29.06.2013 Views

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เหมาะสม การกําหนดกระบวนการไหลของงาน การกําหนดขนาดในการ<br />

ผลิตของผลิตภัณฑ เปนตน<br />

บทความนี้จึงนําเสนอการทดสอบรูปแบบ<br />

การจัดวาง<br />

เครื่องจักร<br />

(Machine Configuration) โดยใชแบบจําลองสถานการณ ของ<br />

สายการผลิตที่อยูในรูปแบบตางๆ<br />

โดยเปรียบเทียบผลลัพธของ<br />

สายการผลิตรูปแบบตางๆ จากปริมาณ z]ผลิตที่ได<br />

( Throughput) เวลา<br />

รอบการผลิตของผลิตภัณฑ ( cycle time) และประสิทธิภาพของ<br />

เครื่องจักร<br />

( Machine utilization) โดยในการทดสอบนี้จะใชการ<br />

เปรียบเทียบสายการผลิตจากกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม<br />

ฮารดดิสกไดรฟ ( HDD) ที่อยูในกระบวนการผลิตหัวอานที่ชื่อวา<br />

Slider<br />

fabrication ในสวนของกระบวนการ mmm<br />

2. ทบทวนวรรณกรรม<br />

ในป 2002 Spicer et Al. [10] ไดทําการศึกษาระบบการจําแนก<br />

การจัดรูปแบบเครื่องจักร<br />

โดยทําการแบงรูปแบบเครื่องจักรเปน<br />

4<br />

ประเภทคือ (1) pure serial lines, (2) pure parallel lines, (3) short serial<br />

lines arranged in parallel และ (4) long serial lines arranged in parallel<br />

ซึ่งดัชนีชี้วัดของการวิจัยคือ<br />

ปริมาณผลผลิต การจัดสมดุลการผลิต และ<br />

การลงทุนในเครื่องจักร<br />

นอกจากนี้<br />

Riane et al. [3] ไดทําการจัดรูปแบบ<br />

การผลิตในสายการผลิตตอเนื่องแบบผสมโดยใช<br />

Simulated annealing<br />

(SA Algorithm) โดยพิจารณาคอขวดของกระบวนการผลิตดวย<br />

นอกจากนี้<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ยังไดเสนอแนะกลยุทธในการจัดวางผัง<br />

โรงงานของสายการผลิตดังกลาวโดยใชเทคนิค Auto-adaptable<br />

Simulated Annealing based Heuristic (H<strong>AS</strong>AH)<br />

ในป 2007 Safari & Saidi-Mehrabad [8] ไดทําการออกแบบ<br />

ระบบ Cell การผลิตภายใตเงื่อนไขความไมแนนอนตางๆ<br />

ซึ่งในการศึกษา<br />

ครั้งนี้ไดใชโปรแกรม<br />

Fuzzy เพื่อใชในการแกปญหาความไมแนนอนดาน<br />

product mix และความตองการของผลิตภัณฑในแตละคาบเวลา โดยมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อจัดรูปแบบ<br />

