26.01.2015 Views

เรื่องในฉบับ - สถาบันพระปกเกล้า

เรื่องในฉบับ - สถาบันพระปกเกล้า

เรื่องในฉบับ - สถาบันพระปกเกล้า

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

สะท้อนโลกทัศน์การเมืองการปกครองผ่านประกวดภาพจิตรกรรมและ<br />

ภาพถ่ายทางการเมืองการปกครองไทย ชิงเงินรางวัลกว่าแสนบาท<br />

พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า และ<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร เชิญชวนประชาชนทั่วไป ถ่ายทอดทัศนคติ ความเข้าใจและความ<br />

รู้สึกทางการเมืองการปกครองโดยส่งภาพจิตรกรรมและภาพถ่ายทางการเมืองการ<br />

ปกครองไทยเข้าประกวด ภายใต้หัวข้อ “ความขัดแย้ง ความชอบธรรม และการปฏิรูป<br />

ระบบรัฐ : การจัดสรรผลประโยชน์ที่เป็นธรรมในสังคมไทย” เงินรางวัลแยกเป็นด้าน<br />

จิตรกรรม รางวัลที่ ๑ จำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๒ จำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท และ<br />

รางวัลที่ ๓ จำนวน ๑๕,๐๐๐ บาท ส่วนเงินรางวัลสำหรับผลงานศิลปะภาพถ่าย รางวัลที่<br />

๑ จำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๒ จำนวน ๑๕,๐๐๐ บาท และรางวัลที่ ๓ จำนวน<br />

๑๐,๐๐๐ บาท รางวัลชมเชยของทั้ง ๒ ประเภท มี ๒ รางวัลๆ ละ ๕,๐๐๐ บาท <br />

ผู้สนใจขอเชิญส่งผลงานเข้าประกวด ตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม<br />

๒๕๕๒ (อาจมีการขยายเวลา) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ พิพิธภัณฑ์พระบาท<br />

สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๐-๓๔๑๓ ต่อ ๑๑๑ , ๑๐๓ และ ๑๐๕<br />

หรือ ศูนย์ประชาสัมพันธ์ สถาบันพระปกเกล้า ๐-๒๕๒๗-๗๘๓๐-๙ ต่อ ๒๓๐๒ และ<br />

๒๓๑๐<br />

วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้าจัด ค่ายอบรม<br />

โครงการเยาวชนสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนเข้ามามีส่วน<br />

ร่วมทางการเมืองการบริหารในระดับท้องถิ่น โดยคัดเลือกโครงการของเยาวชนที่<br />

ผ่านการคัดเลือก ๘ โครงการ จำนวน ๖๔ คน มาเข้าร่วมการฝึกอบรมการบริหาร<br />

โครงการ ระหว่างวันที่ ๖ – ๘ มิถุนายน ๒๕๕๒ ณ สถาบันวิชาการทีโอที จังหวัด<br />

นนทบุรี เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความสามารถใน<br />

การบริหารและวิเคราะห์ความเสี่ยงในการดำเนิน<br />

โครงการ และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ดำเนิน<br />

กิจกรรมที่มีความสร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อ<br />

ท้องถิ่นของตนในด้านต่างๆ โดยเยาวชนจะเริ่ม<br />

ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องระหว่างวันที่ ๑๕ มิ.ย.- ๓๑<br />

ส.ค ๒๕๕๒ โดยทางวิทยาลัยฯจะเสนอผลการ<br />

ดำเนินกิจกรรมของเยาวชนทั้ง ๘ กลุ่มนี้ต่อไป<br />

<br />

เรื่องในฉบับ<br />

ข่าวประชาสัมพันธ์<br />

๒<br />

ถึงเวลาหรือยังที่จะต้องคุยกับกลุ่มขบวนการ ๓<br />

การพัฒนาการสื่อสารในสมัยรัชกาลที่ 7 ๕<br />

ระบบอุปถัมภ์ในการเมืองไทย<br />

๗<br />

มารู้จักการปกครองท้องถิ่นกันเถอะ (ตอนที่ 1) ๘<br />

7 ปีวันรัฐพิธี : วันพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ๙<br />

มุมสร้างสำนึกพลเมือง<br />

๑๑


จดหมายข่าว<br />

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

<br />

สำนักวิจัยและพัฒนาและสำนักสันติวิธีและธรรมาภิ<br />

บาล สถาบันพระปกเกล้า จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ<br />

หลักสูตร “ประชาธิปไตยเพื่อการสานเสวนาหาทางออก<br />

(Deliberative Democracy)” โดย Sandra S.<br />

Hodge, Ph.D. (ดร. แซนดร้า ฮอดจ์) ศาสตราจารย์จาก<br />

มหาวิทยาลัยมิซซูรี (University of Missouri)<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้เชี่ยวชาญด้านการสานเสวนาหา<br />

ทางออก โดยมีการอภิปราย กิจกรรมกลุ่ม และบรรยาย<br />

เป็นเวลา ๓ วัน เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมได้<br />

อภิปรายแนวคิดที่หลากหลายและตรงประเด็นกับการ<br />

พิจารณาหารือ การมีส่วนร่วมของประชาชน และการจัดการความขัด<br />

แย้งด้วยสันติวิธี พร้อมมีการสรุปเป็นภาษาไทยโดย ศ. นพ.วันชัย<br />

วัฒนศํพท์ และ ดร.ถวิลวดี บุรีกุล<br />

<br />

เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๒ ที่ผ่านมา วิทยาลัยพัฒนาการ<br />

ปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า โดยการสนับสนุนจากมูลนิธิเอเชีย<br />

(Asia Foundation) จัดสัมมนาเวทีท้องถิ่นประจำปี ๒๕๕๒ ครั้งที่ ๒<br />

ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพมหานคร ในหัวข้อ เรื่อง วิพากษ์ร่าง<br />

พระราชบัญญัติว่าด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานของ<br />

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยดำเนินการยกร่างกฎหมายการมีส่วน<br />

ร่วมของประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อดำเนินการยกร่าง<br />

พระราชบัญญัติว่าด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานของ<br />

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ...ให้เกิดขึ้น โดยดำเนินการจัดให้มี<br />

การรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนในต่างจังหวัดมาแล้วทั้งสิ้น ๑๐<br />

จังหวัด ซึ่งการรับฟังความคิดเห็นครั้งสุดท้ายที่ กรุงเทพฯ เพื่อเป็น<br />

สื่อกลางในการประชาสัมพันธ์ และเปิดโอกาสให้จากภาคต่างๆ ได้ร่วม<br />

กันวิพากษ์วิจารณ์ และให้ข้อเสนอแนะต่อร่างกฎหมาย<br />

สถาบันพระปกเกล้า โดยสำนักวิจัยและพัฒนา ได้ปฏิบัติงานตาม<br />

โครงการจัดทำพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการรวม กลุ่มของข้าราชการ<br />

พลเรือนสามัญ ด้วยการสนับสนุนของสำนักงาน ก.พ. โครงการฯ จัด<br />

กิจกรรมในรูปแบบการเสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากข้าราชการใน<br />

ภูมิภาคต่างๆ จำนวน ๙ เวที ทั่วประเทศ ซึ่งขณะนี้ได้จัดเวทีรับฟังความ<br />

คิดเห็นแล้ว ๓ ครั้ง คือที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชลบุรี และนครราชสีมา <br />

ผู้เข้าร่วมเสวนาประกอบด้วยข้าราชการพลเรือนสามัญที่ปฏิบัติหน้าที่ทั้ง<br />

ในระดับบริหารและปฏิบัติการจากทุกสังกัดกระทรวงของจังหวัดต่างๆ<br />

โดยในแต่ละเวทีจะมีตัวแทนข้าราชการพลเรือนสามัญจาก ๖ จังหวัด<br />

จังหวัดละ ๕ คนนอกจากนี้ยังมีนักวิชาการในพื้นที่และสมาชิกวุฒิสภา<br />

เข้าร่วมเสวนาแสดงความคิดเห็นด้วย สำหรับภาพกิจกรรม สรุปผลการ<br />

รับฟังความคิดเห็นจากแต่ละเวที และรายละเอียดทั้งหมด สามารถดูได้<br />

จาก www.kpi.ac.th ในส่วนข่าวประชาสัมพันธ์


∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

®¥À¡“¬¢à“«<br />

จดหมายข่าว <br />

®¥À¡“¬¢à“« ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

King ®¥À¡“¬¢à“« Prajadhipokùs ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

Institute Newsletter ถึง เวลา หรือ ยัง<br />

King Prajadhipokùs Institute Newsletter<br />

«—µ∂ÿª√– ߧå:<br />

Ò. «—µ∂ÿª√– ‡æ◊ ËÕ‡º¬·æ√à¢à“« ߧå: “√ ª√–“ —¡æ—π∏å°‘®°√√¡·≈–º≈ß“π ที่จะต้องคุยกับกลุ่มขบวนการ<br />

Ò. ‡æ◊ ¢Õß ËÕ‡º¬·æ√à¢à“« ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“ “√ ª√–“ —¡æ—π∏å°‘®°√√¡·≈–º≈ß“π<br />

Ú.‡æ◊ËÕ ¢Õß ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“ à߇ √‘¡·≈–‡º¬·æ√৫“¡√Ÿâ‡°’ˬ«°—∫°“√‡¡◊Õß<br />

Ú.‡æ◊ËÕ °“√ª°§√Õß„π√–∫Õ∫ª√–“∏‘ª‰µ¬<br />

à߇ √‘¡·≈–‡º¬·æ√৫“¡√Ÿâ‡°’ˬ«°—∫°“√‡¡◊Õß<br />

เมธัส อนุวัตรอุดม*<br />

∑“ߧ≥–ºŸâ®—¥∑”¬‘π¥’∑’Ë®–‡ªìπ<br />

°“√ª°§√Õß„π√–∫Õ∫ª√–“∏‘ª‰µ¬<br />

◊ËÕ°≈“ß„π°“√·≈°‡ª≈’ˬπ<br />

¢à“« ∑“ߧ≥–ºŸâ®—¥∑”¬‘π¥’∑’Ë®–‡ªìπ “√¢âÕ¡Ÿ≈∑’Ë¡’ª√–‚¬πåÀ√◊Õπà“ ◊ËÕ°≈“ß„π°“√·≈°‡ª≈’ˬπ<br />

