29.06.2013 Views

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

โดยใช้การจำลองสถานการณ์ - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2553<br />

บทคัดยอ<br />

การออกแบบรูปแบบการจัดวางเครื่องจักรเพื่อใหผลผลิตสูงสุด<br />

โดยใชการจําลองสถานการณ<br />

Design Machine Configuration Using Simulation<br />

ณพิตร วัฒนวีรพงษ 1 และ กาญจนา เศรษฐนันท 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน อ.เมือง จ.ขอนแกน 40002 โทรศัพท : 087-2553101 E-mail: napito.watanabe@hotmail.com 1 ,skanch@kku.ac.th 2<br />

อุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟสามารถสรางรายไดใหกับ<br />

ประเทศไทยไดอยางสูงและเปนอุตสาหกรรมที่มีการเจริญเติบโตอยาง<br />

รวดเร็ว อุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟเปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีตนทุน<br />

การผลิตดานเครื่องจักรและพื้นที่การผลิตมีที่มีมูลคาสูง<br />

อีกทั้งใน<br />

กระบวนการผลิตยังมีขอจํากัดดานของการตรวจสอบยอนกลับและการ<br />

ปองกันการปนเปอนในกระบวนผลิต<br />

ซึ่งอาจจะสงผลใหปริมาณผลผลิตมี<br />

คาต่ํา<br />

เวลานําในการผลิตสูง และประสิทธิภาพการใชเครื่องจักรต่ํา<br />

ดังนั้น<br />

ในการผลิตจึงตองมีการออกแบบรูปแบบการผลิตที่ทําใหมีการใชงาน<br />

เครื่องจักรใหมีประสิทธิภาพการผลิตสูงที่สุด<br />

โดยคํานึงถึงการตรวจสอบ<br />

ยอนกลับและการปองกันการปนเปอนในกระบวนผลิต<br />

บทความนี้<br />

นําเสนอการออกแบบรูปแบบการผลิตและการจัดวางเครื่องจักรเพื่อเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพในการผลิต โดยทําการออกแบบอัลกอริธึมในการแกปญหา<br />

และทําการจําลองสถานการณดวยโปรแกรมอารีนา ซึ่งเปนโปรแกรมการ<br />

จําลองสถานการณในกระบวนการผลิต จากผลการดําเนินการวิจัยพบวา<br />

รูปแบบที่ไดทําการออกแบบสามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตได<br />

4.11% และ<br />

สามารถลดเวลานําการผลิตได 6.3%<br />

คําสําคัญ: การจัดวางเครื่องจักร,<br />

การจําลองสถานการณ, การจัดลําดับการ<br />

ผลิต, การผลิตแบบเซลล<br />

Abstract<br />

Hard Disk Drive (HDD) industry is a fast growing industry<br />

business in Thailand which needs a large number of investments in term<br />

of machinery and high value production area. HDD production has<br />

constrains of traceability and contamination limitation that result in<br />

inferior outcome, more lead time spending and low efficient of<br />

machinery usage. Consequently, production designing needs to be at the<br />

highest efficiency concerning traceability and protection of<br />

contamination in production process. This study presents production<br />

methods and machinery placement options in order to increase<br />

production efficiency by designing algorithm and using simulation<br />

108<br />

technique processed by Arena program: production simulating<br />

computer program. The study found that production pattern designed<br />

increased throughput by 4.11% of current production and reduce lead<br />

time spending by 6.3% respectively.<br />

Keywords: Machine configuration, Simulation, Scheduling and Cell<br />

manufacturing<br />

1. บทนํา<br />

ปจจุบันอุตสาหกรรมฮารดดิสกเปนอุตสาหกรรมที่มีการ<br />

เติบโตอยางรวดเร็ว มีการลงทุนของเครื่องจักรมีมูลคาสูง<br />

อีกทั้งปริมาณ<br />

ความตองการของสินคาของอุตสาหกรรมนี้มีความแปรปรวนที่สูง<br />

ใน<br />

การออกแบบกระบวนการผลิตจึงเปนสิ่งสําคัญที่ตองมีการพัฒนาเพื่อ<br />

รองรับความตองการของลูกคาที่แปรปรวนและความตองการที่สูงขึ้น<br />

ดังนั้นการออกแบบกระบวนผลิตและการจัดการกระบวนการผลิตจึงตอง<br />

มีกลยุทธที่สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

สําหรับความตองการลูกคาของอุตสาหกรรมฮารดดิสกใน<br />

ปจจุบันนั้น<br />

มีความแปรปรวนตางๆ ที่เกิดขึ้นจากความหลากหลายของ<br />

ชนิดผลิตภัณฑและความตองการที่ไมแนนอนของลูกคา<br />

ซึ่งทําใหการ<br />

ออกแบบกระบวนผลิตสินคาที่เหมาะสมนั้นทําไดยาก<br />

อีกทั้ง<br />

อุตสาหกรรมฮารดดิสกเปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีการลงทุนที่สูงทั้งใน<br />