เซลลการผลิตในแตละคาบเวลาใหมีระดับ<br />

ความพึงพอใจสูงสุด ในปเดียวกัน Vitanov et al. [12] ไดพัฒนาเครื่องมี<br />

ตัดสินใจ ( Decision support tool) เพื่อใหผูวางผังโรงงานในโรงงาน<br />

อุตสาหกรรมสามารถวางผังโรงงานไดอยางงายและมีประสิทธิภาพ โดย<br />

เครื่องมือตัดสินใจที่ไดพัฒนาขึ้นในการจัดรูปแบบ<br />

cell การผลิตนี้ไดจาก<br />

การออกแบบอัลกอริธึมเพื่อใหคําตอบที่ไดมีคาใกลเคียงกับคําตอบที่ดี<br />

ที่สุด<br />

เพื่อใหมั่นใจในคุณภาพของฮิวริสติกที่พัฒนาขึ้น<br />

อัลกอริธึมไดถูก<br />

109<br />

2553<br />

ตรวจสอบในรูปของประสิทธิภาพการรวมหนวยงาน ( Grouping<br />

efficiency) และดัชนีคุณภาพ (quality index)<br />

ในป 2008 Duran [2] ไดทําการออกแบบอัลกอริธึมเพื่อที่จะ<br />

ทําการรวมกลุม<br />

( cluster) เครื่องจักรในแตละ<br />

เซลล โดยมีวัตถุประสงค<br />

เพื่อใหการเคลื่อนที่ในเซลล<br />

มีคาต่ําที่สุด<br />

โดยในการพัฒนาอัลกอริธึมนั้น<br />

ไดใช Particle Swarm Optimization (PSO) อัลกอริธึม<br />

อยางไรก็ตาม ในการเพิ่มปริมาณการผลิตใหสูงสุดนั้น<br />

ไม<br />

เพียงแตการจัดรูปแบบเซลลการผลิตที่เหมาะสมเทานั้น<br />

ปจจัยหนึ่งที่มีผล<br />

ตอปริมาณการผลิตคือ การบริหารจัดการการผลิตใหเหมาะสมกับรูปแบบ<br />

cell การผลิตที่ไดออกแบบไว<br />

ในป 2007 Chen [4] ไดทําการออกแบบ<br />

รูปแบบระบบแถวคอยสําหรับเซลลการผลิตภายใตการจัดลําดับการผลิต<br />

โดยใชกฎการจัดลําดับ เพื่อที่จะกําหนดวาผลิตภัณฑชนิดใดจะผลิตบน<br />

เครื่องจักรเครื่องไหน<br />

ในป 1999 Brah & Loo [11] ไดทําการทดสอบประสิทธิภาพ<br />

ของฮิวริสติกการจัดตารางการผลิตที่เปนรูปแบบ<br />

Flow shop แบบ<br />

กระบวนการหลายขั้นตอน<br />

โดยคาชี้วัดประสิทธิภาพ<br />

คือ เวลาแลวเสร็จ<br />

(Makespan) และ Mean flow time โดยพบวา มี 5 ฮิวริสติกที่มี<br />

ประสิทธิภาพในการจัดตารางการผลิตดังกลาว การศึกษานี้พบวามี<br />

ผลกระทบเนื่องจากรูปแบบปญหาที่แตกตางกัน<br />

เชน จํานวนงาน จํานวน<br />

ขั้นของเครื่องจักร<br />

เปนตน และประสิทธิภาพของฮิวริสติกโดยใชวิธี<br />

Regression analysis ซึ่งรูปแบบปญหาแตกตางกันนี้จะทําให<br />

ประสิทธิภาพที่วัดไดเกิดความผันแปร<br />

(Variation)<br />

Vamanana et al. [6] ไดทําการอธิบายถึงความเหมาะสมในการ<br />

แกปญหารวมกันระหวาง CPLEX และ ARENA รวมทั้งบอกความ<br />

แตกตางของการแกปญหาโดยใชวิธีแบบอื่นๆ<br />

โดยไดกลาวถึง ARENA<br />

วาเปนเครื่องมือที่ใชในการจําลองสถานการณ<br />

( Simulation) ดวย<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอรและมี GUI ผูใชสามารถสรางแบบจําลองของ<br />

ระบบที่ซับซอนโดยใชโมดูล<br />

, บล็อกและอีเลเมนตตางๆที่มีอยูในเทม<br />

เพลต ซึ่งใชงานไดงาย<br />

ตัวอยางของระบบที่สามารถจําลองไดดวย<br />

ARENA เชน อุตสาหกรรมการผลิตที่มีพนักงาน<br />

เครื่องจักรและอุปกรณ<br />

ในการขนสง ธนาคาร ATMs เครื่องรับฝากเงิน<br />

เครือขายคอมพิวเตอรที่มี<br />

ผูใหบริการ<br />

ผูรับบริการ<br />

และความสามารถในการใหบริการ<br />

Reza Abdi [5] ทําการเลือกรูปแบการผลิต 3 แบบ ไดแก serial<br />

configuration, parallel configuration และ hybrid configuration ซึ่งใน<br />

การเลือกรูปแบบการผลิตนั้นใชวิธีกระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะห<br />

(Analysis Hierarchy Process: AHP) และปจจัยที่ใชในการเลือกรูปแบบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!