π„®µàÕ “∏“√≥π<br />

·≈–¢Õ ¢à“« “√¢âÕ¡Ÿ≈∑’Ë¡’ª√–‚¬πåÀ√◊Õπà“ ß«π ‘∑∏‘Ï„π°“√ √ÿª¬àÕµ—¥∑Õπ π„®µàÕ À√◊Õ‡æ‘Ë¡‡µ‘¡ “∏“√≥π<br />

µ“¡§«“¡‡À¡“– ·≈–¢Õ ß«π ‘∑∏‘Ï„π°“√ √ÿª¬àÕµ—¥∑Õπ À√◊Õ‡æ‘Ë¡‡µ‘¡ หลังเกิดเหตุการณ์ยิงมัสยิดอัลฟุรกอนที่อ.เจาะไอร้อง มีผู้เสียชีวิต ๑๐ คน บาดเจ็บ<br />

µ“¡§«“¡‡À¡“– §«“¡‡ÀÁπ·≈–∑—»π–„π·µà≈–‡√◊ËÕ߇ªìπ¢ÕߺŸâ‡¢’¬π´÷Ëß<br />

¡<br />

๑๒ คนเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายนที่ผ่านมา ทำให้ปัญหาภาคใต้กลับมาอยู่ในความสนใจของ<br />

∑“ߧ≥–ºŸâ®—¥∑”·≈– §«“¡‡ÀÁπ·≈–∑—»π–„π·µà≈–‡√◊ËÕ߇ªìπ¢ÕߺŸâ‡¢’¬π´÷Ëß<br />

∂“∫—πæ√–ª°‡°≈Ⓣ¡à®”‡ªìπ®–µâÕß<br />

‡ÀÁπ¥â«¬‡ ∑“ߧ≥–ºŸâ®—¥∑”·≈– ¡Õ‰ª ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈Ⓣ¡à®”‡ªìπ®–µâÕß สังคมใหญ่อีกครั้งหนึ่ง มีการวิเคราะห์ถึงเหตุการณ์และความเหี้ยมโหดของผู้กระทำกัน<br />

‡ÀÁπ¥â«¬‡ ¡Õ‰ª<br />

อย่างหลากหลาย ผู้รับผิดชอบในการแก้ปัญหาของภาครัฐต่างออกมาพูดถึงเหตุการณ์<br />

§≥–∑’˪√÷°…“:<br />

»“ §≥–∑’˪√÷°…“: µ√“®“√¬å ¥√.∫«√»—°¥‘Ï Õÿ«√√≥‚≥<br />

ดังกล่าวอย่างกว้างขวาง อีกสี่วันถัดมาก็เกิดเหตุคนร้ายยิงพระของวัดวาลุการาม จ.ยะลา<br />

√Õß»“ µ√“®“√¬å µ√“®“√¬å«ÿ≤‘ ¥√.∫«√»—°¥‘Ï “√ µ—π‰¬ Õÿ«√√≥‚≥<br />

π“ßæß…å∑Õß √Õß»“ µ√“®“√¬å«ÿ≤‘ µ—Èߟæß»å “√ µ—π‰¬<br />

มรณภาพขณะบิณฑบาตเมื่อเช้าวันที่ ๑๒ มิถุนายน ตามมาด้วยการขว้างระเบิดใส่รถ<br />

𓬫‘∑«— π“ßæß…å∑Õß —¬¿“§¿Ÿ¡‘ µ—Èߟæß»å<br />

โดยสารสายบ้านนิคมกือลอง-นครยะลาบนเส้นทางสายมาลายูบางกอก-พงยือไร จ.ยะลา<br />

¥√.∂«‘≈«¥’ 𓬫‘∑«— —¬¿“§¿Ÿ¡‘ ∫ÿ√’°ÿ≈<br />

ซึ่งมีผู้เสียชีวิต ๑ คน บาดเจ็บ ๑๔ คนในวันต่อมา<br />

π“ß«’√πÿ ¥√.∂«‘≈«¥’ æ≈π‘°√ ∫ÿ√’°ÿ≈<br />

ºŸâ૬»“ π“ß«’√πÿ รองศาสตราจารย์ µ√“®“√¬å æ≈π‘°√ดร.อรทัย ¥√.Õ√∑—¬ ก๊กผล °ä°º≈<br />

ท่ามกลางความรุนแรงรายวันและความสับสนในพื้นที่ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง นายกฯ<br />

æ≈‡Õ° ºŸâ૬»“ ‡Õ°—¬ µ√“®“√¬å »√’«‘≈“» ¥√.Õ√∑—¬ °ä°º≈<br />

√Õß»“ æ≈‡Õ° ‡Õ°—¬ µ√“®“√¬å »√’«‘≈“»<br />

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะได้กล่าวเน้นย้ำต่อสังคมและผู้เกี่ยวข้องว่าที่ผ่านมาจนกระทั่งถึงขณะนี้<br />

¥√.‰¬«—≤πå §È”Ÿ<br />

¥√.Õ√—≠ √Õß»“ µ√“®“√¬å µ∂‘æ—π∏åÿ ¥√.‰¬«—≤πå §È”Ÿ<br />

รัฐบาลได้มีแนวทางแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ชัดเจน คือใช้การ<br />

π“ß ¥√.Õ√—≠ “« ÿ√“ß§å ‚ µ∂‘æ—π∏åÿ Ցߧ‡«∑¬å<br />

พัฒนาเป็นตัวนำให้เกิดสันติสุขในพื้นที่ โดยล่าสุดเตรียมทุ่มงบประมาณไปยัง ๕ โครงการ<br />

π“¬æ‘ π“ß “«‘…∞å ÿ√“ß§å »‘√‘ Ցߧ‡«∑¬å ÿ«√√≥<br />

π“¬æ‘ ‘…∞å »‘√‘ ÿ«√√≥<br />

คือฮาลาล ประมง ยางพารา ปาล์ม และการท่องเที่ยว ซึ่งรัฐบาลเชื่อว่าแนวทางการใช้การ<br />

∫√√≥“∏‘°“√:<br />

π“ß<br />

∫√√≥“∏‘°“√:<br />

“« √âÕ¬π¿“ «—≤π“°‘µµ‘°Ÿ≈<br />

พัฒนาเป็นตัวนำที่กำลังดำเนินการอยู่นี้จะเป็นคำตอบให้กับการแก้ไขปัญหาได้ ๑<br />

π“ß “« √âÕ¬π¿“ «—≤π“°‘µµ‘°Ÿ≈<br />

°Õß∫√√≥“∏‘°“√:<br />

แนวคิดความเชื่อดังกล่าวน่าจะตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่าปัญหาความไม่สงบใน<br />

นางสาวศิริกมล π“ß °Õß∫√√≥“∏‘°“√: “«»‘√‘°¡≈ จันทรปัญญา ®—π∑√ªí≠≠“<br />

π“ß “«‡æ≈‘πæ‘» “«»‘√‘°¡≈ ®—π∑√ªí≠≠“<br />

ภาคใต้เกิดจากการกระทำของคนจำนวนน้อย โดยที่คนส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย แต่อาจจะมี<br />

‡æ√≈È”<br />

นางสาวน้ำผึ้ง π“ß “«πÈ”º÷Èß “«‡æ≈‘πæ‘» จิ๋วปัญญา<br />

®‘Ϋªí≠≠“ ‡æ√≈È”<br />

แนวร่วมอยู่บ้างเนื่องจากความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม <br />

นางสาวศรัณย์ธร π“ß “«πÈ”º÷Èß ®‘Ϋªí≠≠“ แดงอุดม<br />

ª√– “πß“π°“√º≈‘µ:<br />

จากการที่ไม่มีคุณภาพชีวิตและระบบการศึกษาที่ดี อยู่ในพื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา และ<br />

𓬩—µ√—¬ ª√– “πß“π°“√º≈‘µ: «‘¬“ππ∑å<br />

จากพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนที่ออกนอกกรอบของกฎหมาย โดยเชื่อว่าหากรัฐบาล<br />

𓬩—µ√—¬ นายสมบัติ หวังเกษม «‘¬“ππ∑å<br />

»‘≈ª°√√¡·≈–®—¥Àπâ“:<br />

ใช้นโยบายการเมืองนำการทหารด้วยการซื้อใจประชาชนส่วนใหญ่ผ่านการพัฒนาคุณภาพ<br />

𓬠»‘≈ª°√√¡·≈–®—¥Àπâ“:<br />

ÿ“µ‘ «‘«—≤πåµ√–°Ÿ≈ ‚∑√»—æ∑å apple¯-˘ˆ˘¯-ÒappleÒapple<br />

𓬠ÿ“µ‘ «‘«—≤πåµ√–°Ÿ≈ ‚∑√»—æ∑å apple¯-˘ˆ˘¯-ÒappleÒapple ชีวิตที่ดีได้ ในขณะที่เจ้าหน้าที่รัฐไม่สร้างเงื่อนไขเพิ่มเติม มวลชนก็จะตีตัวออกห่างจาก<br />

æ‘¡æå∑’Ë:<br />

∫√‘…—∑ æ‘¡æå∑’Ë:<br />

ผู้ก่อความไม่สงบ ทำให้แนวร่วมลดจำนวนลง ชาวบ้านในพื้นที่คอยแจ้งข่าวและเป็นหู<br />

ส เจริญ »Ÿπ¬å°“√æ‘¡æå การพิมพ์ ·°àπ®—π∑√å ®”°—¥ ¯¯/Û «—≤π“𑇫»πå<br />

´Õ¬ ∫√‘…—∑ ๑๕๑๐/๑๐ »Ÿπ¬å°“√æ‘¡æå ÿ∑∏‘ ถนนประชาราษฎร์ “¡‡ ·°àπ®—π∑√å ππÕ° À⫬¢«“ß ๑ ®”°—¥ แขวงบางซื่อ ¯¯/Û °∑¡. «—≤π“𑇫»πå เป็นตาให้แก่เจ้าหน้าที่รัฐ ก็จะทำให้งานการข่าวถูกต้องแม่นยำมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การ<br />

‚∑√»—æ∑å:apple-ÚÚ˜ˆ-ˆ˜ÒÛ ´Õ¬ เขตบางซื่อ ı ÿ∑∏‘ กรุงเทพมหานคร “√ “¡‡ ππÕ° ·≈– ๑๐๘๐๐ À⫬¢«“ß apple-ÚÚ˜ˆ-ˆ˜ÚÒ °∑¡.<br />

จับกุมผู้ก่อความไม่สงบได้ และเมื่อกลุ่มขบวนการก่อความไม่สงบนี้หมดไปไม่ว่าจะสาเหตุ<br />

