชการในหน่วยของกองทัพบก<br />

โดย : พันเอก กฤษณภาค สมใจเพ็ง<br />

สาขาวิชา : การทหาร<br />

อาจารย์ทีปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก<br />

( อภิชาต แก้วประสพ )<br />

กรกฎาคม ๒๕๕๒<br />

เนืองด้วยสภาวะแวดล้อมในปัจจุบันนี สภาวะแวดล้อมทางด้านการเมืองทีเกิด<br />

ความแตกแยกทางด้านความคิดเห็นแยกเป็ นฝ่ ายทีชัดเจนจนนําไปสูการใช้ความรุนแรง ส่งให้<br />

เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทางด้านต่างๆ สภาพแวดล้อมทางด้านการทหารจะต้องมีการ<br />

ปรับปรุงในหลายเรือง เช่น การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การปฏิบัติภารกิจอืน ๆ<br />

ทางทหารทีไม่ใช่สงคราม เพือให้เหมาะสมกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ การเศรษฐกิจ นอกจากได้รับ<br />

ผลกระทบจากสภาวะแวดล้อมทางการเมืองแล้ว ยังได้รับผลกระทบจากภาวะตกตํ าของเศรษฐกิจ<br />

โลกอีกด้วย สําหรับสภาวะแวดล้อมทางด้านสังคมจิตวิทยามีการเปลียนแปลงอย่างมากทั งเรือง<br />

คุณธรรมและจริยธรรม วัตถุนิยม ซึ งสืบเนืองมาจากความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของวิทยาศาสตร์<br />

และเทคโนโลยี โดยเฉพาะความก้าวหน้าของระบบข้อมูลสารสนเทศทีมีความฉับไวและกว้างขวาง<br />

ทั วโลก นับว่ามีความสําคัญและส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดํารงชีวิตของประชากรไทย นักเรียน<br />

นายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ คือ คนยุคใหม่ซึ งซึมซับรับเอาการเปลียนแปลงสภาวะ<br />

แวดล้อมต่างๆอย่างมาก ซึ งสภาวะแวดล้อมเหล่านั นย่อมมีอิทธิพลต่อทัศนคติและความคิดเห็นของ<br />

นักเรียนนายสิบเหล่านี เมือนักเรียนนายสิบจบการศึกษาจะได้รับการบรรจุให้เป็ นนายทหารชั น<br />

ประทวนและเป็ นกําลังหลักของกองทัพบกในระดับยุทธวิธี เปรียบเสมือนกล้ามเนื อในการปฏิบัติ<br />

ภารกิจของกองทัพบกในเรืองการป้ องกันประเทศ


การเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการของนักเรียนนายสิบเมือสําเร็จการศึกษาเป็ น<br />

นายทหารชั นประทวนแล้ว ซึ งมีทั งหน่วยทีมีลักษณะเป็ นหน่วยสนับสนุนการรบ คือ กองพันทหาร<br />

ปื นใหญ่ และ กองพันทหารปื นใหญ่ต่อสู้อากาศยาน หน่วยทีมีลักษณะเป็ นหน่วยทางด้านการศึกษา<br />

คือ โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ เป็ นต้น จะเป็ นการตัดสินใจครั งแรกในการรับ<br />

ราชการ จากสภาวะแวดล้อมในปัจจุบันจะมีผลกระทบต่อการตัดสินใจในครั งนี ซึ งสามารถแยก<br />

เป็ นปัจจัยหลักทีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกหน่วยได้ 2 ปัจจัย คือ การเลือกหน่วยทีอยู่ใกล้<br />

ครอบครัว หรือ การเลือกหน่วยด้วยอุดมการณ์มุ่งหวังความก้าวหน้าในการรับราชการ ซึ งผู้วิจัย<br />

ต้องการทีจะทราบว่า นักเรียนนายสิบส่วนใหญ่ใช้ปัจจัยอันไหนเป็ นหลักในการตัดสินใจเลือก<br />

หน่วย และยังต้องการทราบอีกด้วยว่ามีอะไรบ้างทีเป็ นแรงจูงใจกระตุ้นให้นักเรียนนายสิบมีความ<br />

ประสงค์ทีจะเลือกหน่วยนั นๆ รวมทั งทัศนคติต่อกรรมวิธีในการเลือกหน่วยในปัจจุบันของนักเรียน<br />

นายสิบ ผู้วิจัยจึงตั งคําถามการวิจัยขึ นจํานวน 2 คําถาม คือ ภูมิลําเนาของนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่ มีผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ในการตัดสินใจ<br />

เลือกหน่วยของกองทัพบกมากกว่าความคาดหวังในความก้าวหน้าในการรับราชการใช่หรือไม่ และ<br />

การดําเนินกรรมวิธีในการเลือกหน่วยของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ในปัจจุบัน<br />

เป็ นอย่างไร ควรแก้ไขปรับปรุงอะไรเพิ มเติมหรือไม่<br />

ผลการวิจัยโดยสรุปปรากฏออกมาว่า ภูมิลําเนาของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่า<br />

ทหารปื นใหญ่ ไม่มีผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ในการตัดสินใจ<br />

เลือกหน่วยของกองทัพบกมากกว่าความคาดหวังในความก้าวหน้าในการรับราชการ เพราะนักเรียน<br />

นายสิบส่วนใหญ่เลือกทีจะมีความก้าวหน้าในหน้าทีราชการมากกว่าแม้ว่าหน่วยทีเลือกจะอยู ่ห่าง<br />

ภูมิลําเนาหรือครอบครัวไปบ้างก็ตาม และ การดําเนินกรรมวิธีในการเลือกหน่วยในทัศนของ<br />

นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ในปัจจุบันดีอยู ่แล้วและมีข้อเสนอแนะของนักเรียน<br />

นายสิบว่าควรเพิ มเติมบางเรืองให้ดียิ งขึ น ผู้วิจัยจึงได้เสนอแนะในเรืองการสร้างแรงจูงใจนักเรียน<br />

นายสิบในการเลือกหน่วยว่า ควรมีการพัฒนาหน่วยอย่างไรบ้างเพือให้เป็ นทีต้องการของนักเรียน<br />

นายสิบและเป็ นประโยชน์ต่อกองทัพบก พร้อมกันนี ก็ได้สรุปข้อเสนอแนะของนักเรียนนายสิบใน<br />

การเพิมเติมกิจกรรมทีจะทําให้กรรมวิธีในการเลือกหน่วย ดียิ งขึ น


ABSTRACT<br />

Title : Motives which influence the decision of the noncommissioned<br />

officer students in the artillery corp in choosing a unit in the army.<br />

By : Colonel Kritsanapak Somchaipeng<br />

Major Field : Military<br />

Research Advisor : Group Captain<br />

(Apichart Kaewprasop)<br />

July 2009<br />

Because of the current environment, the cleavage in a separate comment of<br />

the political environment, leads to violence. It sends impacts on other environments.<br />

The military environment has to be improved in many matters such as maintaining<br />

peace within the country,military operations other than war. They have to be<br />

appropriate with the non-traditional threat. The economy has been affected by politics.<br />

It has been affected by conditions of global economic recession also. Because of rapid<br />

advances of science and technology, the advancement of quick and worldwide<br />

information systems, the psychological social environment has changed dramatically<br />

both on the moral and ethical materialism. All of these environments affect to the lives<br />

of Thai population. The noncommissioned officer students in the artillery corp,the new<br />

generation, absorp changes of environments. The environments will influence to their<br />

attitudes and opinions. The noncommissioned officer students will be placed in the<br />

army units to be noncommissioned officer after they have graduated. They are the<br />

main tactical forces of the army. They are like muscles of the army in defensing our<br />

country mission.


The noncommissioned officer students in the artillery corp will choose<br />

each unit in the army for themselves to work after they have graduated. There are two<br />

main characteristics of artillery units. The first kind of artillery units is supporting unit<br />

which supports combat units by firing such as field artillery battalion,anti- aircraft<br />

battalion. The other is the unit in general affairs. It isn’t concerned with combat units<br />

such as the units which support studying. The current environments will affect their<br />

decisions in choosing army units.The researcher separates in two main factors which<br />

influence for their decisions. The first factor is living near their families.The second<br />

factor is expecting to receive the promotion of the official work. The researcher wants<br />

to know which factor is more influential , living near their families or expecting to<br />

receive the promotion of the official work. The researcher wants to know what<br />

anything else can motivate the noncommissioned officer students in the artillery corp<br />

in choosing a unit in the army and what the noncommissioned officer students'<br />

attitudes in the process of choosing a unit are also. The researcher has set up two<br />

research questions.The first is “ Is living near their families more influential than<br />

expecting to receive the promotion of the official work in the decision of choosing a<br />

unit ? ”. The second is “ How is the process of choosing a unit? ”.<br />

The result of the first research question is “ Living near their families is not<br />

more influential than expecting to receive the promotion of the official work in the<br />

decision of choosing a unit.”.The result of the second research question is “ The<br />

process of choosing a unit is good.” The researcher suggests how to improve units<br />

which are wanted to be chose by the noncommissioned officer students. The researcher<br />

summarizes the noncommissioned officer students’ suggestions which they want the<br />

process of choosing a unit to be appended.


ก<br />

คํานํา<br />

นักเรียนนายสิบทหารบก ในปัจจุบันใช้หลักสูตรการศึกษา ๑ ปี ซึ งจะรับการศึกษา<br />

ครึ งปี แรกทีโรงเรียนนายสิบทหารบก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หลังจากนั นนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

จะแยกเหล่าไปเรียนตามเหล่าทีตนเองเลือก สําหรับนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่จะ<br />

เข้ารับการศึกษาทีโรงเรียนทหารปื นใหญ่ จังหวัดลพบุรี เป็ นเวลาอีกครึ งปี เมือจบการศึกษาก็จะ<br />

เลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการเป็ นนายทหารชั นประทวน ได้รับการแต่งตั งยศ สิบตรี นายทหารชั น<br />

ประทวนดังกล่าวเป็ นกําลังหลักของกองทัพบก โดยเฉพาะอย่างยิ งเหล่าทหารปื นใหญ่ซึ งเป็ นเหล่า<br />

สนับสนุนการรบ จึงต้องการกําลังพลทีมีความรู้ความสามารถในเทคนิคของเหล่า รวมทั งมีจิตใจที<br />

รุกรบ มีร่างกายทีแข็งแรงพร้อมทีจะปฏิบัติงานทีตรากตรําและสมบุกสมบันได้เป็ นอย่างดี<br />

เนืองจากปัจจุบันผู้วิจัยรับราชการในตําแหน่งหัวหน้าแผนกเตรียมการ โรงเรียน<br />

ทหารปื นใหญ่ ซึ งมีหน้าทีกํากับดูแลทางฝ่ ายอํานวยการในเรืองการฝึ กศึกษาของนักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ให้เป็ นไปตามหลักสูตร รวมทั งเคยได้มีโอกาสเข้าร่วมในขั นตอนการ<br />

ดําเนินกรรมวิธีการเลือกหน่วยของนักเรียนนายสิบเมือจบการศึกษา จึงมีความต้องการทราบว่าตาม<br />

สภาวะแวดล้อมในปัจจุบัน นักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่ทีพึ งสําเร็จการศึกษามีแนวความคิด<br />

อย่างไรบ้าง รวมทั งมีแรงจูงใจอะไรบ้างทีเป็ นส่วนประกอบในการเลือกหน่วยเพือบรรจุเข้ารับ<br />

ราชการครั งแรก จากการวิจัยจะทําให้ทราบถึงแนวโน้มของแนวความคิดของนายทหารชั นประทวน<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นใหม่ เพือผู้วิจัยจะได้เสนอแนะในเรืองทีจะส่งเสริมแรงจูงใจนักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ให้มีแนวความคิดทีเกิดประโยชน์ต่อกองทัพบกมากทีสุด พร้อมทั งจะ<br />

ได้เสนอแนะเพิ มเติมในส่วนของกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการของนักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ต่อไป<br />

ผู้วิจัยขอขอบคุณ อาจารย์และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของนักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ทีกรุณาให้ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์และให้ข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ กําลังพล<br />

ของแผนกเตรียมการ โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ทีช่วยในการให้ข้อมูลทางด้าน


ข<br />

เอกสารหลักฐานทีเกียวข้อง และผู้ทีเกียวข้องทุกท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ งนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่ทุกนายทีตอบแบบสอบถามซึ งเป็ นข้อมูลปฐมภูมิทีสําคัญของงานวิจัยนี<br />

พันเอก<br />

(กฤษณภาค สมใจเพ็ง)<br />

นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที ๕๐<br />

มิถุนายน ๒๕๕๒


ค<br />

สารบัญ<br />

หน้า<br />

คํานํา<br />

ก<br />

สารบัญแผนภาพ<br />

จ<br />

บทที ๑ บทนํา ๑<br />

ความสําคัญของปัญหา ๒<br />

วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๓<br />

คําถามการวิจัย ๓<br />

ขอบเขตการวิจัย ๔<br />

ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ๔<br />

นิยามศัพท์ ๕<br />

บทที ๒ แนวความคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมทีเกียวข้อง ๖<br />

พฤติกรรม ๖<br />

ความต้องการของมนุษย์ ๑๒<br />

ความหมายของแรงจูงใจและการจูงใจ ๑๗<br />

ทฤษฎีแรงจูงใจ ๒๐<br />

เทคนิคการสร้างแรงจูงใจในการทํางาน ๒๓<br />

ประโยชน์ของการสร้างแรงจูงใจ ๒๕<br />

งานวิจัยทีเกียวข้อง ๒๗<br />

บทที ๓ วิธีดําเนินการวิจัย ๓๔<br />

วิธีทีใช้ในการวิจัย ๓๔<br />

แหล่งข้อมูล ๓๔<br />

เครืองมือทีใช้รวบรวมข้อมูล ๓๔<br />

วิธีการเก็บรวบรวมและจัดเตรียมข้อมูลเพือการวิเคราะห์ ๓๕<br />

บทที ๔ ข้อมูลและการวิเคราะห์ ๓๗<br />

ข้อมูล ๓๗<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล ๓๗<br />

สรุปผลจากการวิเคราะห์ ๔๒


ง<br />

บทที ๕ สรุปและข้อเสนอแนะ ๔๕<br />

สรุปการทําวิจัย ๔๕<br />

สรุปผลทีได้รับจากการวิจัย ๔๕<br />

ข้อเสนอแนะ ๔๘<br />

บรรณานุกรม ๕๐<br />

ภาคผนวก ๕๒<br />

ผนวก ก หลักสูตร สําหรับนักเรียนนายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี ๕๓<br />

ผนวก ข แบบสอบถามเพือการวิจัย ๖๖<br />

ประวัติย่อผู ้วิจัย ๗๐


จ<br />

แผนภาพที<br />

สารบัญแผนภาพ<br />

หน้า<br />

๒.๑ รูปแสดงลําดับขั นความต้องการตามทฤษฎีของมาสโลว์ ๒๗


บทที ๑<br />

บทนํา<br />

ในปัจจุบัน กองทัพบกอนุมัติหลักสูตรการศึกษาหมายเลขหลักสูตร ๗, ๖ - ช. - ๑๑๑,<br />

๐๐๖ สําหรับนักเรียนนายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี หมายเลข ชกท. ๑๑๑, ๐๐๖ ระยะเวลาศึกษา<br />

๕๒ สัปดาห์ หรือ ๒,๐๘๐ ชัวโมง ทบ.อนุมัติเมือ ๒๒ ส.ค.๕๐ (ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. (จก.ยศ.ทบ.<br />

รับคําสั ง) ท้ายหนังสือ กศ.ยศ.ทบ.ที กห ๐๔๖๑.๑๑/๑๔๘๐ ลง ๒๒ ส.ค.๕๐ เพือผลิตนายทหารชั น<br />

ประทวนให้กับกองทัพบก โดยนายทหารชั นประทวนเหล่าทหารปื นใหญ่ก็รับการผลิตตาม<br />

หลักสูตรนี<br />

การศึกษา<br />

แบ่งเป็ น ๒ ตอน<br />

ตอนที ๑ ศึกษาทีโรงเรียนนายสิบทหารบก ๒๖ สัปดาห์หรือ ๑,๐๔๐ ชัวโมง<br />

ตอนที ๒ ศึกษาทีโรงเรียนเหล่า<br />

ตอนที ๑ หมายเลขหลักสูตร ๗ – ช – ๑๑๑ ชกท. ๑๑๑ โดยมีความมุ่งหมายให้<br />

นักเรียนนายสิบทีสําเร็จการศึกษา<br />

๑. เป็ นครูฝึ กทหารได้<br />

ได้<br />

๒. มีความรู้ สามารถทีจะปฏิบัติหน้าทีเป็ นผู้นําหน่วยทหารขนาดเล็ก ในอัตรา ส.อ.ได้<br />

๓. มีความรู้พื นฐานเกียวกับอาวุธประจําหน่วยทหารราบ ระดับหมวดปื นเล็ก<br />

๔.เป็ นเจ้าหน้าทีเสมียนในกองบังคับการโดยสามารถพิมพ์ดีดและใช้งานคอมพิวเตอร์<br />

๕. มีพื นฐานการขับรถยนต์ทหาร<br />

๖. มีความรู้พื นฐานวิชาเหล่าทหารทีเลือกเข้ารับราชการ<br />

ระยะเวลาการศึกษา ๒๖ สัปดาห์ หรือ ๑,๐๔๐ ชัวโมง ดังนี<br />

๑. การฝึ กศึกษา ๒๒ สัปดาห์


๒<br />

๒. การฝึ กภาคสนาม ๓ สัปดาห์<br />

๓. เวลาเบ็ดเตล็ด ๑ สัปดาห์<br />

ศึกษาทีโรงเรียนนายสิบทหารบก ค่ายธนะรัชต์ อําเภอปราณบุรี จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์<br />

ตอนที ๒ หมายเลขหลักสูตร ๖ – ช – ๐๐๖ โดยมีความมุ่งหมาย ให้นักเรียนนาย<br />

สิบทีสําเร็จการศึกษา<br />

๑. มีความรู้ความสามารถ ปฏิบัติหน้าทีในส่วนกองบังคับการส่วนยิง ป.สนาม, หมู ่ ป.,<br />

หมู ่กระสุน ในอัตรา ส.อ.ได้<br />

๒. มีความรู้ความสามารถ ปฏิบัติหน้าทีในส่วนของหน่วยยิง ปตอ. ในอัตรา ส.อ.ได้<br />

๓. มีความรู้ความสามารถ ปฏิบัติหน้าทีเป็ นเจ้าหน้าทีหลักฐานทางระดับ ทางสูง และ<br />

เจ้าหน้าทีบันทึกหลักฐานใน ศอย.ได้<br />

๔. มีความรู้ความสามารถ ปฏิบัติหน้าทีเป็ นเจ้าหน้าทีในหมู ่ตรวจการณ์หน้าได้<br />

๕. มีความรู้ความสามารถปฏิบัติหน้าทีในชุดแผนที ป.ในอัตรา ส.อ.ได้<br />

๖. เป็ นผู้นําทีดีมีคุณธรรม มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ทรหด อดทนต่อการตรากตรํา<br />

ทํางานในหน้าทีตามภารกิจ<br />

ระยะเวลาศึกษา ๒๖ สัปดาห์ หรือ ๑,๐๔๐ ชัวโมง<br />

ศึกษาทีโรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ค่ายพหลโยธิน อําเภอเมือง<br />

จังหวัดลพบุรี<br />

ความสําคัญของปัญหา<br />

จากความมุ่งหมายของหลักสูตรดังกล่าว กองทัพบก มีความมุ่งหวังจากกําลังพล<br />

ประเภทนายทหารชั นประทวน ทีสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายสิบทหารบก มากพอสมควร<br />

นักเรียนนายสิบ เริ มต้นเรียนครึ งแรกของหลักสูตร ทีโรงเรียนนายสิบทหารบก ค่ายธนะรัชต์ อําเภอ<br />

ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ งเป็ นการฝึ กศึกษาขั นพื นฐานเบื องแรก เพือให้นักเรียน<br />

นายสิบ มีระเบียบวินัย มีความทรหด อดทน และทราบเรืองเกียวกับวิชาทหารขั นพื นฐาน สําหรับใน<br />

ครึ งหลังของ นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ จะมาเข้ารับการศึกษาต่อที โรงเรียน<br />

ทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ค่ายพหลโยธิน อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ซึ งจะเป็ นการเรียน


๓<br />

ทีเน้นหนักในวิชาเฉพาะของเหล่าทหารปื นใหญ่ ตามความมุ่งหมายทีกล่าวไว้แล้ว เมือจบการศึกษา<br />

จะมีการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ ของนักเรียนนายสิบ ทีจะเป็ นนายทหารชั นประทวน ซึ ง<br />

มักจะเกิดปัญหา คือเนืองจากการเลือกหน่วย จะให้นักเรียนนายสิบทีมีผลการศึกษาซึ งจัดลําดับที<br />

ตามผลการศึกษา เลือกหน่วยก่อน ตามลําดับทีของผลการศึกษา ซึ งผู้ทีได้คะแนนหรือลําดับทีดีกว่า<br />

ก็สามารถเลือกหน่วยได้ตามความต้องการของตนเองได้เป็ นส่วนใหญ่ ส่วนผู้ทีอยู่ในลําดับกลางๆ<br />

หรือท้ายๆ ก็มักจะได้หน่วยทีไม่ตรงกับความต้องการของตนเองมากนัก หรือบางครั งก็ได้หน่วยใน<br />

ลักษณะทีเพือนเลือกให้ คือเพือนเหลือหน่วยอะไรไว้ให้ ตนเองก็จําเป็ นต้องเลือก ซึ งมักไม่ตรงกับ<br />

ความต้องการของตนเองได้มีจํานวนมาก จะส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานหรือภารกิจของหน่วย<br />

หรือกองทัพบกได้ เพราะการทีนายทหารชั นประทวนเหล่านี จะสามารสนองตอบในการทํางานทีมี<br />

ประสิทธิผล ปัจจัยสําคัญประการหนึ งก็คือความพึงพอใจในตําแหน่งหน้าทีและหน่วยงานของ<br />

ตนเอง<br />

วัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />

๑. เพือหาแรงจูงใจทีส่งผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

ในการเลือกรับราชการในหน่วยของกองทัพบก ว่ามีอะไรบ้าง<br />

๒. เพือหาแนวทางทีดี และมีความเป็ นไปได้มากทีสุด ทีจะสามารถทําให้การดําเนิน<br />

กรรมวิธีในการเลือกหน่วย เพือเข้ารับราชการของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

เมือสําเร็จการศึกษา สําหรับเป็ นข้อเสนอแนะให้ใช้กับนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

ในรุ่นต่อไป<br />

คําถามการวิจัย<br />

๑. ภูมิลําเนาของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ มีผลกระทบต่อนักเรียน<br />

นายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ในการตัดสินใจเลือกหน่วยของกองทัพบก มากกว่าความ<br />

คาดหวังในความก้าวหน้าในการรับราชการหรือไม่<br />

๒. การดําเนินกรรมวิธี ในการเลือกหน่วยของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื น<br />

ใหญ่เป็ นอย่างไร ควรมีการปรับปรุงหรือเพิ มเติมอย่างไรบ้าง เช่น ควรแจ้งให้นักเรียนนายสิบทราบ<br />

แต่เนิ นล่วงหน้า ถึงตําแหน่งและหน่วย ทีจะเปิ ดให้นักเรียนนายสิบเลือกได้ ซึ งอาจใช้ข้อมูลทีมีอยู ่


๔<br />

หรือสถิติเดิมของหน่วยทีสามารถเปิ ดเผยได้ หรือโดยการประมาณการตําแหน่งทีน่าจะเปิ ดในปี<br />

ปัจจุบัน เพือให้นักเรียนนายสิบได้ทราบเป็ นข้อมูลใน การตัดสินใจและเตรียมตัวล่วงหน้า ควรมีการ<br />

จัดกลุ่มนักเรียนนายสิบทีมีความต้องการในการเลือกหน่วยตามความต้องการของตนเองเป็ นกลุ่มๆ<br />

และให้มีการซักซ้อมในการเลือกหน่วยอย่างน้อย ๒ ครั ง ก่อนจะทําการเลือกจริงในครั งที ๓<br />

ขอบเขตการวิจัย<br />

เป็ นการศึกษาเพือหาแรงจูงใจ ทีส่งผลกระทบให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหาร<br />

ปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ (๑/๕๑) ซึ งเริมการศึกษาตั งแต่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ และจะจบหลักสูตรใน ๓๐<br />

เมษายน ๒๕๕๒ ตัดสินใจเลือกรับราชการ ในหน่วยของกองทัพบก เมือสําเร็จการศึกษา ห้วงเวลา<br />

ในการเก็บข้อมูล ตั งแต่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ถึง ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒ ซึ งจะใช้แบบสอบถาม<br />

ความคิดเห็นและการสัมภาษณ์ เพือต้องการทราบรายละเอียดในเชิงลึกและนอกเหนือจาก<br />

แบบสอบถามความคิดเห็น<br />

ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการวิจัย<br />

นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ เป็ นกําลังพลทีจะเป็ นนายทหารชั น<br />

ประทวน ทีจะเป็ นกําลังหลักของเหล่าทหารปื นใหญ่ เมือเรียนจนสําเร็จหลักสูตรก็จะเป็ นขั นตอน<br />

การดําเนินกรรมวิธีให้นักเรียนนายสิบเลือกหน่วยทีตนเองมีความประสงค์จะไปรับราชการ ซึ งเป็ น<br />

การเริ มต้นของชีวิตนายทหารชั นประทวนเป็ นครั งแรก มีคํากล่าวว่าการเริ มต้นทีดีย่อมสําเร็จไป<br />

แล้วครึ งหนึ ง ซึ งสามารถเปรียบกับนักเรียนนายสิบได้ว่า ถ้าเขาเหล่านั นสามารถเลือกรับราชการ<br />

ในหน่วยทีปรารถนาได้ตามต้องการแล้ว สิ งแรกทีจะเกิดก็คือเกิดความพึงพอใจในตําแหน่ง<br />

หน้าทีการงานของตนเอง ซึ งจะส่งผลให้เกิด ขวัญ กําลังใจ ความภาคภูมิใจ และความคิดในแง่<br />

บวกในตําแหน่งหน้าทีการงานของตนเองตามมา จะทําให้การปฏิบัติงานตามภารกิจ เป็ นไปอย่าง<br />

ได้ประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพจะเกิดผลดีต่อหน่วยและกองทัพบกในภาพรวม


๕<br />

นิยามศัพท์<br />

ชกท. คือ ความชํานาญการทางทหารทีใช้แบ่งประเภทและการทดสอบ การแบ่งกําลัง<br />

พล การฝึ กกําลังพล การจัดการกําลังพล ให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ<br />

นายทหารชั นประทวน คือ ข้าราชการทหารทีมียศตั งแต่ สิบตรี ถึง จ่าสิบเอก<br />

โรงเรียนเหล่า คือ โรงเรียนทหารบกทีสอนเน้นหนักทีวิชาทางด้านเทคนิคเฉพาะของ<br />

แต่ละเหล่า เช่น โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ จะสอนเน้นหนักในวิชาชีพของ<br />

ทหารปื นใหญ่<br />

ป.สนาม คือ ปื นใหญ่ทียิงจากพื นสู ่พื น<br />

ปตอ. คือ ปื นใหญ่ต่อสู้อากาศยานทียิงจากพื นสู ่อากาศ


บทที ๒<br />

แนวความคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมทีเกียวข้อง<br />

การวิจัย เรือง แรงจูงใจทีมีผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื น<br />

ใหญ่ ในการเลือกรับราชการในหน่วยของกองทัพบกผู้วิจัยได้ดําเนินการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที<br />

เกียวข้อง ตามลําดับ ดังนี<br />

๑. พฤติกรรม<br />

๒. ความต้องการของมนุษย์<br />

๓. ความหมายของแรงจูงใจและการจูงใจ<br />

๔.ทฤษฎีแรงจูงใจ<br />

๕.เทคนิคการสร้างแรงจูงใจในการทํางาน<br />

๖.ประโยชน์ของการสร้างแรงจูงใจ<br />

๗.งานวิจัยทีเกียวข้อง<br />

พฤติกรรม<br />

ธรรมชาติของคนเป็ นเรืองทียุติหรือหาข้อสรุปทีตายตัวไม่ได้ ทั งนี ยังขึ นอยู่กับ<br />

