29.06.2013 Views

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

4.2 การออกแบบรูปแบบการจัดวางเครื่องจักรโดยการใช<br />

เครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

ในสวนนี้เปนการออกแบบรูปแบบการใชเครื่องจักรรวมกัน<br />

ระหวางเซลลการผลิต โดยจะเปนการกําหนดจํานวนของเซลลที่จะ<br />

สามารถใชเครื่องจักรรวมกันสําหรับกระบวนการสามารถใชเครื่องจักร<br />

รวมกันได ตัวอยางของรูปแบบการใชเครื่องจักรรวมกันแสดงไวในภาพ<br />

ที่<br />

3.1 และ 3.2<br />

จากภาพที่<br />

3.1 แสดงใหเห็นรูปแบบการใชเครื่องจักรรวมกัน<br />

ระหวางเซลลการผลิต 2 เซลลการผลิต โดยทําการรวมเซลลการผลิต<br />

จํานวน 2 กระบวนการ และภาพที่<br />

3.2 แสดงใหเห็นรูปแบบการใช<br />

เครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

3 เซลลการผลิต โดยทําการรวม<br />

เซลลการผลิตจํานวน 2 กระบวนการ<br />

5. การออกแบบการทดลอง<br />

ในบทความนี้จะทําการออกแบบรูปแบบการใชเครื่องจักร<br />

รวมกันสําหรับกระบวนการผลิตที่มีผลิตภัณฑหลัก<br />

2 ชนิดผลิตภัณฑ ( 12<br />

ผลิตภัณฑยอย) และมีเซลลการผลิต 11 เซลลการผลิต ซึ่งหลักการที่ใช<br />

ออกแบบการใชเครื่องจักรรวมกันจะคํานึงถึงรูปปญหาดานการปนเปอน<br />

และการตรวจสอบกลับของผลิตภัณฑ ดังนั้นในการทดสอบจึงกําหนด<br />

จํานวนเซลลที่ทําการรวมเซลลไว<br />

2 แบบ คือ แบบรวมเซลล 2 เซลล และ<br />

แบบรวมเซลล 3 เซลล เพื่อทดสอบวาการใชเครื่องจักรรวมกันระหวาง<br />

รวมเซลลการผลิตแบบ 2 เซลล หรือแบบ 3 เซลลดีกวากัน ดังนั้นรูปแบบ<br />

แบบการใชเครื่องจักรรวมกันมีดังนี้<br />

Scenario 1: เปนการจัดเซลลการการผลิตในปจจุบัน ที่มี<br />

ลักษณะเปนเซลลการผลิตอิสระ ( Independent production cells) ทั้งหมด<br />

11 เซลลการผลิต<br />

Scenario 2: การจัดรูปแบบเซลลการผลิตเดิมรวมกับการใช<br />

รูปแบบการผลิตแบบเซลลที่มีการกําหนดกลุมของผลิตภัณฑที่ไดจาก<br />

อัลกอริธึมที่ไดออกแบบไว<br />

(เซลลตางๆทํางานเปนอิสระตอกัน)<br />

Scenario 3: การรวมเครื่องจักรภายในกลุมผลิตภัณฑเดียวกัน<br />

โดยรวมเครื่องจักร<br />

2 เซลลและ 3 เซลล และมีกระบวนการที่ทําการรวม<br />

เครื่องจักรจํานวน<br />

1, 2 และ 3 กระบวนการ<br />

Scenario 4: เปนการรวมเครื่องจักร<br />

ระหวาง กลุมผลิตภัณฑ<br />

และมีการรวมเครื่องจักรระหวางกลุมผลิตภัณฑสําหรับเซลลการผลิตบาง<br />

เซลลการผลิต โดยรวมเครื่องจักรแบบ<br />

2 เซลลและ 3 เซลล<br />

113<br />

2553<br />

Cell 1<br />

Cell 2<br />

Cell 3<br />

Cell 4<br />

Cell 5<br />

Cell 6<br />

P1 P2 P3 P4 P5 P6<br />

Pn<br />

Common Process<br />

รูปที่<br />

3.1 การใชเครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

2 เซลล<br />

Cell 1<br />

Cell 2<br />

Cell 3<br />

Cell 4<br />

Cell 5<br />

Cell 6<br />

ในการเลือกกระบวนการที่จะทําการใชเครื่องจักรรวมกัน<br />

สําหรับ Scenario 3 และ Scenario 4 นั้น<br />

จะทําการเลือกกระบวนการที่<br />

เปนคอขวด (Bottle neck) ของกระบวนการกอน เนื่องจากกระบวนการที่<br />

เปนคอขวดจะเปนกระบวนการที่มีผลกระทบตอกระบวนการผลิตมาก<br />

ที่สุด<br />

สําหรับการจําลองสถานการณ ในบทความนี้<br />

จะทําการรัน<br />

แบบจําลองสําหรับแตละรูปแบบโดยทําการรันซ้ําที่<br />

3 ซ้ํา<br />

จํานวนเวลา<br />

เพื่อใหเขาสูสถานะคงตัว<br />

( Steady state) เทากับ 2 วัน และระยะเวลาใน<br />

การรันแบบจําลองเทากับ 6 วัน โดยภาพที่<br />

4 แสดงตัวอยางของ<br />

แบบจําลองสถานการณของ Scenario 1<br />

ภาพที่<br />

4 แสดงตัวอยางของแบบจําลองสถานการณของ Scenario 1<br />

Common Process<br />

P1 P2 P3 P4 P5 P6<br />

Pn<br />

Common Procesa.s<br />

รูปที่<br />

3.2 การใชเครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

3 เซลล<br />

Common Process

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!