ดาน เครื่องจักรและพื้นที่การผลิต<br />

ดังนั้นการออกแบบกระบวนผลิตและ<br />

การจัดผังการผลิตจึงควรมีการออกแบบที่ดีเพื่อใหสามารถใชเครื่องจักร<br />

และพื้นที่ของโรงงานไดมีประสิทธิภาพมากที่สุด<br />

การออกแบบกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมฮารดดิสก<br />

นั้น<br />

ควรมีวางแผนในดานตางๆ ที่สามารถทําใหเวลารอบของการผลิต<br />

สินคาสั้นลง<br />

และมี ผลผลิต เพิ่มมากขึ้น<br />

โดยการจัดการสําหรับการ<br />

ออกแบบสายการผลิตที่เหมาะสมนั้นไดแก<br />

การหาจํานวนเครื่องจักรที่


เหมาะสม การกําหนดกระบวนการไหลของงาน การกําหนดขนาดในการ<br />

ผลิตของผลิตภัณฑ เปนตน<br />

บทความนี้จึงนําเสนอการทดสอบรูปแบบ<br />

การจัดวาง<br />

เครื่องจักร<br />

(Machine Configuration) โดยใชแบบจําลองสถานการณ ของ<br />

สายการผลิตที่อยูในรูปแบบตางๆ<br />

โดยเปรียบเทียบผลลัพธของ<br />

สายการผลิตรูปแบบตางๆ จากปริมาณ z]ผลิตที่ได<br />

( Throughput) เวลา<br />

รอบการผลิตของผลิตภัณฑ ( cycle time) และประสิทธิภาพของ<br />

เครื่องจักร<br />

( Machine utilization) โดยในการทดสอบนี้จะใชการ<br />

เปรียบเทียบสายการผลิตจากกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม<br />

ฮารดดิสกไดรฟ ( HDD) ที่อยูในกระบวนการผลิตหัวอานที่ชื่อวา<br />

Slider<br />

fabrication ในสวนของกระบวนการ mmm<br />

2. ทบทวนวรรณกรรม<br />

ในป 2002 Spicer et Al. [10] ไดทําการศึกษาระบบการจําแนก<br />

การจัดรูปแบบเครื่องจักร<br />

โดยทําการแบงรูปแบบเครื่องจักรเปน<br />

4<br />

ประเภทคือ (1) pure serial lines, (2) pure parallel lines, (3) short serial<br />

lines arranged in parallel และ (4) long serial lines arranged in parallel<br />

ซึ่งดัชนีชี้วัดของการวิจัยคือ<br />

ปริมาณผลผลิต การจัดสมดุลการผลิต และ<br />

การลงทุนในเครื่องจักร<br />

นอกจากนี้<br />

Riane et al. [3] ไดทําการจัดรูปแบบ<br />

การผลิตในสายการผลิตตอเนื่องแบบผสมโดยใช<br />

Simulated annealing<br />

(SA Algorithm) โดยพิจารณาคอขวดของกระบวนการผลิตดวย<br />

นอกจากนี้<br />

ในการศึกษาครั้งนี้ยังไดเสนอแนะกลยุทธในการจัดวางผัง<br />

โรงงานของสายการผลิตดังกลาวโดยใชเทคนิค Auto-adaptable<br />

Simulated Annealing based Heuristic (H<strong>AS</strong>AH)<br />

ในป 2007 Safari & Saidi-Mehrabad [8] ไดทําการออกแบบ<br />

ระบบ Cell การผลิตภายใตเงื่อนไขความไมแนนอนตางๆ<br />

ซึ่งในการศึกษา<br />

ครั้งนี้ไดใชโปรแกรม<br />

Fuzzy เพื่อใชในการแกปญหาความไมแนนอนดาน<br />

product mix และความตองการของผลิตภัณฑในแตละคาบเวลา โดยมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อจัดรูปแบบ<br />

