13.07.2015 Views

ผลกระทบของ Storm surge ต่อคนกรุงเทพฯ และคนชายฝั่ง

ผลกระทบของ Storm surge ต่อคนกรุงเทพฯ และคนชายฝั่ง

ผลกระทบของ Storm surge ต่อคนกรุงเทพฯ และคนชายฝั่ง

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>ผลกระทบของ</strong> <strong>Storm</strong> Surgeตอคนกรุงเทพฯและคนชายฝงโดยนาวาเอกกตัญู ศรีตังนันทกรมอุทกศาสตร กองทัพเรือ


<strong>Storm</strong> <strong>surge</strong>Lคลื่นพายุซัดฝง หรือระดับน้ําทะเลที่ยกตัวสูงขึ้นจากระดับปกติจากการเคลื่อนตัวผานเขามาของหยอมความกดอากาศต่ํากําลังแรงหรือพายุหมุนโซนรอน3 meter (16 ft) of storm <strong>surge</strong> strikes the Florida Panhandle during Hurricane Eloise, 1975,(Historic NWS Collection, Courtesy of NOAA/US Dept of Commerce)


สภาพอากาศที่จะพบเมื่อเกิดพายุหมุนโซนรอน1. ลมแรงมาก - คลื่นในทะเลสูงมาก2. ความกดอากาศต่ําอยางรุนแรงที่ศูนยกลางของพายุ3. ฝนตกหนัก


เกิดการเคลื่อนตัวของน้ําจากทะเล หรือแมแตจากทะเลสาบขนาดใหญขึ้นสูชายฝงอยางรวดเร็ว จากอิทธิพลของลมแรงที่มาพรอมกับการเคลื่อนตัวขึ้นฝงของพายุ และความกดอากาศต่ําที่ศูนยกลางของพายุตัวการที่ทําใหเกิดความเสียหายจาก <strong>Storm</strong> Surge1. ลมแรงจากพายุ2. คลื่นสูง3. ระดับผิวหนาน้ําทะเลที่ยกตัวสูงขึ้นจากปกติ


พายุหมุนโซนรอนที่ทําใหเกิด <strong>Storm</strong> Surge และการยกตัวขึ้นของผิวหนาน้ําทะเลในทะเลลึก


โดมน้ําที่ยกตัวสูงขึ้นนี้ อาจจะมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 60 - 80 กม. และสูงจากระดับผิวหนาน้ําทะเลปกติประมาณ 2 - 5 เมตร เมื่อพายุหมุนโซนรอนเคลื่อนตัวเขาใกลฝง พื้นที่ลุมต่ําจะไดรับความเดือดรอนจากน้ําทวม สวนทางหนาของศูนยกลางพายุจะทําใหเกิดคลื่นซัดฝงเนื่องจากลมแรงโดยทั่วไปความสูงของ <strong>Storm</strong> Surge จะเปลี่ยนแปลงไปตามความรุนแรงของพายุหมุนโซนรอน ตัวแปรที่สําคัญ ไดแก1. Pressure 2. Size 3. Forward speed 4. Track 5. Winds


<strong>Storm</strong> Surge และระดับน้ําที่มีผลกระทบตอพื้นที่ชายฝง<strong>Storm</strong> Surge Strikes the New England Coast,1954, (Historic NWS Collection, Courtesy ofNOAA/US Dept of Commerce)


Hurricane CategoriesCAT 1 = Wind Speed 74-95 mph (64-82 knot)(119-153 km/hr)<strong>Storm</strong> Surge 1.2-1.5 m.CAT 2 = Wind Speed 96-110 mph (83-95 knot)(154-177 km/hr)<strong>Storm</strong> Surge 1.5-2.4 m.CAT 3 = Wind Speed 111-130 mph (96-113 knot)(178-209 km/hr)<strong>Storm</strong> Surge 2.4-3.6 m.CAT 4 = Wind Speed 131-155 mph (114-135 knot)(210-249 km/hr)<strong>Storm</strong> Surge 3.6-5.4 m.CAT 5 = Wind Speed >155 mph (>135 knot)(>211 km/hr)<strong>Storm</strong> Surge > 5.4 m.


ความสูงของระดับน้ําที่ยกตัวขึ้นเนื่องจากสภาพภูมิประเทศชายฝงถาพื้นที่ชายฝงเปนบริเวณน้ําลึก น้ําทะเลก็สามารถกระจายออกไปได โดมน้ํานี้ก็จะสูงขึ้นอยางชา ๆ แตถาบริเวณชายฝงเปนที่น้ําตื้น น้ําทะเลไมสามารถจะกระจายออกไปทางไหนได ดังนั้นโดมน้ํานี้ก็จะสูงขึ้น ๆและการกระจายตัวของมวลน้ําก็ขึ้นกับความรุนแรงของพายุหมุนโซนรอนดวยตัวอยาง <strong>Storm</strong> <strong>surge</strong> ที่เกิดขึ้นสูงกวา 3.7 เมตร (12 ฟุต) จาก Hurricane Audrey ในป ค.ศ.1957 สงผลใหมีผูเสียชีวิตประมาณ 390 คน ในพื้นที่ชายฝงที่เปนพื้นที่ราบตะวันตกเฉียงใตของมลรัฐหลุยเซียนา อเมริกาและดันใหมวลน้ําไกลเขาไปในฝงไดถึง 40 กม. (25 ไมล)


