23.04.2015 Views

บทความ¨ พลาสติกเป็นสารประกอบที่มนุษย์สร้างข - สถาบันวิจัยสภาวะ ...

บทความ¨ พลาสติกเป็นสารประกอบที่มนุษย์สร้างข - สถาบันวิจัยสภาวะ ...

บทความ¨ พลาสติกเป็นสารประกอบที่มนุษย์สร้างข - สถาบันวิจัยสภาวะ ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

คำาว่าพลาสติกนั้นมาจากภาษากรีกว่า “Plastikos” ซึ่งมีความหมายว่า สามารถขึ้นรูปในรูปร่างต่างๆ ได้ โดยพลาสติก<br />

ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันสังเคราะห์ได้จากทั้งวัตถุดิบที่เป็นสารประกอบอินทรีย์และสารประกอบ อนินทรีย์ เช่น คาร์บอน ซิลิกอน<br />

ไฮโดรเจน ออกซิเจน และคลอไรด์ เป็นต้น พลาสติกสังเคราะห์ถูกนำามาใช้ในประโยชน์ด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการ<br />

นำามาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ของอาหาร ยารักษาโรค เครื่องสำาอางค์ สารเคมี แทนที่การใช้กระดาษหรือเซลลูโลสที่ได้จากพืช<br />

เนื่องจากพลาสติกสังเคราะห์มีคุณสมบัติพิเศษที่ดีกว่า (1)<br />

พลาสติกสังเคราะห์มีคุณสมบัติทางโครงสร้างพิเศษที่เรียกว่า High Molecular Weight คือในหนึ่งโมเลกุลมีจำานวน<br />

อะตอมมากกว่าสารชนิดอื่นมากมาย จึงทำาให้มีคุณสมบัติที่ดีในหลายด้านพร้อมกันไป เช่น คุณสมบัติทางกายภาพ เช่น มี<br />

ความแข็งแรง เหนียว ยืดหยุ่น ทนต่อการศึกกร่อน ทนน้ำา ทนความร้อน และ คุณสมบัติทางเคมี เช่น ทนกรด ทนด่าง<br />

ทนทานต่อการกัดกร่อนด้วยสารเคมีหลายชนิด (2) นอกจากนั้นยังทนทานต่อการย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ทางธรรมชาติอีกด้วย<br />

เนื่องจากพลาสติกสังเคราะห์จะต่อต้านการเกาะติดของจุลินทรีย์โดยจุลินทรีย์ในธรรมชาติไม่สามารถที่จะสร้างเอนไซม์ชนิดใหม่<br />

ขึ้นมาเพื่อย่อยสลายพลาสติก สังเคราะห์ได้<br />

จากความต้องการในการใช้พลาสติกที่เพิ่มมากขึ้นรวมกับคุณสมบัติที่มีความคงทนมากและไม่สามารถถูกย่อยสลาย<br />

ทางชีวภาพได้ ส่งผลให้เกิดการสะสมของขยะพลาสติกเป็นจำานวนมากและหากต้องการกำาจัดขยะพลาสติกเหล่านี้ด้วยวิธีการ<br />

เผาก็จะส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของมลพิษไปในอากาศ ดังนั้นจึงได้มีการคิดค้นผลิตพลาสติกรูปแบบใหม่ที่มีคุณสมบัติ<br />

แตกต่างไปจากพลาสติกสังเคราะห์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมตามที่กล่าวมาข้างต้น โดยพลาสติกรูปแบบ<br />

ใหม่ที่กล่าวถึงนั้นมีชื่อเรียกว่า พลาสติกชีวภาพ หรือ พลาสติกที่ถูกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ หรือ “Biodegradable plastic”<br />

ตามข้อกำาหนด ISO 472:1988 พลาสติกที่ถูกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ หมายถึง พลาสติกที่ได้รับการออกแบบมา<br />

เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีบางประการภายใต้สภาพแวดล้อมที่กำาหนด โดยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง<br />

เคมีนั้นเป็นผลมาจากกิจกรรมของจุลินทรีย์ตามธรรมชาติ<br />

ตามข้อกำาหนด ASTM D20.96 กล่าวว่า พลาสติกที่ถูกย่อยสลายได้ คือ พลาสติกที่สามารถถูกตัดพันธะของสาย<br />

โพลิเมอร์ได้ผ่านทางปฏิกริยาเคมี ชีวภาพ และกายภาพ ภายใต้สภาวะที่ส่งเสริมให้เกิดการย่อยสลายโครงสร้างของพลาสติก (3)<br />

ภาพพลาสติกที่ถูกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ<br />

ที่มา : http://www.theinnovationdiaries.com/998/the-truth-about-biodegradable-plastic/ (4)<br />

พลาสติกที่ถูกย่อยสลายได้ทางชีวภาพถูกจำาแนกออกเป็น 4 ประเภทโดยใช้หลักเกณฑ์การจำาแนกจากกระบวนการ<br />

สังเคราะห์และแหล่งของวัตถุดิบที่นำามาใช้ในกระบวนการผลิตที่แตกต่างกัน ดังนี้<br />

16<br />

วารสารสิ่งแวดล้อม ปีที่ 16 เล่มที่ 2

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!