‚∑√»—æ∑å:apple-ÚÚ˜ˆ-ˆ˜ÒÛ โทรศัพท์ “√: ๐๒-๙๑๓-๒๐๘๐ apple-ÚÚ˜˜-¯ÒÛ˜·≈– โทรสาร apple-ÚÚ˜ˆ-ˆ˜ÚÒ ๐๒-๙๑๓-๒๐๘๑<br />

𓬠‚∑√ “√: —𵑠apple-ÚÚ˜˜-¯ÒÛ˜ ·°àπ®—π∑√å ºŸâæ‘¡æ废₅≥“<br />

จากการขาดแนวร่วมหรือจากการจับกุมปราบปรามโดยเจ้าหน้าที่รัฐก็ตาม สันติสุขก็จะกลับ<br />

นางจรินพร เสนีวงศ์ ณ อยุธยา ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา<br />

𓬠—𵑠·°àπ®—π∑√å ºŸâæ‘¡æ废₅≥“<br />

∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“ ‡ªìπ ∂“∫—π∑“ß«‘“°“√·Ààß“µ‘ ´÷Ëß<br />

คืนสู่ชายแดนใต้ได้ในที่สุด<br />

‡ªìπ𑵑∫ÿ§§≈ ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“ Õ¬Ÿà„π°”°—∫¥Ÿ·≈¢Õߪ√–∏“π√—∞ ‡ªìπ ∂“∫—π∑“ß«‘“°“√·Ààß“µ‘ ¿“ ‡ªìπ ´÷Ëß<br />

‡ªìπ𑵑∫ÿ§§≈ Àπ૬ߓπ¢Õß√—∞∑’ˉ¡à‡ªìπ Õ¬Ÿà„π°”°—∫¥Ÿ·≈¢Õߪ√–∏“π√—∞ à«π√“°“√µ“¡°ÆÀ¡“¬«à“¥â«¬ ¿“ ‡ªìπ<br />

กล่าวคือ สมมติว่าประชากรในจังหวัดชายแดนภาคใต้มี ๑๐๐ คน มีกลุ่มขบวนการ<br />

°“√®—¥√–‡∫’¬∫ªØ‘∫—µ‘√“°“√ΩÉ“¬√—∞ Àπ૬ߓπ¢Õß√—∞∑’ˉ¡à‡ªìπ à«π√“°“√µ“¡°ÆÀ¡“¬«à“¥â«¬ ¿“·≈–‰¡à‡ªìπ ก่อความไม่สงบประมาณ ๑๐ คน เป็นแนวร่วมประมาณ ๒๐ คน ส่วนอีก ๗๐ คนเป็น<br />

√—∞«‘ °“√®—¥√–‡∫’¬∫ªØ‘∫—µ‘√“°“√ΩÉ“¬√—∞ “À°‘®µ“¡°ÆÀ¡“¬«à“¥â«¬«‘∏’°“√ß∫ª√–¡“≥·≈– ¿“·≈–‰¡à‡ªìπ<br />

ประชาชนส่วนใหญ่ที่ไม่เห็นด้วยกับการใช้ความรุนแรง ๒ จากแนวทางของรัฐบาลขณะนี้ อาจ<br />

°ÆÀ¡“¬Õ◊Ëπ √—∞«‘ “À°‘®µ“¡°ÆÀ¡“¬«à“¥â«¬«‘∏’°“√ß∫ª√–¡“≥·≈–<br />

°ÆÀ¡“¬Õ◊Ëπ<br />

∑’˵—Èß ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“:<br />

* นักวิชาการ สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า<br />

∑’˵—Èß Ù˜/ÒappleÒ ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“: Õ“§“√»Ÿπ¬å —¡¡π“ —Èπ ·≈– „π∫√‘‡«≥<br />

๑<br />

∂“∫—πæ—≤π“¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ Ù˜/ÒappleÒ Õ“§“√»Ÿπ¬å —¡¡π“ —Èπ (°.æ.) Û ·≈– ∂π𵑫“ππ∑å ı „π∫√‘‡«≥ ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันอาทิตย์ที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ หน้า ๑๕. <br />

µ”∫≈µ≈“¥¢«—≠ ∂“∫—πæ—≤π“¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ Õ”‡¿Õ‡¡◊Õß ®—ßÀ«—¥ππ∑∫ÿ√’ (°.æ.) ∂π𵑫“ππ∑å<br />

๒<br />

ÒÒappleappleapple ตัวเลขดังกล่าวเป็นเพียงการสมมติเพื่อประโยชน์ในการอธิบาย ไม่ได้ต้องการสะท้อนสัดส่วน<br />

‚∑√. µ”∫≈µ≈“¥¢«—≠ appleÚ-ıÚ˜-˜¯Ûapple-˘ Õ”‡¿Õ‡¡◊Õß ‚∑√ ®—ßÀ«—¥ππ∑∫ÿ√’ “√ appleÚ-ıÚ˜-˜¯ÚÚ ÒÒappleappleapple ที่แท้จริงในพื้นที่<br />

‚∑√. appleÚ-ıÚ˜-˜¯Ûapple-˘ ‚∑√ “√ appleÚ-ıÚ˜-˜¯ÚÚ


จดหมายข่าว<br />

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

ตีความได้ว่ารัฐบาลพยายามที่จะดึงมวลชนทั้งหมด ๙๐ คนมาอยู่ข้างรัฐ<br />

จากการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านโครงการต่างๆ โดยที่กลุ่มขบวนการอีก<br />

๑๐ คนจะ “ฝ่อ” ไปเอง หรือหากไม่สลายไป ก็จะสามารถจับกุมปราบ<br />

ปรามกลุ่มขบวนการที่เหลือให้หมดสิ้นไปได้<br />

แน่นอนที่สุด คงไม่มีใครปฏิเสธว่ามาตรการในการแก้ไขปัญหา<br />

ที่จำเป็นต้องทำส่วนหนึ่งคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่<br />

ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต ให้ประชาชนทุกหมู่เหล่ากินดีอยู่ดี สามารถ<br />

ปฏิบัติศาสนกิจตามความเชื่อของตนได้อย่างเสรี ซึ่งเป็นแนวทางถูกต้อง<br />

เหมาะสมแล้วและควรได้รับการสนับสนุนส่งเสริมอย่างเต็มที่ <br />

แต่อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนก็ไม่แน่ใจว่างานการเมืองที่เน้นการพัฒนา<br />

เพียงอย่างเดียวจะเพียงพอหรือไม่ในการยุติความรุนแรงโดยที่ไม่ต้อง<br />

มีการพูดคุยกับกลุ่มที่ใช้ความรุนแรงอย่างจริงจังและต่อเนื่องเพื่อ<br />

ทำความเข้าใจว่าคนกลุ่มนี้ต้องการอะไร และไม่แน่ใจว่ารัฐบาลจะ<br />

สามารถจับกุม ปรับความคิด หรือปราบปรามกลุ่มขบวนการนี้ได้อย่าง<br />

เบ็ดเสร็จเด็ดขาดตามสมมติฐานข้างต้น เมื่อดูจากความรุนแรงรายวันที่<br />

ยังคงเกิดขึ้นยืดเยื้อมากว่า ๕ ปีแล้วท่ามกลางความพยายามแก้ปัญหา<br />

จากทุกภาคส่วนและการทุ่มเทงบประมาณซึ่งเป็นภาษีประชาชนไปกว่า<br />

แสนล้านบาท โดยที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะหยุดการสูญเสียลงได้ ความไม่<br />

แน่ใจดังกล่าวนี้ทำให้เกิดคำถามขึ้นว่าถึงเวลาแล้วหรือยังที่รัฐบาลจะต้อง<br />

คุยกับกลุ่มขบวนการด้วยการมอบหมายหน่วยงานหรือกลุ่มบุคคล<br />

เฉพาะเพื่อดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง<br />

การพูดคุยเพื่อสันติภาพ (Peace Talks) นี้ถือเป็นงานการเมือง<br />

เชิงรุกที่เป็นรูปธรรมอีกประการหนึ่ง ความขัดแย้งในหลายกรณีทั่วโลก<br />

ไม่ว่าจะเป็นที่แคว้นบาสก์ อาเจะห์ ไอร์แลนด์เหนือ หรือมินดาเนา ก็เริ่ม<br />

ต้นคลี่คลายลงด้วยแนวทางนี้ทั้งสิ้น การพูดคุยนี้เป็นการทำความเข้าใจ<br />

ความต้องการของผู้ก่อความไม่สงบ เพื่อนำมาวิเคราะห์และพิจารณา<br />

หาทางออกร่วมกันที่เป็นประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่ในพื้นที่และมีความ<br />

เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดในการลด<br />

ความรุนแรงผ่านการสื่อสารกับผู้กระทำโดยตรง เพื่อยุติการสูญเสียชีวิต<br />

ของทุกๆฝ่ายให้ได้โดยเร็วที่สุด ทั้งนี้ การพูดคุยดังกล่าวนี้ไม่ใช่การหา<br />

ข่าวอย่างที่เคยปฏิบัติกันมา และที่สำคัญคือไม่ใช่การเจรจาแต่อย่างใด<br />

หากแต่เป็นการทำความเข้าใจกับคนไทยด้วยกันที่มีความเห็นต่างจาก<br />

รัฐ ๓ <br />

หากนโยบายการเมืองนำการทหารของรัฐบาลมีการดำเนินงานสองขา<br />

คู่ขนานกันไปคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่และการ<br />

พูดคุยเพื่อสันติภาพกับกลุ่มขบวนการในการทำความเข้าใจว่าทำไมจึง<br />

ต้องใช้ความรุนแรง ก็น่าจะเป็นแนวทางการแก้ปัญหาที่เข้าเป้ามากยิ่ง<br />

ขึ้น ทั้งนี้ ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีการบังคับใช้กฎหมายต่อผู้กระทำ<br />

ผิด ซึ่งต้องดำเนินไปตามกระบวนการยุติธรรมและพยานหลักฐานอยู่<br />

แล้ว หรือไม่ได้หมายความว่าจะงดใช้การทหาร เพียงแต่ต้องเป็นการใช้<br />

การทหารเพื่อสนับสนุนงานการเมืองเท่านั้น<br />

ในเมื่อเป้าหมายสูงสุดของรัฐบาลคือสันติสุขในพื้นที่ หากทางเลือก<br />

ใดที่อาจจะนำมาซึ่งเป้าหมายนี้ได้ ก็น่าจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่คุ้มค่า<br />