พื้นที่ราบไมมีสิ่งกีดขวาง คลื่นจะกวาดเขาไปไดลึก


ปริมาณน้ําทวมจะขึ้นอยูกับความสูงของระดับน้ําเมื่อพายุหมุนเคลื่อนตัวขึ้นฝงเปนอยางมาก ถาเปนชวงน้ําลง น้ําทวมก็อาจไมเกิดขึ้น ตามภาพแสดงถึงระดับน้ําทะเลที่มีผลกระทบจากลมแรงและความกดอากาศขณะที่ศูนยกลางของพายุหมุนโซนรอนเคลื่อนตัวขึ้นฝงhttp://www.comet.ucar.edu/nsflab/web/hurricane/313.htmคําเตือน - ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ลุมต่ําตามแนวชายฝงจะมีความเสี่ยงจาก <strong>Storm</strong> Surgeมากกวาจากลมแรงของพายุและควรฟงคําเตือนสําหรับ <strong>Storm</strong> Surge (หรือระดับน้ํา) ถา<strong>Storm</strong> Surge เกิดขึ้นพรอมกับชวงเวลาน้ําขึ้นสูงสุด น้ําทวมจํานวนมหาศาลและการทําลายลางอยางรุนแรงจะเกิดขึ้น


กอนเกิดหลังเกิดPhoto courtesy to NOAAอันตรายจาก <strong>Storm</strong> Surge1. เปนตัวการสําคัญที่สุดตอชีวิตมนุษย ซึ่งประมาณ 90% ของการเสียชีวิตระหวางเกิดพายุหมุนโซนรอนเคลื่อนตัวขึ้นฝง อีก 10% จากลมผิวพื้นที่มีความรุนแรงมากของพายุหมุนและสภาพทางภูมิศาสตรของพื้นที่ชายฝง2. แมวาน้ําทวมในพื้นที่ลุมต่ําเปนผลกระทบที่ยาวนานที่สุดในปจจุบันนี้ แต <strong>Storm</strong>Surge ก็ยังคงมีผลตอความสูญเสียของชีวิตที่รายแรงที่สุดระหวางเกิดพายุหมุนโซนรอน


ความเสียหายจาก <strong>Storm</strong> Surge คลื่นที่กวาดเขาไปในฝงเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะพื้นที่ชายฝง ในบางพื้นที่ที่เปนที่ราบ เชน ที่ราบสามเหลี่ยมปากแมน้ํา ระดับผิวหนาน้ําทะเลที่สูงขึ้น2 เมตร storm <strong>surge</strong> สามารถแทรกตัวลึกขึ้นไปบนฝงไดไกลถึง 3 กม. ทําใหเกิดน้ําทวมในพื้นที่เปนเวลานาน ๆ สามารถทําลายบานเรือน และกวาดเอาเรือหรือรถเขาไปในฝงหรือกวาดออกสูทะเล น้ําที่ทวมขังในพื้นที่ลุมต่ําอาจคงอยูไดเปนอาทิตยport of Paradip, India,lies inundated by astorm <strong>surge</strong> after theOrissa cyclone ofOctober 29–30, 1999.


การพยากรณพื้นที่ที่ไดรับความเสียหายมากที่สุดจาก <strong>Storm</strong> Surgeแสดงพื้นที่ที่จะเกิด <strong>Storm</strong> Surge สูงสุดจากพายุหมุนโซนรอน (Courtesy of US ArmyCorps of Engineers)


The SLOSH model (Sea, Lake and Overland Surges from Hurricanes) ที่ใชในการกําหนดพื้นที่ที่เสี่ยงตอการถูกคลื่นพายุซัดฝงรุนแรงที่สุดhttp://www.nhc.noaa.gov/HAW2/english/<strong>surge</strong>/slosh.shtml


ADCIRC Coastal Circulation and <strong>Storm</strong> Surge Model, Stony Brook <strong>Storm</strong> SurgeResearch Group, New York Harbor


พายุหมุนโซนรอนที่เคยเกิดในอดีตของไทยพายุไตฝุนแฮเรียต เมื่อป พ.ศ.2505พายุไตฝุนเกย เมื่อป พ.ศ.2532ตอมาปพ.ศ.2540 ก็มีพายุลินดาเดือนตุลาคม แนวเคลื่อนตัวของพายุหมุนโซนรอนจะลงไปทางใต ซึ่งมีโอกาสที่พายุจะพัดเขาอาวแลวทวีกําลังแรงลมขึ้นมาถึงกนอาว กรุงเทพฯอาจจะไดรับผลกระทบดวยอีกสาเหตุหนึ่งก็คือในชวงพฤศจิกายน-ธันวาคม จะมีน้ําทะเลหนุนโดยธรรมชาติ ถาพายุเคลื่อนตัวเขามาในกรุงเทพฯ ก็จะทําใหน้ําในแมน้ําเจาพระยาทะลักเขามาในกรุงเทพฯได