เซลลการผลิตในแตละคาบเวลาใหมีระดับ<br />

ความพึงพอใจสูงสุด ในปเดียวกัน Vitanov et al. [12] ไดพัฒนาเครื่องมี<br />

ตัดสินใจ ( Decision support tool) เพื่อใหผูวางผังโรงงานในโรงงาน<br />

อุตสาหกรรมสามารถวางผังโรงงานไดอยางงายและมีประสิทธิภาพ โดย<br />

เครื่องมือตัดสินใจที่ไดพัฒนาขึ้นในการจัดรูปแบบ<br />

cell การผลิตนี้ไดจาก<br />

การออกแบบอัลกอริธึมเพื่อใหคําตอบที่ไดมีคาใกลเคียงกับคําตอบที่ดี<br />

ที่สุด<br />

เพื่อใหมั่นใจในคุณภาพของฮิวริสติกที่พัฒนาขึ้น<br />

อัลกอริธึมไดถูก<br />

109<br />

2553<br />

ตรวจสอบในรูปของประสิทธิภาพการรวมหนวยงาน ( Grouping<br />

efficiency) และดัชนีคุณภาพ (quality index)<br />

ในป 2008 Duran [2] ไดทําการออกแบบอัลกอริธึมเพื่อที่จะ<br />

ทําการรวมกลุม<br />

( cluster) เครื่องจักรในแตละ<br />

เซลล โดยมีวัตถุประสงค<br />

เพื่อใหการเคลื่อนที่ในเซลล<br />

มีคาต่ําที่สุด<br />

โดยในการพัฒนาอัลกอริธึมนั้น<br />

ไดใช Particle Swarm Optimization (PSO) อัลกอริธึม<br />

อยางไรก็ตาม ในการเพิ่มปริมาณการผลิตใหสูงสุดนั้น<br />

ไม<br />

เพียงแตการจัดรูปแบบเซลลการผลิตที่เหมาะสมเทานั้น<br />

ปจจัยหนึ่งที่มีผล<br />

ตอปริมาณการผลิตคือ การบริหารจัดการการผลิตใหเหมาะสมกับรูปแบบ<br />

cell การผลิตที่ไดออกแบบไว<br />

ในป 2007 Chen [4] ไดทําการออกแบบ<br />

รูปแบบระบบแถวคอยสําหรับเซลลการผลิตภายใตการจัดลําดับการผลิต<br />

โดยใชกฎการจัดลําดับ เพื่อที่จะกําหนดวาผลิตภัณฑชนิดใดจะผลิตบน<br />

เครื่องจักรเครื่องไหน<br />

ในป 1999 Brah & Loo [11] ไดทําการทดสอบประสิทธิภาพ<br />

ของฮิวริสติกการจัดตารางการผลิตที่เปนรูปแบบ<br />

Flow shop แบบ<br />

กระบวนการหลายขั้นตอน<br />

โดยคาชี้วัดประสิทธิภาพ<br />

คือ เวลาแลวเสร็จ<br />

(Makespan) และ Mean flow time โดยพบวา มี 5 ฮิวริสติกที่มี<br />

ประสิทธิภาพในการจัดตารางการผลิตดังกลาว การศึกษานี้พบวามี<br />

ผลกระทบเนื่องจากรูปแบบปญหาที่แตกตางกัน<br />

เชน จํานวนงาน จํานวน<br />

ขั้นของเครื่องจักร<br />

เปนตน และประสิทธิภาพของฮิวริสติกโดยใชวิธี<br />

Regression analysis ซึ่งรูปแบบปญหาแตกตางกันนี้จะทําให<br />

ประสิทธิภาพที่วัดไดเกิดความผันแปร<br />

(Variation)<br />

Vamanana et al. [6] ไดทําการอธิบายถึงความเหมาะสมในการ<br />

แกปญหารวมกันระหวาง CPLEX และ ARENA รวมทั้งบอกความ<br />

แตกตางของการแกปญหาโดยใชวิธีแบบอื่นๆ<br />

โดยไดกลาวถึง ARENA<br />

วาเปนเครื่องมือที่ใชในการจําลองสถานการณ<br />

( Simulation) ดวย<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอรและมี GUI ผูใชสามารถสรางแบบจําลองของ<br />

ระบบที่ซับซอนโดยใชโมดูล<br />

, บล็อกและอีเลเมนตตางๆที่มีอยูในเทม<br />

เพลต ซึ่งใชงานไดงาย<br />

ตัวอยางของระบบที่สามารถจําลองไดดวย<br />

ARENA เชน อุตสาหกรรมการผลิตที่มีพนักงาน<br />

เครื่องจักรและอุปกรณ<br />

ในการขนสง ธนาคาร ATMs เครื่องรับฝากเงิน<br />

เครือขายคอมพิวเตอรที่มี<br />

ผูใหบริการ<br />

ผูรับบริการ<br />

และความสามารถในการใหบริการ<br />

Reza Abdi [5] ทําการเลือกรูปแบการผลิต 3 แบบ ไดแก serial<br />

configuration, parallel configuration และ hybrid configuration ซึ่งใน<br />

การเลือกรูปแบบการผลิตนั้นใชวิธีกระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะห<br />