ต่อรัฐบาลที่จะลองหันมาพิจารณา<br />

<br />

<br />

๓<br />

รายงานปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้: บทวิเคราะห์และแนวทางการแก้ปัญหาเชิงรุกที่ยั่งยืนด้วยสันติวิธี โดยนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร<br />

ชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคมสันติสุข” รุ่นที่ ๑ สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า, หน้า ๔๓


เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

จดหมายข่าว<br />

<br />

การพัฒนาการสื่อสารในสมัยรัชกาลที่ ๗<br />

ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล*<br />

เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๕๒ นี้ สถาบันพระปกเกล้าให้ผมไปบรรยาย<br />

เกี่ยวกับพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้<br />

ผู้บริหารระดับต้นของสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม<br />

แห่งชาติ (กทช.) ฟัง ผมจึงได้ลองหาข้อมูลเรื่องกิจการสื่อสารในสมัย<br />

รัชกาลที่ ๗ เตรียมไว้บ้าง แต่เอาเข้าจริงไม่ได้ใช้ จึงขอนำเกร็ดความรู้<br />

บางประการมาเล่าสู่กันฟัง ณ ที่นี้<br />

เชื่อหรือไม่ว่า ไทยเราวางสายโทรศัพท์ก่อนที่เราจะสร้างทางรถไฟ<br />

เสียอีก เท่ากับว่าการสื ่อสาร (สมัยใหม่) มาก่อนการคมนาคม (สมัยใหม่) <br />

กล่าวคือ เมื่อพ.ศ. ๒๔๑๘ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่<br />

หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้วางสายโทรเลขจากกรุงเทพฯถึง<br />

สมุทรปราการและต่อกับประภาคารปากน้ำ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๒๑ สร้าง<br />

สายที่ ๒ กรุงเทพฯบางปะอิน-อยุธยา และใน พ.ศ. ๒๔๒๖ กรุงเทพฯ-<br />

ปราจีนบุรี-อรัญประเทศ-ศรีโสภณ (ชายแดนสยาม-กัมพูชา) และ<br />

กรุงเทพฯ-กาญจนบุรี-เมาะลำเลิง (Moulmein) (ในพม่า) ส่วนโทรศัพท์<br />

นั้นเริ่มทดลองใน พ.ศ. ๒๕๒๔ ทั้งหมดนี้ภายใต้การดำเนินงานของกรม<br />

กลาโหม ต่อมาเมื่อวันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๒๖ จึงได้ทรงพระกรุณา<br />

โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรมโทรเลข (ซึ่งรวมโทรศัพท์ไว้ด้วย) และกรม<br />

ไปรษณีย์ ในขณะที่รถไฟนั้นเริ่มใน พ.ศ. ๒๔๓๔<br />

เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น <br />

สรรพสิริ วิริยศิริ วิเคราะห์ไว้ว่า ในการพัฒนาประเทศนั้น<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงระมัดระวังเรื่องผล<br />

กระทบที่อาจมีต่อความมั่นคงของชาติมาก แม้ว่าจะทรงตระหนักดีถึง<br />

ความสำคัญของการสื่อสารคมนาคมต่อการพัฒนาประเทศ โดยทรง<br />

อุปมาอุปไมยว่า พระนครเหมือนหัวใจ สูบเลือดไปทั่วร่างกาย ก็ตาม<br />

ในเรื่องรถไฟ ก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะ<br />

ทรงบรรลุพระราชนิติภาวะ อังกฤษก็ได้ขอสัมปทานรถไฟ ซึ่งสยามได้<br />

อนุญาต แต่ปรากฏว่าอังกฤษดำเนินการไม่สำเร็จ ต่อมาเมื่อ พ.ศ.<br />

๒๔๑๘ อังกฤษได้ขออีกครั้ง คราวนี้ทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วย<br />

พระองค์เองแล้ว ไม่ทรงอนุญาต เพราะมีพระราชวินิจฉัยว่าจะทำให้เสีย<br />

เปรียบอังกฤษ สยามจึงตอบไปว่า ดำริจะทำเองอยู่แล้ว<br />

อันที่จริง สยามยังรีรอเรื่องรถไฟ แต่กำลังทำเรื่องโทรเลขดังกล่าว<br />

แล้ว โดยกรมกลาโหมรับผิดชอบ และทำไปยังจุดใกล้ชายแดนแทบ<br />

* กรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทั้งสิ้น ซึ่งเห็นได้ว่าเป็นไปเพื่อการส่งข่าวสารเกี่ยวกับภัยคุกคามจาก<br />

เจ้าอาณานิคมให้ทันกาล สายโทรเลขเหล่านี้ย่อมเดินไปตามทางเกวียน<br />

แทบทั้งสิ้น<br />

ส่วนรถไฟนั้น มาเริ่มใน พ.ศ. ๒๔๓๔ โดยทรงพระกรุณาโปรด<br />

เกล้าฯให้เดนมาร์คมาทำ เพราะเดนมาร์คสนใจแต่เรื่องการค้า ไม่ล่า<br />

อาณานิคมในภูมิภาคแถบนี้ ทางรถไฟสายแรก กรุงเทพฯ-ปากน้ำ<br />

สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ เพียงสามเดือนก่อนเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒<br />

ที่เรือรบฝรั่งเศสตีฝ่าป้อมและเรือรบของไทยที่ปากน้ำเข้ามาที่กรุงเทพฯ<br />

ได้ บีบบังคับไทยให้จำยอมสละดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง และจ่ายค่า<br />

ปฏิกรรมสงครามจำนวนมากให้แก่ฝรั่งเศส ยังความหนักพระราชหฤทัย<br />

แก่สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเป็นที่ยิ่ง ปรากฏในพระราชหัตถเลขาถึง<br />

เสนาบดีสภาว่า “ถ้าความเป็นเอกราชของกรุงสยามได้สิ้นสุดไปเมื่อใด<br />

ชีวิตรฉันก็คงจะสิ้นสุดไปเมื่อนั้น”<br />

ครั้นวันที่ ๘ พฤศจิกายน ปีเดียวกันนั้นเอง (ร.ศ. ๑๑๒ หรือ พ.ศ.<br />

๒๔๓๖) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็พระราชสมภพ<br />

กลับมาเรื่องโทรเลข ใน พ.ศ. ๒๔๔๗ ซึ่งเป็นปีพระราชสมภพของ<br />

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ สยามได้<br />

ให้บริษัท B.Grimm &Co.ของชาวเยอรมันเป็นตัวแทนบริษัท<br />

Telefunken ติดตั้งเครื่องวิทยุโทรเลข ๒ ชุด ชุดหนึ่งบนภูเขาทองใกล้ๆ<br />

กับที่ตั้งในปัจจุบันของพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

อีกชุดหนึ่งที่เกาะสีชัง เพื่อทดลองการส่งและรับวิทยุโทรเลขระหว่างกัน<br />

ผลเป็นอย่างไรยังหาหลักฐานไม่ได้<br />

ในปีเดียวกันนั้นเอง เจ้านายพระองค์หนึ่ง ซึ่งทรงมีบทบาทสำคัญยิ่ง<br />

ในการพัฒนาการสื่อสารและการคมนาคมในสมัยรัชกาลที่ ๖ และที่ ๗<br />

คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (ทรงพระกรุณาโปรด<br />

เกล้าฯ สถาปนาเป็นกรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ในรัชกาลที่ ๗) ได้<br />

เสด็จกลับจากทรงศึกษาด้านวิศวกรรมในยุโรป ในรัชกาลที่ ๖ รักษาการ<br />

ในตำแหน่งเจ้ากรมการรถไฟสายเหนือใน พ.ศ. ๒๔๕๓ และทรงเป็น<br />

ผู้บัญชากรมรถไฟหลวงใน พ.ศ. ๒๔๖๐ ควบคุมกิจการรถไฟทั่ว<br />

ประเทศ ทรงขยายเส้นทางเดินรถและทรงนำรถจักรดีเซลเข้ามาใช้ใน<br />

สยามประเทศ เป็นประเทศแรกในทวีปเอเซีย<br />

ครั้น พ.ศ. ๒๔๕๖ กระทรวงทหารเรือได้ตั้งสถานีวิทยุโทรเลขถาวร<br />

ที่ศาลาแดงและที่สงขลา เพื่อใช้ในราชการกองทัพเรือโดยเครื่องรับส่ง


จดหมายข่าว<br />

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

วิทยุแบบ Marconi และ Telefunken ในปีต่อมาพระบาทสมเด็จ<br />

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานคำว่า ‘วิทยุ’ ให้ใช้แทนคำว่า<br />

‘ราดิโอ’ หรือ ‘เรดิโอ’ (radio) ๔ ปีต่อมา กรมไปรษณีย์โทรเลขได้ร่วม<br />

กับกระทรวงทหารเรือเปิดให้ประชาชนใช้วิทยุโทรเลขนั้นได้เป็นครั้งแรก<br />

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๗ เสด็จในกรมฯทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดี<br />

กระทรวงพาณิชย์และคมนาคมตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๙ จึงทรงพัฒนาทั้ง<br />

การรถไฟและการสื่อสาร ทรงทดลองการรับส่งวิทยุกระจายเสียง ที่วัง<br />

บ้านดอกไม้ของพระองค์เองอยู่หลายปี ทั้งได้ทรงตั้งกองช่างวิทยุขึ้น ตั้ง<br />

แต่ พ.ศ. ๒๔๗๑ กระจายเสียงในนามสถานีวิทยุกระจายเสียง ‘๔ พี.เจ’<br />

และ ‘๑๑ พี.เจ’ ในเวลาต่อมา อักษรย่อพระนามของเสด็จในกรมฯ<br />

(Purachatra Jayakorn) <br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงได้ย้ายมาตั้งที่โฮเต็ลพญาไท หรือพระราชวัง<br />

พญาไทแต่เดิม (ซึ่งปัจจุบันอยู่ในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า)<br />

ซึ่งยังอยู่กลางทุ่งพอสมควร <br />

พิธีเปิด “สถานีวิทยุกรุงเทพที่พญาไท” กระทำในวันฉัตรมงคล <br />

วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๓ มีการถ่ายทอดพระราชดำรัสของ<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย <br />