Typhoon Lindafrom GMS‐05 Satellite image


http://www.npmoc.navy.mil/jtwc.html


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนมิถุนายน ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนกรกฎาคม ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนสิงหาคม ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนกันยายน ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนตุลาคม ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนพฤศจิกายน ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนธันวาคม ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนมกราคม ระหวาง ค.ศ. 1947-2006


http://www.npmoc.navy.mil/jtwc.html


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนตุลาคม ระหวาง ค.ศ. 1971-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนพฤศจิกายน ระหวาง ค.ศ. 1971-2006


สถิติพายุหมุนโซนรอนที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในเดือนธันวาคม ระหวาง ค.ศ. 1971-2006


ระดับผิวหนาน้ําทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นในชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ


การเฝาระวังมวลน้ําที่จะเขาสูอาวไทย ชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือIndicator => Hong Kong 1. ความเร็วลม 20 นอต 2. ความกดอากาศ 1020 hPa3. ลมพัดนาน 24 ชม.


D100 กม.


ความสูงคลื่น 2.5 –4เมตร


ภาวะทะเล 6 ทะเลมีคลื่นจัดมาก (Very Rough) คลื่นสูง 4 -6 ม. กําลังลม 7 โบฟอรต (28 –33 นอต - Near Gale) คลื่นยอดสูงโถมทับมากขึ้น ริ้วฟองขาวที่เกิดจากคลื่นหัวแตกถูกพัดเปน สายไปตามทิศทางลม


ระดับน้ําจากอิทธิพลของลมทํานายจาก POMใน 24 ชม. ขางหนาอาวไทยระดับน้ํากลางวัน สูงกวาปกติ 0 – 20ซม.ระดับน้ํากลางคืน ต่ํากวาปกติ 0 – 10ซม.


ระดับน้ําจากอิทธิพลทางดาราศาสตร


ระดับน้ําที่อาจเปนไปไดเมื่อเกิดพายุดีเปรสชั่น (TD)ระดับความเร็วลม 28 นอต (54 กม./ชม.)ทะเลมีคลื่นจัด ความสูงคลื่น 4 เมตรWAMPOMTide+2.0 m+0.4 m+1.5 mMSL


LWAMPOMTideMSLความสูงของพื้นที่สมุทรปราการและ กทม. เฉลี่ยประมาณ 1 เมตร เหนือ MSLและความสูงของคันกั้นน้ําริมแมน้ําเจาพระยา 2.2-2.5 เมตร เหนือ MSL


ระดับน้ําที่คาดหมาย= ระดับน้ําจากอิทธิพลทางดาราศาสตร+ ระดับน้ําจากอิทธิพลทางอุตุนิยมวิทยา (POM)ถาระดับน้ําที่คาดหมายมีคามากกวา 1.80 เมตรกรมอุทกศาสตรจะออกคําเตือนเรื่องระดับน้ําสูงระดับน้ําที่คาดหมายจาก <strong>Storm</strong> Surge= ระดับน้ําจากอิทธิพลทางดาราศาสตร+ ระดับน้ําจากอิทธิพลทางอุตุนิยมวิทยา (POM)+ ความสูงคลื่น (WAM)


การประยุกตใชแบบจําลอง RMA2ในแมน้ําเจาพระยา


ผลกระทบที่อาจจะเกิดกับพื้นที่กรุงเทพฯและชายฝงน้ําทะเลที่ยกระดับขึ้นสูงไหลทะลักในลักษณะ <strong>Storm</strong> Surge เขามาในปากแมน้ําสําคัญของกรุงเทพฯและ จังหวัดใกลเคียง เปนเหตุใหพื้นที่ลุมสวนใหญของกรุงเทพฯและปริมณฑลมีน้ําทวมขังเปนบริเวณกวาง


ขอมูลจาก Greater Mekong Subregion Program, Asian development Bank (www.gms-eoc.org/CEP/2ndGDD.aspx)


ขอมูลจาก Greater Mekong Subregion Program, Asian development Bank (www.gms-eoc.org/CEP/2ndGDD.aspx)


- การทับถมของตะกอนดินและทรายที่มากับน้ํา- น้ําเค็มเขามาทวมขังเปนเวลานาน ๆและซึมลงไปในน้ําใตดิน


รอยแตกขนาดใหญของผนังกั้นน้ําริมคลอง Industrial canal ในเมืองนิวออลีนส มลรัฐหลุยสเซียนา ระหวางพายุแคททารีนา ซึ่งทําใหน้ําไหลเขาทวมพื้นที่ลุมต่ําริมฝง ซึ่งรอยแตกเกิดจากการที่แพบรรทุกสินคาพุงเขาชน ในภาพจะเห็นแพบรรทุกสินคา และเปนชวงเวลาที่น้ําไหลกลับลงคลอง (Source - Vincent Laforet, AFP/Getty Images)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!