ปัจจัยปรุงแต่ง ทัศนะในเรืองธรรมชาติของคนจะเป็ นอย่างไรนั น พฤติกรรมของคนทีเป็ นอยู ่ย่อม<br />

ส่งผลให้เห็นธรรมชาติของแต่ละคนและมีผลต่อการทํางาน ในทางจิตวิทยาถือว่า “งานเป็ นสิ ง<br />

สําคัญทีทําให้มนุษย์รู้จักตนเอง และนับถือตนเอง” ดังนั นถ้ามนุษย์ได้ทํางานตรงตามความรู้<br />

ความสามารถของตนเอง ก็จะทําให้มนุษย์มีความสุขกับการทํางาน และทําให้ได้ผลงานทีดีส่งผล<br />

ต่อความเจริญก้าวหน้าต่อตนเองและองค์การ ดังนั นจึงจําเป็ นจะต้องเรียนรู้และทําความเข้าใจ<br />

พื นฐานธรรมชาติของมนุษย์ในเรืองของพฤติกรรม ความแตกต่างระหว่างบุคคลและความต้องการ<br />

ของมนุษย์ เพือทําให้ทราบลักษณะโดยทั วๆ ไปของมนุษย์ทีเราเกียวข้องสัมพันธ์ด้วย และนําความรู้<br />

พื นฐานไปประยุกต์ใช้ในการเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ทีดีต่อกันในการทํากิจกรรมต่างๆ อย่าง<br />

ราบรืนต่อไป


๗<br />

<br />

ด้วยเหตุทีคนเป็ นสิ งมีชีวิตจิตใจ มีความรู้สึกนึกคิด อากัปกิริยาทีแสดงออกจึงเป็ นสิ งที<br />

หลีกเลียงไม่ได้ จนเราไม่เคยสงสัยเลยว่าทําไมจึงทําอย่างนั นทําอย่างนี นักจิตวิทยาถือว่าอากัปกิริยา<br />

การแสดงออกหรือทีเรียกว่า “พฤติกรรม” นั น มีสาเหตุและมีความเกียวพันกันกับความต้องการ<br />

(Needs) อันเป็ นแรงขับของแต่ละคน ดังนั นเมือมนุษย์มีความต้องการก็จะพยายามทีจะสนองความ<br />

ต้องการของตนเองด้วยการกระทําหรือพฤติกรรมต่างๆ ทีแตกต่างกันออกไป จากการศึกษา คําว่า<br />

“พฤติกรรม” ตามความหมายของนักจิตวิทยา แบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะคือ<br />

๑. พฤติกรรมทีสังเกตได้หรือพฤติกรรมภายนอก หมายถึง พฤติกรรมทีผู้อืนสามารถ<br />

สังเกตได้โดยอาศัยประสาทสัมผัสต่างๆ หรือบางครั งเรียกว่า พฤติกรรมเปิ ดเผยเป็ นพฤติกรรมที<br />

สามารถมองเห็นได้ เช่น การเดิน การพูด การยิม ตลอดจนการใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ทีสังเกตเห็นได้<br />

ซึ งบุคคลจะแสดงพฤติกรรมให้เป็ นไปตามเป้ าหมายทีตนต้องการ<br />

๒. พฤติกรรมทีสังเกตไม่ได้หรือพฤติกรรมภายใน หมายถึงการทํางานของอวัยวะ<br />

ต่างๆ ภายในร่างกาย รวมทั งความรู้สึกนึกคิดและอารมณ์ทีถูกควบคุมอยู ่ภายในเป็ นพฤติกรรมทีไม่<br />

สามารถสังเกตเห็น หรือบางครั งเรียกว่า พฤติกรรมปกปิ ด ตัวอย่างเช่น ความคิด เจตคติ ค่านิยม<br />

ความเชือ คุณธรรม การตัดสินใจ ความรู้สึก เป็ นต้น ซึ งนักจิตวิทยาและนักวิทยาศาสตร์ได้สร้าง<br />

เครืองมือเพือช่วยตรวจสอบ หรือศึกษาพฤติกรรมภายในของมนุษย์ได้ นอกจากนั นแล้วนักจิตวิทยา<br />

ยังลงความเห็นว่า พฤติกรรมของคนเราทีแสดงออกในลักษณะหนึ งลักษณะใดนั นทฤษฎีว่าด้วยสิ ง<br />

เร้าและการตอบสนองอ้างว่าพฤติกรรมเกิดขึ นเพราะมีสิ งเร้าไปเร้า พฤติกรรมจึงเป็ นผลของการ<br />

ตอบสนองของแรงขับทีเกิดขึ นทั งภายนอกและภายใน เพราะเมือเกิดความหิวต้องบําบัดความหิว<br />

พฤติกรรมการแสดงออกจึงเป็ นผลทีเกิดจากจิตใต้สํานึกและจิตสํานึก กล่าวคือ กระทําลงไปโดยไม่<br />

รู้และทั งๆ ทีรู้<br />

ปฬาณี ฐิติวัฒนา (๒๕๔๐:๑๘) ได้ให้ความหมายของคําว่า “พฤติกรรม” คืออาการ<br />

หรือการแสดงออกมาทางนํ าเสียงรัว เร็ว ช้า สั นเครือ หรือโกรธ น้อยใจ หรือบางครั งอาจไม่สามารถ<br />

เห็นได้เช่นความคิดจินตนาการ ทั งหมดเหล่านี เกิดขึ นเพือเป็ นการตอบสนองต่อสิ งเร้า หรือแรง<br />

กระตุ้นในสถานการณ์ต่างๆ กัน<br />

ถวิล ธาราโภชน์ (เอกสารอัดสําเนา:๔) กล่าวว่า พฤติกรรม (Behavior)<br />

หมายถึง การกระทําทีแสดงออกมาทั งทางกายและทางสมอง ซึ งอาจจะเป็ นไปโดยรู้สึกตัว หรือไม่<br />

รู้สึกตัว แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ พฤติกรรมภายนอก เช่น การเดิน การร้องไห้ การ<br />

กระตุกของกล้ามเนื อ การเต้นของหัวใจเป็ นต้นและพฤติกรรมภายใน เช่น การคิด ความรู้สึก การ<br />

เข้าใจ ความกลัว เป็ นต้น


่<br />

๘<br />

ธรรมรส โชติกุญชร (๒๕๒๔: ๔๒) ให้ทัศนะว่า ความเชือในข้ออ้างทีว่า<br />

พฤติกรรมเกิดขึ นเพราะสัญชาตญาณลดน้อยถอยลงไป การอ้างสัญชาตญาณเป็ นการอ้างทีไม่<br />

สามารถให้เหตุผลได้ พฤติกรรมเกิดขึ นเพราะการจูงใจทีจะได้รับการตอบสนองความต้องการโดยมี<br />

เป้ าหมายเสมอ ด้วยเหตุนี ทางจิตวิทยาและความเชือในทางศาสตร์มนุษยสัมพันธ์ จึงยอมรับกันว่า<br />

พฤติกรรมคือการแสดงออกซึ งความต้องการของคนและกล่าวกันว่า มนุษย์มีนิสัยหรือสันดาน<br />

ทีฝังลึกอยู่ในจิตใจด้วยกันทุกคน บางคนแสดงออกมาทางพฤติกรรมทีสังเกตเห็นได้ชัด หรือบางคน<br />

ก็เก็บกดไว้ ซึ งวิจิต อาวุกุล (ม.ป.ป.: ๕๖) กล่าวว่า มนุษย์มีธรรมชาติทีน่าศึกษาดังนี<br />

๑. มีความอิจฉาริษยาและต่อต้านผู้อืนทีดีกว่า เหนือกว่า<br />

๒. มีสัญชาตญาณแห่งการทําลาย ชอบความหายนะ เช่น ชอบดูไฟไหม้บ้านมากกว่า<br />

การสร้างบ้าน ชอบดูรถชนกันมีคนบาดเจ็บ<br />

๓. ต่อสู้ ต่อต้านต่อการเปลียนแปลง<br />

๔. มีความต้องการทางเพศ<br />

๕.มีความหวาดกลัวภัยต่างๆ อิทธิพลจากผู้มีอํานาจ ภัยธรรมชาติ ภูตผีปี ศาจ ไสย<br />

ศาสตร์ อยากกระทําทุกสิ งทุกอย่างเพือให้ตนพ้นภัย<br />

๖. มีความกลัวความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน ความยากลําบาก ความตาย<br />

๗. มีความโหดร้ายทารุณ ป่ าเถือน ชอบซํ าเติม<br />

๘. ชอบทําอะไรตามสะดวกสบาย มักง่าย ไม่ชอบระเบียบบังคับ<br />

๙.ชอบความตืนเต้น หวาดเสียว ผจญภัย ท่องเทียว ชอบมีประสบการณ์ในชีวิต<br />

แปลกๆ ใหม่ๆ<br />

จากความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่า พฤติกรรม คือ กิจกรรมการกระทําหรือกิริยาทุก<br />

อย่างของมนุษย์ในสถานการณ์ต่างๆ ไม่ว่าบุคคลนั นจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม และบุคคลอืนจะ<br />

สังเกตการณ์กระทํานั นได้หรือไม่ก็ตาม ดังนั นหากเรารู้สาเหตุ รู้ความต้องการ อันเป็ นแรงขับของ<br />

พฤติกรรม เราก็ย่อมควบคุมเปลียนแปลงพฤติกรรมได้ กล่าวคือ ควบคุมไม่ให้เกิดพฤติกรรมทีไม่<br />

ต้องการ และให้เกิดพฤติกรรมทีต้องการ หรือเปลียนแปลงพฤติกรรมให้เป็ นพฤติกรรมทีเราต้องการ<br />

ดังนั นศาสนาทุกศาสนา จึงมีคําสอนให้มนุษย์ละเว้นสิ งทีประพฤติผิดติดมาจนเป็ น<br />

นิสัย เป็ นสันดานของมนุษย์ เช่น มีศีลเป็ นข้อห้ามว่า ห้ามฆ่าสัตว์ และมีธรรมเป็ นข้อปฏิบัติให้มีใจ<br />

เมตตากรุณา เอื อเฟื อ เป็ นต้น แม้กระนั นเราก็ยังพบสันดานเดิมของมนุษย์ทีแสดงออกมาให้เห็นอยู<br />

เสมอ เพราะบางคนก็ละเว้นได้ เลิกได้ บางคนก็ละเว้นไม่ได้ บางคนก็ละเว้นได้มากบ้างน้อยบ้าง<br />

ต่างกัน จึงทําให้มนุษย์มีความแตกต่างกัน ดํารงศักดิ ชัยสนิท และสุนี เลิศแสวงกิจ (๒๕๓๘:๑๗)


๙<br />

ได้กล่าวถึงธรรมชาติของมนุษย์ในแนวความคิดทางศาสนาว่า มีนักปรัชญาได้ให้ทัศนะเกียวกับ<br />

ธรรมชาติของมนุษย์ไว้หลายประเด็นว่า<br />

๑. มนุษย์เกิดพร้อมกับความอยากเป็ นพื นฐาน ความอยากได้ ความอยากเป็ นและ<br />

ความไม่อยากเป็ น<br />

๒. มนุษย์เป็ นคนเห็นแก่ตัว เอาแต่ใจตนเอง เข้าข้างตนเอง แข่งขันชิงความ<br />

ได้เปรียบ โอ้อวด โหดร้าย<br />

๓. มนุษย์เกิดมาดีแต่กําเนิด แต่มาเปลียนนิสัยใจคอจากสิ งแวดล้อม<br />

๔. มนุษย์คือผู้มีจิตใจสูงแต่ก็ยังมีส่วนบกพร่องทีจะต้องเรียนรู้เพือแสวงหาวิธีการ<br />

ดําเนินชีวิต<br />

นอกจากการศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ในแง่ของพฤติกรรม ตามแนวคิดดังทีกล่าว<br />

มาแล้วยังมีการศึกษาในแนวทางอืนๆ อีก เช่น แนวความคิดของนักสังคมวิทยา แนวความคิดของ<br />

นักจิตวิทยาและแนวความคิดของนักมานุษยวิทยา เป็ นต้น จะเป็ นแนวความคิดทางด้านไหนก็ตาม<br />

การศึกษาธรรมชาติของมนุษย์จะสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการสร้างความเข้าใจ และความ<br />

สัมพันธ์อันดีระหว่างมนุษย์ด้วยกันได้<br />

ความแตกต่างระหว่างบุคคล<br />

ความเชือพื นฐานทีจะช่วยให้เข้าใจตนเองและเข้าใจผู้อืนได้ดีก็คือ ความเชือว่าคนเรา<br />

นั นมีความแตกต่างกันทุกๆ ด้าน ทั งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึก ตลอดจนด้าน<br />

บุคลิกภาพ ค่านิยม และความเชือ ซึ งถือว่าเป็ นความแตกต่างระหว่างบุคคล ถ้าเรามีความเข้าใจและ<br />

ยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ จะช่วยให้เราเข้าใจธรรมชาติและพฤติกรรมทีมนุษย์<br />

แสดงออกมามากยิ งขึ น ซึ งจะทําให้สามารถปรับตัวอยู ่ร่วมกับผู้อืนในสังคม หรือในการทํางานได้<br />

อย่างมีความสุข นอกจากนั น พรรณราย ทรัพยะประภา (๒๕๓๑: ๑๑) กล่าวว่า คนเราทั งหญิงและ<br />

ชายต่างก็มีความรู้ความสามารถมีประสบการณ์ทางการศึกษาเล่าเรียน และการทํางานแตกต่างกัน<br />

ความแตกต่างเหล่านี มีอิทธิพลต่อความรู้สึกนึกคิดและต่อการแสดงพฤติกรรมต่างๆ ของคน มีผลทํา<br />

ให้คนแต่ละคนมีเอกลักษณ์ประจําตัวของเขาเอง เป็ นลักษณะจําเพาะทีไม่เหมือนใคร ปัจจัยสําคัญที<br />

ทําให้คนเราแตกต่างกันได้แก่ พันธุกรรมและสิ งแวดล้อม ซึ งจะมีอิทธิพลต่อการกําหนด<br />

บุคลิกลักษณะของบุคคล


๑๐<br />

พันธุกรรม หมายถึง สิ งทีได้รับการถ่ายทอดมาจากสายเลือดของบิดามารดา ถ่ายทอด<br />

มาตั งแต่บรรพบุรุษ ปู ่ ย่า ตา ยาย เรือยมาจนถึงลูกหลาน สิ งทีได้รับการถ่ายทอดมาจากพันธุกรรม<br />

จากยีนส์ของพ่อแม่ เช่น รูปร่าง เพศ สติปัญญา อารมณ์ นิสัย ความถนัด สุขภาพ หมู ่เลือด ซึ งสิ ง<br />

ต่างๆ ดังกล่าวนั นได้รับการถ่ายทอดมากบ้างน้อยบ้าง มีผลทําให้มนุษย์มีความแตกต่างกันระหว่าง<br />

บุคคล ดังที อํานวย แสงสว่าง (๒๕๔๔: ๓๓) กล่าวไว้ สรุปได้ดังนี<br />

๑. รูปร่าง (Physical Appearance) สิ งทีได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ได้แก่<br />

ลักษณะโครงสร้างของร่างกายทีมีขนาดแตกต่างกันระหว่างบุคคล เช่น ขนาดใหญ่ ขนาดปานกลาง<br />

ขนาดเล็ก ความสูง ความอ้วน ความผอม ลักษณะสีของนัยน์ตา เช่น สีดํา สีนํ าตาล สีฟ้ า ลักษณะ สี<br />

ผิว เช่น สีดํา สีเหลือง สีขาว เป็ นต้น<br />

๒. เพศ (Sex) เป็ นลักษณะทีถ่ายทอดได้จากพันธุกรรมทางฝ่ ายบิดาหรือมารดา ทั งนี<br />

บุตรจะเป็ นเพศชายหรือเพศหญิง ย่อมขึ นอยู่กับโครโมโซม<br />

๓. สติปัญญา (Intelligence ) ระดับความสามารถทางสมองของมนุษย์ เป็ นสิ งทีได้รับ<br />

การถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ถ้าพ่อแม่มีสติปัญญาฉลาด ย่อมมีโอกาสดีทีจะถ่ายทอดระดับ<br />

สติปัญญาดีไปสู ่ลูกได้มากกว่าพ่อแม่ทีมีสติปัญญาไม่ฉลาด บุคคลทีมีสติปัญญาดี ย่อมมีโอกาสที<br />

จะเลือกศึกษาในสาขาวิชาชีพทีตนมีความสนใจ มีความถนัด และมีศักยภาพทางด้านสติปัญญาทีจะ<br />

ศึกษาได้จนสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเป็ นต้น<br />

๔. อารมณ์ (Emotion) คือ การแสดงออกทางด้านความรู้สึกเกียวกับพฤติกรรม<br />

กิริยามารยาท ในการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลอืน อารมณ์เป็ นสิ งทีได้รับการถ่ายทอดมาจาก<br />

พันธุกรรมส่วนหนึ ง อีกส่วนหนึ งมาจากอิทธิพลของสิ งแวดล้อม<br />

๕. นิสัย (Habit) เป็ นสิ งทีถ่ายทอดได้จากพันธุกรรมส่วนหนึ ง อีกส่วนหนึ งมาจาก<br />

อิทธิพลสิ งแวดล้อม นิสัยเป็ นพฤติกรรมของบุคคล มีทั งนิสัยดี มีความขยัน มีความอดทน มีความคิด<br />

ริเริมสร้างสรรค์<br />

๖. หมู่เลือด (Blood Group) เป็ นสิ งทีได้รับการถ่ายทอดมาจากพันธุกรรมของพ่อแม่<br />

โดยการสืบสายโลหิต ลูกทีเกิดมาจะมีหมู ่เลือดเป็ นกลุ่มเดียวกับพ่อหรือแม่ก็ได้<br />

๗. สุขภาพ (Health) เด็กทีเกิดจากพ่อแม่ทีมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ก็ย่อมมีสุขภาพ<br />

แข็งแรงสมบูรณ์เช่นเดียวกับพ่อแม่ สุขภาพของคนจึงแตกต่างกัน นอกจากนั นยังมีโรคบางอย่างที<br />

สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคไต โรคหัวใจ เป็ นต้น<br />

จากลักษณะทีถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรมดังกล่าว เราจึงควรเรียนรู้ทีจะยอมรับในคุณค่า<br />

ของความเป็ น “คน” ไม่ว่าจะเป็ นหญิงหรือเป็ นชาย ไม่ว่าจะฉลาดหรือไม่ฉลาด ไม่ว่าจะหน้าตาดี


๑๑<br />

หรือไม่ดี ฯลฯ เพราะว่าคนเราเลือกไม่ได้ ถ้าเราเลือกได้อย่างแท้จริงเราก็คงเลือกทีจะเกิดมาเป็ นคน<br />

สวยหรือคนหล่อ ฉลาด และรํ ารวย เราคงไม่เลือกทีจะเกิดมาเป็ นคนขี เหร่ เป็ นคนทีไม่ฉลาด และ<br />

ยากจน<br />

สิงแวดล้อม<br />

ปัจจัยทางด้านสิ งแวดล้อม หมายถึง สิ งทีอยู ่รอบๆ ตัวเราทั งส่วนทีเป็ นลักษณะทาง<br />

กายภาพ เช่น สิ งแวดล้อมทางด้านทีอยู ่อาศัย โรงเรียน ชุมชนหรือทีทํางาน ลักษณะทางสังคมและ<br />

วัฒนธรรม เป็ นต้น สิ งแวดล้อมทีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ได้แก่ สิ งแวดล้อมภายในร่างกาย<br />

ของมนุษย์ อันได้แก่ การทํางานของระบบต่างๆ เช่น ระบบประสาท ระบบฮอร์โมน ระบบการ<br />

ไหลเวียนของโลหิต ระบบย่อยอาหาร ฯลฯ ความแปรปรวนของระบบต่างๆ ในร่างกายย่อมมี<br />

ผลกระทบต่อการแสดงพฤติกรรมของเราด้วย เช่น การเปลียนแปลงระบบฮอร์โมนในร่างกายของ<br />

ผู้หญิงทีเข้าสู ่วัยกลางคนทําให้เกิดอาการหงุดหงิด ขี โมโห หรืออารมณ์เปลียนแปลงง่ายผิดปกติ เรา<br />

จึงควรทําความเข้าใจในปัจจัยนี ด้วยสภาพแวดล้อมเปรียบเสมือนสิ งทีมีอิทธิพลภายนอก ส่วน<br />

พันธุกรรมเป็ นอิทธิพลภายในทีทําให้บุคคลแตกต่างกัน ดังนั นจะเห็นได้ว่า สภาพแวดล้อมจะมี<br />

อิทธิพลต่อบุคคลทั งก่อนเกิดและหลังเกิดดังทีคณาจารย์ภาควิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยรามคําแหง (๒๕๒๐: ๕๕–๕๖) ได้กล่าวไว้สรุปได้ดังนี<br />

๑. สภาพแวดล้อมก่อนเกิด หมายถึง สภาพภายในมดลูกของมารดา มีอิทธิพลสําคัญใน<br />

การกําหนดพัฒนาการของแต่ละคน สภาพแวดล้อมก่อนเกิด เช่น การรับประทานอาหารของมารดา<br />

การขาดวิตามิน สุขภาพของแม่ และอารมณ์ของแม่ เป็ นต้น ตัวอย่าง ถ้าแม่เป็ นหัดเยอรมันในระยะ<br />

ตั งครรภ์ ๓ หรือ ๔ เดือน อาจทําให้ลูกหูหนวก ลักษณะโครงสร้างหัวใจผิดปกติ เป็ นต้อกระจก<br />

ฟันไม่ครบ มีศีรษะเล็กผิดปกติและปัญญาอ่อน ถ้าแม่เป็ นหลังตั งครรภ์เดือนที ๕ จะไม่มีผลต่อ<br />

ทารก เพราะร่างกายของทารกส่วนต่างๆ สร้างเรียบร้อยแล้ว หรือการสูบบุหรีของมารดาส่วนมากจะ<br />

ไปทําอันตรายทารก จากหลักฐานพบว่าการสูบบุหรีจะมีผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจ และภาวะ<br />

ทางเคมีในเลือดของทารก หรือเด็กทีเกิดจากมารดาทีมีความวิตกกังวลสูงขณะตั งครรภ์จะมี<br />

พัฒนาการทางสติปัญญาตํ า มีอารมณ์ไม่มั นคง เป็ นต้น<br />

๒. สภาพแวดล้อมขณะเกิดและหลังเกิด หรือผลของการพัฒนาการทีผิดปกติ ซึ ง<br />

ขณะทีทารกเกิดสมองหรือระบบประสาทอาจได้รับอันตราย เนืองจากการขาดออกซิเจน หรือจาก<br />

การกดบีบของช่องคลอด ทําให้ไม่สามารถเจริญเติบโตเท่าทีพันธุกรรมกําหนดไว้


๑๒<br />

๓. ทัศนะคติของพ่อแม่ทีมีต่อเด็กทั งก่อนและหลังเกิด จะมีผลต่อบุคลิกภาพและการ<br />

ปรับตัวของเด็ก เช่น หวังจะได้ลูกตามเพศทีตนคิดไว้ ความผิดหวังทําให้ไม่ยอมรับลูก การปฏิบัติ<br />

ต่อลูกจะทําให้ลูกทราบและอาจเกิดความรู้สึกไม่ชอบพ่อแม่ และไม่สามารถมีความสัมพันธ์ทีดีกับ<br />

พ่อแม่ หรือต้องการจะได้ลูกตามแบบทีตนคิดหรือหวังไว้ เป็ นต้น<br />

๔. การขาดพ่อหรือแม่ พบว่า ทารกทีถูกแยกจากแม่เป็ นเวลานานนั น มีผลต่อ<br />

พฤติกรรมและความเป็ นอยู ่ ลักษณะทางกายและพฤติกรรมของเด็กทีอยู ่ตามสถาบันเลี ยงเด็ก ซึ งเป็ น<br />

เด็กทีได้รับความสนใจน้อยกว่าเด็กอืน เด็กทีอายุน้อยกว่า ๒ ขวบ จะร้องไห้มาก ไม่กล้าเข้าหมู ่คน<br />

ยิงกว่านั นยัง บั นทอนร่างกายและจิตใจอีกด้วย คือ นํ าหนักตัวลดลง ตัวเล็ก ติดโรคได้ง่ายและมี<br />

พัฒนาการทางทักษะช้า<br />

๕. การเรียนรู้ทางสังคม ครอบครัว โรงเรียน สังคมและวัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อ<br />

พัฒนาการและบุคลิกภาพของเด็ก เด็กจะเรียนรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางสังคม จากการ<br />

อบรมของพ่อแม่ ครู อาจารย์ จากการเลียนแบบบุคคลทีใกล้ชิดหรือห่างไกล ซึ งจะเป็ นไปโดยตั งใจ<br />

หรือไม่ตั งใจ นักจิตวิทยาหลายคนเชือว่า ลักษณะของสิ งแวดล้อมทีสําคัญทีมีอิทธิพลต่อการพัฒนา<br />

บุคลิกภาพ คือ วิธีการทีบุคคลได้รับการอบรมเลี ยงดูในวัยเด็ก<br />

นักจิตวิทยาได้พยายามศึกษาว่า ระหว่างพันธุกรรมและสิ งแวดล้อม ปัจจัยใดมี<br />

ความสําคัญมากกว่ากัน ปัจจุบันนี ยังหาข้อสรุปไม่ได้ เพียงแต่ยอมรับว่าปัจจัยทั ง ๒ ประการมี<br />

ความสําคัญพอๆ กันจะร่วมกันในการกําหนดบุคลิกลักษณะของบุคคล แต่มีอิทธิพลไม่เท่ากันขึ นอยู่<br />

กับลักษณะแต่ละอย่าง เช่น ทางด้านสติปัญญา พรรณราย ทรัพยะประภา (๒๕๓๑: ๑๓) กล่าวว่า<br />

พันธุกรรมเป็ นตัวกําหนดระดับสติปัญญา แต่สิ งแวดล้อมจะเป็ นตัวสนับสนุนให้สติปัญญาพัฒนา<br />

ต่อไป หรือเป็ นตัวสกัดกั นไม่ให้สติปัญญาพัฒนาไปตามทีควรจะเป็ นหรือถ้าเป็ นลักษณะทางกาย<br />

พันธุกรรมจะมีอิทธิพลมากกว่าสิ งแวดล้อม และถ้าเป็ นลักษณะทางสังคมหรืออารมณ์ สิ งแวดล้อม<br />

จะมีอิทธิพลมากกว่า เป็ นต้น<br />

เมือคนเรามีความแตกต่างกัน ทั งทางด้านพันธุกรรมและสิ งแวดล้อมตามทีกล่าวมาแล้ว<br />

จึงเป็ นไปไม่ได้ทีคนเราแต่ละคนจะเหมือนกัน มนุษย์มีลักษณะเฉพาะตัวทีไม่เหมือนกัน การที<br />

มนุษย์มีความแตกต่างกันจะเป็ นผลดีต่อการทํางาน เพราะสามารถนําความรู้ความสามารถและ<br />

ลักษณะทีแตกต่างกันไปปฏิบัติหน้าทีต่างๆ ในองค์การได้ เป็ นการแบ่งงานกันทําตามความรู้<br />

ความสามารถ ตามความถนัด และความสนใจ ซึ งจะเป็ นผลดีต่อประสิทธิภาพของงาน<br />

นอกจากนั นแล้วการยอมรับธรรมชาติความแตกต่างของแต่ละคน จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจคน


๑๓<br />

อืนมากขึ น ส่งผลให้สามารถปรับตัวอยู ่ในสังคม และสามารถทํางานร่วมกับบุคคลอืนได้อย่างมี<br />

ความสุข ประสบความสําเร็จ<br />

ความต้องการของมนุษย์<br />

ความต้องการ(Needs) คือ สภาพทีอินทรีย์ขาดสมดุล ซึ งจะก่อให้เกิดแรงผลักดันให้<br />

บุคคลแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ ง เพือกลับเข้าสู ่สมดุลตามเดิม เช่น คนทีร่างกายขาดอาหาร<br />