ไปตามสายเข้าเครื่องส่งกระจายเสียงสู่ประชาชน ความว่า : <br />

“การวิทยุกระจายเสียงที่ได้เริ่มจัดขึ้นและทำการทดลองตลอดมา<br />

นั้น ก็ด้วยความมุ่งหมายว่าจะส่งเสริมการศึกษา การค้าขาย และการ<br />

บันเทิง แก่พ่อค้าประชาชน เพื่อควบคุมการนี้ เราได้แก้ไขพระราช<br />

บัญญัติดังที่ประกาศใช้เมื่อเดือนกันยายนแล้ว และบัดนี้ได้สั่งเครื่อง<br />

กระจายเสียงอย่างดีเข้ามาตั้งที่สถานีวิทยุโทรเลขพญาไทเสร็จแล้ว เรา<br />

จึงขอถือโอกาสสั่งให้เปิดใช้เป็นปฐมฤกษ์ ตั้งแต่บัดนี้ไป”<br />

ต่อมาอีก ๓ วัน ในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๓ พระบาท<br />

สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชดำเนินทรงเหยียบสถานีวิทยุใน<br />

เวลา ๑๗.๐๐น. และในราชสำนักรัชกาลที่ ๗ มีการใช้คำว่า ‘วุ’ แทน<br />

คำว่า ‘วิทยุ’ เป็นการแสดงถึงความเอ็นดูเครื่องมือสื่อสารชนิดนี้ซึ่ง<br />

พระองค์ทรงสดับเป็นประจำ<br />

สำหรับพระราชบัญญัติวิทยุโทรเลข พ.ศ. ๒๔๕๗ แก้ไขเพิ่มเติมเมื่อ<br />

วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๓ มีสาระสำคัญตรงที่ เปิดโอกาสให้<br />

ประชาชนทั่วไปมีเครื่องรับวิทยุ แต่ผู้ที่รับฟังได้ในขณะนั้นคงมีไม่มาก<br />

กว่า ๑๐,๐๐๐ คน เพราะกำลังส่งยังจำกัด (๒.๕ กิโลวัตต์ โดยเครื่อง<br />

Philips ของ เนเธอร์แลนด์) เรียกว่า ‘เครื่องแร่’ ต้องใช้หูฟัง ฟังได้เพียง<br />

ลำพังคนเดียว อย่างไรก็ดี การส่งกระจายเสียงเป็นปฐมฤกษ์ในสยาม<br />

ครั้งนั้น เกิดขึ้นเพียง ๑๐ ปี หลังจากที่มีการเริ่มกระจายเสียงทางวิทยุ<br />

ครั้งแรกในโลกที่ประเทศอังกฤษ จึงนับว่าสยามสมัยรัชกาลที่ ๗ <br />

ทันสมัยมากทีเดียว ในกิจการนี้ ปัจจุบันจึงถือว่าวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์<br />

เป็นวันวิทยุกระจายเสียง<br />

สถานีวิทยุกรุงเทพที่พญาไทนี้ ใช้ชื่อย่อว่า HSP๑ (คลื่นยาว ๓๕๐<br />

เมตร) และ HSP๒ (คลื่นสั้น ๓๑ เมตร) ตามลำดับ (ย่อมาจาก Hotel<br />

Siam at Phyathai กระมัง) ใช้ ‘ฆ้องสี่เสียง’ เป็นเสียงขานจาก<br />

กรุงเทพฯ (Bangkok calling) ตอนเปิดสถานี ซึ่งเสด็จในกรมฯ ทรง<br />

คิดค้นขึ้นโดยใช้เสียงไซโลโฟน (xylophone) หรือระนาดฝรั่ง ตาม<br />

เสียงระนาดเชิญรับประทานอาหารในเรือโดยสาร ทำนอง ‘ฆ้องสี่เสียง’ นี้<br />

จึงเป็นที่รู้จักคุ้นหูกันสืบมาทางวิทยุกรมประชาสัมพันธ์ในสมัยหลัง ‘ฆ้อง<br />

สี่เสียง’ นี้ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ ณ พิพิธภัณฑ์กระจายเสียง กรม<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๗๔ เสนาบดีสภาเห็นชอบ<br />

ให้กระทรวงพาณิชย์และคมนาคมอนุญาตให้ห้างร้านประกาศโฆษณา<br />

ทางวิทยุได้ โดยให้ประกาศโดยไม่พรรณนาถึงคุณภาพ เป็นการ<br />

ประชาสัมพันธ์มากกว่าการโฆษณา และรัฐได้ค่าธรรมเนียมเป็นการ<br />

ตอบแทนมาชดเชยกับการที่กิจการวิทยุกระจายเสียงขาดทุนประมาณ<br />

เดือนละ ๔๐๐ บาท<br />

ครั้นวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๗ (ซึ่งยังอยู่ในรัชกาลที่ ๗)<br />

กระทรวงกลาโหมโดยนายพันเอกหลวงพิบูลสงคราม รัฐมนตรีว่าการฯ<br />

ประกาศเลิกยิงปืนเที่ยง เพราะมีการส่งสัญญาณบอกเวลาโดยทางวิทยุ<br />

เป็นที่แพร่หลายแล้ว<br />

มาบัดนี้ ๗๙ ปี หลังจากที่มีสถานีวิทยุกระจายเสียงเป็นครั้งแรกใน<br />

สมัยรัชกาลที่ ๗ ไทยได้เลิกโทรเลขไปแล้ว แต่ยังมีวิทยุ ที่ประชาชน<br />

(และเอกชน) ดำเนินการเองในนาม ‘วิทยุชุมชน’ ทั้งที่มีและไม่มีโฆษณา<br />

ให้กทช.ได้คิดหาหนทางออกระเบียบอนุญาต กำกับ ควบคุม ต่อไป<br />

อีกทั้งมีโทรทัศน์และเครื่องมือสื่อสารโทรคมนาคมอีกมากมายหลาย<br />

ชนิด ซึ่งมีทั้งประโยชน์และโทษ คละกันไปอย่างซับซ้อนซ่อนเงื่อน<br />

จำเป็นที่รัฐและประชาสังคมจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมในการใช้<br />

ในการเป็นเจ้าของครอบครอง ดำเนินการให้สอดคล้องกับการเป็นสังคม<br />

ประชาธิปไตยสมัยใหม่ให้ดี<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

กรมศิลปากร, พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระปกมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพฯมหานคร : รัฐสภา/รุ่งศิลปะ<br />

การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด, (พิมพ์ครั้งที่๒) ๒๕๒๔, หน้า ๓๑๕-๓๔๖.<br />

ศุภลักษณ์ หัตถพนม, “ฆ้องสี่เสียง” สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๒๐-๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒, หน้า ๓๘-๓๙.<br />

สรรพสิริ วิริยศิริ, “พระมหากษัตริย์ผู้พระราชทาน ‘หูทิพย์’” ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการเรื ่องสังคมไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู ่หัว<br />

จัดโดย สถาบันไทยศึกษาและฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๗-๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗.<br />

สรศัลย์ แพ่งสภา, ราตรีประดับดาวที่หัวหิน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สารคดี, ๒๕๓๙.


เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

จดหมายข่าว<br />

<br />

“ระบบอุปถัมภ์ในการเมืองไทย”<br />

“ระบบอุปถัมภ์” และ “ระบบเครือญาติ” เป็นคำที่สังคมไทย และคน<br />

ไทยได้ยิน ได้รับรู้และรับทราบมาโดยตลอด บางคนได้สัมผัสหรือมี<br />

ประสบการณ์ตรง บางคนเพียงแต่รับรู้จากบุคคลอื่น แต่อย่างไรก็ตาม พอ<br />

สรุปได้ว่ามีสิ่งเหล่านี้อยู่ในสังคมไทยมาจนถึงทุกวันนี้ <br />

จากงานเสวนา “บูรณาการงานวิจัย เรื่อง นักการเมืองถิ่น” ซึ่งจัดโดย<br />

สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า เมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๒<br />

โดยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการศึกษาเกี่ยวกับนักการเมืองถิ่น<br />

ในจังหวัดต่างๆ ทำให้ผู้เขียนได้เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับระบบเครือญาติ<br />

และระบบอุปถัมภ์ ซึ่งผ่านการศึกษาวิเคราะห์ในระดับหนึ่งจากเครือข่าย<br />

นักวิชาการในแต่ละจังหวัด <br />

จากข้อมูลที่เครือข่ายนักวิชาการนำเสนอในงานดังกล่าว ทำให้ผู้เขียน<br />

มีข้อสรุปเบื้องต้นว่าในการเมืองไทยมีระบบอุปถัมภ์ที่ส่งผลกระทบต่อการ<br />

เลือกตั้งอย่างมาก ระบบเครือญาตินั้นก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบอุปถัมภ์<br />

ในขณะเดียวกันระบบอุปถัมภ์ก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบเครือญาติ ทั้งสอง<br />

ระบบนี้สัมพันธ์ใกล้ชิดอย่างที่แยกออกจากกันได้ยาก <br />

ทั้งระบบอุปถัมภ์และระบบเครือญาติได้ฝังรากลึกและสืบทอดจากรุ่นสู่<br />

รุ่นมาตลอดช่วงเวลา ๗๗ ปี และเมื่อวิเคราะห์เชื่อมโยงระบบอุปถัมภ์ใน<br />

สังคมการเมืองไทย ผู้เขียนขอนำเสนอข้อสรุปเป็น ๔ ประการ ดังนี้<br />

๑. ระบบอุปถัมภ์ทำให้ “ทายาททางการเมือง” ได้รับชัยชนะในการ<br />

เลือกตั้ง ซึ่งมีผลให้อำนาจทางการเมืองทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ถูก<br />

ผูกขาดอยู่เพียงไม่กี่กลุ่มการเมืองหรือตระกูลเท่านั้น <br />

๒. ทายาททางการเมืองมี ๒ ประเภท คือ ทายาทซึ่งเป็นบุคคลที่สืบ<br />

เชื้อสายเดียวกัน และทายาทซึ่งเป็นบุคคลอื่นนอกเหนือจากสืบเชื้อสาย<br />

เดียวกัน ซึ่งทายาททั้งสองประเภทดังกล่าวมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดทั้ง<br />

ในส่วนตัวและในหน้าที่การงานในฐานะเป็น “ผู้แทน” ของประชาชน<br />

๓. การพิจารณาตัดสินใจเลือก “ผู้แทน” ของประชาชนผู้มีสิทธิเลือก<br />

ตั้งยึดระบบอุปถัมภ์เป็นหลัก โดยที่ส่วนใหญ่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะรับบทเป็น<br />

ผู้รับการอุปถัมภ์มากกว่า ส่วนผู้แทนเป็นได้ทั้งผู้อุปถัมภ์และบางครั้งเป็น<br />

ผู้รับการอุปถัมภ์ด้วย โดยที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีการตอบแทนผู้อุปถัมภ์โดย<br />