(Analysis Hierarchy Process: AHP) และปจจัยที่ใชในการเลือกรูปแบบ


2553<br />

การผลิตไดแก ความสามารถในการปรับเปลี่ยนผัง<br />

, ตนทุน, คุณภาพ และ<br />

ความนาเชื่อถือ<br />

และจากงานของ Qui et al. [9] ไดทําการออกแบบ<br />

รูปแบบการผลิตสําหรับกระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร ซึ่งมี<br />

กระบวนการไหลของงานหลายรูปแบบและมีความหลากหลายในดาน<br />

เวลาการผลิต ในการออกแบบไดทําการศึกษาถึงการใชเครื่องจักรรวมกัน<br />

ระหวางสายการผลิต ( Machine Sharing) โดยใชทฤษฎีเกม ( Game<br />

Theory) โดยมีวัตถุประสงคใหการไหลของงานดีขึ้นเพื่อลดเวลารอบการ<br />

ผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักร<br />

จากการทดสอบพบวาการใช<br />

เครื่องจักรรวมกันดวยการใชทฤษฎีเกมในการออกแบบดีกวารูปแบบการ<br />

ผลิตเดิม และงานของ S. Benjaafar [7] ศึกษากระบวนการผลิตแบบเซลล<br />

(Cellular Manufacturing Systems) โดยทําการออกแบบการใชเครื่องจักร<br />

รวมกันและทําการประเมินประสิทธิภาพของเครื่องจักร<br />

เวลาการไหล<br />

ของงาน ซึ่งในการทดสอบกําหนดให<br />

System Loading, เวลาตั้ง<br />

เครื่องจักร<br />

และ ขนาดในการผลิต (Batch Sizes) ที่มีหลายระดับ<br />

จาก<br />

การศึกษาสามารถสรุปไดวา การใชเครื่องจักรรวมกันนั้นจําเปนตองมีการ<br />

กําหนดขนาดในการผลิตที่เหมาะสมกับเวลาในการติดตั้งเครื่องจักร<br />

Der-Fang Shiau [13] แกปญหาในการจัดตารางการผลิตบน<br />

เครื่องจักรขนานโดยนําเสนอประสิทธิภาพของวิธีการแบบผสมผสาน<br />

ของ Constructive Genetic Algorithm (CGA) ที่พัฒนาขึ้นในการหา<br />

คําตอบ โดยมีเปาหมายเพื่อให<br />

Weighted Completion Time (WCT) มีคา<br />

ต่ําสุด<br />

โดยเปนการใชกฎ Weighted Shortest Processing Time (WSPT)<br />

และ Shortest Processing Time (SPT) รวมกันในสมการเปาหมาย ซึ่ง<br />

ผลลัพธแสดงใหเห็นวาเจเนติกอัลกอริทึมสามารถบอกไดถึง<br />

ประสิทธิภาพที่ดีของการจัดตารางการผลิตแบบ<br />

PFFS และยังสามารถใช<br />

เจเนติกอัลกอริทึมสําหรับหาคําตอบของปญหาการจัดตารางการผลิตแบบ<br />

ขนานไดเปนอยางดี<br />

Lowa [1] เปนการนําเสนอและเปรียบเทียบฮิวริสติกที่ใชใน<br />

การจัดลําดับการผลิตภายใตเงื่อนไขที่แตกตางกันของผลิตภัณฑและ<br />

เครื่องจักร<br />

โดยมีเปาหมายเพื่อใหเวลาแลวเสร็จในการผลิตที่ต่ําที่สุด<br />

โดย<br />

ในการทดสอบจะทําการศึกษาการจัดลําดับการผลิตโดยที่ธรรมชาติของ<br />

เครื่องจักรเปนแบบ<br />

two stage ที่มีประสิทธิภาพของเครื่องจักรไมเทากัน<br />

(Unrelated Machine) และมีเงื่อนไขทั้งจากตัวผลิตภัณฑและจากตัว<br />

เครื่องจักรเอง<br />

ซึ่งในงานวิจัยนี้มีการสรางอัลกอริธึมในการแกปญหาการ<br />

จัดลําดับการผลิตนี้โดยแบงเปน<br />

2 ขั้นตอนคือ<br />

Sequencing Phase<br />

ประกอบดวย 4 รูปแบบคือ Random Method, Pij with SPT, Qij wih LPT<br />

และ Modified Johnson’s Rule สวนในขั้นที่<br />

2 คือ Dispatching Phase<br />

110<br />

เปนการเลือกเครื่องจักรใหกับงานที่จัดลําดับไวแลวใน<br />

Sequencing Phase<br />

โดยมีทั้งหมด<br />