ท้องว่างก็จะเกิดความต้องการอาหาร ซึ งเป็ นแรงผลักดันให้ทําการอย่างใดอย่างหนึ งเพือให้ได้กิน<br />

อาหาร คนทีถูกทอดทิงเปล่าเปลียวเขาก็จะเกิดความต้องการความรัก ความสนใจจากผู้อืน ซึ งเป็ น<br />

แรงผลักดันให้คนๆ นั น แสวงหาความรักความสนใจจากผู้อืนด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ ง เป็ นต้น<br />

ความต้องการของมนุษย์เป็ นสิ งสําคัญ ความต้องการในทีนี จะขอกล่าวถึงความต้องการพื นฐานของ<br />

มนุษย์ อันเป็ นองค์ประกอบทีมีความสําคัญในการให้เรารู้จักตัวเองเข้าใจตัวเอง ทั งนี จะขอกล่าวถึง<br />

ความต้องการพื นฐานของมนุษย์ตามแนวคิดของ มาสโลว์ (อ้างใน เมธี ปิ ลันธนานนท์,ม.ป.ป.:<br />

๑๕๓–๑๖๐) ดังนี<br />

แนวความคิดเกียวกับความต้องการของมาสโลว์ (Abraham H. Maslow) มาสโลว์ เป็ น<br />

นักจิตวิทยากลุ่มมนุษย์นิยม (Humanistic) ทฤษฎีของมาสโลว์ยึดหลักสําคัญทีว่า... พฤติกรรมของ<br />

มนุษย์สามารถอธิบายได้ ทฤษฎีดังกล่าวเป็ นทีรู้จักและใช้กันอย่างกว้างขวางในนามของ “Maslow<br />

Hierarchy of Needs” โดยมาสโลว์ได้ตั งสมมติฐานเกียวกับความต้องการของบุคคลไว้ดังนี<br />

๑. มนุษย์ทุกคนมีความต้องการ และความต้องการนี จะมีอยู ่ในตัวมนุษย์ตลอดไปไม่มีที<br />

สินสุด หลักข้อนี จะเห็นได้ชัดเจนว่า มนุษย์ไม่เคยหมดความต้องการ เมือมนุษย์สมใจในความ<br />

ต้องการอย่างหนึ งแล้วก็ยังมีความต้องการต่อไปในลําดับทีสูงขึ นดีขึ นและมากขึ น<br />

๒. อิทธิพลใดๆ จะมีผลต่อมนุษย์ก็ต่อเมือมนุษย์กําลังอยู ่ในความต้องการลําดับนั นๆ<br />

เท่านั น หากความต้องการในลําดับนั น ได้รับการตอบสนองจนเป็ นทีพอใจแล้ว ความต้องการนั นก็<br />

หมดความหมายไปและไม่มีอิทธิพลต่อบุคคลนั น แต่ขณะเดียวกันความต้องการลําดับต่อไปทียัง<br />

ไม่ได้รับการตอบสนองก็จะมีอิทธิพลต่อบุคคลนั นต่อไป<br />

๓. ความต้องการของมนุษย์จะมีเป็ นลําดับขั นจากตํ าไปหาสูง เมือความต้องการขั นตํ า<br />

ได้รับการตอบสนองจนเป็ นทีพอใจแล้ว ความต้องการลําดับสูงขึ นไปก็จะตามมา


๑๔<br />

ความต้องการ<br />

ความสําเร็จในชีวิต<br />

(Self – Actualization Needs)<br />

ความต้องการได้รับการยกย่อง<br />

(Self Esteem Needs)<br />

ความต้องการทางสังคม<br />

(Social or Belonging Needs)<br />

ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs)<br />

ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs)<br />

รูปแสดงลําดับขั นความต้องการตามทฤษฎีของมาสโลว์<br />

เมือความต้องการอย่างหนึ งได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการอย่างอืนใน<br />

ระดับสูงขึ นจะเกิดขึ นมาทันที ลําดับความต้องการของมาสโลว์มีดังนี<br />

๑. ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs) ความต้องการทางร่างกายเป็ น<br />

ความต้องการทีมาก่อนความต้องการอืนๆ ความต้องการทางร่างกายนี ได้แก่ ความต้องการอาหาร<br />

นํ า ออกซิเจน การนอนหลับ ความต้องการทางเพศ ความอบอุ่นทางร่างกาย เป็ นต้น ถ้าบุคคลยัง<br />

ขาดและไม่สามารถได้รับความพอใจจากความต้องการลําดับนี บุคคลก็จะไม่สนใจทีจะใฝ่ หาความ<br />

ต้องการในลําดับสูงขึ น ในบางหน่วยงานหรือบางองค์การได้ให้ความสนใจ และใช้แรงขับนี จูงใจ


๑๕<br />

บุคลากรของตนในการทํางาน เช่น ให้ความช่วยเหลือด้านการซื ออาหารทีจําเป็ นในราคาถูก บ้างก็มี<br />

การแจกข้าวสาร บ้างก็ให้เงินช่วยเหลือพิเศษในคราวฉุกเฉิน เป็ นต้น ซึ งแสดงให้เห็นว่าหน่วยงาน<br />

หรือองค์การเหล่านี ตระหนักดีว่าองค์การจะบรรลุถึงความสําเร็จตามเป้ าหมายมากน้อยเพียงใด ย่อม<br />

ขึ นกับความร่วมมือร่วมใจสมัครสมานกันของบุคลากร และความร่วมมือร่วมใจเหล่านี จะเกิดขึ นได้<br />

ก็ต่อเมือผู้บริหารเข้าใจถึงความต้องการของมนุษย์และเลือกใช้วิธีการจูงใจให้บุคลากรเกิดความ<br />

พอใจ และเพียงพอในปัจจัยเบื องต้นเหล่านี อันจะทําให้บุคลากรเกิดความรู้สึกเสียสละและอุทิศตน<br />

เพืองาน ตราบใดทีบุคคลยังหิวและรายได้ไม่เพียงพอทีจะจับจ่ายใช้สอยขาดการพักผ่อน ขาดความ<br />

อบอุ่นทางร่างกาย ขาดเครืองนุ่งห่มก็เป็ นการยากทีบุคคลเหล่านั นจะปฏิบัติงานได้อย่างมี<br />

ประสิทธิภาพ รวมทั งความคิดริเริ มใดๆ ก็ยากทีจะเกิดขึ นได้<br />

๒. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) ความต้องการความปลอดภัยเป็ น<br />

ความต้องการทีบุคคลต้องการมีสวัสดิภาพจากสิ งแวดล้อม ต้องการทีจะได้พ้นจากการข่มขู ่ ต้องการ<br />

มีชีวิตทีมั นคง ปลอดภัย ความต้องการลําดับนี จะเกิดขึ นภายหลังจากทีมนุษย์ได้รับการตอบสนองใน<br />

ความต้องการลําดับแรกแล้วจากนั นมนุษย์จะมองหาความต้องการลําดับทีสูงขึ นเป็ นลําดับ เช่น การ<br />

เลือกงานทํา ก็จะมุ่งทีความปลอดภัยในด้านการเงิน ความปลอดภัยจากการถูกไล่ออก เป็ นต้น<br />

จะเห็นได้ว่าในสังคมไทยนิยมการรับราชการ ซึ งมีสาเหตุเนืองมาจากความต้องการลําดับนี ด้วย<br />

บางหน่วยงานและบางองค์การจะจัดสวัสดิการความปลอดภัยให้กับบุคลากรของตน ในลักษณะ<br />

ต่างๆกัน เช่น จัดสรรทีอยู ่อาศัย ช่วยเหลือเมือบุคคลในครอบครัวเกิดเจ็บป่ วยได้รับอุบัติเหตุ อัคคีภัย<br />

เป็ นต้น ทั งนี เป็ นไปเพือสนองความต้องการลําดับนี ให้บุคลากรมีความรู้สึกปลอดภัย มีขวัญและมี<br />

กําลังใจดี เพือเป็ นการจูงใจในการปฏิบัติงานในหน่วยงานของตน<br />

๓. ความต้องการทางสังคม (Social or Belonging Needs) เมือความต้องการทางด้าน<br />

ร่างกาย และความต้องการความปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการทางสังคมก็จะเป็ น<br />

สิ งจูงใจพฤติกรรมของบุคคล ดังนั น ความต้องการในด้านนี จะเป็ นความต้องการในการอยู ่ร่วมกัน<br />

และการได้รับการยอมรับจากผู้อืนและมีความรู้สึกว่าตนเองเป็ นส่วนหนึ งของกลุ่ม หรือของสังคม<br />

เช่น ต้องการการยอมรับจากเพือน ต้องการความรัก ต้องการสมาคม หรือต้องการให้บุคคลอืน<br />

ยอมรับการเป็ นสมาชิกในสังคม เช่น การสมัครเข้าเป็ นสมาชิกทางสังคม สโมสรหรือการรวมกลุ่ม<br />

อย่างไม่เป็ นทางการ เป็ นต้น<br />

๔. ความต้องการมีชือเสียงและได้รับการยกย่อง (Self Esteem Needs) เป็ นความ<br />

ต้องการระดับสูงทีเกียวกับความมั นใจในตนเองในเรืองของความรู้ความสามารถ และความสําคัญ<br />

ของบุคคล มาสโลว์ได้แยกความต้องการลําดับนี ออกเป็ น ๒ ชนิด คือ


๑๖<br />

<br />

ก. ความนับถือในตนเอง หมายถึง ความต้องการในการแข่งขัน ความเชือมั นใน<br />

ตนเอง ความเข้มแข็ง ความเก่ง ความก้าวหน้า ความเป็ นอิสรภาพ ซึ งบุคคลต้องการทีจะแสดงออก<br />

ว่า เขาสามารถตอบโต้ความท้าทาย ความสามารถต่างๆ ในชีวิตได้<br />

ข. ความนิยมยกย่องจากผู้อืน หมายถึง บุคคลต้องการแสดงความสามารถและ<br />

ประสบการณ์ของตนให้ประจักษ์ และได้รับความนิยมจากผู้อืนซึ งจะทําให้เขาได้รับเกียรติยศเป็ นที<br />

รู้จัก ได้รับการยอมรับ ความสนใจ ความมีชือเสียง เป็ นต้น<br />

ถ้าบุคคลขาดความต้องการ และไม่ได้รับการสนองตอบความต้องการในลําดับนี จะ<br />

ก่อให้เกิดความรู้สึกเป็ นปมด้อย วางตัวไม่ถูก อ่อนแอ และหมดหวังทีจะมีอะไรช่วยเหลือได้ ความ<br />

ต้องการมีชือเสียงและได้รับการยกย่อง จะต้องตั งอยู่บนความนับถือจากบุคคลอืน นอกจากนั นใน<br />

การบริหารงาน บางองค์การหรือบางหน่วยงาน ผู้บริหารอาจสนใจกับความต้องการของบุคลากร<br />

เพียง ๒-๓ ลําดับต้น ถ้าผู้บริหารทีไม่มีหลักวิชาการในการบริหารงานอาจไม่สนใจลําดับใดเลยก็<br />

เป็ นได้ คือเพียงทํางานไปตามหน้าทีแต่ละวันๆ เท่านั น ใครจะเป็ นอะไร อย่างไรก็มิได้ให้ความ<br />

สนใจ แต่สําหรับผู้บริหารงานด้วยหลักวิชาการมักจะไม่ลืมทีจะให้ความสนใจ ศึกษาถึงความ<br />

ต้องการลําดับต่างๆ โดยเฉพาะความต้องการลําดับสูง เช่น ลําดับ ๔ บุคคลต้องการทีจะมีฐานะเด่น<br />

และได้รับการยกย่อง ผู้บริหารทีฉลาด จึงพยายามทีจะศึกษาและค้นหาความสามารถพิเศษในตัว<br />

บุคคลและใช้คนให้เหมาะสมกับความสามารถของเขา หรือสนับสนุนในกิจกรรมพิเศษทีเขามี<br />

พรสวรรค์อยู่ และนีเป็ นองค์ประกอบหนึ งของเหตุผลทีว่า ทําไมเราจึงต้องจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ นใน<br />

สถานศึกษา กิจกรรมต่างๆ ที จะสนองความต้องการลําดับนี จะต้องเป็ นไปด้วยความสมัครใจ ตาม<br />

ความสนใจ และความถนัดของแต่ละบุคคล<br />

๕. ความต้องการประสบความสําเร็จและความสมหวังในชีวิต (Self – Actualization<br />

Needs) เมือมนุษย์ได้รับความพึงพอใจในความต้องการทางร่างกาย ความปลอดภัย ความรัก การ<br />

ยอมรับในสังคม ความมีชือเสียงและได้รับการยกย่องแล้ว มนุษย์ก็จะเกิดความต้องการขั นสูงสุด<br />

คือ ต้องการความสมหวังทีแต่ละบุคคลจะสามารถเป็ นได้ บุคคลทีถึงความต้องการลําดับนี จะมีความ<br />

ต้องการทีจะใช้ความสามารถพิเศษ และศักยภาพในตัวของเขาแสวงหาประโยชน์ เพือทีจะปรับปรุง<br />

และพัฒนาตัวของเขาเองให้ถึงจุดสูงสุด โดยใช้ความสามารถทีซ่อนอยู่ในตัวของแต่ละบุคคลจะ<br />

อํานวยให้ ความต้องการในขั นนี เป็ นความต้องการทีจะใช้ความสามารถทุกๆ อย่าง ของตนอย่าง<br />

เต็มที<br />

นอกจากนี แล้ว วิชัย แหวนเพชร (๒๕๔๓: ๓๔) ยังได้แสดงทัศนะเกียวกับทฤษฎี<br />

ความต้องการของมาสโลว์ว่า ความต้องการในขั นแรกนั นเป็ นความต้องการเพือสนองตอบต่อ


๑๗<br />

ร่างกาย ซึ งก็สอดคล้องกับแนวความคิดของพระพุทธเจ้าทีว่าด้วยปัจจัย ๔ ดังนั นในการบริหารงาน<br />

พนักงานทุกคนควรจะได้รับการตอบสนองขั นพื นฐานให้ดี และเพียงพอเพราะหากพนักงานไม่ได้<br />

รับปัจจัยทีจําเป็ นนี จะส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ส่วนความต้องการในลําดับทีสูงขึ นไปนั นจะเป็ น<br />

ความต้องการทีสนองความต้องการทางด้านจิตใจ เช่น ความอบอุ่น ความมั นคง สําหรับความ<br />

ต้องการการยอมรับทางสังคม ความมีเกียรติยศชือเสียงก็จะเป็ นความต้องการทางสังคม ฉะนั นการ<br />

บริหารงานจึงควรคํานึงถึงความต้องการทั งร่างกาย จิตใจ และสังคมประกอบกัน<br />

อย่างไรก็ตามการกระทําของบุคคลย่อมเกิดจากแรงจูงใจอืนๆ ด้วย มิใช่เกิดจากความ<br />

ต้องการเพียงอย่างเดียว การศึกษาและทําความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ในเรืองของพฤติกรรม<br />

ความแตกต่างระหว่างบุคคล และความต้องการของมนุษย์จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจดีขึ นใน<br />

“ความเป็ นคน” และ ผิดหวังในตัวคนน้อยลง เมือเรามีความเข้าใจและยอมรับความแตกต่างของแต่<br />

ละคน รวมทั งเข้าใจความต้องการของคนจะทําให้เราได้รู้จักตนเองรู้จักผู้อืน และสามารถปรับปรุง<br />

พัฒนาตนเอง ให้เป็ นผู้มีมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลทั วไปได้รวดเร็วขึ น ช่วยให้เราสามารถปรับตัว<br />

และเลือกใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม มีความสุขในการดําเนินชีวิต ตลอดจนมีวิธีการทีจะประสาน<br />

สัมพันธ์กับคนอืนๆ ได้ดี ทําให้มีความเข้าใจซึ งกันและกัน ก่อให้เกิดความร่วมมือในการทีจะทํา<br />

กิจกรรมอืนๆ ให้ประสบความสําเร็จต่อไป<br />

การเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจดีขึ นใน “ความเป็ นคนของ<br />

คน” และผิดหวังในตัวคนน้อยลง โดยต้องศึกษาและทําความเข้าใจในเรืองพฤติกรรม ความแตกต่าง<br />

ระหว่างบุคคลและความต้องการของมนุษย์ เมือเรามีความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ ว่ามีความ<br />

แตกต่างกันทั งทางร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา ยอมรับความแตกต่างของแต่ละคนว่ามี<br />

ปัจจัยมาจากพันธุกรรมและสิ งแวดล้อม จะช่วยให้เราสามารถปรับตัวและเลือกใช้ชีวิตได้อย่าง<br />

เหมาะสม ซึ งจะส่งผลต่อการดําเนินชีวิตและการทํางานในองค์การ<br />

ความหมายของแรงจูงใจและการจูงใจ<br />

แรงจูงใจ คือ พลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังกําหนดทิศทางและเป้ าหมายของ<br />

พฤติกรรมนั นด้วย คนทีมีแรงจูงใจสูง จะใช้ความพยายามในการกระทําไปสู ่เป้ าหมายโดยไม่ลดละ<br />

แต่คนทีมีแรงจูงใจตํ า จะไม่แสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ล้มเลิก การกระทํา ก่อนบรรลุเป้ าหมาย<br />

แรงจูงใจ (motive) เป็ นคําทีได้ความหมายมาจากคําภาษาละตินทีว่า movere ซึ งหมายถึง<br />

"เคลือนไหว (move) " ดังนั น คําว่าแรงจูงใจจึงมีการให้ความหมายไว้ต่างๆ กันดังนี


่<br />

๑๘<br />

๑. แรงจูงใจ หมายถึง "บางสิ งบางอย่างทีอยู ่ภายในตัวของบุคคลทีมีผลทําให้บุคคล<br />

ต้องกระทํา หรือเคลือนไหว หรือ มีพฤติกรรม ในลักษณะทีมีเป้ าหมาย" (Walters.๑๙๗๘ :๒๑๘)<br />

กล่าวอีกนัยหนึ งก็คือ แรงจูงใจเป็ นเหตุผล ของการกระทํา นั นเอง<br />

๒ . แรงจูงใจ หมายถึง "สภาวะทีอยู ่ภายในตัวทีเป็ นพลัง ทําให้ร่างกายมีการ<br />

เคลือนไหว ไปในทิศทางทีมีเป้ าหมาย ทีได้เลือกไว้แล้ว ซึ งมักจะเป็ นเป้ าหมายทีมีอยู ่สภาวะ<br />

สิ งแวดล้อม" (Loundon and Bitta.๑๙๘๘:๓๖๘)<br />

จากความหมายนี จะเห็นได้ว่า แรงจูงใจจะเกียวข้องกับองค์ประกอบทีสําคัญ ๒<br />

ประการ คือ<br />

ก. เป็ นกลไกทีไปกระตุ้นพลังของร่างกายให้เกิดการกระทํา<br />

ข. เป็ นแรงบังคับให้กับพลังของร่างกายทีจะกระทําอย่างมีทิศทาง<br />

การจูงใจ (motivation) เป็ นเงือนไขของการได้รับการกระตุ้นโดยมีการให้ความหมาย<br />

ไว้ ดังนี <br />

๑. การจูงใจ หมายถึง "แรงขับเคลือนทีอยู ่ภายในของบุคคลทีกระตุ้นให้บุคคลมี<br />

การกระทํา" (Schiffman and Kanuk. ๑๙๙๑:๖๙)<br />

๒. การจูงใจ เป็ นภาวะภายใน ของบุคคล ทีถูกกระตุ้นให้กระทําพฤติกรรมอย่างมี<br />

ทิศทางและต่อเนือง (แอนนิต้า อี วูลฟอล์ค Anita E. Woolfolk ๑๙๙๕)<br />

๓. การจูงใจเป็ นภาวะในการเพิ มพฤติกรรม การกระทําหรือกิจกรรมของบุคคล โดย<br />

บุคคลจงใจ กระทําพฤติกรรม นั นเพือให้บรรลุเป้ าหมายที ต้องการ (ไมเคิล ดอมแจน Domjan<br />

๑๙๙๖)<br />

จากคําอธิบายและความหมายดังกล่าว จึงสรุปได้ว่า การจูงใจ เป็ นกระบวนการที<br />

บุคคลถูก กระตุ้นจากสิ งเร้าโดยจงใจ ให้กระทําหรือดินรนเพือให้บรรลุวัตถุประสงค์บางอย่าง ซึ งจะ<br />

เห็นได้ว่า พฤติกรรมทีเกิดจาก การจูงใจ เป็ น พฤติกรรม ทีมิใช่เป็ นเพียงการตอบสนองสิ งเร้าปกติ<br />

ธรรมดา แต่ ต้องเป็ นพฤติกรรมทีมีความเข้มข้น มีทิศทางจริงจัง มีเป้ าหมายชัดเจนว่าต้องการไปสู<br />

จุดใด และ พฤติกรรมทีเกิดขึ น เป็ นผลสืบเนืองมาจาก แรงผลักดัน หรือ แรงกระตุ้น ทีเรียกว่า<br />

แรงจูงใจ ด้วย<br />

ความสําคัญของการจูงใจ


๑๙<br />

การจูงใจมีอิทธิผลต่อผลผลิต ผลิตผลของงานจะมีคุณภาพดี มีปริมาณมากน้อย<br />

เพียงใด ขึ นอยู่กับ การจูงใจในการทํางาน ดังนั น ผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานจึงจําเป็ นต้องเข้าใจ<br />

ว่าอะไร คือแรงจูงใจทีจะทําให้พนักงานทํางานอย่างเต็มที และไม่ใช่เรืองง่ายในการจูงใจพนักงาน<br />

เพราะ พนักงานตอบสนองต่องานและวิธีทํางานขององค์กรแตกต่างกัน การจูงใจพนักงานจึงมี<br />

ความสําคัญ สามารถสรุปความสําคัญของการจูงใจในการทํางานได้ดังนี<br />

๑. พลัง (Energy) เป็ นแรงขับเคลือนทีสําคัญต่อการกระทํา หรือ พฤติกรรมของมนุษย์<br />

ในการทํางานใดๆ ถ้าบุคคลมี แรงจูงใจ ในการทํางานสูง ย่อมทําให้ขยันขันแข็ง กระตือรือร้น<br />

กระทําให้สําเร็จ ซึ งตรงกันข้ามกับ บุคคลทีทํางานประเภท “เช้าชาม เย็นชาม” ทีทํางานเพียงเพือให้<br />

ผ่านไปวันๆ<br />

๒. ความพยายาม (Persistence) ทําให้บุคคลมีความมานะ อดทน บากบั น คิดหา<br />

วิธีการนําความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ของตน มาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่องานให้มาก<br />

ทีสุด ไม่ท้อถอยหรือละความพยายามง่ายๆ แม้งาน จะมีอุปสรรคขัดขวาง และเมืองานได้รับ<br />

ผลสําเร็จ ด้วยดีก็มักคิดหา วิธีการปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ นเรือยๆ<br />

๓. การเปลียนแปลง (variability) รูปแบบการทํางานหรือวิธีทํางานในบางครั ง<br />

ก่อให้เกิดการค้นพบช่องทาง ดําเนินงาน ทีดีกว่า หรือประสบ ผลสําเร็จมากกว่า นักจิตวิทยาบางคน<br />

เชือว่า การเปลียนแปลง เป็ นเครืองหมายของ ความเจริญ ก้าวหน้า ของบุคคล แสดงให้เห็นว่า บุคคล<br />

กําลังแสวงหาการเรียนรู้สิ งใหม่ๆ ให้ชีวิต บุคคลทีมี แรงจูงใจ ในการทํางานสูง เมือดินรน เพือจะ<br />

บรรลุ วัตถุประสงค์ใดๆ หากไม่สําเร็จ บุคคลก็มักพยายามค้นหา สิ งผิดพลาด และพยายามแก้ไข ให้<br />

ดีขึ นในทุกวิถีทาง ซึ งทําให้เกิดการเปลียนแปลง การทํางานจน ในทีสุดทําให้ค้นพบแนวทาง ที<br />

เหมาะสมซึ ง อาจจะต่างไป จากแนวเดิม<br />

๔. บุคคลทีมีแรงจูงใจในการทํางาน จะเป็ นบุคคลทีมุ่งมั นทํางานให้เกิดความ<br />

เจริญก้าวหน้า และการมุ่งมั นทํางานทีตนรับผิดชอบ ให้เจริญก้าวหน้า จัดว่าบุคคลผู้นั นมี<br />

จรรยาบรรณในการทํางาน (work ethics) ผู้มีจรรยาบรรณในการทํางาน จะเป็ นบุคคล ทีมีความ<br />

รับผิดชอบ มั นคงในหน้าที มีวินัยในการทํางาน ซึ งลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความสมบูรณ์ ผู้<br />

มีลักษณะ ดังกล่าวนี มักไม่มีเวลาเหลือพอทีจะคิดและทําในสิ งทีไม่ดี<br />

ลักษณะของแรงจูงใจ


๒๐<br />

แรงจูงใจของมนุษย์มีมากมายหลายอย่าง เราถูกจูงใจให้มีการกระทําหรือพฤติกรรม<br />

หลายรูปแบบ เพือหานํ าและ อาหารมาดืมกิน สนองความต้องการทางกาย แต่ยังมีความต้องการ<br />

มากกว่านั น เช่น ต้องการความสําเร็จ ต้องการเงิน คําชมเชย อํานาจ และในฐานะทีเป็ นสัตว์สังคม<br />

คนยังต้องการมีอารมณ์ผูกพันและอยู ่รวมกลุ่มกับผู้อืน แรงจูงใจ จึงเกิดขึ นได้จากปัจจัยภายในและ<br />

ปัจจัยภายนอก<br />

แรงจูงใจภายใน (intrinsic motives)<br />

แรงจูงใจภายในเป็ นสิ งผลักดันจากภายในตัวบุคคล ซึ งอาจจะเป็ นเจตคติ ความคิดเห็น<br />

ความสนใจ ความตั งใจ การมองเห็นคุณค่า ความพอใจ ความต้องการ ฯลฯ สิ งต่างๆ ดังกล่าวมา<br />

เหล่านี มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมค่อนข้างถาวร เช่น คนงานทีเห็นคุณค่าของงาน มองว่าองค์การคือ<br />

สถานทีให้ชีวิตแก่เขาและครอบครัว เขาก็จะจงรักภักดีต่อองค์การ กระทํา การต่างๆ ให้องค์การ<br />

เจริญก้าวหน้า หรือในกรณีทีบ้านเมืองประสบปัญหาเศรษฐกิจ ในช่วงเวลาของเศรษฐกิจขาลง<br />

องค์การจํานวนมากอยู ่ในภาวะขาดทุน ไม่มีเงินจ่ายค่าตอบแทน แต่ด้วยความผูกพัน เห็นใจกันและ<br />

กัน ทั งเจ้าของกิจการ และพนักงานต่างร่วมกันค้าขายอาหารเล็กๆ น้อยๆ ทั งประเภท<br />

แซนวิช ก๋วยเตียว ฯลฯ เพียงเพือ ให้มีรายได้ ประทังกันไปทั งผู้บริหารและลูกน้อง และในภาวะ<br />

ดังกล่าวนี จะเห็นว่า พนักงานหลายราย ทีไม่ทิงเจ้านาย ทั งเต็มใจไปทํางานวันหยุดโดยไม่มี<br />

ค่าตอบแทน ถ้าการกระทําดังกล่าวเป็ นไปโดย เนืองจากความรู้สึก หรือเจตคติทีดีต่อเจ้าของกิจการ<br />

หรือด้วยความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกคนหนึ งขององค์การ มิใช่เพราะ เกรงจะถูกไล่ออกหรือไม่<br />

มีทีไป ก็กล่าวได้ว่า เป็ นพฤติกรรมทีเกิดจากแรงจูงใจภายใน<br />

แรงจูงใจภายนอก (extrinsic motives)<br />

แรงจูงใจภายนอกเป็ นสิ งผลักดันภายนอกตัวบุคคลทีมากระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม<br />

อาจจะเป็ นการได้รับรางวัล เกียรติยศ ชือเสียง คําชม การได้รับการยอมรับยกย่อง ฯลฯ แรงจูงใจนี<br />

ไม่คงทนถาวรต่อพฤติกรรม บุคคลจะ แสดงพฤติกรรม เพือ ตอบสนองสิ งจูงใจดังกล่าว เฉพาะใน<br />