การลงคะแนนเสียงให้ อีกทั้งยังชักชวนแนะนำผู้ใกล้ชิดให้ลงคะแนนให้<br />

ด้วย เนื่องจากผู้เลือกตั้งส่วนใหญ่ให้คุณค่ากับความซื่อสัตย์หรือบุญคุณ<br />

ของผู้อุปถัมภ์ <br />

ทั้งนี้ รูปแบบการอุปถัมภ์มีหลากหลาย ถูกพัฒนาและปรับรูปแบบ<br />

ให้มีประสิทธิผลในแต่ละยุคแต่ละสมัย อาจเป็นการอุปถัมภ์โดยตรงหรือ<br />

* นักวิชาการ สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า <br />

ปัทมา สูบกำปัง*<br />

โดยอ้อม เป็นการให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด หรือแม้แต่การจัดทำ<br />

นโยบายเพื่อประโยชน์ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งก็ตาม ส่วนทรัพย์สินที่ใช้ใน<br />

เครือข่ายระบบอุปถัมภ์นั้นอาจเป็นของผู้อุปถัมภ์และกลุ่มผู้สนับสนุน<br />

ผู้อุปถัมภ์ หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินที่ถูกนำมาใช้ในระบบอุปถัมภ์ได้<br />

หากผู้อุปถัมภ์ได้รับการเลือกตั้งเป็นผู้แทน และมีเสียงข้างมากได้ร่วมเป็น<br />

รัฐบาล <br />

๔. การพิจารณาตัดสินใจเลือก “ผู้แทน” ของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ส่วน<br />

ใหญ่พิจารณาจากบทบาทอำนาจหน้าที่ที่ควรจะเป็นตามที่รัฐธรรมนูญและ<br />

กฎหมายกำหนดน้อยมาก กล่าวคือ แทนที่จะเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งที่มี<br />

คุณสมบัติและความรู้ความสามารถในการทำหน้าที่พิจารณาออกกฎหมาย<br />

เพื่อบังคับใช้ในสังคม หรือทำหน้าที่ควบคุมตรวจสอบการทำงานของ<br />

รัฐบาล รวมถึงเจ้าหน้าที่ผู้ใช้อำนาจรัฐอื่นด้วย กลับเลือกโดยพิจารณาจาก<br />

ผลประโยชน์ที่ได้รับเป็นการเฉพาะหน้าหรือชั่วครั้งชั่วคราว ภายใต้ความ<br />

สัมพันธ์ที่มีต่อกันมาอย่างยาวนาน ในขณะเดียวกันผู้แทนก็ไม่ได้ให้ความ<br />

สำคัญกับการทำหน้าที่ดังกล่าวมากนัก แต่เน้นหนักไปในการทำประโยชน์<br />

หรือช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในพื้นที่เขตเลือกตั้งเป็นหลัก <br />

สาเหตุของปรากฎการณ์ตามข้อ ๓ และ ๔ นั้น อาจเกิดจากการที่<br />

ผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้แทนยังขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง หรือขาด<br />

ความตระหนักและให้ความสำคัญกับเรื่องดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ในช่วง<br />

สิบกว่าปีที่ผ่านมานี้ มีแนวโน้มว่าผู้มีสิทธิเลือกตั้งตัดสินใจเลือกโดย<br />

พิจารณาจากนโยบายของพรรคการเมือง แต่ยังคงจำกัดอยู่เฉพาะนโยบาย<br />

ที่มีลักษณะเป็นนโยบายประชานิยมมากกว่าลักษณะอื่นๆ <br />

จากบทสรุป ๔ ประการดังกล่าวข้างต้น จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าเพราะ<br />

เหตุใดในช่วงเวลา ๗๗ ปี ประเทศไทยจึงเกิดปฏิวัติรัฐประหารและกบฏ<br />

รวม ๒๕ ครั้ง มีรัฐธรรมนูญ ๑๘ ฉบับ ซึ่งอาจเพิ่มเป็น ๑๙ ฉบับในเร็ววัน<br />

นี้ และมีการเลือกตั้งทั่วไป ๒๒ ครั้ง ซึ่งตัวเลขในเชิงปริมาณนี้มีแนวโน้ม<br />

เพิ่มขึ้น แต่เชิงคุณภาพนั้น ยังมองไม่เห็นว่าจะมีการพัฒนาประชาธิปไตย<br />

ให้เต็มใบได้อย่างไร <br />

๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ ครบรอบ ๗๗ ปีของประชาธิปไตยไทย ผู้เขียน<br />

ขอไว้อาลัยแก่ประชาธิปไตยไทยภายใต้ระบบอุปถัมภ์ และคิดว่าคงไม่สาย<br />

เกินไปที่ “เรา” จะมาเริ่มทำความรู้จักและเรียนรู้ “ระบบอุปถัมภ์” ที่อยู่คู่<br />

กับสังคมไทยอย่างยาวนาน และเราต้องช่วยกันรณรงค์ให้สังคมวงกว้าง<br />

ปฏิเสธและไม่ยอมรับให้เกิดการอุปถัมภ์ในแวดวงการเมืองอีกต่อไป ซึ่งวัน<br />

นี้นับเป็นฤกษ์ดีสำหรับการเริ่มต้น โดยอาจเริ่มจากจุดเล็กๆ จากตัวเรา<br />

ครอบครัวและชุมชนของเรา เพื่อขยายไปทั่วประเทศในเรื่องระดับชาติ<br />

ทำให้การเลือกตั้งเป็นการเลือกผู้แทนเพื่อให้ทำหน้าที่ในการออกกฎหมาย<br />

และควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ มิใช่การเลือกผู้อุปถัมภ์และหรือ<br />

ทายาททางการเมืองของผู้ใด หากทำได้ถึงจุดนี้ประชาชนจะได้รับรางวัล<br />

คือเป็นผู้ที่มีอำนาจอย่างแท้จริง อันเป็นการสอดคล้องกับหลักการปกครอง<br />

ในระบอบประชาธิปไตย


จดหมายข่าว<br />

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

มารู้จักการปกครองท้องถิ่นกันเถอะ (ตอนที่ ๑)<br />

สุมามาลย์ ชาวนา*<br />

คุณรู้หรือไม่ อบต. อบจ. ย่อมาจากอะไร และเป็นหน่วยงานที่มีไว้เพื่อ<br />

ประโยชน์อะไร และคุณรู้หรือไม่ว่า เงินเกือบ ๔๐๐ ล้านบาท หรือ ๑ ใน<br />

๔ ของรายได้รัฐบาล เป็นงบประมาณที่รัฐจัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วน<br />

ท้องถิ่น หากคุณไม่สามารถตอบคำถามเหล่านี้ได้ หรือไม่แน่ใจ คุณไม่ใช่<br />

คนแปลกหรือประหลาดแต่อย่างใด เพราะตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการ<br />

ปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยเมื่อ ๗๗ ปีมาแล้วนั้น เราถูกตีกรอบ<br />

ให้สนใจอยู่แต่การเมืองในระดับชาติเท่านั้น แทบจะไม่มีการกล่าวถึงหรือ<br />

ให้ความสำคัญกับการเมืองหรือการปกครองท้องถิ่นเลยทีเดียว ทั้งที่แท้<br />

จริงแล้วหากศึกษาอย่างลึกซึ้งแล้วจะพบว่าการปกครองท้องถิ่นมี<br />

ประวัติศาสตร์ที่ยาวนานเฉกเช่นเดียวกับการปกครองระดับชาติ อีกทั้งเป็น<br />

รากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย<br />

การปกครองท้องถิ่นกับประชาธิปไตย<br />

การปกครองท้องถิ่นแตกต่างจากการปกครองระดับชาติ คือ การ<br />

ปกครองระดับชาติจะมุ่งเน้นการใช้อำนาจผ่านตัวแทน การเลือกตั้ง การ<br />

ควบคุมผู้แทน การปกครองที่ดี คือ การเลือกผู้แทนที่ดี ทำให้มีการล้อ<br />

เลียนว่านี่คือ ระบอบประชาธิปไตย ๔ ปีครั้ง หรือ one-day citizen ที่<br />

ประชาชนจะมีอำนาจ มีส่วนร่วมทางการเมืองเพียงแค่ในวันเลือกตั้ง อีก<br />

๑,๔๕๙ วัน เป็นเรื่องของผู้แทนของรัฐบาล ในขณะที่การปกครองท้องถิ่น<br />

นั้นหัวใจหลัก คือ การปกครองตนเอง<br />

การปกครองตนเองนั้น เริ่มต้นมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ หรือกว่า<br />

๒๕๐๐ ปีมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในนครรัฐเอเธนส์ต้นแบบของ<br />

ประชาธิปไตย พลเมืองของเอเธนส์ (ผู้ชายอายุ ๒๐ ปีขึ้นไปและไม่เป็น<br />

ทาส) จะผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้ปกครองโดยการจับฉลาก พลเมืองมีหน้าที่<br />

เข้าประชุมสภาพลเมืองเพื่อออกกฎหมาย และกำหนดนโยบายสำคัญๆ<br />

แม้แต่การประกาศสงคราม เพราะถือว่าทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น<br />

ประชาธิปไตยดั้งเดิมจึงไม่ใช่การปกครองเพื่อประชาชน แต่คือการ<br />

ปกครองโดยประชาชน ซึ่งอาจจะถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดี แต่ประชาชนก็เป็น<br />

ผู้ตัดสินใจเอง เลือกเอง ทำให้เกิดความรู้สึกผูกพัน เป็นเจ้าของ<br />

พัฒนาการการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย<br />

สำหรับการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทยนั้นอาจแบ่งคร่าวๆ ได้ ๓<br />

ยุค ด้วยกัน ยุคแรก คือ ยุคเริ่มต้นการกระจายอำนาจและการปกครอง<br />

ท้องถิ่น ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้<br />

จัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ เพื่อดูแลความสะอาด <br />

สุขอนามัย และถนนหนทาง แต่ยังไม่นับว่าเป็นการปกครองท้องถิ่น เพราะ<br />

ผู้บริหารคือข้าราชการทั้งสิ้น กระทั่ง พ.ศ. ๒๔๔๘ มีการจัดตั้งสุขาภิบาลท่า<br />

ฉลอม โดยมีกำนันผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งเป็นราษฎรในท้องถิ่นเป็นผู้รับผิดชอบ<br />