4 วิธีการ ไดแก Type-Fix (TF), First-Fit (FF), 3. Best-Fit<br />

(BF) และ Random (RD) โดยประสิทธิภาพของอัลกอริธึมแตละตัวจะทํา<br />

การเปรียบเทียบกับ Lower Bound ซึ่งผลการทดสอบพบวาอัลกอริธึมที่<br />

ใหผลที่ดีที่สุดคือ<br />

Sequencing phase แบบ Modified Johnson’s รวมกับ<br />

Dispatching Phase แบบ First-Fit (FF)<br />

จากวรรณกรรมที่ไดทําการทบทวนมาในขางตนซึ่งเกี่ยวของ<br />

กับการจัดรูปแบบการวางเครื่องจักรที่เหมาะสม<br />

การจัดตารางการผลิต<br />

และการวางผังเครื่องจักรของโรงงาน<br />

ดังนั้นบทความนี้จึงนําเสนอการ<br />

ออกแบบรูปการจัดวางเครื่องจักรและการทดสอบประสิทธิภาพของ<br />

รูปแบบการจัดวางเครื่องจักรแบบตางๆ<br />

โดยใชการจําลองสถานการณ<br />

3. ปญหา<br />

ปจจุบันรูปแบบสายการผลิตของโรงงานกรณีจะมีลักษณะ<br />

เปนสายการผลิตตรงแบงเปนสายการผลิตคนละสายการผลิตอยางชัดเจน<br />

มีบางกระบวนการเทานั้นที่เปน<br />

common process ที่มีการใชเครื่องจักร<br />

รวมกัน ( Share) ในทุกสายการผลิต สําหรับกระบวนการผลิตที่ไมใช<br />

common process นั้น<br />

ในการผลิตจะไมมีการนํางานที่อยูในสายการผลิต<br />

หนึ่งไปใชกับเครื่องจักรที่อยูคนละสายการผลิต<br />

ดังนั้นสายการผลิตแตละ<br />

สายจะทํางานแยกกันอยางสิ้นเชิง<br />

เมื่อพิจารณารูปแบบการผลิตชนิดนี้ยัง<br />

ขาดความยืดหยุน<br />

( Flexibility) ในกระบวนการผลิตเมื่อเทียบกับรูปแบบ<br />

การผลิตที่เครื่องจักรมีการจัดวางแบบ<br />

Pool เครื่องจักรทุกกระบวนการ<br />

ซึ่งรูปแบบการผลิตที่ไดกลาวมาแสดงไวในรูปที่<br />

1<br />

จากการศึกษาขอมูลกระบวนการผลิตพบวาขอจํากัดที่ทําให<br />

การจัดวางเครื่องจักรไมสามารถจัดวางแบบ<br />

Pool เครื่องจักรได<br />

เนื่องจาก<br />

ปญหาของการปนเปอน<br />

(Contamination) และการตรวจสอบกลับ<br />

(Traceability) ของผลิตภัณฑ ซึ่งในงานวิจัยนี้จะทําการนําวิธีการวาง<br />

Cell 1<br />

Cell 2<br />

Cell 3<br />

Cell 4<br />

Cell m-1<br />

Cell m<br />

P1 P2 P3 P4 P5 P6<br />

Pn Common Process<br />

Common Process<br />

รูปที่<br />

1 สายการผลิตที่มีลักษณะการทํางานโดยไมเกี่ยวของกัน


ตารางที่<br />

1 ขอมูลเวลาการผลิต<br />

กระบวน<br />

การที่<br />

ผลิตภัณฑหลักชนิดที่<br />

1 ผลิตภัณฑหลักชนิดที่<br />

2<br />

ปริมาณตอ<br />

เวลาทํางาน<br />

ปริมาณตอ<br />

เวลาทํางาน<br />

ครั้งการผลิต<br />

(วินาที)<br />

ครั้งการผลิต<br />

(วินาที)<br />

A 18 Bars 860.63+UNIF[20, 29.9]+NORM[7. 62, 0.812]+TRIA[103, 117, 153.4] 18 Bars 1324.48+UNIF[40, 49]+TRIA[2.06, 3.11, 5.55]<br />

B 12 Lots 1742.7+UNIF[62, 117]<br />

C 18 Bars 135.41+TRIA[8, 9.41, 13.6]<br />

D 12 Lots 1742.7+UNIF[62, 117] 12 Lots 1742.7+UNIF[62, 117]<br />

E 112 Lots 15754.1+UNIF[7.54, 12.56]+TRIA[141, 168.9, 191] 112 Lots 15605.11+UNIF[7.54+12.56]+TRIA[264, 502, 659]<br />

7 bars 865.84+TRIA[170.4, 198.62, 219.61] 5 Bars 411.4+UNIF[6, 7.49]+TRIA[13.03, 17.4, 20.6]<br />

F 4 Bars 223.18+TRIA[73.7, 75.7, 77.9] 4 Bars 121.03+UNIF[9, 12.9]+TRIA[151.3, 161.9, 167.19]<br />