กรณีทีต้องการรางวัล ต้องการเกียรติ ชือเสียง คําชม การยกย่อง การได้รับ การยอมรับ ฯลฯ ตัวอย่าง<br />

แรงจูงใจภายนอกทีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม เช่น การทีคนงาน ทํางานเพียง เพือแลกกับ ค่าตอบแทน


๒๑<br />

หรือเงินเดือน การแสดงความขยันตั งใจทํางานเพียง เพือให้หัวหน้างานมองเห็นแล้ว ได้ความดี<br />

ความชอบ เป็ นต้น<br />

ทฤษฎีแรงจูงใจ Motivation Theory<br />

แนวความคิดของการจูงใจมีได้หลายแง่หลายมุม ดังนั นจึงมีทฤษฎีต่างๆ ทีพยายาม<br />

อธิบายสภาวะ ของอินทรีย์เช่นนี และ พอจะแบ่งออกได้เป็ น<br />

๑. ทฤษฎีเกียวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory)<br />

พื นฐานเกียวกับ มโนภาพของแรงขับ คือ หลักการของสมดุลยภาพ (homeostasis) ซึ ง<br />

หมายถึง ความโน้มเอียงของร่างกาย ทีจะทําให้สิ งแวดล้อมภายในคงทีอยู ่เสมอ ตัวอย่าง คนทีมี<br />

สุขภาพดีย่อมสามารถ ทําให้อุณหภูมิใน ร่างกายคงทีอยู ่ได้ใน ระดับปรกติไม่ว่าจะอยู ่ในอากาศร้อน<br />

หรือหนาว ความหิว และความกระหาย แสดงให้เห็นถึงกลไกเกียวกับ สมดุลยภาพเช่นกัน เพราะว่า<br />

แรงขับดังกล่าว จะไปกระตุ้นพฤติกรรม เพือก่อให้เกิดความสมดุลย์ของส่วนประกอบหรือสาร<br />

บางอย่างในเลือด ดังนั นเมือเรามองในทัศนะของสมดุลยภาพ ความต้องการเป็ นความไม่สมดุลย์ทาง<br />

สรีรวิทยา อย่างหนึ งอย่างใดหรือเป็ น การเบียงเบนจากสภาวะทีเหมาะสม และการเปลียนแปลงทาง<br />

สรีรวิทยาทีเกิดตามมาก็คือแรงขับ เมือความไม่สมดุลทางสรีรวิทยา คืนสู ่ภาวะปกติ แรงขับจะลดลง<br />

และการกระทํา ทีถูกกระตุ้นด้วยแรงจูงใจก็จะหยุดลงด้วย นักจิตวิทยาเชือว่า หลักการของสมดุลย<br />

ภาพมิได้เป็ นเรืองของสรีรวิทยาเท่านั น แต่ยังเกียวข้องกับจิตใจด้วย กล่าวคือความไม่สมดุลย์ทาง<br />

สรีรวิทยา หรือ ทางจิตใจ (physiological or psychological imbalance) มีส่วนจูงใจพฤติกรรม เพือทํา<br />

ให้ภาวะสมดุลย์กลับคืนมาเช่นเดิม<br />

๒. ทฤษฎีของความต้องการและแรงขับ (Theory of needs and drives)<br />

เมือทฤษฎีของสัญชาตญาณซึ งจะได้กล่าวต่อไปนั นได้รับความนิยมลดลง ได้มีผู้เสนอ<br />

แนวความคิดของแรงขับขึ นมาแทน แรงขับ (drive) เป็ นสภาพทีถูกยั วยุอันเกิดจากความต้องการ<br />

(need) ทางร่างกายหรือเนื อเยือบางอย่าง เช่น ความต้องการอาหาร นํ า ออกซิเจน หรือการหลีกหนี<br />

ความเจ็บปวด สภาพทีถูกยั วยุเช่นนี จะจูงใจอินทรีย์ให้เริ มต้นแสดงพฤติกรรม เพือตอบสนองความ<br />

ต้องการทีเกิดขึ น เช่น การขาดอาหารก่อให้เกิดการเปลียนแปลงทางเคมีบางอย่างในเลือด แสดงให้<br />

เห็นถึงความต้องการสําหรับอาหาร ซึ งต่อมามีผลทําให้เกิดแรงขับ อันเป็ นสภาพของความยั วยุหรือ<br />

ความตึงเครียด อินทรีย์จะพยายามแสวงหาอาหารเพือลดแรงขับนี และเป็ นการตอบสนองความ<br />

ต้องการไปในตัวด้วย บางครั งความต้องการและแรงขับอาจถูกใช้แทนกันได้ แต่ความต้องการมักจะ


๒๒<br />

หมายถึง สภาพสรีรวิทยาของการทีเนื อเยือขาดสิ งทีจําเป็ นบางอย่าง ส่วนแรงขับหมายถึงผลทีเกิด<br />

ตามมาทาง สรีรวิทยาของความต้องการ ความต้องการและแรงขับเคียงคู่กัน แต่ไม่เหมือนกัน<br />

๓. ทฤษฎีเกียวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory)<br />

ในระยะต่อมาคือ ราว ค.ศ. ๑๙๕๐ นักจิตวิทยาหลายท่านเริ มไม่พอใจทฤษฎีเกียวกับ<br />

การลดลงของแรงขับ (drive-reduction theory) ในการอธิบายการจูงใจของพฤติกรรมทุกอย่าง จะ<br />

เห็นได้ชัดว่าสิ งเร้าจากภายนอกเป็ นตัวกระตุ้นของพฤติกรรมได้ อินทรีย์ไม่เพียงแต่ถูกผลักดันให้<br />

เกิดกิจกรรมต่าง ๆ โดยแรงขับภายในเท่านั น เหตุกระตุ้นใจหรือเครืองชวนใจ (incentives) บางอย่าง<br />

ก็มี ความสําคัญในการยั วยุพฤติกรรม เราอาจมองการจูงใจได้ในฐานะเป็ นการกระทําระหว่างกัน<br />

(interaction) ของวัตถุทีเป็ นสิงเร้าในสิ งแวดล้อมกับสภาพทางสรีรวิทยาของอินทรีย์อย่างหนึ ง<br />

โดยเฉพาะ คนทีไม่รู้สึกหิวอาจถูกกระตุ้น ให้เกิดความหิวได้ เมือเห็นอาหารทีอร่อยในร้านอาหาร<br />

ในกรณีนี เครืองชวนใจคือ อาหารทีอร่อยสามารถกระตุ้นความหิวรวมทั งทําให้ความรู้สึกเช่นนี<br />

ลดลง สุนัขทีกินอาหารจนอิ ม อาจกินอีกเมือเห็นสุนัขอีกตัวกําลังกินอยู่ กิจกรรมทีเกิดขึ นมิได้เป็ น<br />

เรืองของแรงขับภายใน แต่เป็ นเหตุการณ์ภายนอก พนักงาน พอได้ยินเสียงกริ งโทรศัพท์ก็รีบยกหู<br />

ขึ นพูด ดั งนั นจึงกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทีมีการจูงใจ อาจเกิดขึ นภายใต้การควบคุมของสิ งเร้า หรือเหตุ<br />

กระตุ้นใจมากกว่าทีจะเกิดจากแรงขับ<br />

๔. ทฤษฎีเกียวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory)<br />

สัญชาตญาณ คือ แรงทางชีวภาพทีมีมาแต่กําเนิด และเป็ นตัวผลักดันให้อินทรีย์แสดง<br />

พฤติกรรมอย่างหนึ งอย่างใดออกมา พฤติกรรม ของสัตว์ ส่วนใหญ่เชือว่าเป็ นเรืองของสัญชาตญาณ<br />

เพราะสัตว์ไม่มีวิญญาณ สติปัญญาหรือเหตุผล เช่น มนุษย์ William McDougall กล่าวว่าความคิด<br />

และพฤติกรรมทั งหมดของคนเราเป็ นผลของสัญชาตญาณในหนังสือ Social psychology ตีพิมพ์ใน<br />

ปี ค.ศ. ๑๙๐๘ ท่านได้จําแนกสัญชาตญาณต่างๆ ไว้ดังนี<br />

การหลีกหนี (flight)<br />

การขับไล่ (repulsion)<br />

ความอยากรู้ (curiosity)<br />

ความอยากต่อสู้ (pugnacity)<br />

การตําหนิตนเอง (self-abasement)<br />

การเสนอตนเอง (self-assertion)<br />

การสืบพืชพันธุ์ (reproduction)<br />

การรวมกลุ่ม (gregariousness)


๒๓<br />

การแสวงหา (acquisition)<br />

การก่อสร้าง(construction)<br />

จะเห็นว่าทฤษฎีเกียวกับสัญชาตญาณ ไม่ค่อยจะสมเหตุผลนักในทัศนะของนักจิตวิทยาหลายท่าน<br />

๕. ทฤษฎีเกียวกับจิตไร้สํานึก (Theory of unconscious motivation)<br />

ฟรอยด์มีความเชือว่าพฤติกรรมของมนุษย์ถูกกําหนดโดยพลังพื นฐานสองอย่างคือ<br />

สัญชาตญาณแห่งชีวิต (life instincts) ซึ งแสดงออกมา เป็ นพฤติกรรมทางเพศ และสัญชาตญาณแห่ง<br />

ความตาย (death instincts) ซึ งผลักดันให้เกิดเป็ นพฤติกรรมก้าวร้าว สัญชาตญาณ ทั งสองอย่างนี เป็ น<br />

แรงจูงใจทีทรงพลังอย่างยิ งและอยู ่ภายในจิตไร้สํานึก บ่อยครั งคนเรามักจะไม่รู้ว่าอะไรคือ แรงจูงใจ<br />

หรือเป้ าประสงค์ ทีแท้จริง เขาอาจให้เหตุผลทีดีบางอย่างสําหรับพฤติกรรมของเขา แต่เหตุผลเหล่านี<br />

มักไม่ถูกต้อง ตามความเป็ นจริงอยู ่เสมอ<br />

๖.ทฤษฎีเกียวกับการรู้ (Cognitive theory)<br />

การรู้ (cognition) มาจากภาษาลาติน แปลว่าการรู้จัก (knowing) ทฤษฎีนี เน้นเกียวกับ<br />

ความเข้าใจหรือการคาดคะเนเหตุการณ์ต่างๆ โดยอาศัยการกําหนดรู้ (perception) มาก่อน อาจ<br />

รวมทั งการคิดค้นและการตัดสินใจ เช่น ในกรณีทีต้องมีการเลือกสิ งของทีมีคุณค่า ใกล้เคียงกัน การ<br />

กระตุ้นก็ดีหรือพฤติกรรมทีกําลังดําเนินไปสู ่เป้ าประสงค์ (goal-seeking behavior) ก็ดีเกิดจากความรู้<br />

ทีเคยพบมาเป็ น ตัวกําหนด นอกจากนั นยังต้องอาศัยเหตุการณ์ในอดีต สิ งแวดล้อมในปัจจุบันและ<br />

ความคาดหวังในอนาคต Festinger (๑๙๕๗) ได้อธิบายเกียวกับความขัดแย้งหรือความไม่ลงรอยกัน<br />

ของการรู้ (cognitive dissonance) ซึ งมีผลทําให้เกิด แรงจูงใจ ในการเปลียนพฤติกรรม บางอย่างได้<br />

เช่น คนทีติดบุหรี สูบบุหรีจัดเมือทราบข่าวว่า การสูบบุหรีมีส่วนทําให้เกิดเป็ น มะเร็งของปอด เกิด<br />

ความขัดแย้งระหว่างพฤติกรรมของการสูบบุหรีกับข่าวใหม่ เขาจะต้องเลือกเอา อย่างใดอย่างหนึ ง<br />

เพือลดความขัดแย้ง ทีเกิดขึ น ถ้าเขาตัดสินใจเลิกสูบบุหรีความขัดแย้งจะลดลงไปโดยการเลิกความ<br />

เชือเดิมทีว่าสูบบุหรีแล้วจะปลอดภัย รวมทั งความอยากทีจะสูบอีกด้วย<br />

๗.ทฤษฎีเกียวกับจิตวิญญาณ (Spiritual theory)<br />

เป็ นทฤษฎีทีเกียวกับกฎแห่งกรรมในพุทธศาสนา จําลอง ดิษยวณิช (๒๕๔๕) ได้<br />

อธิบายความหมายของคําว่าจิตวิญญาณ ไว้ดังนี "จิตวิญญาณ หมายถึง ภวังคจิต (the life continuum)<br />

ในพุทธศาสนา หรือจิตไร้สํานึก (the unconscious) ในจิตวิเคราะห์ " จิตวิญญาณ ซึ งเป็ นส่วนลึก<br />

ภายในจิตใจของมนุษย์มีแรงจูงใจทีทรงพลังอย่างหนึ งคือ"กรรม" กรรมเป็ นการกระทําของคนเรา<br />

ไม่ว่าจะเป็ นทางใจ ทางวาจา หรือทางกาย ถ้ากระทํากรรมดีก็จะส่งผลไปในทางทีดี ถ้ากระทํากรรม<br />

ชัวก็จะส่งผลไปในทางทีไม่ดี ทํากรรมเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั น สมดังคํากล่าวว่า "ทําดีได้ดี ทําชั ว


๒๔<br />

ได้ชั ว" พลังกรรมและผลของกรรมถือว่า เป็ นแรงจูงใจ ทีสําคัญอย่างหนึ ง ในชีวิตประจําวันของ<br />

คนเรา และถูกเก็บสั งสมไว้ในจิตไร้สํานึก ความสุขจะเกิดขึ นได้เพราะ เป็ นผลของการ กระทํากรรม<br />

ดี แต่ในทางตรงกันข้ามความทุกข์จะเกิดขึ น เนืองจากผลของการกระทํากรรมทีไม่ดี<br />

เทคนิคการสร้างแรงจูงใจในการทํางาน<br />

เทคนิคของการใช้แรงจูงใจทีมีอยู ่ในวงการธุรกิจ แต่ละวิธีจะต้องใช้ให้เหมาะสมกับ<br />

บุคคล สถานการณ์และโอกาส จะเห็นว่าแรงจูงใจมีความสําคัญ ซึ งจะส่งผลต่อการเพิมผลผลิตและ<br />

การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั นผู้นําหรือผู้บริหารจึงควรเลือกพิจารณาให้เหมาะสม ซึ ง<br />

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (๒๕๔๑: ๑๓๖-๑๔๐) ได้กล่าวไว้ สรุปได้ดังนี<br />

๑. การจูงใจด้วยงาน (Task Motivation) การจูงใจด้วยงานมีจุดมุ่งหมายเพือให้<br />

พนักงานมีเจตคติทีดีต่องาน เกิดความรู้ว่างานนั นมีคุณค่า ทําให้เกิดความรับผิดชอบและก่อให้เกิด<br />

ประโยชน์ทั งต่อตนเอง ต่องาน และสังคม จะทําให้บุคลากรมีความรู้สึกภาคภูมิใจ กระตือรือร้น มี<br />

ความเพียรพยายาม ทุ่มเท และอุทิศตนให้กับงานอย่างเต็มกําลังความสามารถ ตัวอย่างการใช้วิธีการ<br />

จูงใจด้วยงาน เช่น ลักษณะเฉพาะของงาน (ความน่าสนใจ ความแปลกใหม่ การยัวยุ และท้าทาย<br />

งานทีตรงกับความรู้ความสามารถ) การเพิ มพูนความรู้(สนับสนุนให้มีการศึกษาต่อ การฝึ กอบรม)<br />

ความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน (มีการชี แจง อธิบายถึงความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานให้บุคลากร<br />

ในหน่วยงานทราบ) การแข่งขัน (แข่งขันกับตนเอง แข่งขันระหว่างกลุ่ม การประกวดการ<br />

ปฏิบัติงาน) เป็ นต้น<br />

๒ การจูงใจด้วยผลตอบแทนทีไม่ใช่เงิน (Non –Money Incentive Motivation)<br />

นอกเหนือจากการจูงใจด้วยวิธีการดังทีกล่าวมาแล้ว การจูงใจด้วยผลตอบแทนทีไม่ใช่เงินก็เป็ นอีก<br />

ทางเลือกหนึ งทีจะสามารถนําไปใช้ได้ เพียงแต่เลือกให้เหมาะสมกับโอกาส บุคคล การจูงใจด้วยวิธี<br />

นี ได้แก่ การตอบสนองความต้องการของบุคคลในระดับสูงขึ น เช่น ความต้องการได้รับการยกย่อง<br />

ต้องการมีเกียรติ ต้องการความมีชือเสียง เป็ นต้น<br />

๓. การจูงใจด้วยผลตอบแทนทีเป็ นเงิน ( Money Incentive Motivation ) เป็ นที<br />

ทราบกันดีอยู ่แล้วว่า ผลตอบแทนทีเป็ นเงินในรูปแบบต่างๆ เป็ นปัจจัยหนึ งทีสามารถจูงใจให้<br />

บุคลากรของหน่วยงานปฏิบัติงานด้วยความกระตือรือร้น ตั งใจ เสียสละ และทํางานอย่างเต็มเวลา<br />

เต็มความสามารถ


๒๕<br />

๔. การจูงใจด้วยสภาพแวดล้อมในการทํางาน (Physical Environment Motivation)<br />

ในการปฏิบัติงานของบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ นั น แต่ละวันจะใช้เวลาหลายชั วโมง ดังนั น<br />

สภาพแวดล้อมในการทํางานจึงมีส่วนอย่างมากต่อการปฏิบัติงาน การจัดสภาพแวดล้อมอย่าง<br />

เหมาะสมและเอื ออํานวย จะมีส่วนให้บุคลากรในหน่วยงานตั งใจทํางานอย่างเต็มความสามารถ<br />

กระตือรือร้น ขยันทํางาน สภาพแวดล้อมทีควรพิจารณา เช่น สภาพแวดล้อมทีเอื ออํานวยต่อการ<br />

ทํางาน (แสงสว่าง ความสะอาด อากาศเย็นสบาย มีเนื อทีกว้างขวางพอ มีการตกแต่งพอสมควร) มี<br />

ความพร้อมในด้านอุปกรณ์เครืองใช้ (โต๊ะเก้าอี ทํางาน อุปกรณ์ต่างๆ ทีอยู ่ในสภาพใช้งานได้) สร้าง<br />

บรรยากาศทีอบอุ่นเป็ นกันเอง<br />

๕. การจูงใจด้วยสวัสดิการต่างๆ (Fringe Benefit Motivation) การจูงใจด้วยวิธีนี<br />

โดยทําให้บุคลากรในหน่วยงานรู้สึกสะดวกสบาย มีความมั นคงปลอดภัย เช่น มีรถรับส่ง มีที<br />

จอดรถ การจัดให้มีห้องพยาบาล การตรวจสุขภาพประจําปี มีสโมสร มีทีเล่นกีฬา จัดให้มีการทัศน<br />

ศึกษา จัดกิจกรรมรืนเริงในเทศกาลต่างๆ ประกันชีวิต ประกันสังคม เป็ นต้น<br />

เทคนิคการสร้างแรงจูงใจในการทํางานดังทีกล่าวมาแล้วว่า ผู้นําหรือผู้บริหาร<br />

จะต้องศึกษาและนําไปใช้ให้เหมาะสมเพราะจะก่อให้เกิดผลสําเร็จในการทํางาน การใช้เทคนิคการ<br />

จูงใจวิธีการใดก็ตาม อาจต้องใช้เวลาและความอดทนอาจจะไม่เกิดผลในทันทีและบางครั งอาจต้อง<br />

ใช้หลายๆ วิธีพร้อมกัน<br />

ประโยชน์ของการสร้างแรงจูงใจ<br />

การสร้างแรงจูงใจนับเป็ นเครืองมืออย่างหนึ งของผู้บริหาร จะทําให้ขวัญในการ<br />

ปฏิบัติงานของบุคลากรดีขึ น มีกําลังใจในการปฏิบัติงาน การสร้างแรงจูงใจจะก่อให้เกิดประโยชน์<br />

มากมายหลายประการ ดังที พาชืน บุญเจริญ (ม.ป.ป.: ๕๔) ได้เสนอแนะไว้ดังนี<br />

๑. บุคลากรมีความรู้สึกภาคภูมิใจในหน้าทีการงานทีทําอยู ่ ทําให้หน่วยงานได้รับ<br />

ผลผลิตสูง<br />

๒. ทําให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในองค์การขึ น<br />

๓. มีความคิดสร้างสรรค์<br />

๔. เกิดความสนใจและพอใจในการทํางาน เกิดความจงรักภักดีต่อองค์การ และ<br />

เพือนร่วมงาน


่<br />

๒๖<br />

๕. ช่วยให้การบริหารงาน การควบคุมงาน และการปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ<br />

ขององค์การเป็ นไปอย่างราบรืน<br />

๖. ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายทุกๆ อย่าง<br />

จากทัศนะต่างๆ ของนักวิชาการเกียวกับการจูงใจนั น จะเห็นว่าปัจจัยการจูงใจมี<br />

องค์ประกอบหลายๆ ประการ อาจจะเป็ นผลตอบแทนในการปฏิบัติงานของบุคคล ซึ งแต่ละบุคคล<br />

มีความต้องการแตกต่างกัน บางคนอาจมีความต้องการทางด้านสังคมสูง บางคนอาจมีความต้องการ<br />

ทางด้านร่างกาย ผู้บริหารหรือหัวหน้างานจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เพราะการจูงใจมี<br />

ความสําคัญต่อประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานเป็ นอย่างยิ ง เอกชัย กีสุขพันธ์ (๒๕๓๐: ๕๖) ได้<br />

เสนอแนะหลักการทีผู้บริหาร จะต้องพิจารณาเป็ นอันดับแรกคือ<br />

๑. ท่านได้สร้างให้ลูกน้องหรือผู้ใต้บังคับบัญชา เกิดความรู้สึกว่างานทีปฏิบัติอยู<br />

นั นน่าสนใจ ท้าทายความสามารถ และอยากทํางานเพิ มขึ นหรือยัง<br />

๒. ลูกน้องหรือผู้ใต้บังคับบัญชา รู้หรือไม่ว่าท่านคาดหวังอะไรจากเขาในการ<br />

ปฏิบัติงาน และเขาต้องทําอย่างไรเพือให้ถึงมาตรฐานของบริษัททีกําหนดไว้<br />

๓. การกําหนดผลตอบแทนในการปฏิบัติงานมีความชัดเจนและเหมาะสมกับ<br />

ความตั งใจ ความพยายามในการปฏิบัติงานและผลงานหรือไม่<br />

จากข้อพิจารณา ๓ ประการข้างต้นนี นับว่าเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญมากสําหรับ<br />

การจูงใจในการปฏิบัติงาน ซึ งจะต้องมีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน ระหว่างความต้องการของ<br />

องค์การหรือบริษัทกับความคาดหวังของผู้ปฏิบัติงาน มิฉะนั นแล้วการจูงใจคนจะไม่สามารถบรรลุ<br />

ตามเป้ าหมายทีต้องการได้<br />

การประกอบอาชีพใดๆ ก็ตาม ย่อมมีเป้ าหมายสําคัญอยู ่ทีความสําเร็จอย่างมี<br />

ประสิทธิภาพ บังเกิดผลดีต่อทุกๆ ฝ่ าย ดังนั นการมีความรู้ความสามารถอย่างเดียวคงไม่เพียงพอและ<br />

งานต่างๆ ก็ไม่อาจทําเพียงคนเดียวได้ จําเป็ นทีจะต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจจาก<br />

หลายๆ ฝ่ าย ต้องอาศัยหลักมนุษยสัมพันธ์ในการอยู ่ร่วมกันในสังคม ในการทํางานต่างๆ ให้<br />

ประสบความสําเร็จ มีความราบรืน เกิดความรักความสามัคคี ซึ งจะเป็ นผลดีต่อการพัฒนาความ<br />

เจริญก้าวหน้าต่อตนเอง และต่อหน่วยงานหรือองค์การ ฉะนั นผู้บริหารหรือหัวหน้างานทีหวัง<br />

ความสําเร็จและมีความก้าวหน้าจะต้องตระหนักและให้ความสําคัญ รวมทั งต้องพยายามศึกษา หลัก<br />

มนุษยสัมพันธ์ในการทํางาน ตลอดจนทฤษฎีต่างๆ ทีเกียวข้อง เพือนําไปประยุกต์ใช้ในการทํางาน<br />

การบริหารงาน และการดํารงชีวิตอย่างมีความสุขต่อไป


่<br />

๒๗<br />

จากการศึกษาค้นคว้าและการวิจัยของนักวิชาการทางด้านมนุษยสัมพันธ์ ได้พบว่า<br />

การใช้อํานาจไม่เป็ นผลดีต่อการบริหารงาน และยังได้ค้นพบอีกว่า ในบางครั งแม้แต่เงินก็ยังไม่<br />

สามารถจะซื อความร่วมมือร่วมใจ และความจงรักภักดีของคนได้ ผู้ทีหวังความสําเร็จและมี<br />

ความก้าวหน้าในการทํางานจะต้องตระหนักและให้ความสําคัญ รวมทั งต้องพยายามศึกษาหลัก<br />

มนุษยสัมพันธ์ ทฤษฎีต่างๆ เพือนําไปประยุกต์ใช้ในการทํางาน การบริหารงาน และการดํารงชีวิต<br />

อย่างมีความสุขต่อไป<br />

งานวิจัยทีเกียวข้อง<br />

ผู้วิจัยได้ศึกษางานวิจัยทีเกียวข้องกับแรงจูงใจในการทํางานทั งในส่วนงานราชการ<br />

พลเรือนและงานราชการทหาร รวมทั งได้ศึกษางานวิจัยทีเกียวข้องกับกระบวนการคัดเลือกบุคคล<br />

เข้ามาเป็ นนักเรียนนายสิบทหารบก ดังนี<br />

นายโสภณ พงค์สุพพัต (๒๕๔๖) ได้ศึกษาวิจัยเรือง “ แรงจูงใจในการทํางานของ<br />

บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี” การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์ เพือทราบระดับ<br />

แรงจูงใจในการทํางานของบุคลากร<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ธานี และเพือเปรี ยบเทียบแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากร<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ตามปัจจัยพื นฐานส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา<br />

สถานภาพ รายได้/เดือน และตําแหน่งงาน ประชากรทีใช้ในการวิจัยครั งนี ได้แก่ บุคลากรที<br />

ปฏิบัติงานประจําในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วย ข้าราชการครู อาจารย์ประจํา<br />

ตามสัญญาจ้าง ข้าราชการพลเรือน ลูกจ้างประจํา และพนักงานตามสัญญาจ้าง จํานวน ๓๘๕ คน<br />

การศึกษาครั งนี คํานวณกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Taro Yamane ได้กลุ่มตัวอย่าง ๒๑๗ คน เครืองมือ<br />

ทีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามวัดแรงจูงใจการทํางาน จํานวน ๕๐ ข้อ และแบบสอบถาม<br />

ได้รับการตอบรับกลับคืนมาครบ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป<br />

SPSS เพือหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ<br />

ทางเดียว (ANOVA) และการทดสอบแบบ Scheffe ผลการวิจัยปรากฎ ดังนี<br />

๑. แรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภักสุราษฎร์ธานีโดยรวมอยู<br />

ในระดับปานกลาง เรี ยงลําดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความสําเร็ จในการทํางาน ด้าน<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน ด้านการควบคุมบังคับบัญชา ด้านการยอมรับนับถือ<br />

ด้านสภาพแวดล้อมในการทํางาน ด้านความรับผิดชอบหรือลักษณะงานทีปฏิบัติ ด้านนโยบายและ


๒๘<br />

การบริหารงาน ด้านความมั นคงในการทํางาน ด้านความก้าวหน้าในตําแหน่งหน้าทีการงาน และ<br />

ด้านรายได้และสวัสดิการ ตามลําดับ<br />

๒. การเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรของมหาวิทยาลัย<br />

ราชภัฏสุราษฎร์ธานี จําแนกตามเพศ เมือพิจารณาโดยรวม แรงจูงใจในการทํางานอยู ่ในระดับ<br />

ปานกลาง มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ หรือไม่แตกต่างกัน<br />

๓. การเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

สุราษฎร์ธานี จําแนกตามอายุ เมือพิจารณาโดยรวมแล้วแรงจูงใจในการทํางานอยู ่ในระดับปานกลาง<br />

มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิตทีระดับ ๐.๐๕ หรือไม่แตกต่างกัน แต่เมือพิจารณา<br />

เป็ นรายด้านพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ ในด้านความมั นคงใน<br />

งาน และด้านเงินเดือนและสวัสดิการ พบว่า ผู้ทีมีอายุ ๕๑- ๖๐ ปี มีระดับแรงจูงใจในการทํางาน<br />

มากกว่าผู้ทีมีช่วงอายุอืน ๆ ส่วนด้านสภาพแวดล้อมในการทํางาน พบว่า ผู้ทีมีอายุ ๓๑- ๔๐ ปี มี<br />

ระดับแรงจูงใจในการทํางานมากกว่าผู้ทีมีอายุอืน ๆ<br />

๔. การเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

สุราษฎร์ธานี จําแนกตามระดับการศึกษา เมือพิจารณาโดยรวมแล้วแรงจูงใจในการทํางานอยู ่ใน<br />

ระดับปานกลาง มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ ในด้านความสําเร็จใน<br />

การทํางาน ซึ งพบว่า ผู้ทีระดับการศึกษาอนุปริญญา มีระดับแรงจูงใจในการทํางานมากกว่าระดับ<br />

การศึกษาอืน ๆ<br />

๕. การเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

สุราษฎร์ธานี จําแนกตามสถานภาพ เมือพิจารณาโดยรวมแล้วพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ พบว่า ผู้ทีมีสถานภาพสมรส มีระดับแรงจูงในการทํางานมากกว่าผู้<br />

ทีมีสถานภาพโสด ในด้านความสําเร็จในการทํางาน ด้านความรับผิดชอบหรือลักษณะงานทีปฏิบัติ<br />

ด้านความมั นคงในการทํางาน ด้านรายได้และสวัสดิการ และด้านสภาพแวดล้อมในการทํางาน<br />

๖. การเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

สุราษฎร์ธานี จําแนกตามรายได้ต่อเดือน เมือพิจารณาโดยรวมแล้วพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างไม่<br />

มีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ และเมือพิจารณารายด้าน พบว่าด้านทีมีความแตกต่างกันอย่างมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ คือ ด้านรายได้และสวัสดิการ โดยเฉพาะผู้ทีมีรายได้ต่อเดือน<br />

มากกว่า 20,000 บาทขึ นไป มีระดับแรงจูงใจในการทํางานสูงกว่าผู้ทีมีรายได้ต่อเดือนตํ า<br />

๗. การเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ


๒๙<br />

สุราษฎร์ธานี จําแนกตามตําแหน่งงาน พิจารณาโดยรวมแล้วพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างไม่มี<br />

นัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ และเมือพิจารณารายด้าน พบว่าด้านทีมีความแตกต่างกันอย่างมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ คือ ด้านความสําเร็จในการทํางาน ด้านความรับผิดชอบหรื อ<br />

ลักษณะงานทีปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในงาน พบว่า ผู้ทีมีตําแหน่งงานเป็ นข้าราชการพลเรือน มี<br />

ระดับแรงจูงใจในการทํางานสูงกว่าผู้ทีมีตําแหน่งงานพนักงานตามสัญญาจ้าง ลูกจ้างประจํา และ<br />

อาจารย์ประจําตามสัญญาจ้าง ส่วนตําแหน่งอาจารย์ประจํา มีระดับแรงจูงใจในการทํางานสูงกว่า ผู้ที<br />

มีตําแหน่งงานพนักงานตามสัญญาจ้างและอาจารย์ประจําตามสัญญาจ้าง ด้านรายได้และสวัสดิการ<br />

พบว่า ผู้ทีมีตําแหน่งงานเป็ นอาจารย์ประจํา มีระดับแรงจูงใจในการทํางานสูงกว่าตําแหน่งอืน ๆ<br />

และด้านสภาพแวดล้อมในการทํางาน พบว่า ผู้ทีมีตําแหน่งงานเป็ นข้าราชการพลเรื อนมีระดับ<br />

แรงจูงใจในการทํางานสูงกว่าตําแหน่งอืน ๆ<br />

พันโท ทวี หวังพัฒน์ (๒๕๔๐) ได้ศึกษาวิจัยเรือง “ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อความพึง<br />

พอใจในการปฏิบัติงานของนายทหารประทวน: ศึกษาเฉพาะกรณีกรมพลาธิการทหารบก” การวิจัย<br />

ครั งนี มีวัตถุประสงค์<br />

๑. เพือศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนายทหารประทวนใน<br />

หน่วย กรมพลาธิการทหารบก<br />

๒. เพือศึกษาปัจจัยทีมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของ<br />

นายทหารประทวนในหน่วยกรมพลาธิการทหารบก<br />

ขอบเขตของการวิจัย ทําการศึกษาวิจัยข้อมูลความพึงพอใจจากกําลังพลใน<br />

หน่วยกรมพลาธิการทหารบกเฉพาะกําลังพลนายทหารประทวน ยศ สิบตรี ถึง จ่าสิบเอก โดยทํา<br />

การสุ่มตัวอย่างในกลุ่มประชากรของหน่วย กรมพลาธิการทหารบก จากกําลังพลทั งสิน ๘๓๐คน<br />

และทําการคํานวณหาขนาดตัวอย่างได้ จํานวน ๒๗๐ คน ช่วงเดือน เมษายน - สิงหาคม ๒๕๔๖<br />

ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ งได้ส่งแบบสอบถามจํานวนทั งสิน ๓๐๐ ฉบับ<br />

และได้แบบสอบถามกลับคืนมา จํานวน ๒๘๔ ฉบับ แล้วนําข้อมูลทีได้จากแบบสอบถามมา<br />

ทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ในการหา<br />

ค่าความถี ค่าร้อยละ ค่าเฉลียเลขคณิต ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การ<br />

วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ (multiple<br />

regression analysis)<br />

ผลการวิจัย พบว่า นายทหารประทวนส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย มีอายุอยู ่ระหว่าง<br />

๔๐- ๔๙ ปี วุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แต่งงานแล้ว ครองยศในอัตรา จ่าสิบ


๓๐<br />

ตรี - จ่าสิบเอก รับเงินเดือนในช่วง ๕,๐๐๑ – ๙,๙๙๙ บาท มีอายุราชการ ๑๐- ๑๙ ปี กําเนิดจาก<br />

นักเรียนนายสิบ พักอาศัยอยู ่ในบ้านพักสวัสดิการ ทีทางราชการจัดให้ และส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพ<br />

เสริม ระดับปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนายทหารประทวนในด้าน<br />

ต่าง ๆ คือ การบังคับบัญชา สิ งตอบแทน ความก้าวหน้า ความผูกพันต่อหน่วยงาน และ<br />

สภาพแวดล้อมในการทํางาน หัวข้อทีมีความพึงพอใจในระดับสูง พบว่า ในด้านการบังคับบัญชา<br />

เมือมีปัญหานายทหารประทวนสามารถขอคําแนะนําปรึกษาจากผู้บังคับบัญชาได้ตลอดเวลาทั งเรือง<br />

ส่วนตัวและเรืองงาน ด้านสิ งตอบแทน เมือมีการเจ็บป่ วยเกิดขึ น กําลังพลและครอบครัวได้รับการ<br />

ช่วยเหลือในเรื องการรักษาพยาบาลเป็ นอย่างดี ด้านความก้าวหน้า ผู้บังคับบัญชาส่งเสริ มให้<br />

ผู้ใต้บังคับบัญชา ศึกษาหาความรู้เพิ มเติมหรือเข้าฝึ กอบรม ด้านความผูกพันต่อหน่วยงาน กลุ่ม<br />

ตัวอย่าง คิดว่าหน่วยงานทีปฏิบัติงานอยู ่มีเกียรติมีศักดิ ศรี มีชือเสียงเป็ นทียอมรับของผู้บังคับบัญชา<br />

โดยจะไม่ยอมให้ผู้ใดกระทําความผิดจนเกิดความเสือมเสียแก่หน่วยงาน สภาพแวดล้อมในการ<br />

ทํางาน บรรยากาศของการทํางานในหน่วยงานมีความเป็ นมิตร และเอื ออารีต่อกัน<br />

จากการวิจัยกลุ่มตัวอย่างในภาพรวม เมือพิจารณาปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อความพึง<br />

พอใจในการปฏิบัติงาน ทั ง ๕ ตัวแปร คือ การบังคับบัญชา สิ งตอบแทน ความก้าวหน้า ความ<br />

ผูกพันต่อหน่วยงาน และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พบว่า ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ มี<br />

๓ ตัวแปร ทีอยู ่ในเกณฑ์สูง คือ ตัวแปรการบังคับบัญชา ความก้าวหน้า และความผูกพันต่อ<br />

หน่วยงาน และปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ๒ ตัวแปร คือ สิ งตอบ<br />

แทน และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เมือพิจารณาปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการ<br />

ปฏิบัติงานทั ง ๕ ตัวแปร ในภาพรวมมีระดับความพึงพอใจ ระดับปานกลาง และเมือพิจารณา<br />

ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานซึ งเป็ นตัวแปรตาม อยู ่ในระดับปานกลาง โดยแบ่งเป็ นรายด้าน<br />

คือ ด้านสถานภาพ อยู ่ในระดับปานกลาง และด้านจิตใจ อยู ่ในระดับปานกลาง<br />

ด้านความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทีมีอิทธิพลในการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจใน<br />

การปฏิบัติงาน จากการวิจัย พบว่า การวิเคราะห์ถดถอยเพือหาปัจจัยทีมีความสัมพันธ์กับความพึง<br />

พอใจในการปฏิบัติงานของนายทหารประทวน ในด้านการบังคับบัญชา สิ งตอบแทน<br />

ความก้าวหน้า ความผูกพันต่อหน่วยงานและสภาพแวดล้อมในการทํางาน มีความสัมพันธ์ระหว่าง<br />

ตัวแปรอิสระอย่างน้อย ๑ ตัว กับตัวแปรตาม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ ๐.๐๕ โดยการ<br />

บังคับบัญชามีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านลบ แสดงว่าไม่มีความพึงพอใจ<br />

ในการปฏิบัติงาน หมายความว่าลักษณะการควบคุมงาน หรือการควบคุมบังคับบัญชา พฤติกรรม<br />

ในการควบคุมของผู้บังคับบัญชา หรื อหัวหน้างาน มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ ในการ


๓๑<br />

ปฏิบัติงานของนายทหารประทวน เช่น ผู้บังคับบัญชาไม่เป็ นกันเอง และไม่ให้ความสนใจ<br />

ผู้ใต้บังคับบัญชา โดยเท่าเทียมกัน ผู้บังคับบัญชาลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยอารมณ์ หรือหลอก<br />

ให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ทํางานเพือผลประโยชน์ส่วนตัว เป็ นต้น ซึ งสิ งเหล่านี มักสร้างความไม่พึง<br />

พอใจในการปฏิบัติงาน ของคนทํางานอยู ่เสมอ ตามแนวความคิดของ กิลเมอร์ (๑๙๗๓ : ๒๘๐) ที<br />

กล่าวว่า “การบังคับบัญชามีส่วนทําให้เกิดความพึงพอใจในงาน” ผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถ<br />

ปฏิบัติงานได้ดี เมือมีความเป็ นอิสระในการกระทําสิ งต่าง ๆ ดังนั นหากไม่มีการกําหนดขอบเขต<br />

ของงานทีชัดเจนระหว่างผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชาแล้ว ผู้ใต้บังคับบัญชาจะไม่มีความ<br />

เป็ นอิสระในการกระทําสิ งต่าง ๆ ทําให้มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานลดลง<br />

ส่วนสิ งตอบแทน ความก้าวหน้า ความผูกพันต่อหน่วยงาน และสภาพแวดล้อมใน<br />

การทํางาน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านบวก แสดงว่ามีความพึงพอใจในการ<br />

ปฏิบัติงานหมายความว่าโอกาสก้าวหน้าในงาน การมีโอกาสเลือนตําแหน่งทีสูงขึ น การมีโอกาส<br />

ศึกษาหาความรู้เพิ มเติม หรือได้รับการฝึ กอบรม ได้รับสิ งตอบแทนจากความสามารถในงานทีทํา<br />

รายได้เหมาะสมกับงานทีทํา หน่วยงานมีสวัสดิการเพียงพอ มีบ้านพักอาศัย ได้รับการดูแลเมือมี<br />

การเจ็บป่ วย ผลการพิจารณาบําเหน็จเป็ นทีพอใจของกําลังพล ความผูกพันต่อหน่วยงาน คือมี<br />

ความภูมิใจในการทํางานหน่วยงานนี มีความรักความผูกพันทําให้มีความสุข ทําให้รู้สึกยินดี มี<br />

ความคุ้นเคยเข้าใจ มีการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลอืนอย่างแนบสนิท และสภาพแวดล้อมในการ<br />

ทํางาน เครืองมือเครืองใช้ในการทํางาน และวัตถุสิ งของต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับบุคลากร โดยอยู ่ใน<br />

สภาพทีพอใจของทุกคน<br />

พันเอก เดชา เดชะชาติ (๒๕๔๕) ได้ศึกษาวิจัยเรือง “การศึกษาเปรียบเทียบ<br />

ประสิทธิภาพการฝึ ก-ศึกษาของนักเรียนนายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี รุ่นปี ๒๕๔๕ ทีมาจากพล<br />

เรือน และทหารกองประจําการ” การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์<br />

๑. เพือศึกษาประสิทธิภาพทางการฝึ ก – ศึกษาของนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

หลักสูตร ๑ ปี ทีมาจากบุคคลพลเรือนและทหารกองประจําการ<br />

๒. เพือ ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพทางการฝึ ก - ศึกษาของนัก เรียนนายสิบ<br />

ทหารบก หลักสูตร ๑ ปี ทีมาจากบุคคลพลเรือนและทหารกองประจําการ<br />

ขอบเขตของการวิจัย<br />

๑. ประชากรทีทําการศึกษาเป็ นกลุ่มประชากรตัวอย่าง คือ นักเรียนนายสิบทหารบก<br />

คร-◌ู อาจารย์ และครูฝึ ก


๓๒<br />

๒. ผู้วิจัยจะทําการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพทางการฝึ ก - ศึกษาของนักเรียน<br />

นายสิบทหารบก โดยเก็บข้อมลูจากนัก เรียนนายสิบทหารบกและอาจารย์ผู้สอน ในด้านปัจจัยส่วน<br />

บุคคล ด้านคุณลักษณะและความสามารถในการฝึ ก- ศึกษา<br />

วิธีดําเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยแบบเชิงปริมาณ ประชากรทีใช้ในการวิจัย คือ<br />

นักเรียนนายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี รุ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ จํานวน ๒๐๐ คน (๑๐๐ นายจากบุคคลพล<br />

เรือน และ ๑๐๐ นายจากทหารกองประจําการ) อาจารย์ผู้สอน จํานวน ๑๐๐ คน ตัวแปรทีศึกษา ตัว<br />

แปรต้น ได้แก่ ทีมาของนักเรียนนายสิบ จากทหารกองประจําการ และบุคคลพลเรือน ตัวแปรตาม<br />

คือ ประสิทธิภาพในการฝึ ก- ศึกษา ในด้านคุณลักษณะ และความสามารถในการฝึ ก- ศึกษาเครืองมือ<br />

ทีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ๒ ชุด ชุดแรก สําหรับอาจารย์ ชุดทีสอง สําหรับนักเรียนนาย<br />

สิบทหารบก การวิเคราะห์ข้อมูล โดยวิธีทางสถิติ ด้วยค่าร้อยละ เพือ บรรยายลักษณะทั วไปของ<br />

ข้อมูล ใช้ค่าฉลียเป็ นการแยกประเภทและแปลความหมาย และใช้ค่าเบียงเบนมาตรฐานควบคู่กับ<br />

ค่าเฉลียเพือแสดงลักษณะการกระจายของข้อมูล<br />

ผลการวิจัย จากการวิจัยประสิทธิภาพของนักเรียนนายสิบทีมาจากบุคคลพลเรือน<br />

และทหารกองประจําการ หลักสูตร ๑ ปี รุ่นปี พ.ศ.๒๕๔๕ ได้ผลการวิจัยดังนี<br />

๑. นักเรียนนายสิบทีมาจากบุคคลพลเรือนและทหารกองประจําการมีประสิทธิภาพ<br />

ทางการฝึ ก- ศึกษาโดยรวมอยู ่ในระดับดี<br />

๒. ประสิทธิภาพทางการฝึ ก-ศึกษาของนักเรียนนายสิบทีมาจากบุคคลพลเรือนและ<br />

ทหารกองประจําการ มีประสิทธภาพโดยรวมอยู ่ในระดับทีไม่ต่างกัน<br />

๓. นักเรียนนายสิบทีมาจากบุคคลพลเรือนและทหารกองประจําการทีมีปัจจัยส่วน<br />

บุคคลแตกต่างกันเมือมาเข้ารับการฝึ ก-ศึกษาร่วมกัน จะมีประสิทธิภาพทางการฝึ ก - ศึกษาโดยรวม<br />

อยู่ในระดับดีไม่ต่างกัน<br />

ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการฝึ ก-ศึกษาของนักเรียน<br />

นายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี รุ่นปี พ.ศ.๒๕๔๕ ทีมาจากบุคคลพลเรือนและทหารกองประจําการ<br />

สามารถนําไปใช้เป็ นข้อมูลในการกําหนดคุณสมบัติของบุคคลในการคัดเลือกเข้าเป็ นนักเรียนนาย<br />

สิบทหารบกต่อไป ดังนี<br />

๑. กองทัพบกควรมีนโยบายในการกําหนดคุณสมบัติของบุคคลทีจะรับการ<br />

คัดเลือกเข้าเป็ นนักเรียนนายสิบทหารบก ทีจะส่งผลให้ได้นักเรียนนายสิบทหารบกทีมีความรู้<br />

ความสามารถในการฝึ ก - ศึกษาเพือให้ได้นายสิบทหารบกมีคุณภาพทีดี


่<br />

๓๓<br />

๒. บุคคลทีจะเข้ามาเป็ นนักเรียนนายสิบทหารบก สามารถคัดเลือกจากทหารกอง<br />

ประจําการได้ทั งหมด เนืองจากผลการวิจัยเห็นว่า นักเรียนนายสิบทีมาจากบุคคลพลเรือนและทหาร<br />

กองประจําการมีประสิทธิภาพในการฝึ ก-ศึกษาโดยรวมไม่ต่างกัน การรับนักเรียนนายสิบจากทหาร<br />

กองประจําการเป็ นการเพิ มยอดการรับนักเรียนนายสิบในส่วนของทหารกองประจําการ เพิม<br />

แรงจูงใจในการสมัครเข้ามาเป็ นทหาร รวมถึง การสร้างจิตสํานึกในการเป็ นพลทหารทีดีเพือจะ<br />

ได้รับการคัดเลือกมาเป็ นนายสิบทีดีต่อไป<br />

๓. จากการศึกษาประสิทธิภาพการฝึ ก - ศึกษาของนักเรียนนายสิบทหารบกในครั ง<br />

นี ทําให้เห็นว่าควรมีการศึกษาติดตามการปฏิบัติตนของนักเรียนนายสิบอย่างต่อเนือง เพือนําไปสู<br />

การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรนักเรียนนายสิบอย่างเป็ นระบบ รวมทั งจะเป็ นการประเมินคุณภาพ<br />

การฝึ ก -ศึกษาอย่างเหมาะสมอีกด้วย


บทที ๓<br />

วิธีดําเนินการวิจัย<br />

วิธีทีใช้ในการวิจัย<br />

๑. ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทีเกียวข้องกับ<br />

หลักสูตรนักเรียนนายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี และเอกสารข้อมูลทีเกียวข้องกับการเลือกรับ<br />

ราชการในหน่วยของกองทัพบกของนักเรียนนายสิบ รวมทั งการสัมภาษณ์ ครู อาจารย์และบุคลากร<br />

ทีเกียวข้องกับหลักสูตรและการเลือกรับราชการ ตลอดจนประสบการณ์ของผู้วิจัยเองทีมีตําแหน่ง<br />

เป็ นหัวหน้าแผนกเตรียมการของโรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่<br />

๒. การรวบรวมข้อมูลของการวิจัย สามารถรวบรวมข้อมูลได้จาก กรมนักเรียน<br />

โรงเรียนทหารปื นใหญ่ กองกําลังพลของศูนย์การทหารปื นใหญ่ แบบสอบถามนักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่และการสัมภาษณ์นักเรียนนายสิบ ครู อาจารย์ บุคลากรทีเกียวข้องกับ<br />

กระบวนการเลือกหน่วยรับราชการของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่<br />

แหล่งข้อมูล<br />

ผู้วิจัยค้นคว้าข้อมูลจากห้องสมุดวิทยาลัยเสนาธิการทหารสถาบันป้ องกันประเทศ ค้น<br />

หาทางอินเตอร์เน็ท แผนกเตรียมการโรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ สัมภาษณ์ ครู<br />

อาจารย์ และบุคลากรของโรงเรียนทหารปื นใหญ่ และศูนย์การทหารปื นใหญ่ รวมทั งข้อมูลทีได้<br />

จากแบบสอบถามนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ จํานวน ๑๐๓<br />

นาย<br />

เครืองมือทีใช้รวบรวมข้อมูล<br />

ประเภทของข้อมูลและแหล่งข้อมูล แบ่งได้ดังนี


๓๕<br />

๑. แหล่งข้อมูลทีเป็ นข้อมูลปฐมภูมิ ใช้การสัมภาษณ์นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่า<br />

ทหารปื นใหญ่ ครู อาจารย์ และบุคลากรทีเกียวข้องกับกระบวนการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วยใน<br />

การรับราชการของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ และทําการบันทึกข้อมูลไว้ รวมทั ง<br />

ข้อมูลทีได้จากการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่<br />

รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ จํานวน ๑๐๓ นาย ซึ งถือว่าเป็ นข้อมูลทีเป็ นปัจจุบันมากทีสุด และนําไปใช้ใน<br />

การตรวจสอบยืนยันความน่าเชือถือของข้อมูลกับข้อมูลอืนทีรวบรวมได้<br />

๒. แหล่งข้อมูลทีเป็ นข้อมูลทุติยภูมิ ใช้ค้นคว้าสํารวจเอกสารทีเกียวข้องทั งทฤษฎีและ<br />

ข้อมูลทีเกียวกับการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วย ในการรับราชการนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่า<br />

ทหารปื นใหญ่ ซึ งข้อมูลจากเอกสารต่างๆ นั นก็ได้รับความอนุเคราะห์ด้วยดีจากเจ้าหน้าทีของหน่วย<br />

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดเตรียมข้อมูลเพือการวิเคราะห์<br />

๑. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

ก. ค้นคว้าด้วยตนเองจากเอกสาร และรายงานต่างๆ จากแหล่งข้อมูล<br />

ข. ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานทีเกียวข้อง เช่น กรมนักเรียน แผนก<br />

เตรียมการโรงเรียนทหารปื นใหญ่ กองกําลังพล ศูนย์การทหารปื นใหญ่<br />

ค. ผู้วิจัยเคยเป็ นอาจารย์โรงเรียนทหารปื นใหญ่ และปัจจุบันเป็ นหัวหน้าแผนก<br />

เตรียมการโรงเรียนทหารปื นใหญ่ จึงรวบรวมข้อมูลได้ด้วยตนเอง<br />

ง. การสัมภาษณ์นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ ครู อาจารย์ และ<br />

บุคลากรทีเกียวข้องและบันทึกไว้<br />

๒. การประมวลผลข้อมูล การจัดเตรียมข้อมูลเพือการวิเคราะห์<br />

ข้อมูลทีรวบรวมได้จากวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดําเนินการตรวจสอบ<br />

ความน่าเชือถือกับเอกสารทางวิชาการต่างๆ และได้ข้อมูลทีเป็ นจริง เป็ นปัจจุบัน ถูกต้องเชือถือได้<br />

ผู้วิจัยจัดระเบียบข้อมูลเพือนําไปวิเคราะห์ในบทที ๔ และสรุปผลการวิจัยพร้อมเสนอแนะในบทที<br />

๕ การวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี<br />

ก. การประเมินค่าข้อมูล (EVALUATION)<br />

ข้อมูลจากเอกสารตําราต่างๆ ผู้วิจัยได้ประเมินค่าความน่าเชือถือโดย<br />

ศึกษาจากหน่วยงานทีจัดทําและผู้แต่งตํารา ซึ งเป็ นตําราทีใช้ศึกษาในสถาบันการศึกษาจริง และ


๓๖<br />

ข้อมูลจากเอกสารของหน่วยงานเป็ นสถิติจริงทีถูกต้องเชือถือได้ ข้อมูลทีได้จากการสัมภาษณ์ ครู<br />

อาจารย์ และบุคลากรทีเกียวข้องเป็ นข้อมูลจากผู้ทีมีคุณวุฒิเป็ นทีเชือถือได้ ตลอดจนแบบสอบถาม<br />

นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ทําให้ทราบความคิดเห็นทีเป็ นปัจจุบัน<br />

ข. การตีความข้อมูล (INTERPRETATION)<br />

ผู้วิจัยใช้ความรู้ทางวิชาการทางด้านพฤติกรรมและสังคมจิตวิทยาตลอดจน<br />

ประสบการณ์ในการทํางานด้านการศึกษาตีความข้อมูลทั งจากเอกสารตําราและการสัมภาษณ์<br />

ค. การวิเคราะห์ข้อมูล (ANALYSIS)<br />

ทําการแยกประเภทข้อมูลทีได้จากเอกสาร ตํารา และสัมภาษณ์ ทําการแยก<br />

ประเภทเป็ นเรืองๆ ทีสัมพันธ์ตามลําดับเหตุการณ์ทําการวิเคราะห์ด้วยพื นฐานความเป็ นกลางตาม<br />

ข้อมูลทีปรากฏโดยไม่ได้ใช้ความเป็ นส่วนตัวเข้าไปในกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

ง. การลงความเห็น (GENERALIZATION)<br />

ผู้วิจัยสรุปเพือตอบคําถามการวิจัยและเสนอแนวความเห็นของผู้วิจัย เพือเป็ น<br />

ประโยชน์ต่อคณะกรรมการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วย ในการรับราชการของนักเรียนนายสิบเหล่า<br />

ทหารปื นใหญ่ ซึ งจะส่งผลถึงประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลในการทํางานของกําลังพลของ<br />

กองทัพบกต่อไป การลงความเห็นของผู้วิจัยใช้พื นฐานของหลักวิชาทางด้านจิตวิทยาจากการ<br />

ประเมินค่าข้อมูล การตีความและวิเคราะห์ข้อมูลเป็ นสําคัญ


บทที ๔<br />

ข้อมูลและการวิเคราะห์<br />

ข้อมูล<br />

๑. ผู้วิจัยได้ออกแบบสอบถามเพือการวิจัย เรือง แรงจูงใจทีมีผลกระทบต่อนักเรียน<br />

นายสิบทหารบกในการเลือกรับราชการในหน่วยของกองทัพบก เพือต้องการทราบข้อมูลเกียวกับ<br />

ข้อมูลส่วนบุคคล ความคิดเห็นของนักเรียนนายสิบทหารบกเรืองลักษณะของหน่วยทีต้องการและ<br />

กรรมวิธีในการเลือกหน่วย เพือให้สามารถตรงกับความต้องการและขีดความสามารถของนักเรียน<br />

นายสิ บทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่มากทีสุ ด เท่าทีจะเป็ นไปได้ รวมทั งเพือต้องการทราบ<br />

ข้อเสนอแนะต่างๆของ นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ เกียวกับการดําเนินกรรมวิธี<br />

เลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ โดยได้ทําการแจกให้แก่นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่<br />

รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ จํานวน ๑๐๓ นาย ซึ งจะสําเร็จการศึกษาและดําเนินการเลือกหน่วยเพือเข้ารับ<br />

ราชการภายใน ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

๒. ข้อมูลอีกส่วนได้จากการสัมภาษณ์ครู อาจารย์ และบุคลากรทีเกียวข้องและ<br />

บันทึกไว้เพือนํามาดําเนินการวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลอืน โดยต้องการทราบเกียวกับข้อมูลส่วน<br />