รวมทั้งมีการมอบภาษีโรงร้านให้กับสุขาภิบาลเพื่อเป็นรายได้ในการบริหาร<br />

ถือได้ว่าเป็นการปกครองท้องถิ่นครั้งแรกของประเทศไทย ต่อมาในสมัย<br />

รัชกาลที่หก ได้ทรงสร้างเมืองจำลอง “ดุสิตธานี” หรือ “นคราภิบาล”<br />

(municipality) เพื่อให้ข้าราชบริพารมีความเข้าใจและคุ้นเคยกับการ<br />

ปกครองตนเอง จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมี<br />

พระบรมราชโองการให้ร่างกฎหมายเทศบาลขึ้น เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่น<br />

มีส่วนร่วมในการปกครอง และให้เป็นโรงเรียนฝึกหัดทางการเมือง เพื่อ<br />

เตรียมความพร้อมสำหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตย แต่การจัดตั้ง<br />

เทศบาลได้เกิดขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปแล้ว เมื่อ พ.ศ.<br />

๒๔๗๖ การปกครองท้องถิ่นในยุคที่หนึ่งนี้อำนาจการบริหารตกอยู่ในมือ<br />

ของข้าราชการ กำนันผู้ใหญ่บ้าน และถูกบังคับบัญชาจากราชการส่วนกลาง<br />

ส่วนภูมิภาค มากกว่าประชาชนจะได้ปกครองตนเอง<br />

ยุคที่สอง คือ ยุคแห่งความไม่ไว้วางใจการปกครองท้องถิ่น ในช่วง<br />

รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม สมัยที่สอง ซึ่งการปกครองท้องถิ่นได้รับ<br />

ความสำคัญมากเนื่องจากการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ มีการจัดตั้งองค์กร<br />

ปกครองส่วนท้องถิ่นหลายรูปแบบ ทั้งองค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การ<br />

บริหารส่วนตำบล แต่ภายหลังการรัฐประหาร พ.ศ. ๒๕๐๐ ประเทศไทย<br />

ปกครองด้วยระบอบเผด็จการ ทำให้การปกครองท้องถิ่นเป็นเพียง<br />

สัญลักษณ์เท่านั้น ไม่ได้ส่งเสริมการปกครองตนเองอย่างแท้จริง ประกอบ<br />

กับรัฐมีความหวาดระแวงต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ว่าจะเข้ามายึดอำนาจการ<br />

ปกครอง จึงยุบสภาท้องถิ่น ถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้ง<br />

และแต่งตั้งข้าราชการไปปฏิบัติหน้าที่แทน เพื่อสกัดกั้นการขยายตัวของ<br />

คอมมิวนิสต์ ทั้งนี้ ความหวาดระแวงนี้ลดลงเมื่อพรรคคอมมิวนิสต์แห่ง<br />

ประเทศไทยล่มสลายไป<br />

ยุคที่สาม คือ ยุคแห่งการฟื้นฟูการกระจายอำนาจ การปกครอง<br />

ท้องถิ่น และการปฏิรูปการเมือง หรือยุคของการปกครองท้องถิ่นสมัยใหม่<br />

ซึ่งเริ่มต้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ.๒๕๓๕ ที่ประชาชนหลาก<br />

หลายกลุ่มออกมาเรียกร้องให้มีการปฏิรูปการเมือง ให้เพิ่มสิทธิเสรีภาพให้<br />

ประชาชน ปรับประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนเป็นประชาธิปไตยที่ประชาชนมี<br />

ส่วนร่วม ทำให้ระบบการเมืองและระบบราชการมีความสุจริต โปร่งใส<br />

ตรวจสอบได้ และต้องทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพเพื่อแก้ไขปัญหาบ้านเมือง<br />

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนนำไปสู่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่ให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจและการปกครอง<br />

ท้องถิ่นมากที่สุด โดยมีบัญญัติไว้ทั้งในหมวดแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ<br />

และหมวดว่าด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีถึง ๑๐ มาตรา ด้วยกัน <br />

ซึ่งรายละเอียดจะขอกล่าวถึงในฉบับหน้า<br />

หนังสืออ้างอิง<br />

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.๒๕๔๖.ภาพรวมของรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐.นนทบุรี:สถาบันพระปกเกล้า.<br />

ปธาน สุวรรณมงคล.๒๕๔๗.การปกครองท้องถิ่นไทยในบริบทรัฐธรรมนูญแก่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐.นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.<br />

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. ๒๕๕๑. การเมืองภาคพลเมือง.กรุงเทพฯ:สถาบันพระปกเกล้า.


เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

จดหมายข่าว<br />

<br />

๗ ปีวันรัฐพิธี : <br />

วันพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <br />

ฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร ๑<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อประเทศชาติและ<br />

ประชาชน ทั้งด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และการศาสนา พระราชดำริที่สำคัญ<br />

ยิ่งประการหนึ่ง คือ การพัฒนาการเมืองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย โดยทรงพระกรุณาให้มีการเตรียมร่าง<br />

รัฐธรรมนูญพระราชทานแก่ชาวไทยทั้งปวง แม้จะยังมิได้ดำเนินการตามแนวพระราชดำริ เพราะเกิดการ<br />

ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จากนั้นในระดับท้องถิ่นก็ทรงวางรากฐานเทศบาลเพื่อ<br />

ปูแนวทางพัฒนาประชาธิปไตยระดับล่าง แม้ร่างพระราชบัญญัติเทศบาลจะไม่แล้วเสร็จ ก่อนเปลี่ยนแปลง<br />

การปกครอง แต่แนวพระราชดำริดังกล่าวที่ทรงริเริ่มหรือที่ทรงดำเนินการค้างไว้ก็ได้รับการสานต่อ เช่นร่าง<br />

พระราชบัญญัติเทศบาลได้นำมาเป็นพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. ๒๔๗๖ ซึ่งเป็นต้นแบบของ<br />

การปกครองท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาลมาจนปัจจุบัน<br />

* นักวิชาการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า


10 เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

จดหมายข่าว<br />

เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระองค์ให้เป็นที่ประจักษ์แก่<br />

อนุชนรุ่นหลังอย่างชัดเจนยิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นการน้อมสำนึกใน<br />

พระมหากรุณาธิคุณ ในปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๔ สถาบันพระปกเกล้า<br />

เสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้มีวันสำคัญเกี่ยวกับพระองค์ว่าสมควร<br />

กำหนดให้วันคล้ายวันสวรรคตของพระองค์ คือ วันที่ ๓๐<br />

พฤษภาคม ของทุกปีเป็น “วันพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า<br />

อยู่หัว” และต่อมาวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๕ คณะรัฐมนตรีได้<br />

มีมติเห็นชอบให้กำหนดวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ของทุกปีเป็น<br />

“วันพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า<br />

อยู่หัว” อันเป็นวันรัฐพิธีโดยไม่ถือ<br />

เป็นวันหยุดราชการ ในวันดังกล่าว<br />

หน่วยงานราชการต่างๆ จะ<br />

ประกอบพิธีถวายพวงมาลาถวาย<br />

ราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า<br />

อยู่หัว ส่วนสถาบันพระปกเกล้าจะ<br />

มีพิธีบำเพ็ญกุศลทักษิณานุประทาน<br />

เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่<br />

พระองค์ท่านตลอดมา ในปี ๒๕๕๒<br />

สถาบันพระปกเกล้าประกอบพิธี<br />

บำเพ็ญกุศลทักษิณานุประทาน<br />

เวลา ๑๑.๐๐ นาฬิกา <br />

นอกจากนี้นับเป็นปีที่ ๗ ของ<br />

กิจกรรมดังกล่าว และ ๖๘ ปีแห่ง<br />

วันสวรรคต ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ยังมีกิจกรรมการ<br />

แถลงข่าว โครงการประกวดภาพจิตรกรรมและภาพถ่ายทางการ<br />

เมืองการปกครองไทย และนิทรรศการทางทัศนศิลป์เรื่อง<br />

“ความขัดแย้ง ความชอบธรรม และการปฏิรูประบบรัฐ : การ<br />

จัดสรรผลประโยชน์ที่เป็นธรรมในสังคมไทย” ณ ห้องประชุมชั้น<br />

๕ อาคารรำไพพรรณี พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว ตั้งแต่เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ นาฬิกา<br />

เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ที่ผ่านมาพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จ<br />

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้จัดกิจกรรม “นั่งรถรางชมเส้นทางประชาธิปไตย” เพื่อร่วม<br />

เฉลิมฉลองวันพิพิธภัณฑ์สากล โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ สภาพิพิธภัณฑ์สากล (ICOM<br />

International Council of Museum) โดยกำหนดหัวข้อในการเฉลิมฉลองคือ<br />

“พิพิธภัณฑ์กับการท่องเที่ยว” พิพิธภัณฑ์ฯจึงได้จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวคิด<br />

ดังกล่าว โดยจัดเส้นทางรถรางเที่ยวพิเศษ เริ่มจากสนามหลวง - อนุสาวรีย์<br />

ประชาธิปไตย-พระบรมรูปทรงม้า<br />

(หมุดคณะราษฎร)-พิพิธภัณฑ์<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

-อนุสรณ์สถาน ๑๔ ตุลา-สนามหลวง<br />

โดยมีวิทยากรคือ นายระพีพัฒน์ เกษ<br />

โกศล และนายณพัดยศ เอมะสิทธิ์<br />

เจ้าหน้าที่จากทางกองการท่องเที่ยว<br />

สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการ<br />

ท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร เป็นผู้<br />

บรรยายตลอดทั้ง ๒ ข้างทาง


เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒ จดหมายข่าว 11<br />

<br />

มุมสร้างสำนึกพลเมือง<br />

จินห์จุฑา ลิ้มสวัสดิ์*<br />

มุมสร้างสำนึกพลเมืองฉบับนี้ มีความเคลื่อนไหวของโครงการสร้าง<br />

สำนึกพลเมือง (Project Citizen)** มาแจ้งให้ทราบกัน โดยตั้งแต่<br />

เดือนธันวาคม ๒๕๕๑ ถึงเดือนเมษายน ๒๕๕๒ โครงการดังกล่าวซึ่ง<br />

อยู่ภายใต้การดูแลของสำนักขึ้นตรงต่อเลขาธิการ ร่วมกับสำนักฝึก<br />

อบรม เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ จัดอบรมให้แก่ครูและผู้บริหาร<br />

โรงเรียนของสำนักงานคณะกรรมการขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ครอบคลุมทั้ง<br />

