03.04.2013 Views

วลีที่1 - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วลีที่1 - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วลีที่1 - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ผู้วิจัยได้วิเคราะห์บทเพลงที่กําหนดไว้ดังนี้<br />

1. ลักษณะทั่วไป<br />

1.1 ประวัติความเป็นมาของเพลงวังแม่ลูกอ่อนตอน 1<br />

เพลงนี้<br />

พร ภิรมย์ ได้แต่งทั้งทํานองและเนื้อร้องเอง<br />

แต่งมาจากเรื่องจริงที่อินเดีย<br />

จาก<br />

แม่น้ําอรัญญวดี<br />

นํามาจากพุทธประวัติของพระพุทธเจ้า ชื่อเพลงนํามาจากตําบลวังแม่ลูกอ่อน<br />

จังหวัดชัยนาทเนื่องขณะที่แต่งเพลงพร<br />

ภิรมย์ เดินทางไปร้องเพลงที่ตําบลวังแม่ลูกอ่อน<br />

จังหวัด<br />

ชัยนาท กับแม่ผ่องศรี<br />

1.2 ความหมายเนื้อเพลงโดยสรุป<br />

เป็นเพลงแหล่นิทานคํากลอนเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นจริงที่วังแม่ลูกอ่อนเดิมมีลูกสาวเศรษฐีผู้<br />

มีฐานะได้หลงรักหนุ่มชาวนาจึงตัดสินใจหนีตามกันไป<br />

ขณะอยู่ด้วยกันนั้นลูกสาวเศรษฐีได้ท้องและมี<br />

ความเป็นอยู่อย่างยากจน<br />

ซึ่งมีอาชีพหลักเป็นคนเผ่าถ่านไปวันๆ<br />

จนกระทั่งคลอดบุตรชายออกมา<br />

ทํา<br />

ให้การเป็นอยู่ยิ่งแย่ลงไปกว่าเก่า<br />

ทั้งสองทนชีวิตแบบนี้ไม่ไหวจึงได้ชวนกันกับไปบ้านของตน<br />

ระหว่างทั้งสามเดินทางแบบค่ําไหนนอนนั้นโดยพักตามใต้ต้นไม้ใหญ่<br />

ลูกสาวเศรษฐีก็เกิดเจ็บท้องร้อง<br />

ทุรนทุราย ตอนนี้จบประมาณนี้<br />

1.3 รูปแบบเพลง<br />

เป็นเพลงแหล่ มีอัตราจังหวะชั้นเดียว<br />

เป็นเพลงที่เล่นเที่ยวเดียวจบ<br />

ไม่มีการซ้ํา<br />

ทํานอง<br />

2. ค าร้อง<br />

2.1 รูปแบบการประพันธ์ค าร้อง เพลงวังแม่ลูกอ่อนท่อน 1เป็นคําประพันธ์ประเภท<br />

เพลงกลอนแปด แต่ละวรรคจะมีจํานวนคําตั้งแต่<br />

3 – 4 คํา เป็นไปตามหลักการสัมผัสประเภทกลอน<br />

แปด เพลงวังแม่ลูกอ่อน 1ใช้ถ้อยคําที่สละสลวย<br />

มีทั้งสัมผัสนอกและสัมผัสใน<br />

ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้<br />

2.1.1 สัมผัสนอก สัมผัสนอกของกลอนแปด มีสัมผัสนอกดังนี้<br />

- คําสุดท้ายของวรรคที่<br />

2 สัมผัสกับคําสุดท้ายของวรรคที่3<br />

และคํา<br />

ที่สองของวรรคที่<br />

4คําสุดท้ายของวรรคที่<br />

4 สัมผัสกับคําสุดท้าย<br />

ของวรรคที่<br />

6<br />

- คําสุดท้ายของวรรคที่<br />

5 สัมผัสกับคําที่<br />

2 ของวรรคที่6<br />

- คําสุดท้ายของวรรคที่<br />

6 สัมผัสกับคําสุดท้าย ของวรรคที่7<br />

และคําที่สองของวรรคที่<br />

8<br />

- คําสุดท้ายของวรรคที่<br />

9 สัมผัสกับคําที่สอง<br />

ของวรรคที่10<br />

- คําสุดท้ายของวรรคที่10<br />

สัมผัสกับคําสุดท้ายของวรรคที่11<br />

- คําสุดท้ายของวรรคที่12<br />

สัมผัสกับคําสุดท้ายของวรรคที่14<br />

104

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!