บุคคล ความคิดเห็นเกียวกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการของนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่ในปัจจุบัน รวมทั งข้อเสนอแนะต่างๆ<br />

๓. ผู้วิจัยเคยเป็ นอาจารย์โรงเรียนทหารปื นใหญ่ และปัจจุบันเป็ นหัวหน้าแผนก<br />

เตรียมการโรงเรียนทหารปื นใหญ่ จึงสามารถรวบรวมข้อมูลได้จากประสบการณ์ของตนเองทีเคย<br />

เข้าร่ วมดําเนินกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการของนักเรี ยนนายสิ บทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล


๓๘<br />

๑. จากแบบสอบถามทีผู้วิจัยได้ทําการแจกให้แก่นักเรี ยนนายสิบทหารบกเหล่า<br />

ทหารปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ จํานวน ๑๐๓ นาย นั น ผู้วิจัยได้รับการตอบแบบสอบถามกลับมา<br />

จํานวน ๑๐๒ ชุด ซึ งก็คือเกือบ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ (๙๙ เปอร์เซ็นต์) สามารถสรุปข้อมูลจากการตอบ<br />

แบบสอบถามได้ดังนี<br />

ก. อายุนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑<br />

๑) อายุ ๑๘ ปี ๒ นาย<br />

๒) อายุ ๑๙ ปี ๒๘ นาย<br />

๓) อายุ ๒๐ ปี ๒๔ นาย<br />

๔) อายุ ๒๑ ปี ๑๔ นาย<br />

๕) อายุ ๒๒ ปี ๑๐ นาย<br />

๖) อายุ ๒๓ ปี ๑๓ นาย<br />

๗) อายุ ๒๔ ปี ๑๑ นาย<br />

ข. วุฒิการศึกษาทางพลเรื อนสูงสุดก่อนเข้ารับการศึกษาทีโรงเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกและสถานศึกษาของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑<br />

๑) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั นสูง ๔ นาย<br />

๒) มัธยมศึกษาปี ที ๖ ๘๓ นาย<br />

๓) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๑๒ นาย<br />

๔) ปริญญาตรี ๒ นาย<br />

๕) นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชั นปี ที ๓ ๑ นาย<br />

ค. จังหวัดภูมิลําเนาเดิม (ทีอยู่จริ งก่อนเข้ารับการศึกษาทีโรงเรี ยนนายสิ บ<br />

ทหารบก)<br />

๑) จังหวัดในภาคตะวันออก ๓ นาย<br />

๒) จังหวัดในภาคกลาง ๒๘ นาย<br />

๓) จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓๒ นาย<br />

๔) จังหวัดในภาคเหนือ ๑๙ นาย<br />

๕) จังหวัดในภาคใต้ ๒๐ นาย<br />

ง. ความคิดเห็นเกียวกับหน่วยทีต้องการและกรรมวิธี ในการเลือกหน่วย<br />

เพือรับราชการ


๓๙<br />

๑) จะ เลื อกเข้า รั บราชก า รใ นหน่ วยที มี ที ตั ง อยู่ใกล้สถานศึ ก ษ า<br />

ทางพลเรื อนเพือจะได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษาเพือเพิ มคุณวุฒิการศึกษาทางพลเรื อนถึงแม้ว่า<br />

ทีตั งหน่วยอยู่ห่างไกลจากภูมิลําเนาเดิม(ครอบครัว)<br />

๘๑.๘ เปอร์เซ็นต์<br />

๒) จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีมีอาวุธยุทโธปกรณ์และวัสดุอุปกรณ์<br />

ต่างๆ ทีทันสมัยและมีเทคโนโลยีสูง เพราะรู้สึกเป็ นความท้าทายทีจะได้เรียนรู้วิทยาการสมัยใหม่<br />

แต่จะไม่เลือกหน่วยทีมีอาวุธยุทโธปกรณ์และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ แบบเดิมๆ หรือแบบทีเคยเรียนรู้<br />

มาแล้วเพราะไม่มีวิทยาการใหม่ๆ ให้เรียนรู้<br />

๗๗.๒ เปอร์เซ็นต์<br />

๓) จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีมีอัตรา(ตําแหน่งทีสูงขึ น) ว่างมาก<br />

สําหรับรองรับความก้าวหน้าในอาชีพราชการในอนาคต ถึงแม้ว่าทีตั งหน่วยอยู่ห่างไกลจาก<br />

ภูมิลําเนาเดิม (ครอบครัว)<br />

๗๔.๘ เปอร์เซ็นต์<br />

๔) จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีก่อตั งมานานแล้วเพราะเป็ นหน่วยที<br />

มีความสมบูรณ์ในเรืองระบบการทํางานและสถานทีในการทํางานทีพร้อมและสะดวกสบาย แต่จะ<br />

ไม่เลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีเพิงก่อตั งใหม่ ซึ งยังไม่มีความสมบูรณ์ทั งในเรืองการทํางานและ<br />

สถานทีในการทํางานทียังต้องมีการพัฒนาปรับปรุงอีกมาก ๖๘.๐ เปอร์เซ็นต์<br />

๕) จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีเป็ นหน่วยสนับสนุนการรบ เช่น<br />

กองพัน ทหารปื นใหญ่ หรือกองพันทหารปื นใหญ่ต่อสู้อากาศยาน แต่จะไม่เลือกเข้ารับราชการ<br />

ในหน่วยทีเน้นหนักงานทางด้านธุรการหรืองานทางด้านการศึกษา ๖๗.๐ เปอร์เซ็นต์<br />

๖) ลําดับทีในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการควรให้สิ ทธิผู้ทีมีผล<br />

การศึกษาดีกว่าเป็ นผู้มีสิทธิเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการก่อนเรียงตามลําดับไป ๘๙.๔ เปอร์เซ็นต์<br />

๗) ควรให้มีผู้แทนหน่วยระดับกรมหรื อเทียบเท่ามาแนะนําหน่วย<br />

ถึงระดับกองพันหรือเทียบเท่า เพือให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ได้ทราบก่อน<br />

การซักซ้อมการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการครั งแรก<br />

๘๙.๐ เปอร์เซ็นต์<br />

๘) ควรให้นักเรี ยนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ กําหนดความ<br />

ต้องการหน่วยทีประสงค์จะเข้ารับราชการเรียงตามลําดับความต้องการ ๓ ลําดับเพือเป็ นแผนสํารอง<br />

ในกรณีทีการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการจริงไม่เป็ นไปตามทีซักซ้อม ๘๖.๖ เปอร์เซ็นต์<br />

๙) ควรมีการซักซ้อมการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการมากกว่า ๑ ครั ง<br />

ก่อนดําเนินการเลือกจริงโดยให้ระยะเวลาของการซักซ้อมต่างกันพอเหมาะคือ ให้มีการซักซ้อม<br />

โดยพิจารณาจากลําดับทีของนักเรียนทีจัดเรียงลําดับตามผลการเรียนมีการเปลียนแปลงจากเดิมมาก<br />

พอสมควรเป็ นเกณฑ์ในการกําหนดวันซักซ้อม<br />

๗๙.๒ เปอร์เซ็นต์


๔๐<br />

จ. ข้อเสนอแนะในการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ สามารถ<br />

สรุปเป็ นข้อได้ ดังนี<br />

๑) ควรซักซ้อมการเลือกหน่วยก่อนถึงวันเลือกจริง ๑ วัน เพือไม่ให้เหลือ<br />

เวลามากก่อนถึงวันเลือกจริง<br />

๒) ควรมีความโปร่งใสในเรืองของคะแนน สามารถให้นักเรียนนายสิบ<br />

ทราบในทุกรายวิชา<br />

๓) ควรมีการสํารวจความต้องการเลือกหน่วยของนักเรียนนายสิบ เพือ<br />

เป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาการเปิ ดอัตราการบรรจุ<br />

๔) การจัดลําดับสิ ทธิในการเลือกหน่วย ควรเน้นทีผลการเรี ยนและ<br />

คะแนนความประพฤติเป็ นสําคัญ<br />

๕) ไม่ควรจัดแบ่งเป็ นส่วนในการเลือกหน่วย แต่ควรเรียงตามลําดับคะแนน<br />

๖) การจัดลําดับสิทธิในการเลือกหน่วย ควรพิจารณาจากภูมิลําเนาของ<br />

นักเรียนนายสิบ<br />

๗) การจัดลําดับสิทธิในการเลือกหน่วยควรแบ่งเป็ นกลุ่มๆ ละประมาณ<br />

๒๐ นาย และเรียงตามลําดับคะแนน เพือให้แต่ละหน่วยมีโอกาสได้รับการบรรจุนักเรียนนายสิบ<br />

ทีมีผลการเรียนดีเท่าเทียมกันทุกหน่วย<br />

๘) ควรให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ กําหนดความ<br />

ต้องการหน่วยทีประสงค์จะเข้ารับราชการเรี ยงตามลําดับความต้องการ ๕ ลําดับ เพือเป็ น<br />

แผนสํารองในกรณีทีการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการจริงไม่เป็ นไปตามทีซักซ้อม<br />

๙) ควรมีการแจ้งผลการศึกษาของนักเรียนนายสิบ เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

โดยเร็ว<br />

๒. ผู้วิจัยได้ดําเนินการสัมภาษณ์ครู อาจารย์ และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษา<br />

ของโรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ โดยมีหัวข้อการสัมภาษณ์ และข้อมูลพร้อมทั ง<br />

ความคิดเห็นของครู อาจารย์และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของโรงเรี ยนทหารปื นใหญ่<br />

ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ดังนี<br />

ก. ตําแหน่งปัจจุบันของครู อาจารย์และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของ<br />

โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ประกอบด้วย หัวหน้ากองกําลังพล ศูนย์การทหาร


๔๑<br />

ปื นใหญ่ อาจารย์ หัวหน้าแผนก โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ อาจารย์โรงเรียน<br />

ทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ผู้บังคับกองพันนักเรียนนายสิบ กรมนักเรียนโรงเรียนทหาร<br />

ปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ รองผู้บังคับกองร้อย โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหาร<br />

ปื นใหญ่ ปฏิบัติหน้าทีนายทหารฝ่ ายยุทธการและการฝึ กกองพันนักเรี ยนนายสิบ กรมนักเรียน<br />

โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่<br />

ข. ครู อาจารย์ และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของโรงเรี ยนทหาร<br />

ปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ได้ อยู่ในตําแหน่งตามข้อ ก. มาแล้วเป็ นระยะเวลา ๑- ๑๕ ปี<br />

ค. ครู อาจารย์และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของโรงเรียนทหารปื นใหญ่<br />

ศูนย์การทหารปื นใหญ่มีความคิดเห็นเกียวกับความสนใจใฝ่ เรียนรู้ของนายสิบทหารบกเหล่าทหาร<br />

ปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ อย่างไร เช่น มีความตั งใจรับการฝึ กศึกษาวิชาทหารปื นใหญ่ วิชา<br />

อืนๆ เพือพัฒนาตนเองมากหรือน้อยอย่างไร สามารถสรุปความคิดเห็นได้คือ นักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ผลัดนี ส่วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้ตั งใจรับการฝึ กศึกษาวิชาทหาร<br />

ปื นใหญ่เป็ นอย่างดี เพราะเมือจบการศึกษาไปเป็ นนายทหารชั นประทวนแล้วจะต้องนําความรู้ใน<br />

เรืองเทคนิคของเหล่าทหารปื นใหญ่ไปใช้ทีหน่วย<br />

ง. ครู อาจารย์ และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของโรงเรี ยนทหาร<br />

ปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ มีความคิดเห็นว่าเห็นว่า นนส.ทบ.เหล่า ป.รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑<br />

มีอุดมการณ์มุ่งมั นทีจะทํางานทีสมบุกสมบัน หนักเอาเบาสู้ หรือ เลือกทํางานทีสบายๆ อยู ่ใกล้<br />

ครอบครัวเป็ นหลักอย่างไร สามารถสรุปความคิดเห็นได้คือ นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหาร<br />

ปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ นี ส่วนใหญ่มีอุดมการณ์มุ่งมั นทีจะทํางานทีสมบุกสมบัน หนักเอา<br />

เบาสู้ และถ้าเป็ นไปได้ก็อยากทีจะอยู ่ใกล้ครอบครัวด้วย<br />

จ. ในทัศนะของ อาจารย์และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของโรงเรียน<br />

ทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่มีความคิดเห็นว่า นักเรี ยนนายสิบทหารบกเหล่าทหาร<br />

ปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ มีความต้องการเพิมคุณวุฒิการศึกษาทางพลเรือน หรือพึงพอใจกับ<br />

วุฒิการศึกษาทางพลเรือนทีตนมีอยู ่ในปัจจุบันอย่างไร สามารถสรุปความคิดเห็นได้ คือนักเรียน<br />

นายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ มีความต้องการเพิมคุณวุฒิการศึกษา<br />

ทางพลเรือน เพือเพิมโอกาสในเรืองความเจริญก้าวหน้าในอนาคต และอาจสามารถเพิ มโอกาส<br />

ในการย้ายหรือโอนหน่วยงาน รวมทั งอาจเป็ นช่องทางในการไปประกอบอาชีพส่วนตัวเมือมีโอกาส<br />

ฉ. นอกจากแรงจูงใจ นนส.ทบ.เหล่า ป. ในการเลือกหน่วยเข้ารับราชการเมือ<br />

สําเร็จการศึกษาจาก รร.ป.ศป. ตามข้อ ค. ถึงข้อ จ. แล้วนั น ในทัศนะของอาจารย์และบุคลากร


๔๒<br />

ทีเกียวข้องกับการศึกษาของโรงเรียนทหารปื นใหญ่ศูนย์การทหารปื นใหญ่ มีความคิดเห็นว่ามี<br />

แรงจูงใจอืนใดบ้างทีชักนําให้ นนส.ทบ.เหล่า ป. เลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ สามารถสรุปความ<br />

คิดเห็นได้คือ เกียรติประวัติของหน่วย สวัสดิการทีหน่วยสามารถให้แก่กําลังพล ค่าครองชีพของ<br />

แต่ละพื นทีทีเป็ นทีตั งหน่วย<br />

ช. เพือให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ สามารถเลือกหน่วย<br />

เข้ารับราชการเมือสําเร็จการศึกษาจาก รร.ป.ศป. ได้ตรงตามความต้องการของ นนส.ทบ.เหล่า ป.<br />

มากทีสุด ในทัศนะของเห็นครู อาจารย์ และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษาของโรงเรียนทหาร<br />

ปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ว่าการดําเนินกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเข้ารับราชการเมือสําเร็จ<br />

การศึกษาของ นนส.ทบ.ในปัจจุบันนั นเป็ นอย่างไร ควรมีการปรับปรุ งแก้ไขหรื อไม่ อย่างไร<br />

สามารถสรุปความคิดเห็นได้คือ การดําเนินกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเข้ารับราชการเมือสําเร็จ<br />

การศึกษาของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ดีอยู ่แล้ว และการจัดลําดับทีให้สิทธิ<br />

นักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่ในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ ควรนําคะแนนความ<br />

ประพฤติของนักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่มาพิจารณาร่วมด้วย เพือเป็ นการฝึ กให้นักเรียน<br />

นายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่เป็ นผู้มีระเบียบวินัยตั งแต่ยังเป็ นนักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่<br />

แต่ในปัจจุบันใช้เฉพาะคะแนนจากการศึกษาและการฝึ กเท่านั นในการจัดลําดับที<br />

สรุปผลจากการการวิเคราะห์<br />

๑.ภูมิลําเนาของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ไม่มีผลกระทบต่อ<br />

นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ในการตัดสินใจเลือกหน่วยของกองทัพบก มากกว่า<br />

ความคาดหวังในความก้าวหน้าในการรับราชการ เพราะ ความคาดหวังในความก้าวหน้าในการรับ<br />

ราชการของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่มีผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่ ในการตัดสินใจเลือกหน่วยของกองทัพบก มากกว่าภูมิลําเนา<br />

นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ส่วนใหญ่จะเลือกเข้ารับราชการใน<br />

หน่วยทีมีอัตรา(ตําแหน่งทีสูงขึ น)ว่างมากสําหรับรองรับความก้าวหน้าในอาชีพราชการในอนาคต<br />

และเป็ นหน่วยทีมีทีตั งอยู่ใกล้สถานศึกษาทางพลเรือน เพือจะได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษาเพือเพิม<br />

คุณวุฒิการศึกษาทางพลเรือนถึงแม้ว่าทีตั งหน่วยอยู่ห่างไกลจากภูมิลําเนาเดิม(ครอบครัว) นักเรียน<br />

นายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ต้องการทีจะเรียนรู้วิทยาการสมัยใหม่ของอาวุธยุทโธปกรณ์<br />

และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ และจะเลือกหน่วยทีเป็ นหน่วยสนับสนุนการรบ เช่น กองพันทหารปื น


้<br />

๔๓<br />

ใหญ่ หรือกองพันทหารปื นใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ซึ งจะต้องใช้ความรู้ความสามารถในเรืองเทคนิค<br />

ของเหล่าเป็ นอย่างมาก รวมทั งจะต้องมีสภาพร่างกายทีทรหดอดทนต่อความตรากตรําในการทํางาน<br />

ความต้องการในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการของนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่ดังกล่าว ส่งผลดีต่อกองทัพบกโดยตรง เพราะกองทัพบกจะได้นายทหารชั น<br />

ประทวนทีมีความมุ่งมั นในการทํางานและพัฒนาศักยภาพของตนเองมากกว่าการคิดในเรืองส่วนตัว<br />

ทีจะเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการทีอยู ่ใกล้ครอบครัว ดังนั นข้อมูลทีได้มาจึงไม่สนับสนุน<br />

สมมติฐานทีว่า ภูมิลําเนาของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ มีผลกระทบต่อนักเรียน<br />

นายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ในการตัดสินใจเลือกหน่วยของกองทัพบก มากกว่าความ<br />

คาดหวังในความก้าวหน้าในการรับราชการ<br />

๒. การดําเนินกรรมวิธี ในการเลือกหน่วยของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื น<br />

ใหญ่ดีอยู ่แล้ว และควรเพิมเติม คือ ควรแจ้งให้นักเรียนนายสิบทราบแต่เนินล่วงหน้า ควรให้สิทธิผู<br />

ทีมีผลการศึกษาดีกว่าเป็ นผู ้มีสิทธิเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการก่อนเรียงตามลําดับไป ควรให้มี<br />

ผู ้แทนหน่วยระดับกรมหรือเทียบเท่ามาแนะนําหน่วยถึงระดับกองพันหรือเทียบเท่าและ มีการ<br />

ซักซ้อมในการเลือกหน่วย<br />

นักเรี ยนนายสิ บทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่มีความต้องการทราบแต่เนิ น<br />

ล่วงหน้าถึงตําแหน่งและหน่วย ทีจะเปิ ดให้นักเรียนนายสิบเลือกได้ ซึ งอาจใช้ข้อมูลทีมีอยู ่ หรือสถิติ<br />

เดิมของหน่วยทีสามารถเปิ ดเผยได้ หรือโดยการประมาณการตําแหน่งทีน่าจะเปิ ดในปี ปัจจุบัน<br />

เพือให้นักเรียนนายสิบได้ทราบเป็ นข้อมูลในการตัดสินใจและเตรียมตัวล่วงหน้า ควรให้สิทธิผู้ทีมี<br />

ผลการศึกษาดีกว่าเป็ นผู้มีสิทธิเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการก่อนเรียงตามลําดับไป ควรให้มีผู้แทน<br />

หน่วยระดับกรมหรือเทียบเท่ามาแนะนําหน่วยถึงระดับกองพันหรือเทียบเท่า เพือให้นักเรียนนาย<br />

สิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ได้ทราบก่อนการซักซ้อมการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการครั ง<br />

แรก และให้มีการซักซ้อมในการเลือกหน่วยอย่างน้อย ๒ ครั ง ก่อนจะทําการเลือกจริงในครั ง<br />

ที ๓ แต่มีนักเรียนนายสิบส่วนน้อยเท่านั นทีมีความเห็นว่าควรมีการจัดกลุ่มนักเรียนนายสิบทีมี<br />

ความต้องการในการเลือกหน่วยตามความต้องการของตนเองเป็ นกลุ่มๆ<br />

ความต้องการของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่เกียวกับการดําเนิน<br />

กรรมวิธีในการเลือกหน่วยดังกล่าวเป็ นการสนับสนุนสมมติฐานทีว่า การแก้ปัญหาการดําเนิน<br />

กรรมวิธี ในการเลือกหน่วยของนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ควรแจ้งให้นักเรียน<br />

นายสิบทราบแต่เนิ นล่วงหน้า ถึงตําแหน่งและหน่วย ทีจะเปิ ดให้นักเรียนนายสิบเลือกได้ ซึ งอาจใช้<br />

ข้อมูลทีมีอยู ่ หรือสถิติเดิมของหน่วยทีสามารถเปิ ดเผยได้ หรือโดยการประมาณการตําแหน่งทีน่าจะ


๔๔<br />

เปิ ดในปี ปัจจุบัน เพือให้นักเรียนนายสิบได้ทราบเป็ นข้อมูลในการตัดสินใจและเตรียมตัวล่วงหน้า<br />

และให้มีการซักซ้อมในการเลือกหน่วยอย่างน้อย ๒ ครั ง ก่อนจะทําการเลือกจริงในครั งที ๓ แต่<br />

ไม่สนับสนุนสมมติฐานทีว่า ควรมีการจัดกลุ่มนักเรียนนายสิบทีมีความต้องการในการเลือกหน่วย<br />

ตามความต้องการของตนเองเป็ นกลุ่มๆ


บทที ๕<br />

สรุปและข้อเสนอแนะ<br />

สรุปการทําวิจัย<br />

การวิจัยในครั งนี เป็ นการวิจัยแบบผสมคือ มีทั งการวิจัยเชิงปริ มาณและการวิจัยเชิง<br />

พรรณนา ในเรืองแรงจูงใจทีมีผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ในการ<br />

เลือกรับราชการในหน่วยของกองทัพบก เนืองจากเห็นว่านักเรี ยนนายสิบทหารบกเหล่าทหาร<br />

ปื นใหญ่เป็ นบุคลากรทีมีความสําคัญต่อเหล่าทหารปื นใหญ่ และกองทัพบกเป็ นอย่างยิ งเพราะเมือ<br />

นักเรี ยนนายสิ บทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่จบการศึกษาจากโรงเรี ยนทหารปื นใหญ่ จะเป็ น<br />

นายทหารชั นประทวนทีมีความรู้ความสามารถในทางเทคนิคของเหล่า และปกครองบังคับบัญชา<br />

ทหารกองประจําการจํานวนหนึ งทําหน้าทีสนับสนุนการรบ ผู้วิจัยได้ดําเนินการแจกแบบสอบถาม<br />

ความคิดเห็นของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ โดยได้ทําการแจกให้แก่นักเรียน<br />

นายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ รุ่ นที ๑๒ ผลัดที ๑ จํานวน ๑๐๓ นาย ซึ งจะสําเร็จ<br />

การศึกษาและดําเนินการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการภายใน ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๒<br />

แล้วสรุปเป็ นประเด็นภาพรวมได้ ๓ ประเด็น คือ<br />

สรุปผลทีได้รับจากการวิจัย<br />

ส่วนใหญ่ของนักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ มีอายุ<br />

โดยเฉลีย ๑๘ ปี วุฒิการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ม.๖ มีภูมิลําเนาเดิมอยู ่ในจังหวัดในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือเป็ นส่วนใหญ่ มีความคิดเห็นเกียวกับหน่วยทีจะเลือกเข้ารับราชการเมือจบ<br />

การศึกษาจากโรงเรียนทหารปื นใหญ่คือ จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีมีอัตรา (ตําแหน่งที<br />

สูงขึ น) ว่างมากสําหรับรองรับความก้าวหน้าในอาชีพราชการในอนาคตถึงแม้ว่าทีตั งหน่วยอยู่<br />

ห่างไกลจากภูมิลําเนาเดิม (ครอบครัว) แสดงให้ทราบว่านายทหารชั นประทวนทีเพิ งสําเร็ จ<br />

การศึกษา ยังมีความมุ่งหวังทีจะก้าวหน้าในอาชีพของตนเองมากกว่าทีจะคิดอยู ่ใกล้ครอบครัว และ


๔๖<br />

ยังคงมีสถานภาพโสดมากกว่าพวกมีภาระทางด้านครอบครัว แต่ก็ยังมีพวกทีให้ความสําคัญกับ<br />

ครอบครัวอยู่บ้าง มีจิตใจทีจะใช้ความรู้ความสามารถทีได้รับการศึกษาในวิชาเหล่าทีได้รับ<br />

การศึกษาจากโรงเรียนทหารปื นใหญ่ จึงตั งใจทีจะเลือกหน่วยทีเป็ นหน่วยสนับสนุนการรบ เช่น<br />

กองพันทหารปื นใหญ่ หรือกองพันทหารปื นใหญ่ต่อสู้อากาศยานมากกว่าทีจะเลือกเข้ารับราชการใน<br />

หน่วยทีเน้นหนักงานทางด้านธุรการ หรืองานทางด้านการศึกษา แต่ก็ยังถือว่าเป็ นเกณฑ์ทีไม่สูงนัก<br />

มีความตั งใจใฝ่ เรียนรู้เพิ มเติมซึ งเห็นได้จากตั งใจทีจะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีมีทีตั งอยู่ใกล้<br />

สถานศึกษาทางพลเรือน เพือจะได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษา เพือเพิมคุณวุฒิการศึกษาทางพลเรือน<br />

ถึงแม้ว่าทีตั งหน่วยอยู่ห่างไกลจากภูมิลําเนาเดิม (ครอบครัว) ต้องการความสะดวกสบายและความ<br />

คล่องตัวในการทํางานมากกว่าทีจะต้องบุกเบิกหรือสร้างสรรค์หน่วยก่อตั งใหม่ จากเหตุผลทีว่า<br />

ตั งใจจะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีก่อตั งมานานแล้ว เพราะเป็ นหน่วยทีมีความสมบูรณ์ในเรือง<br />

ระบบการทํางานและสถานทีในการทํางานทีพร้อม และสะดวกสบาย แต่ก็ยังพอมีผู้ทีมีทัศนะหนัก<br />

เอาเบาสู้ทุกรูปแบบอยู ่บ้าง มีความสนใจใคร่ในวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพราะตั งใจ<br />

ค่อนข้างมากทีจะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีมีอาวุธยุทโธปกรณ์ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที<br />

ทันสมัยและมีเทคโนโลยีสูง เพราะรู้สึกเป็ นความท้าทาย ทีจะได้เรียนรู้วิทยาการสมัยใหม่<br />

ส่วนใหญ่ของนักเรี ยนนายสิ บทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ มี<br />

ความเห็นเกียวกับการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วย เพือเข้ารับราชการของนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่ คือ ควรมีการซักซ้อมการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการมากกว่า ๑ ครั ง<br />

ก่อนดําเนินการเลือกจริงโดยให้ระยะเวลาของการซักซ้อมต่างกันพอเหมาะคือ ให้มีการซักซ้อม<br />

โดยพิจารณาจากลําดับทีของนักเรียนทีจัดเรียงลําดับตามผลการเรียนมีการเปลียนแปลงจากเดิมมาก<br />

พอสมควรเป็ นเกณฑ์ในการกําหนดวันซักซ้อม แสดงให้เห็นว่านักเรียนนายสิบทหารบกเหล่า<br />

ทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ ต้องการความพร้อมและความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในการ<br />

ดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ ต้องการให้การจัดลําดับทีในการเลือกหน่วยเพือเข้า<br />

รับราชการ ควรให้สิทธิผู้ทีมีผลการศึกษาดีกว่าเป็ นผู้มีสิทธิเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการก่อนเรียง<br />

ตามลําดับไป แสดงว่านักเรี ยนนายสิ บทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่ นที ๑๒ ผลัดที ๑<br />

เห็นความสําคัญของการฝึ กศึกษาหาความรู้ จึงมีแนวความคิดให้ใช้ผลการฝึ กศึกษาเป็ นเครืองตัดสิน<br />

ทีสําคัญในการจัดลําดับที และเพือความไม่ประมาทและป้ องกันความฉุกละหุกและสับสนของ<br />

นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ ในระหว่างการดําเนินกรรมวิธีใน<br />

การเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑<br />

ส่วนมากจึงมีความเห็นด้วยกับการทีควรให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ กําหนด


๔๗<br />

ความต้องการหน่วยทีประสงค์จะเข้ารับราชการเรียงตามลําดับความต้องการ ๓ ลําดับ เพือเป็ น<br />

แผนสํารองในกรณีทีการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการจริงไม่เป็ นไปตามทีซักซ้อม นักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่รุ่ นที ๑๒ ผลัดที ๑ ต้องการทีจะศึกษาหน่วยเพือประกอบการ<br />

ตัดสินใจเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ โดยให้มีผู้แทนหน่วยระดับกรมหรือเทียบเท่ามาแนะนํา<br />

หน่วยถึงระดับกองพันหรือเทียบเท่าเพือให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ได้ทราบ<br />

ก่อนการซักซ้อมการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการครั งแรก นอกจากนี นักเรียนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ ยังมีข้อเสนอแนะทีน่าสนใจคือ มีความโปร่งใสในเรือง<br />

ของคะแนน สามารถให้นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ทราบในทุกรายวิชา มีการ<br />

สํารวจความต้องการเลือกหน่วยของนักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่ เพือเป็ นข้อมูลประกอบ<br />

การพิจารณาการเปิ ดอัตราการบรรจุ<br />

การจัดลําดับสิทธิในการเลือกหน่วย ควรเน้นทีผลการเรียนและคะแนนความประพฤติ<br />

เป็ นสําคัญ ไม่ควรจัดแบ่งเป็ นส่วนในการเลือกหน่วย แต่ควรเรียงตามลําดับคะแนน แต่ในประเด็น<br />

ดังกล่าวยังมีข้อเสนอแนะทีแตกต่างคือ การจัดลําดับสิทธิในการเลือกหน่วยควรแบ่งเป็ นกลุ่มๆ ละ<br />

ประมาณ ๒๐ นาย และเรียงตามลําดับคะแนน เพือให้แต่ละหน่วยมีโอกาสได้รับการบรรจุนักเรียน<br />

นายสิบทีมีผลการเรียนดีเท่าเทียมกันทุกหน่วย มีการแจ้งผลการศึกษาของนักเรียนนายสิบเหล่า<br />

ทหารปื นใหญ่ โดยเร็ว<br />

ความคิดเห็นของอาจารย์และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษา มีความคิดเห็นว่า<br />

นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ รุ่นที ๑๒ ผลัดที ๑ มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้ตั งใจรับ<br />

การฝึ กศึกษาวิชาทหารปื นใหญ่เป็ นอย่างดี เพราะเมือจบการศึกษาไปเป็ นนายทหารชั นประทวน<br />

แล้วจะต้องนําความรู้ในเรืองเทคนิคของเหล่าทหารปื นใหญ่ไปใช้ทีหน่วย ส่วนใหญ่มีอุดมการณ์<br />

มุ่งมั นทีจะทํางานทีสมบุกสมบัน หนักเอาเบาสู้ และถ้าเป็ นไปได้ก็อยากทีจะอยู ่ใกล้ครอบครัวด้วย<br />

มีความต้องการเพิ มคุณวุฒิการศึกษาทางพลเรือน เพือเพิ มโอกาสในเรืองความเจริญก้าวหน้าใน<br />

อนาคต และอาจสามารถเพิ มโอกาสในการย้ายหรือโอนหน่วยงาน รวมทั งอาจเป็ นช่องทางในการ<br />

ไปประกอบอาชีพส่วนตัวเมือมีโอกาส แรงจูงใจอืนทีชักนําให้นักเรียนนายสิบทหารบกเหล่าทหาร<br />

ปื นใหญ่ผลัดนี เลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการคือ เกียรติประวัติของหน่วย สวัสดิการทีหน่วยสามารถ<br />

ให้แก่กําลังพลได้ ค่าครองชีพของแต่ละพื นทีทีเป็ นทีตั งหน่วย<br />

ความคิดเห็นของอาจารย์และบุคลากรทีเกียวข้องกับการศึกษา ในเรื องการดําเนิน<br />

กรรมวิธีเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการเมือจบการศึกษาจากโรงเรียนทหารปื นใหญ่ มีความคิดเห็นว่า<br />

การดําเนินกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเข้ารับราชการเมือสําเร็จการศึกษาของนักเรียนนายสิบทหารบก


๔๘<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่ดีอยู ่แล้ว และการจัดลําดับทีให้สิทธินักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่ในการ<br />

เลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ ควรนําคะแนนความประพฤติของนักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่<br />

มาพิจารณาร่วมด้วย เพือเป็ นการฝึ กให้นักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่เป็ นผู้มีระเบียบวินัย<br />

ตั งแต่ยังเป็ นนักเรียนนายสิบเหล่าทหารปื นใหญ่ แต่ในปัจจุบันใช้เฉพาะคะแนนจากการศึกษาและ<br />

การฝึ กเท่านั นในการจัดลําดับที<br />

ข้อเสนอแนะ<br />

๑. ข้อเสนอแนะในการแก้ปํ ญหา<br />

ก. จากสรุปผลทีได้รับจากการวิจัยทําให้ทราบว่า แรงจูงใจทีมีผลกระทบต่อนักเรียน<br />

นายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ในการเลือกรับราชการในหน่วยของกองทัพบกในปัจจุบัน<br />

ประกอบด้วยลักษณะของหน่วยทีมีอัตรา (ตําแหน่งทีสูงขึ น) ว่างมากสําหรับรองรับความก้าวหน้า<br />

ในอาชีพราชการในอนาคต เป็ นหน่วยทีเป็ นหน่วยสนับสนุนการรบ เช่น กองพันทหารปื นใหญ่<br />

หรือกองพันทหารปื นใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ตั งอยู่ใกล้สถานศึกษาทางพลเรือนเพือจะได้มีโอกาส<br />

เข้ารับการศึกษาเพือเพิ มคุณวุฒิการศึกษาทางพลเรือน หน่วยทีมีความสมบูรณ์ในเรืองระบบการ<br />

ทํางานและสถานทีในการทํางานทีพร้อมและสะดวกสบาย มีอาวุธยุทโธปกรณ์และวัสดุอุปกรณ์<br />

ต่างๆ ทีทันสมัยและมีเทคโนโลยีสูง ซึ งแรงจูงใจในเรืองลักษณะของหน่วยมีทั งทีหน่วยมีอยู่แล้ว<br />

และทีหน่วยยังไม่มี ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี<br />

๑) การหมุนเวียนกําลังพลเมือมีโอกาสทําได้ เช่น เมือมีตําแหน่งว่างเกิดขึ น<br />

ให้รีบดําเนินการปรับย้ายทันทีโดยเฉพาะตําแหน่งทีมีอัตราสูงขึ น<br />

๒) ส่งเสริมกําลังพลทางด้านการศึกษาทั งทางทหารและพลเรือน เช่น มีการ<br />

ประชาสัมพันธ์ข่าวประกาศรับสมัครบุคคลเข้ารับการศึกษาทีเป็ นประโยชน์ทุกเรืองโดยเร็ว เพือให้<br />

กําลังพลทีสนใจจะเข้ารับการศึกษาสามารถดําเนินการได้ทันเวลา นํากําลังพลทีสําเร็จการศึกษา<br />

แล้วมาใช้งานหรือขยายผลภายในหน่วย เพือไม่ให้กําลังพลดังกล่าวลืมเรืองทีเรียนมาและเป็ นการ<br />

ฝึ กฝนความชํานาญของกําลังพลด้วย<br />

๓) จัดสถานทีทํางานและสํานักงานให้สะอาด มีระเบียบเรี ยบร้อย มีสิ งที<br />

จําเป็ นสําหรับการทํางาน โดยไม่ควรให้กําลังพลต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดหาของใช้ส่วนรวมที<br />

ไม่ใช่ของใช้ส่วนตัว


๔๙<br />

๔) ปรนนิบัติบํารุงอาวุธยุทโธปกรณ์ให้อยู ่ในสภาพทีสามารถใช้งานได้เสมอ<br />

เพือจะได้ถ่ายทอดความรู้ให้กําลังพลรุ่นต่อๆ ไป<br />

๕) เน้นยํ าเรืองสวัสดิการกําลังพล<br />

ข. ในเรืองการดําเนินกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการนั นดีอยู ่แล้ว และ<br />

ควรเพิมรายละเอียด คือ<br />

๑) ให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ กําหนดความต้องการ<br />

หน่วยทีประสงค์จะเข้ารับราชการเรียงตามลําดับความต้องการ ๓ ลําดับ เพือเป็ นแผนสํารองใน<br />

กรณีทีการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการจริงไม่เป็ นไปตามทีซักซ้อม<br />

๒) ให้มีผู้แทนหน่วยระดับกรมหรือเทียบเท่า มาแนะนําหน่วยถึงระดับกอง<br />

พันหรือเทียบเท่าเพือให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ ได้ทราบก่อนการซักซ้อมการ<br />

เลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการครั งแรก<br />

๒.จุดอ่อนและเรืองทีควรทําวิจัยต่อไป<br />

มีเรืองทีน่าสนใจอยู ่อีกเรื องหนึ งคือ ควรนําผลของคะแนน ความประพฤติของ<br />

นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ มาพิจารณาเพือประกอบในการจัดลําดับทีของสิทธิ<br />

ในการเลือกหน่วยด้วยหรือไม่ เพราะในปัจจุบันใช้เฉพาะคะแนนจากการศึกษาและการฝึ กเท่านั น<br />

ในการจัดลําดับที และถ้าจะนําคะแนนความประพฤติมาคิดด้วยแล้ว ควรจะนํามาใช้อย่างไร<br />

นํามาใช้ทั งหมดหรือนํามาใช้เป็ นสัดส่วนเท่าไร ผู้วิจัยมีความคิดว่าเป็ นเรื องทีควรจะได้มีการ<br />

ศึกษาวิจัยเพิ มเติม เพือจะได้เป็ นประโยชน์กับการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ<br />

ต่อไป


บรรณานุกรม<br />

หนังสือ<br />

จุลจักร นนทกร. กําไรความคิดจากชีวิตทีติดลบ. กรุงเทพฯ : นวสาสน์<br />

การพิมพ์,๒๕๕๐.<br />

เฟอร์ดินันด์ เอฟ. โฟนีส์ เรียบเรียงโดย ฉัตรชัย อินทสุวรรณ ฝึ กลูกน้องให้เก่ง. กรุงเทพฯ :<br />

ห้างหุ้นส่วน จํากัด เอช – เอน การพิมพ์,๒๕๓๖.<br />

จอร์จ ชินน์ เรียบเรียงโดย นภดล เวชสวัสดิ บุคลิกภาพสู ่ความเป็ นผู้นํา. กรุงเทพฯ :<br />

ห้างหุ้นส่วน จํากัด เอช – เอน การพิมพ์,๒๕๓๒.<br />

อนันต์ เกตุวงศ์ หลักและเทคนิคการวางแผน.กรุงเทพฯ :<br />

สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,๒๕๓๔.<br />

เครือวัลย์ ลิมปิ ยะศรีสกุล การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ กรุงเทพฯ<br />

จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,๒๕๓๐.<br />

หนังสือราชการ<br />

กองทัพบก. หลักสูตรการศึกษา หมายเลขหลักสูตร ๗, ๖ – ช.-๑๑๑, ๐๐๖ สําหรับนักเรียน<br />

นายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี หมายเลข ชกท.๑๑๑, ๐๐๖ ,๒๕๕๐<br />

เอกสารวิจัยส่วนบุคคล<br />

ไพโรจน์<br />

กฤษดา<br />

รวยลาภ,พันเอก, “การพิจารณาความดีความชอบของข้าราชการสังกัดกองบัญชาการ<br />

ทหารสูงสุด” เอกสารวิจัยนักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที ๔๑<br />

วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ,๒๕๔๓<br />

นรภูมิพิภัชน์,พันเอก, “การเรียนภาษาอังกฤษในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า<br />

ศึกษากรณีหลังเปลียนหลักสูตร เป็ นหลักสูตรปัจจุบัน พ.ศ.๒๕๓๔” เอกสาร<br />

วิจัยนักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที ๔๓ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร<br />

สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ,๒๕๔๕<br />

สุชาติ<br />

หนองบัว,พันเอก, “แนวทางการบริหารจัดการกําลังพลของกองทัพบกให้สอดคล้องกับ<br />

ยุทธศาสตร์การป้ องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม” เอกสารวิจัย<br />

นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที ๔๔ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร


๕๑<br />

วีรัณ<br />

สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ,๒๕๔๖<br />

ฉันทศาสตร์โกศล,พันเอก,“คุณภาพชีวิตของนายทหารชั นประทวน : ศึกษา<br />

เฉพาะกรณีศูนย์ต่อสู้ป้ องกันภัยทางอากาศ กองทัพบก” เอกสารวิจัยนักศึกษาวิทยาลัย<br />

เสนาธิการทหาร รุ่นที ๔๔ วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้ องกัน<br />

ประเทศ,๒๕๔๖


ภาคผนวก


ผนวก ก<br />

หลักสูตร สําหรับนักเรียนนายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี<br />

หลักสูตรการศึกษา หมายเลขหลักสูตร ๗,๖ - ช. - ๑๑๑,๐๐๖ สําหรับนักเรียนนาย<br />

สิบทหารบกหลักสูตร ๑ ปี หมายเลข ชกท. ๑๑๑,๐๐๖ ระยะเวลาการศึกษา ๕๒ สัปดาห์ หรือ<br />

๒,๐๘๐ ชัวโมง ทบ. อนุมัติเมือ ๒๒ ส.ค. ๕๐ (ตามอนุมัติ ผบ.ทบ. (จก.ยศ.ทบ. รับคําสั งฯ)<br />

ท้ายหนังสือ กศ.ยศ.ทบ. ที กห ๐๔๖๑.๑๑/๑๔๘๐ ลง ๒๒ ส.ค. ๕๐ ) การศึกษาแบ่งเป็ น ๒ ตอน<br />

ตอนที ๑ ศึกษาทีโรงเรียนนายสิบทหารบก<br />

ตอนที ๒ ศึกษาทีโรงเรียนเหล่า<br />

ตอนที ๑ หมายเลขหลักสูตร ๗ - ช - ๑๑๑ หมายเลข ชกท. ๑๑๑<br />

ความมุ ่งหมาย เพือให้นักเรียนนายสิบทีสําเร็จการศึกษา<br />

๑. เป็ นครูฝึ กทหารได้<br />

ได้<br />

๒. มีความรู้ สามารถทีจะปฏิบัติหน้าทีเป็ นผู้นําหน่วยทหารขนาดเล็กในอัตรา ส.อ.ได้<br />

๓. มีความรู้พื นฐานเกียวกับอาวุธประจําหน่วยทหารราบ ระดับหมวดปื นเล็ก<br />

๔.เป็ นเจ้าหน้าทีเสมียนในกองบังคับการ โดยสามารถพิมพ์ดีดและใช้งานคอมพิวเตอร์<br />

๕. มีพื นฐานการขับรถยนต์ทหาร<br />

๖. มีความรู้พื นฐานวิชาเหล่าทหารทีเลือกเข้ารับราชการ<br />

คุณสมบัติของผู ้เข้ารับการศึกษา<br />

<br />

ระยะเวลาการศึกษา ๒๖ สัปดาห์ หรือ ๑,๐๔๐ ชัวโมง ดังนี<br />

๑. การฝึ กศึกษา ๒๒ สัปดาห์<br />

๒. การฝึ กภาคสนาม ๓ สัปดาห์<br />

๓. เวลาเบ็ดเตล็ด ๑ สัปดาห์<br />

ตามระเบียบ ทบ.ว่าด้วยนักเรียนนายสิบทหารบก


๕๔<br />

ทีตั งสถานทีศึกษา โรงเรียนนายสิบทหารบก ค่ายธนะรัชต์ อําเภอปราณบุรี จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๖๐<br />

หลักสูตร นักเรียนนายสิบทหารบก หลักสูตร ๑ ปี<br />

ระยะเวลาการศึกษา ๒๖ สัปดาห์ หรือ ๑,๐๔๐ (๒๗๙) ชั วโมง ๒๔ หน่วยกิต<br />

ลําดับ วิชา ชัวโมง<br />

๑. การฝึ กเบืองต้น ๑๓๒ (๖๐)<br />

๑.๑ การฝึ กเบื องต้น (๑๓๒)<br />

๑.๑.๑ การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า (๔๔)<br />

๑.๑.๒ การฝึ กบุคคลท่าอาวุธ (๔๔)<br />

๑.๑.๓ การฝึ กแถวชิด (๔๔)<br />

๑.๒ การทดสอบความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย - (๔๐)<br />

๑.๓ การอบรม - (๒๐)<br />

๑.๓.๑ คุณลักษณะของทหาร (๒)<br />

๑.๓.๒ แบบธรรมเนียมของทหาร (๖)<br />

๑.๓.๓ คุณธรรมของทหาร (๕)<br />

๑.๓.๔ มารยาทและวินัยของทหาร (๓)<br />

๑.๓.๕ ความรักและการป้ องกันประเทศชาติ (๒)<br />

๑.๓.๖ อุดมการณ์กําลังพลของกองทัพบก (๒)<br />

๒. วิชาทหาร ๕๖๐ (๓๒)<br />

๒.๑ วิชาสือสาร (๔๐)<br />

๒.๑.๑ การสือสารทางวิทยุ (๒๓)<br />

๒.๑.๒ การสือสารทางสาย (๑๗)<br />

๒.๒ การปฐมพยาบาล สุขศาสตร์ สุขวิทยา อนามัย (๒๐)<br />

และนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี<br />

๒.๒.๑ การปฐมพยาบาล (๑๔)<br />

๒.๒.๒ สุขศาสตร์ (๒)<br />

๒.๒.๓ นิวเคลียร์ ชีวะ เคมี (๔)


๕๕<br />

ลําดับ วิชา ชัวโมง<br />

๒.๓ วิชาแผนที (๔๐) (๔)<br />

๒.๔ วิชาอาวุธและการใช้อาวุธ (๒๑๔)<br />

๒.๔.๑ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ (๔๐)<br />

๒.๔.๒ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒ (๑๒)<br />

๒.๔.๓ เครืองยิงลูกระเบิด ขนาด ๔๐ มม.เอ็ม.๒๐๓ (๑๖)<br />

๒.๔.๔ เครืองยิงลูกระเบิดอัตโนมัติขนาด ๔๐ มม. (๘)<br />

๒.๔.๕ ปื นพก ๘๖ ขนาด .๔๕ นิว (๑๖)<br />

๒.๔.๖ ปื นเล็กกล เอ็ม.๒๔๙ (๒๔)<br />

๒.๔.๗ ปื นกล เอ็ม.๖๐ (๓๐)<br />

๒.๔.๘ ปื นกล แบบ ๓๘ (๘)<br />

๒.๔.๙ ลูกระเบิดขว้าง (๑๒)<br />

๒.๔.๑๐ ทุ่นระเบิดกับระเบิด (๒๐)<br />

๒.๔.๑๑ การระเบิดทําลาย (๘)<br />

๒.๔.๑๒ กับระเบิดแสวงเครือง (๘)<br />

๒.๔.๑๓ การใช้ดาบปลายปื น (๑๒)<br />

๒.๕ วิชายุทธวิธี (๑๗๘) (๒๘)<br />

๒.๕.๑ การฝึ กเป็ นบุคคล (๓๖) (๔)<br />

๒.๕.๒ หน้าทีเฉพาะทางเทคนิค (๒๖)<br />

๒.๕.๓ การยิงทีมีการตรวจการณ์ (๔)<br />

๒.๕.๔ การเดินทางไกลและพักแรม (๘)(๑๖)<br />

๒.๕.๕ การฝึ กเป็ นหน่วย (๑๐๔)(๘)<br />

๒.๖ วิชาเหล่าทหาร (๖๘)<br />

๒.๖.๑ วิชาเหล่าทหารราบ (๔)<br />

๒.๖.๒ วิชาเหล่าทหารม้า (๔)<br />

๒.๖.๓ วิชาเหล่าทหารปื นใหญ่ (๔)<br />

๒.๖.๔ วิชาเหล่าทหารช่าง (๔)<br />

๒.๖.๕ วิชาเหล่าทหารสือสาร (๔)<br />

๒.๖.๖ วิชาเหล่าทหารสรรพาวุธ (๔)


๕๖<br />

ลําดับ วิชา ชัวโมง<br />

๒.๖.๗ วิชาเหล่าทหารแพทย์ (๔)<br />

๒.๖.๘ วิชาเหล่าทหารขนส่ง (๔)<br />

๒.๖.๙ วิชาเหล่าทหารพลาธิการ (๔)<br />

๒.๖.๑๐ วิชาเหล่าทหารการเงิน (๔)<br />

๒.๖.๑๑ วิชาเหล่าทหารการสัตว์ (๔)<br />

๒.๖.๑๒ วิชาเหล่าทหารพระธรรมนูญ (๔)<br />

๒.๖.๑๓ วิชาเหล่าทหารสารวัตร (๔)<br />

๒.๖.๑๔ วิชาเหล่าทหารดุริยางค์ (๔)<br />

๒.๖.๑๕ วิชาเหล่าทหารสารบรรณ (๔)<br />

๒.๖.๑๖ วิชาเหล่าทหารการข่าว (๔)<br />

๒.๖.๑๗ วิชาเหล่าทหารแผนที (๔)<br />

๓. วิชาการศึกษาทัวไป ๑๗๒ (๑๘๗)<br />

๓.๑ วิชาการขับรถยนต์ทหาร (๔๐) (๘)<br />

๓.๒ วิชาผู้นําทางทหารและการฝึ กปฏิบัติทีมุ่งเน้นผลการปฏิบัติ (๒๔)<br />

๓.๓ วิชาระเบียบงานสารบรรณ (๑๖)<br />

๓.๔ วิชาภาษาอังกฤษทางทหาร (๒๐)<br />

๓.๕ วิชาคอมพิวเตอร์เบื องต้น (๓๐)<br />

๓.๖ วิชาพิมพ์ดีดภาษาไทย (๓๐)<br />

๓.๗ วิชาเอดส์ศึกษา (๘)<br />

๓.๘ วิชาการป้ องกันยาเสพติด (๔)<br />

๓.๙ การบรรยายพิเศษ (-) (๑๗๙)<br />

๓.๙.๑ ประวัติศาสตร์ชาติไทย (-) (๒๔)<br />

๓.๙.๒ ประวัติศาสตร์ทหาร (-) (๑๖)<br />

๓.๙.๓ ความรู้ทั วไป (-) (๒๕)<br />

๓.๙.๔ วิชาศีลธรรมและจริยธรรม (-) (๒๔)<br />

๓.๙.๑๐ ทัศนศึกษาและดูงาน (-) (๙๐)<br />

๔. การฝึ กภาคสนาม ๑๓๒


๕๗<br />

ตอนที ๒ หมายเลขหลักสูตร ๖ - ช - ๐๐๖ หมายเลข ชกท. ๐๐๖<br />

ความมุ ่งหมาย เพือให้นักเรียนนายสิบทีสําเร็จการศึกษา<br />

๑. มีความรู้ความสามารถปฏิบัติหน้าทีในส่วนกองบังคับการส่วนยิง ป.สนาม, หมู ่ ป.,<br />

หมู ่กระสุน ในอัตรา ส.อ. ได้<br />

๒. มีความรู้ความสามารถปฏิบัติหน้าทีในส่วนของหน่วยยิง ปตอ. ในอัตรา ส.อ. ได้<br />

๓. มีความรู้ความสามารถปฏิบัติหน้าทีเป็ นเจ้าหน้าทีหลักฐานทางระดับ,ทางสูง และ<br />

เจ้าหน้าทีบันทึกหลักฐานใน ศอย.<br />

๔. มีความรู้ความสามารถปฏิบัติหน้าทีเป็ นเจ้าหน้าทีในหมู ่ตรวจการณ์หน้าได้<br />

๕. มีความรู้ความสามารถปฏิบัติหน้าทีในชุดแผนที ป. ในอัตรา ส.อ. ได้<br />

๖. เป็ นผู้นําทีดีมีคุณธรรม มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ทรหด อดทนต่อการตรากตรํา<br />

ทํางานในหน้าทีตามภารกิจ<br />

คุณสมบัติของผู ้เข้ารับการศึกษา<br />

ระยะเวลาการศึกษา<br />

ทีตั<br />

ตามระเบียบ ทบ. ว่าด้วยนักเรียนนายสิบทหารบก<br />

๒๖ สัปดาห์ ๑,๐๔๐ ชัวโมง<br />

งสถานศึกษา โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ค่ายพหลโยธิน<br />

อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ๑๕๑๖๐<br />

หลักสูตร นักเรียนนายสิบทหารบกหลักสูตร ๑ ปี เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

ระยะเวลาการศึกษา ๒๖ สัปดาห์ ๑,๐๔๐ (๑๑๖) ชัวโมง<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑. ภาค ๗๙๒<br />

วิชาการ ๑.๑ วิชาหลัก<br />

๑.๑.๑ ทบทวนคณิตศาสตร์ และการใช้เครืองคํานวณ ๔๘<br />

๑.๑.๑.๑ เลขคณิตและพีชคณิต (๔)<br />

๑.๑.๑.๒ เรขาคณิต (๔)<br />

๑.๑.๑.๓ ตรีโกณมิติ (๘)


๕๘<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑.๑.๑.๔ พละคณิต (๘)<br />

๑.๑.๑.๕ กฎของไซน์ (๔)<br />

๑.๑.๑.๖ การสอบครั งที ๑ (๒)<br />

๑.๑.๑.๗ การใช้เครืองคํานวณ (๑๖)<br />

๑.๑.๑.๘ การสอบครั งสุดท้าย (๒)<br />

๑.๑.๒ อาวุธศึกษาปื นใหญ่สนาม ๖๘<br />

๑.๑.๒.๑ ประวัติและวิวัฒนาการของปื นใหญ่สนาม (๒)<br />

๑.๑.๒.๒ ปบค.๙๕ ขนาด ๑๐๕ มม. เอ็ม.๑๐๑ เอ ๑ (๖)<br />

๑.๑.๒.๓ ปบค.ขนาด ๑๐๕ มม.แอล.๑๑๙ (๖)<br />

๑.๑.๒.๔ ปบค.๒๕ ขนาด ๑๐๕ มม. เอ็ม.๔๒๕ (๖)<br />

๑.๑.๒.๕ ปบค.๒๙ ขนาด ๑๐๕ มม. เอ็ม.๕๖ (๖)<br />

๑.๑.๒.๖ การสอบ (๒)<br />

๑.๑.๒.๗ ปกค.๓๗ ขนาด ๑๕๕ มม.เอ็ม ๑๐๙เอ.๕ อัตตาจร<br />

และรถสายพานบรรทุกกระสุน M ๙๙๒ A๑ (๖)<br />

๑.๑.๒.๘ ปกค. ๐๓ ขนาด ๑๕๕ มม. เอ็ม. ๑๑๔ เอ. ๑ (๖)<br />

๑.๑.๒.๙ ปกค. ๒๕ ขนาด ๑๕๕ มม. เอ็ม. ๑๙๘ (๖)<br />

๑.๑.๒.๑๐ ปนร. ๒๐ ขนาด ๑๕๕ มม. เอ็ม. ๗๑ (๖)<br />

๑.๑.๒.๑๑ การสอบครั งที ๑ (๑)<br />

๑.๑.๒.๑๒ ปนร.๓๔ ขนาด ๑๕๕ มม.แบบGHN–๔๕ A ๑(๔)<br />

๑.๑.๒.๑๓ กระสุนและชนวน (๖)<br />

๑.๑.๒.๑๔ การจัดการเกียวกับอาวุธ (๔)<br />

๑.๑.๒.๑๕ การสอบครั งสุดท้าย (๑)<br />

๑.๑.๓ ส่วนยิงปื นใหญ่สนาม ๑๒๘<br />

(๑๖)<br />

๑.๑.๓.๑ กล่าวนํา การจัดและหน้าทีส่วนยิง ป.สนาม (๒)<br />

๑.๑.๓.๒ ศัพท์ทีใช้ในส่วนยิง (๔)<br />

๑.๑.๓.๓ เครืองมือควบคุมการยิง (๖)<br />

๑.๑.๓.๔ คําสั งยิง (๖)<br />

๑.๑.๓.๕ การสอบครั งที ๑ (๑)<br />

๑.๑.๓.๖ การฝึ กใช้ ปบค.๙๕ ขนาด ๑๐๕ มม. เอ็ม.๑๐๑ (๒๐)<br />

๑.๑.๓.๗ การฝึ กหน้าทีพลประจําปื น ประกอบรถลาก (๘)<br />

๑.๑.๓.๘ การสอบครั งที ๒ (๑)<br />

๑.๑.๓.๙ การฝึ กใช้ ปกค.๒๕ ขนาด ๑๕๕ มม. เอ็ม. ๑๙๘ (๘)