1 Bar 192.18+UNIF[2, 13]+TRIA[139, 285, 624] 1 Bar 145.27+UNIF[16, 48.56]+TRIA[166, 384.1, 1013]<br />

1 Bar 35.371 1 Bar 31.62+TRIA[2, 2.68, 8.87]<br />

1 Lot 634.51 1 Lot 5.71+NORM[620,74.3]+TRIA[18, 32.3, 37]<br />

12 Lots 1742.7+UNIF[62, 117] 12 Lots 1742.7+UNIF[62, 117]<br />

20 Bars 624.36+UNIF[977, 134]<br />

20 Bars 523.03+UNIF[33, 56]+TRIA[33,47.8,59]<br />

G 20 Bars 1618.91+TRIA[219, 295.27, 333.73] 20 Bars 973.3+TRIA[555, 612, 744]<br />

20 Bars 232.9+UNIF[62, 120] 20 Bars 184.06<br />

H 42 Lots 3260+UNIF[8, 13] 42 Lots 3263+UNIF[8, 13]+TRIA[5, 12.7, 16]<br />

I 4 Bars 498.09+TRIA[163.14, 191.24, 201.64]+UNIF[4, 6.57] 4 Bars 800.1+UNIF[51,79.9]+TRIA[6, 9.72, 10.8]<br />

J 20 Lots 2213.75+UNIF[42, 70]+TRIA[86, 99.2, 140] 20 Lots 2304.41+UNIF[336, 581]+TRIA[8,19.7,21]<br />