๔ ภาค ได้แก่ ๑. ภาคกลาง (กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา) ๒. ภาคเหนือ<br />

(เชียงใหม่ พะเยา) ๓. ภาคอีสาน (สุรินทร์ บุรีรัมย์) ๔. ภาคใต้ (สงขลา<br />

พัทลุง นราธิวาส ยะลา ปัตตานีและสตูล) มีโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ<br />

จำนวน ๕๖ โรงเรียน <br />

การอบรม Project Citizen ณ จังหวัดเชียงใหม่<br />

การอบรม Project Citizen ณ จังหวัดปัตตานี<br />

การอบรม Project Citizen ณ จังหวัดสงขลา<br />

การอบรม Project Citizen ณ จังหวัดสุรินทร์<br />

นอกจากจะจัดอบรมให้แก่ครูและผู้บริหารโรงเรียนของสำนักงาน<br />

คณะกรรมการขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) แล้ว ตั้งแต่เดือน เมษายน –<br />

มิถุนายน ๒๕๕๒ ยังได้มีการจัดทำข้อตกลงความร่วมมือกับสำนักงาน<br />

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งหวัง<br />

ให้ครู อาจารย์ นำความรู้ดังกล่าวสร้างสำนึกความเป็นพลเมือง ผ่าน<br />

กระบวนการแก้ไขปัญหาสาธารณะในชุมชน อีกทั้งยังสานความสัมพันธ์<br />

ระหว่างนักเรียนกับคนในชุมชนอีกด้วย ซึ่งการลงนามข้อตกลงเป็น<br />

ความร่วมมือระหว่างศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการ<br />

สถาบันพระปกเกล้า และนายเฉลียว อยู่สีมารักษ์ เลขาธิการคณะ<br />

กรรมการการอาชีวศึกษา โดยได้รับเกียรติจากรัฐมนตรีช่วยว่าการ<br />

กระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวนริศรา ชวาลตันพิพันธ์) เป็นประธานลง<br />

นามความร่วมมือดังกล่าว จัดอบรมโครงการดังกล่าวให้แก่ ครู อาจารย์<br />

และผู้บริหารของ สอศ. จากภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคเหนือ<br />

ได้แก่ ภาคกลาง (กรุงเทพฯ) ภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี)<br />

ภาคเหนือ (น่าน แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงราย) มีวิทยาลัยที่เข้าร่วม<br />

โครงการจำนวน ๒๘ วิทยาลัย <br />

* พนักงานฝึกอบรม สำนักฝึกอบรม เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์<br />

** โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen) เป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันพระปกเกล้า และศูนย์พลเมืองศึกษา (Center for Civic Education หรือ<br />

CCE) ประเทศสหรัฐอเมริกา


∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

12 จดหมายข่าว ®¥À¡“¬¢à“«<br />

เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒<br />

<br />

∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการจะต้องได้รับการติดตามการดำเนิน<br />

®¥À¡“¬¢à“«<br />

โครงการ ที่มีคณะวิทยากรจะเข้าเยี่ยมโรงเรียน เพื่อให้คำแนะนำ อีก<br />

ทั้งยังเป็นประเมินการผลการดำเนินงานของโครงการอีกด้วย สถาบัน<br />

พระปกเกล้าเล็งเห็นความสำคัญของผู้ประเมินจึงได้จัดอบรมเพื่อ<br />

นิเทศโครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)<br />

∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

ให้แก่<br />

ศึกษานิเทศก์ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ®¥À¡“¬¢à“«<br />

จำนวน<br />

๒๘ คน จากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคตะวันออกและ<br />

กรุงเทพฯ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคกลาง ศูนย์ส่งเสริม<br />

และพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์ส่งเสริมและ<br />

พัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา<br />

ภาคใต้ และสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ <br />

การอบรม Project Citizen ณ จังหวัด เชียงราย<br />

ภาพรวมของอบรมเป็นไปด้วยดี มีการ<br />

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ์กัน<br />

อย่างกว้างขวาง แม้การอบรมจะเข้มข้นและ<br />

เคร่งเครียดไปบ้าง ก็ได้รับความร่วมมือและ<br />

ความสนใจอย่างมาก สำหรับการดำเนินงาน<br />

และความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของโครงการจะมี<br />

ความคืบหน้าอย่างไรจะบอกกล่าวในทราบกัน<br />

ในโอกาสต่อไป<br />

<br />

”√–§à“Ω“° à߇ªìπ√“¬‡¥◊Õπ<br />

∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

„∫Õπÿ≠“µ‡≈¢∑’Ë ÒˆÒ/ÙÚ<br />

Õ“§“√»Ÿπ¬å —¡¡π“—Èπ Û ·≈–—Èπ ı<br />

ª≥®.ππ∑∫ÿ√’<br />

„π∫√‘‡«≥ ∂“∫—πæ—≤π“¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ (°æ.)<br />

Ù˜/ÒappleÒ ∂π𵑫“ππ∑å µ”∫≈µ≈“¥¢«—≠<br />

”√–§à“Ω“° à߇ªìπ√“¬‡¥◊Õπ ”√–§à“Ω“° à߇ªìπ√“¬‡¥◊Õπ<br />

∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“<br />

Õ”‡¿Õ‡¡◊Õß ®—ßÀ«—¥ππ∑∫ÿ√’ ÒÒappleappleapple<br />

„∫Õπÿ≠“µ‡≈¢∑’Ë ÒˆÒ/ÙÚ „∫Õπÿ≠“µ‡≈¢∑’Ë ÒˆÒ/ÙÚ<br />

‚∑√. Õ“§“√»Ÿπ¬å —¡¡π“—Èπ<br />

appleÚ-ıÚ˜-˜¯Ûapple-˘<br />

Û ·≈–—Èπ Û ·≈–—Èπ ı ı<br />

ª≥®.ππ∑∫ÿ√’ ª≥®.ππ∑∫ÿ√’<br />

„π∫√‘‡«≥ ∂“∫—πæ—≤π“¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ (°æ.)<br />

http://www.kpi.ac.th<br />

Ù˜/ÒappleÒ ∂π𵑫“ππ∑å µ”∫≈µ≈“¥¢«—≠<br />

(°æ.)<br />

Ù˜/ÒappleÒ Õ”‡¿Õ‡¡◊Õß ∂π𵑫“ππ∑å ®—ßÀ«—¥ππ∑∫ÿ√’ ÒÒappleappleapple µ”∫≈µ≈“¥¢«—≠<br />

‡Àµÿ∑’Ë¢—¥¢âÕßπ”®à“¬ºŸâ√—∫‰¡à‰¥â<br />

Õ”‡¿Õ‡¡◊Õß ‚∑√. appleÚ-ıÚ˜-˜¯Ûapple-˘ ®—ßÀ«—¥ππ∑∫ÿ√’ ÒÒappleappleapple<br />

‚∑√. http://www.kpi.ac.th appleÚ-ıÚ˜-˜¯Ûapple-˘<br />

Ò. ®à“ÀπⓉ¡à—¥‡®π<br />

‡Àµÿ∑’Ë¢—¥¢âÕßπ”®à“¬ºŸâ√—∫‰¡à‰¥â<br />

http://www.kpi.ac.th<br />

Ú. ‰¡à¡’‡≈¢∑’Ë∫â“πµ“¡®à“Àπâ“<br />

Ò. ®à“ÀπⓉ¡à—¥‡®π ‡Àµÿ∑’Ë¢—¥¢âÕßπ”®à“¬ºŸâ√—∫‰¡à‰¥â<br />

Û. ‰¡à¬Õ¡√—∫<br />

Ú. ‰¡à¡’‡≈¢∑’Ë∫â“πµ“¡®à“Àπâ“ Ù. ‰¡à¡’ºŸâ√—∫µ“¡®à“Àπâ“<br />

Û. ‰¡à¬Õ¡√—∫ ı. Ò. ‰¡à¡“√—∫¿“¬„π°”Àπ¥<br />

®à“ÀπⓉ¡à—¥‡®π<br />

Ù. ‰¡à¡’ºŸâ√—∫µ“¡®à“Àπâ“ ˆ. Ú. ‰¡à¡’‡≈¢∑’Ë∫â“πµ“¡®à“Àπâ“<br />

‡≈‘°°‘®°“√<br />

ı. ‰¡à¡“√—∫¿“¬„π°”Àπ¥<br />

˜. Û. ¬â“¬ ‰¡à¬Õ¡√—∫<br />

ˆ. ‡≈‘°°‘®°“√<br />

‰¡à∑√“∫∑’ËÕ¬Ÿà„À¡à<br />

˜. ¬â“¬ ‰¡à∑√“∫∑’ËÕ¬Ÿà„À¡à ¯. Ù. Õ◊ËπÊ ‰¡à¡’ºŸâ√—∫µ“¡®à“Àπâ“<br />

¯. Õ◊ËπÊ ı. ‰¡à¡“√—∫¿“¬„π°”Àπ¥<br />

≈ß◊ËÕ.........................................<br />

ˆ. ‡≈‘°°‘®°“√<br />

≈ß◊ËÕ.........................................<br />

˜. ¬â“¬ ‰¡à∑√“∫∑’ËÕ¬Ÿà„À¡à<br />

หากท่านใดต้องการสมัครเป็นสมาชิกจดหมายข่าวสถาบันพระปกเกล้า ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“ กรุณาส่งไปรษณียบัตรหรือจดหมาย °√ÿ≥“°√Õ°◊ËÕ-π“¡ °ÿ≈ ¯. ∑’ËÕ¬Ÿà Õ◊ËπÊ<br />

À“°∑à“π„¥µâÕß°“√ ¡—§√‡ªìπ ¡“‘°®¥À¡“¬¢à“« ∂“∫—πæ√–ª°‡°≈â“ °√ÿ≥“°√Õ°◊ËÕ-π“¡ °ÿ≈ ∑’ËÕ¬Ÿà ·≈–‡∫Õ√å‚∑√»—æ∑å พร้อมชื่อ-นามสกุล ·≈–‡∫Õ√å‚∑√»—æ∑å ที่อยู่<br />

¡“¬—ß และเบอร์โทรศัพท์มายังสถาบันฯ<br />

¡“¬—ß ∂“∫—πœ<br />

วงเล็บมุมซองว่า “สมัครสมาชิกจดหมายข่าว” (หมายเหตุ: ห้ามส่งจดหมายฉบับนี้ผ่านตู้ไปรษณีย์)<br />

≈ß◊ËÕ.........................................

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!