๕๙<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑.๑.๓.๑๐ การฝึ กทดสอบเครืองควบคุมการยิง (๘)<br />

๑.๑.๓.๑๑ การปรับเส้นเล็ง (๒)<br />

๑.๑.๓.๑๒ การฝึ กปรับเส้นเล็ง (๘)<br />

๑.๑.๓.๑๓ การตั ง ป. ตรงทิศ (๔)<br />

๑.๑.๓.๑๔ การฝึ กตั ง ป.ตรงทิศ กลางวันและกลางคืน (๘ (๘))<br />

๑.๑.๓.๑๕ การสอบ ครั งที ๑ (๒)<br />

๑.๑.๓.๑๖การวัดมุมพื นทียอดทีกําบังและการหาระยะกําบัง<br />

(๔)<br />

๑.๑.๓.๑๗ แบบบันทึกของส่วนยิง (๒)<br />

๑.๑.๓.๑๘ การฝึ กหน้าทีพลประจําปื นประกอบคําสั งยิง (๘)<br />

๑.๑.๓.๑๙ การยิงทําลายใกล้ชิด (๔)<br />

๑.๑.๓.๒๐ การยิงเล็งตรง (๔)<br />

๑.๑.๓.๒๑ การยิงรอบตัว (๒)<br />

๑.๑.๓.๒๒ สิ งช่วยตรวจความปลอดภัย (๒)<br />

๑.๑.๓.๒๓ การฝึ กยิงทําลายใกล้ชิด, การยิงเล็งตรง,<br />

การยิงรอบตัวและการปักหลักปลอดภัย (๘)<br />

๑.๑.๓.๒๔ การปฏิบัติเกียวกับกระสุน (๒)<br />

๑.๑.๓.๒๕ การปฏิบัติเมือ ป. ยิงต่อไปไม่ได้ (๒)<br />

๑.๑.๓.๒๖ การสอบครั งสุดท้าย (๒)<br />

๑.๑.๔ อาวุธศึกษา และหลักยิง ปตอ. ๑๓๘<br />

๑.๑.๔.๑ อาวุธศึกษา<br />

๑.๑.๔.๑.๑ อาวุธและยุทโธปกรณ์ ปตอ.ไทย (๒)<br />

๑.๑.๔.๑.๒ อาวุธ ปตอ.๑๒.๗ มม.แบบ เอ็ม.๑๖<br />

และ เอ็ม.๕๕ (๖)<br />

๑.๑.๔.๑.๓ ปตอ.๔๐ มม.แอล. ๖๐ ลจ.,อจ. (๖)<br />

๑.๑.๔.๑.๔ ปตอ.๔๐ มม.แอล. ๗๐ (อังกฤษ) (๔)<br />

๑.๑.๔.๑.๕ การสอบครั งที ๑ (๑)<br />

๑.๑.๔.๑.๖ ปตอ. ๒๐ มม.วัลแคน อจ. และ ลจ. (๘)<br />

๑.๑.๔.๑.๗ ปตอ. ๓๗ มม. และ ปตอ. ๕๗ มม.<br />

(สปจ.) (๖)<br />

๑.๑.๔.๑.๘ กระสุนและชนวน ปตอ. (๖)<br />

๑.๑.๔.๑.๙ การสอบ ครั งที ๒ (๑)


๖๐<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑.๑.๔.๑.๑๐ การฝึ กปรับเส้นเล็ง ปตอ.๑๒.๗ มม.<br />

เอ็ม.๑๖,การฝึ กปรับเส้นเล็ง ปตอ.๔๐<br />

มม. แอล ๖๐ ลจ. และ ปตอ.๔๐ มม.<br />

แอล ๗๐ ลจ. (๘)<br />

๑.๑.๔.๑.๑๑ การฝึ กหน้าทีพลประจําปื น<br />

ปตอ.๑๒.๗ มม. (๑๔)<br />

๑.๑.๔.๑.๑๒ การฝึ กหน้าทีพลประจําปื น ปตอ.๔๐<br />

มม. แอล. ๖๐ ลจ.ปตอ.๔๐ มม. แอล.<br />

๗๐ ลจ. (๑๖)<br />

๑.๑.๔.๑.๑๓ การสอบครั งสุดท้าย (๒)<br />

๑.๑.๔.๒ หลักยิง ปตอ. ๓๐<br />

๑.๑.๔.๒.๑ เครืองควบคุมการยิง ปตอ. (๔)<br />

๑.๑.๔.๒.๒ เครืองเล็งวงกลมความเร็ว (๔)<br />

๑.๑.๔.๒.๓ การตรวจการณ์กระสุนส่องวิถี (๔)<br />

๑.๑.๔.๒.๔ การสอบครั งที ๓ (๑)<br />

๑.๑.๔.๒.๕ การยิงเป้ าหมายทางอากาศและการ<br />

ประเมินผลการยิง (๗)<br />

๑.๑.๔.๒.๖ การยิงเป้ าหมายทางพื นดินและการ<br />

ประเมินผลการยิง (๗)<br />

๑.๑.๔.๒.๗ ระเบียบสนามยิง ปตอ. (๒)<br />

๑.๑.๔.๒.๘ การสอบ ครั งที ๔ (๑)<br />

๑.๑.๔.๓ การตรวจค้นและพิสูจน์ฝ่ าย ( ๑๒ ชม.)<br />

๑.๑.๔.๓.๑ ระบบเรดาร์ในการป้ องกันภัยทาง<br />

อากาศ (๓)<br />

๑.๑.๔.๓.๒ การตรวจค้นและพิสูจน์ฝ่ าย (๔)<br />

๑.๑.๔.๓.๓ การจดจําลักษณะเครืองบิน (๔)<br />

๑.๑.๔.๓.๔ การสอบ ครั งสุดท้าย (๑)<br />

๑.๑.๔.๔ การฝึ กใช้ ปตอ. ๑๖<br />

๑.๑.๔.๔.๑ การฝึ กหน้าทีพลประจําปื น ปตอ.<br />

๑๒.๗ มม. เอ็ม. ๑๖ ในการ ติดพัน<br />

เป้ าหมาย (๘)


๖๑<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑.๑.๖.๙ การสอบครั งที ๒ (๒)<br />

๑.๑.๖.๑๐ การปฏิบัติของ ศอย.ร้อย.ป.เป็ นชุด (๘)<br />

๑.๑.๖.๑๑ การฝึ กปฏิบัติของ ศอย.ร้อย.ป.เป็ นชุด (๑๖)<br />

๑.๑.๖.๑๒ การยิงประณีต (๘)<br />

๑.๑.๖.๑๓ การสอบครั งสุดท้าย (๒)<br />

๑.๑.๗ ยุทธวิธี ป.สนาม ๔๐<br />

๑.๑.๗.๑ ภารกิจโดยทั วไปและคุณลักษณะของ ป.สนาม (๑)<br />

๑.๑.๗.๒ การจัดหน่วย ป.สนาม (๔)<br />

๑.๑.๗.๓ ภารกิจทางยุทธวิธีของ ป.สนาม (๔)<br />

๑.๑.๗.๔ การสอบ (๑)<br />

๑.๑.๗.๕ การจัดพื นทีตั ง ร้อย.ป.สนาม (๖)<br />

๑.๑.๗.๖ การระวังป้ องกันร้อย.ป.สนาม (๖)<br />

๑.๑.๗.๗ การเปลียนทีตั ง ร้อย.ป.สนาม (๔)<br />

๑.๑.๗.๘ การ ลลขต.ของร้อย.ป.สนาม (๘)<br />

๑.๑.๗.๙ การสาธิตการ ลลขต.ของ ร้อย.ป.สนาม (๔)<br />

๑.๑.๗.๑๐ การสอบครั งสุดท้าย (๒)<br />

๑.๑.๘ ยุทธวิธี ปตอ. ๓๒<br />

๑.๑.๘.๑ ภัยคุกคามทางอากาศ (๔)<br />

๑.๑.๘.๒ ภารกิจและการจัดหน่วย พัน.ปตอ. (๔)<br />

๑.๑.๘.๓ การจัดเจ้าหน้าทีต่าง ๆ ของหมู ่ ปตอ.ลํากล้อง (๒)<br />

๑.๑.๘.๔ การใช้ ปตอ.ในการป้ องกันภัยทางอากาศ (๔)<br />

๑.๑.๘.๕ การสอบครั งที ๑ (๒)<br />

๑.๑.๘.๖ การ ลลขต.ของหมู ่ ปตอ. (๖)<br />

๑.๑.๘.๗ ศปภอ.พัน.ปตอ. (๔)<br />

๑.๑.๘.๘การรักษาความปลอดภัยในการรบและความอยู ่รอด<br />

(๔)<br />

๑.๑.๘.๙ การสอบครั งสุดท้าย (๒)<br />

๑.๑.๙ แผนที ป. ๖๐(๔)<br />

๑.๑.๙.๑ กล่าวนํา (๑)<br />

๑.๑.๙.๒ เครืองมือวัดระยะ (๓)<br />

๑.๑.๙.๓ การฝึ กใช้เครืองมือวัดระยะ (๘)<br />

๑.๑.๙.๔ เครืองวัดมุม (๒)<br />

๑.๑.๙.๕ การฝึ กใช้เครืองมือวัดมุม (๘)


๖๒<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑.๑.๙.๖ การคํานวณมุมภาคและระยะ (๒)<br />

๑.๑.๙.๗ การทําแบบฝึ กหัด (๔)<br />

๑.๑.๙.๘ การสอบ (๒)<br />

๑.๑.๙.๙ การลอดลัด (๔)<br />

๑.๑.๙.๑๐ การทําแบบฝึ กหัด (๘)<br />

๑.๑.๙.๑๑ การฝึ กการลอดลัด (๑๖ (๔) )<br />

๑.๑.๙.๑๒ การสอบครั งสุดท้าย (๒)<br />

๑.๑.๑๐ สือสาร ป. ๕๐<br />

๑.๑.๑๐.๑ เครืองมือสือสาร ๔๐<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑ กล่าวนําเครืองมือสือสาร ป. (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๒ ชุดวิทยุAN/PRC-๗๗,AN/VRC–๖๔,<br />

และ AN/GRC–๑๖๐ (๔)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๓ชุดวิทยุAN/VRC–๔๖,AN/VRC–๔๗,<br />

และ AN/VRC–๔๙ (๔)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๔ เสาอากาศ RC – ๒๙๒ (๔)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๕ ชุดเครืองควบคุมวิทยุ AN/GRA- ๓๙<br />

(๑)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๖ การฝึ กติดตั งและการใช้งานวิทยุใน<br />

สนาม (๔)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๗ การสอบครั งที ๑ (๑)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๘ สายโทรศัพท์สนาม WD-๑/TT และ<br />

เครืองมือตัดต่อสาย TE – ๓๓ (๑)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๙ การผูกสายและการตัดต่อ<br />

สายโทรศัพท์ (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๐ เครืองมือวางสายแบบต่างๆ (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๑ โทรศัพท์สนาม TA-๓๑๒/PT (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๒ ตู้สลับสาย SB – ๒๒/PT (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๓ ตู้สลับสาย SB–๙๙๓/GT และชุด<br />

เชือต่อสาย MX–๑๕๕ (๑)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๔ การวางสายแบบต่างๆ (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๕ การบํารุงรักษาสายโทรศัพท์สนาม<br />

(๒)<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๖ การฝึ กวางสายแบบต่างๆ (๔)


๖๓<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑.๑.๑๐.๑.๑๗ การสอบครั งที ๒ (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๒ ระเบียบการสือสาร ๔<br />

๑.๑.๑๐.๒.๑ การรักษาความปลอดภัยทางการ<br />

สือสาร (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๒.๒ ระเบียบการใช้วิทยุโทรศัพท์ (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๓ ระบบการสือสาร ๖<br />

๑.๑.๑๐.๓.๑ กล่าวนําระบบการสือสาร (๑)<br />

๑.๑.๑๐.๓.๒ ระบบการสือสาร ร้อย. ปบค. ๑๐๕<br />

มม. (๒)<br />

๑.๑.๑๐.๓.๔ การสอบครั งสุดท้าย (๑)<br />

๑.๑.๑๐.๓.๓ ระบบการสือสาร ร้อย.ปตอ.๔๐ มม.<br />

(๒)<br />

๑.๑.๑๐.๓.๔ การสอบครั งสุดท้าย (๑)<br />

๑.๑.๑๑ ยานยนต์ ๔๘<br />

๑.๑.๑๑.๑ กล่าวนํา (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๒ คุณลักษณะยานยนต์ทหาร (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๓ หลักการทํางานของเครืองยนต์ (๔)<br />

๑.๑.๑๑.๔ ระบบจุดระเบิด (๓)<br />

๑.๑.๑๑.๕ ระบบนํ ามันเชื อเพลิง (๓)<br />

๑.๑.๑๑.๖ ระบบระบายความร้อน (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๗ ระบบหล่อลืน (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๘ การสอบครั งที ๑ (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๙ แบตเตอรี (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๑๐ ระบบประจุไฟฟ้ า (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๑๑ มอเตอร์สตาร์ท (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๑๒ ระบบทางส่งกําลัง (๒)<br />

๑.๑.๑๑.๑๓ แคร่รถ (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๑๔ ระบบห้ามล้อ (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๑๕ ระบบบังคับเลี ยว (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๑๖ การสอบครั งที ๒ (๑)<br />

๑.๑.๑๑.๑๗ ระบบการซ่อมบํารุงของ ทบ. (๒)<br />

๑.๑.๑๑.๑๘ การจัดโรงซ่อมและความปลอดภัย (๑)


๖๔<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๑.๑.๑๑.๑๙ แบบพิมพ์ทีใช้ในการซ่อมบํารุงขั นที ๑ และ<br />

ขั นที ๒ (๔)<br />

๑.๑.๑๑.๒๐ การปรนนิบัติบํารุงขั นที ๑ (๘)<br />

๑.๑.๑๑.๒๑ การปรนนิบัติบํารุงขั นที ๒ (๘)<br />

๑.๑.๑๑.๒๒ การสอบครั งสุดท้าย (๑)<br />

๑.๑.๑๒ การค้นหาเป้ าหมาย ๒๐<br />

๑.๑.๑๒.๑ กล่าวนํา (๑)<br />

๑.๑.๑๒.๒ การตรวจการณ์ของ ป. (๔)<br />

๑.๑.๑๒.๓ การวิเคราะห์หลุมระเบิด (๒)<br />

๑.๑.๑๒.๔ การรายงานการยิง ป. (๒)<br />

๑.๑.๑๒.๕ เป้ าหมาย (๒)<br />

๑.๑.๑๒.๖การวิเคราะห์และพิสูจน์ทราบชินส่วนสะเก็ดระเบิด<br />

(๔)<br />

๑.๑.๑๒.๗เครืองมือค้นหาเป้ าหมายในกองร้อยค้นหา<br />

เป้ าหมาย (๔)<br />

๑.๑.๑๒.๘ การสอบ (๑)<br />

๑.๒ วิชารอง ๔๐<br />

๑.๒.๑ การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมือง (๒๐)<br />

๑.๒.๒ การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ (๘)<br />

๑.๒.๓ คุณธรรมและจริยธรรม (๑๒)<br />

๒. ภาคปฏิบัติ ๑๖๘<br />

(๔๘)<br />

๒.๑ วิชาเฉพาะหน้าที/การฝึ กภาคสนาม<br />

๒.๑.๑ การฝึ กชุดหลักยิง ป.สนาม (๔๐)<br />

๒.๑.๒ การฝึ กยิง ป.และปตอ.ทางเทคนิคด้วยกระสุนจริง(๓๒)<br />

๒.๑.๓ การฝึ กภาคสนาม<br />

๒.๑.๓.๑ การฝึ กกองร้อย ป.ปฏิบัติการรบ (๔๐(๓๖))<br />

๒.๑.๓.๒ การฝึ กกองร้อย ปตอ.ปฏิบัติการรบ (๑๖(๑๒))<br />

๒.๑.๔ การฝึ กงาน (๔๐)<br />

- ฝึ กปฏิบัติงานตาม ชกท. ทีได้รับการบรรจุและความมุ่ง<br />

หมาย ของหลักสูตร นนส. ๑ ปี เหล่า ป.


๖๕<br />

วิชา เรืองทีทําการสอน ชัวโมง<br />

๓. เบ็ดเตล็ด ๔๐<br />

(๔๐)<br />

๓.๑ เวลาอะไหล่ และเวลาผู้บังคับบัญชา ๓๕<br />

๓.๒ การบรรยายพิเศษ เรือง อุดมการณ์ความรักชาติ ๕<br />

๓.๒ พลศึกษา (ใช้เวลานอกหลักสูตร) (๔๐)


ผนวก ข<br />

แบบสอบถามเพือการวิจัย<br />

เรือง แรงจูงใจทีมีผลกระทบต่อนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

ในการเลือกรับราชการในหน่วยของกองทัพบก<br />

แบบสอบถามฉบับนี จัดทําขึ นโดย พันเอก กฤษณภาค สมใจเพ็ง นักศึกษาวิทยาลัย<br />

เสนาธิการทหาร รุ่นที ๕๐ ตําแหน่งปัจจุบันคือ หัวหน้าแผนกเตรียมการ โรงเรียนทหารปื นใหญ่<br />

ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ซึ งเคยมีโอกาสเข้าร่วมในขั นตอนการเลือก หน่วยของนักเรียนนายสิบ<br />

ทหารบกเหล่าทหารปื นใหญ่ เมือสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่<br />

ซึ งทําให้เกิดความสนใจว่านายทหารชั นประทวนยุคปัจจุบันทีจบจากโรงเรี ยนทหารปื นใหญ่<br />

ศูนย์การทหารปื นใหญ่ มีแนวความคิดหรือมีแรงจูงใจอย่างไรบ้างในการตัดสินใจเลือกหน่วยเพือ<br />

รับราชการ และจะมีวิธีการใดบ้าง ทีจะสามารถทําให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

สามารถเลือกหน่วยในการรับราชการได้ตรงตามความต้องการของนักเรี ยนนายสิบทหารบก<br />

เหล่าทหารปื นใหญ่มากทีสุด จึงขอความร่วมมือจากนักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

รุ่ นที ๑๒ ผลัดที ๑ กรุ ณาตอบแบบสอบถามฉบับนี ตามความจริ ง ซึ งข้อมูลนี จะนําไปใช้<br />

เพือการศึกษาเท่านั น และจะไม่มีผลเสียใดๆ ต่อผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ งแบบสอบถามฉบับนี<br />

แบ่งออกเป็ น ๓ ส่วน คือ<br />

ส่วนที ๑ ข้อมูลส่วนบุคคล<br />

ส่วนที ๒ ความคิดเห็นเกียวกับหน่วยทีต้องการและกรรมวิธีในการเลือกหน่วย<br />

เพือรับราชการ<br />

ส่วนที ๓ ข้อเสนอแนะในการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ<br />

ส่วนที ๑ ข้อมูลส่วนบุคคล<br />

อายุปัจจุบัน............ปี วุฒิการศึกษาทางพลเรือนสูงสุดก่อนเข้ารับการศึกษาทีโรงเรียนนายสิบ<br />

ทหารบก............................................................จากสถานศึกษา……………………......................<br />

ตําบล............................................................อําเภอ/แขวง...................................................................<br />

จังหวัด..........................................................ภูมิลําเนาเดิม (ทีอยู ่จริงก่อนเข้ารับการศึกษาทีโรงเรียน


๖๗<br />

นายสิบทหารบก) บ้านเลขที..........................................ตําบล/เขต.....................................................<br />

อําเภอ/แขวง.............................................................จังหวัด................................................................<br />

ส่ วนที ๒ ความคิดเห็นเกียวกับหน่วยทีต้องการและกรรมวิธีในการเลือกหน่วย<br />

เพือรับราชการ<br />

กรุณาแสดงความต้องการ หรือความคิดเห็นในเรืองหน่วยงานทีท่านมีความประสงค์<br />

จะเข้ารับราชการ และกรรมวิธีในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการหลังจากจบการศึกษาจาก<br />

โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่ ตามความเป็ นจริง โดยแบ่งความต้องการ หรือ<br />

ความคิดเห็นออกเป็ น ๕ ระดับ คือ<br />

มากทีสุด = ๕ คะแนน<br />

มาก = ๔ คะแนน<br />

ปานกลาง = ๓ คะแนน<br />

น้อย = ๒ คะแนน<br />

น้อยทีสุด = ๑ คะแนน<br />

ลําดับ<br />

รายการ<br />

๑. จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีมีอัตรา(ตําแหน่งที<br />

สูงขึ น)ว่างมากสําหรับรองรับความก้าวหน้าในอาชีพ<br />

ราชการในอนาคตถึงแม้ว่าทีตั งหน่วยอยู่ห่างไกลจาก<br />

ภูมิลําเนาเดิม (ครอบครัว)<br />

๒. จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีเป็ นหน่วยสนับสนุน<br />

การรบ เช่น กองพันทหารปื นใหญ่ หรือกองพันทหาร<br />

ปื นใหญ่ต่อสู้อากาศยาน แต่จะไม่เลือกเข้ารับราชการ<br />

ในหน่วยทีเน้นหนักงานทางด้านธุ รการหรื องาน<br />

ทางด้านการศึกษา<br />

มาก<br />

ทีสุด<br />

มาก<br />

ปาน<br />

กลาง<br />

น้อย<br />

น้อย<br />

ทีสุด


๖๘<br />

ลําดับ<br />

รายการ<br />

๓. จะเลือกเข้ารับราชการในหน่ วยทีมีทีตั งอยู่ใกล้<br />

สถานศึกษาทางพลเรื อนเพือจะได้มีโอกาสเข้ารับ<br />

การศึกษาเพือเพิ มคุณวุฒิการศึกษาทางพลเรื อน<br />

ถึงแม้ว่าทีตั งหน่วยอยู่ห่ างไกลจากภูมิลําเนาเดิม<br />

(ครอบครัว)<br />

๔. จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีก่อตั งมานานแล้ว<br />

เพราะเป็ นหน่วยทีมีความสมบูรณ์ในเรืองระบบการ<br />

ทํา ง า นและสถานที ใ นการทํา งานที พ ร้ อมและ<br />

สะดวกสบายแต่จะไม่เลือกเข้ารับราชการในหน่วยที<br />

เพิงก่อตั งใหม่ซึ งยังไม่มีความสมบูรณ์ทั งในเรืองการ<br />

ทํางานและสถานทีในการทํางานทียังต้องมีการพัฒนา<br />

ปรับปรุงอีกมาก<br />

๕. จะเลือกเข้ารับราชการในหน่วยทีมีอาวุธยุทโธปกรณ์<br />

และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ทีทันสมัยและมีเทคโนโลยีสูง<br />

เพราะรู้สึกเป็ นความท้าทายทีจะได้เรี ยนรู้วิทยาการ<br />

สมัยใหม่แต่จะไม่เลือกหน่วยทีมีอาวุธยุทโธปกรณ์<br />

และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ แบบเดิมๆ หรื อแบบทีเคย<br />

เรียนรู้มาแล้วเพราะไม่มีวิทยาการใหม่ๆ ให้เรียนรู้<br />

๖. ควรมีการซักซ้อมการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ<br />

มากกว่า ๑ ครั งก่อนดําเนิ นการเลือกจริ งโดยให้<br />

ระยะเวลาของการซักซ้อมต่างกันพอเหมาะคือให้มี<br />

การซักซ้อมโดยพิจารณาจากลําดับทีของนักเรียนทีจัด<br />

เรียงลําดับตามผลการเรียนมีการเปลียนแปลงจากเดิม<br />

มากพอสมควรเป็ นเกณฑ์ในการกําหนดวันซักซ้อม<br />

๗. ลําดับทีในการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการควรให้<br />

สิทธิผู้ทีมีผลการศึกษาดีกว่าเป็ นผู้มีสิทธิเลือกหน่วย<br />

เพือเข้ารับราชการก่อนเรียงตามลําดับไป<br />

มาก<br />

ทีสุด<br />

มาก<br />

ปาน<br />

กลาง<br />

น้อย<br />

น้อย<br />

ทีสุด


๖๙<br />

ลําดับ<br />

รายการ<br />

๘. ควรให้นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่<br />

กําหนดความต้องการหน่วยทีประสงค์จะเข้ารับ<br />

ราชการเรียงตามลําดับความต้องการ ๓ ลําดับเพือเป็ น<br />

แผนสํารองในกรณี ทีการเลื อกหน่วยเพือเข้ารับ<br />

ราชการจริงไม่เป็ นไปตามทีซักซ้อม<br />

๙. ควรให้มีผู้แทนหน่วยระดับกรมหรื อเทียบเท่ามา<br />

แนะนําหน่วยถึงระดับกองพันหรื อเทียบเท่าเพือให้<br />

นักเรียนนายสิบทหารบก เหล่าทหารปื นใหญ่ได้ทราบ<br />

ก่อนการซักซ้อมการเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ<br />

ครั งแรก<br />

มาก<br />

ทีสุด<br />

มาก<br />

ปาน<br />

กลาง<br />

น้อย<br />

น้อย<br />

ทีสุด<br />

ส่วนที ๓ ข้อเสนอแนะในการดําเนินกรรมวิธีเลือกหน่วยเพือเข้ารับราชการ<br />

...........................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................


๗๐<br />

ประวัติย่อผู ้วิจัย<br />

ชือ : พันเอก กฤษณภาค สมใจเพ็ง<br />

วันเดือนปี เกิด : ๒๗ มีนาคม ๒๕๐๗<br />

การศึกษา<br />

: ปริญญาตรีจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า วุฒิปริญญาวิทยาศาสตร์<br />

บัณฑิต สาขา วิทยาศาสตร์<br />

ชั นนายร้อยทหารปื นใหญ่ รุ่นที ๓๒<br />

ชั นนายพันทหารปื นใหญ่ รุ่นที ๓๕<br />

เสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจํา ชุดที ๗๔<br />

ประวัติการทํางาน : นายทหารลาดตระเวนและแผนที กองร้อยปื นใหญ่ กองพันทหารปื นใหญ่<br />

ที ๑๐๖<br />

รองผู้บังคับกองร้อยปื นใหญ่ กองพันทหารปื นใหญ่ที ๑๐๖<br />

ผู้บังคับกองร้อยปื นใหญ่ กองพันทหารปื นใหญ่ที ๗๑๑<br />

นายทหารฝ่ ายยุทธการและการฝึ ก กองพันทหารปื นใหญ่ที ๗๑๑<br />

ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ ายส่งกําลังบํารุง กองพลทหารปื นใหญ่<br />

นายทหารฝ่ ายยุทธการและการฝึ ก กรมทหารปื นใหญ่ที ๗๒<br />

รองผู้บังคับกองพันทหารปื นใหญ่ที ๗๒๓<br />

นายทหารการยิงสนับสนุน กองพลทหารปื นใหญ่<br />

หัวหน้าฝ่ ายกําลังพล กองพลทหารปื นใหญ่<br />

ผู้บังคับกองพันทหารปื นใหญ่ที ๗๒๓<br />

ผู้บังคับกองพันทหารปื นใหญ่ที ๗๒๑<br />

อาจารย์หัวหน้าแผนกวิชายุทธวิธีปื นใหญ่สนาม โรงเรียนทหารปื นใหญ่<br />

ศูนย์การทหารปื นใหญ่<br />

หัวหน้าแผนกเตรียมการ โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่<br />

ตําแหน่งปัจจุบัน<br />

: หัวหน้าแผนกเตรียมการ โรงเรียนทหารปื นใหญ่ ศูนย์การทหารปื นใหญ่

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!