ตารางที่<br />

2 ขอมูลจํานวนเครื่องจักรของแตละกระบวนการของแตละเซลล<br />

2553<br />

่<br />

กระบวน<br />

เซลลที<br />

การ กระบวการยอย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11<br />

หมายเหตุ<br />

A A1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1<br />

A2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1<br />

B 12 Common Process<br />

C F1 2 Common Process<br />

F2 3 Common Process<br />

D 12 Common Process<br />

E E1 3 Common Process<br />

E2 4 Common Process<br />

F F1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1<br />

F2 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10<br />

F3 16 16 18 15 17 17 15 15 18 17 18<br />

F4 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1<br />

F5 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2<br />

G G1 12 Common Process<br />

H H1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1<br />

H2 6 6 4 3 3 4 3 4 3 3 4<br />

I 0 0 3 3 3 3 3 3 3 0 0<br />

J J1 3 Common Process<br />

111


2553<br />

ตารางที่<br />

3 กระบวนการไหลของแตละชนิดผลิตภัณฑ<br />

กระบวน<br />

ชนิดผลิตภัณฑ<br />

การ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12<br />

A 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1<br />

B 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2<br />

C 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3<br />

D 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 4<br />

E 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5<br />

F 4 7 7 7 7 7 7 7 6 6 6 7<br />

G 5 8 8 8 8 8 8 8 7 7 7 8<br />

H 6 6 6 6 6 6 6 6 8 8 8 6<br />

I 7 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9 9<br />

J 8 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10<br />

เครื่องจักรแบบ<br />

Pool มาใชในการผลิต โดยทําการ Pool เครื่องจักร<br />

ระหวางเซลลการผลิตบางเซลลการผลิตเทานั้น<br />

สําหรับบทความนี้<br />

ไดนํากระบวนการผลิตของโรงงาน<br />

กรณีศึกษามาทดสอบ ซึ่งกระบวนการผลิตดังกลาวมีชื่อวากระบวนการ<br />

ผลิต mmm จากขอมูลพบวารูปแบบเซลลการผลิตในปจจุบัน<br />

ประกอบดวยเซลลการผลิต 11 เซลลการผลิต โดยจํานวนเครื่องจักรของ<br />

แตละเซลลการผลิตจะมีจํานวนไมเทากัน สําหรับขอมูลจํานวนเครื่องจักร<br />

ของแตละกระบวนการของแตละเซลล แสดงไวในตารางที่<br />

2 ซึ่งในการ<br />

ทดสอบจะทําการทดสอบที่ชนิดผลิตภัณฑ<br />

หลัก 2 ชนิด โดยผลิตภัณฑ<br />

หลักชนิดที่<br />

1 มีผลิตภัณฑยอย 1 ชนิดผลิตภัณฑ ไดแกผลิตภัณฑยอยที่<br />

1<br />

และผลิตภัณฑหลักชนิดที่<br />

2 มีผลิตภัณฑยอย 10 ชนิดผลิตภัณฑ ไดแก<br />

ผลิตภัณฑที่<br />

2,3,4,…และ 12 ซึ่งผลิตภัณฑที่ทําการผลิตนี้จะมี<br />

กระบวนการไหลที่แตกตางกัน<br />

โดยขอมูลกระบวนการไหลของงาน<br />

แสดงไวในตารางที่<br />

3 นอกจากความแตกตางในจํานวนเครื่องในแตละ<br />

เซลลแลว ปญหาอีกอยางหนึ่งของกระบวนการผลิตของโรงงานคือ<br />

เวลา<br />

การผลิตที่แตกตางกันของผลิตภัณฑหลักชนิดที่<br />

1 และ 2 ซึ่งขอมูลเวลา<br />

การผลิตแสดงในตารางที่<br />

1<br />

4. วิธีการแกปญหา<br />

ในการแกปญหาสําหรับบทความนี้จะเริ่มจากการแกปญหาที่<br />

เกิดจากความหลากหลายของกระบวนการไหลของผลิตภัณฑแตละชนิด<br />

โดยการใชอัลกอริธึมเพื่อทําการจัดกลุมผลิตภัณฑที่มีลักษณะการไหล<br />

ของงานที่ใกลเคียงกันไวดวยกัน<br />

เพื่อใหผลิตภัณฑที่มีการไหลที่<br />

เหมือนกันทําการผลิตในเซลลการผลิตเดียวกัน จากนั้นจะเปนการสราง<br />

112<br />

Start<br />

สราง Process Flow matrix<br />

สรางตารางความถี่ของลําดับที่<br />

เลือกความถี่ที่นอยที่สุดออก<br />

โดยนําผลิตภัณฑที่อยู<br />

ในความถี่นั้นออกไปไวในกลุม<br />

ปรับปรุงตารางความถี่ของลําดับที่<br />

ตรวจสอบคาความถี่ในตารางความถี่<br />

ของลําดับที่วายังมีตัวเลขที่ไมเทากัน<br />

ทําอัลกอริธึมซ้ําในทุกกลุมผลิตภัณฑจนกวาทุกกลุมเมื่อนําไปสราง<br />

ตารางความถี่ของลําดับที่จะไดตัวเลขเทากับจํานวนผลิตภัณฑในกลุม<br />

End<br />

แบบจําลองของรูปแบบการใชเครื่องจักรแบบตางๆ<br />

เพื่อทําการ<br />

เปรียบเทียบผลผลิตและเวลารอบในการผลิตที่ได<br />

4.1 การออกแบบอัลกอริธึมสําหรับจัดกลุมผลิตภัณฑ<br />

จากรูปแบบการไหลที่หลากหลายของผลิตภัณฑซึ่งมีผลตอ<br />

กระบวนการผลิตในดานการลําดับการทํางาน ดังนั้นในบทความนี้จึงทํา<br />

การออกแบบอัลกอริธึมสําหรับจัดกลุมผลิตภัณฑเพื่อใหผลิตภัณฑที่มี<br />

การไหลเชนเดียวกันอยูในกลุมเซลลการผลิตกลุมเดียวกัน<br />

โดยอัลกอริธึม<br />

ที่ไดทําการออกแบบแสดงไวในภาพที่<br />

2<br />

จากขอมูลในตารางที่<br />

3 สามารถนํามาดําเนินการโดยใช<br />

อัลกอริธึมที่ทําการออกแบบ<br />

ซึ่งจากการดําเนินการสามารถแบงกลุม<br />

ผลิตภัณฑได 3 กลุมผลิตภัณฑ<br />

โดยแตละกลุมผลิตภัณฑมีรายละเอียด<br />

ดังนี้<br />

กลุมผลิตภัณฑที่<br />

1 ประกอบดวยผลิตภัณฑที่<br />

1<br />

กลุมผลิตภัณฑที่<br />

2 ประกอบดวยผลิตภัณฑที่<br />

9, 10 และ 11<br />

กลุมผลิตภัณฑที่<br />

3 ประกอบดวยผลิตภัณฑที่<br />

2, 3, 4, 5, 6, 7,<br />

8, 9 และ 12<br />

หลังจากทําการจัดกลุมผลิตภัณฑแลว<br />

ในขั้นตอไปเปนการ<br />

สรางแบบจําลองจําลองสถานการณและออกแบบรูปแบบการจัดวาง<br />

เครื่องจักรโดยการใชเครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

No<br />

รูปที่<br />

2 อัลกอริธึมสําหรับการจัดกลุมผลิตภัณฑ<br />

Yes


4.2 การออกแบบรูปแบบการจัดวางเครื่องจักรโดยการใช<br />

เครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

ในสวนนี้เปนการออกแบบรูปแบบการใชเครื่องจักรรวมกัน<br />

ระหวางเซลลการผลิต โดยจะเปนการกําหนดจํานวนของเซลลที่จะ<br />

สามารถใชเครื่องจักรรวมกันสําหรับกระบวนการสามารถใชเครื่องจักร<br />

รวมกันได ตัวอยางของรูปแบบการใชเครื่องจักรรวมกันแสดงไวในภาพ<br />

ที่<br />

3.1 และ 3.2<br />

จากภาพที่<br />

3.1 แสดงใหเห็นรูปแบบการใชเครื่องจักรรวมกัน<br />

ระหวางเซลลการผลิต 2 เซลลการผลิต โดยทําการรวมเซลลการผลิต<br />

จํานวน 2 กระบวนการ และภาพที่<br />

3.2 แสดงใหเห็นรูปแบบการใช<br />

เครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

3 เซลลการผลิต โดยทําการรวม<br />

เซลลการผลิตจํานวน 2 กระบวนการ<br />

5. การออกแบบการทดลอง<br />

ในบทความนี้จะทําการออกแบบรูปแบบการใชเครื่องจักร<br />

รวมกันสําหรับกระบวนการผลิตที่มีผลิตภัณฑหลัก<br />

2 ชนิดผลิตภัณฑ ( 12<br />

ผลิตภัณฑยอย) และมีเซลลการผลิต 11 เซลลการผลิต ซึ่งหลักการที่ใช<br />

ออกแบบการใชเครื่องจักรรวมกันจะคํานึงถึงรูปปญหาดานการปนเปอน<br />

และการตรวจสอบกลับของผลิตภัณฑ ดังนั้นในการทดสอบจึงกําหนด<br />

จํานวนเซลลที่ทําการรวมเซลลไว<br />

2 แบบ คือ แบบรวมเซลล 2 เซลล และ<br />

แบบรวมเซลล 3 เซลล เพื่อทดสอบวาการใชเครื่องจักรรวมกันระหวาง<br />

รวมเซลลการผลิตแบบ 2 เซลล หรือแบบ 3 เซลลดีกวากัน ดังนั้นรูปแบบ<br />

แบบการใชเครื่องจักรรวมกันมีดังนี้<br />

Scenario 1: เปนการจัดเซลลการการผลิตในปจจุบัน ที่มี<br />

ลักษณะเปนเซลลการผลิตอิสระ ( Independent production cells) ทั้งหมด<br />

11 เซลลการผลิต<br />

Scenario 2: การจัดรูปแบบเซลลการผลิตเดิมรวมกับการใช<br />

รูปแบบการผลิตแบบเซลลที่มีการกําหนดกลุมของผลิตภัณฑที่ไดจาก<br />

อัลกอริธึมที่ไดออกแบบไว<br />

(เซลลตางๆทํางานเปนอิสระตอกัน)<br />

Scenario 3: การรวมเครื่องจักรภายในกลุมผลิตภัณฑเดียวกัน<br />

โดยรวมเครื่องจักร<br />

2 เซลลและ 3 เซลล และมีกระบวนการที่ทําการรวม<br />

เครื่องจักรจํานวน<br />

1, 2 และ 3 กระบวนการ<br />

Scenario 4: เปนการรวมเครื่องจักร<br />

ระหวาง กลุมผลิตภัณฑ<br />

และมีการรวมเครื่องจักรระหวางกลุมผลิตภัณฑสําหรับเซลลการผลิตบาง<br />

เซลลการผลิต โดยรวมเครื่องจักรแบบ<br />

2 เซลลและ 3 เซลล<br />

113<br />

2553<br />

Cell 1<br />

Cell 2<br />

Cell 3<br />

Cell 4<br />

Cell 5<br />

Cell 6<br />

P1 P2 P3 P4 P5 P6<br />

Pn<br />

Common Process<br />

รูปที่<br />

3.1 การใชเครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

2 เซลล<br />

Cell 1<br />

Cell 2<br />

Cell 3<br />

Cell 4<br />

Cell 5<br />

Cell 6<br />

ในการเลือกกระบวนการที่จะทําการใชเครื่องจักรรวมกัน<br />

สําหรับ Scenario 3 และ Scenario 4 นั้น<br />

จะทําการเลือกกระบวนการที่<br />

เปนคอขวด (Bottle neck) ของกระบวนการกอน เนื่องจากกระบวนการที่<br />

เปนคอขวดจะเปนกระบวนการที่มีผลกระทบตอกระบวนการผลิตมาก<br />

ที่สุด<br />

สําหรับการจําลองสถานการณ ในบทความนี้<br />

จะทําการรัน<br />

แบบจําลองสําหรับแตละรูปแบบโดยทําการรันซ้ําที่<br />

3 ซ้ํา<br />

จํานวนเวลา<br />

เพื่อใหเขาสูสถานะคงตัว<br />

( Steady state) เทากับ 2 วัน และระยะเวลาใน<br />

การรันแบบจําลองเทากับ 6 วัน โดยภาพที่<br />

4 แสดงตัวอยางของ<br />

แบบจําลองสถานการณของ Scenario 1<br />

ภาพที่<br />

4 แสดงตัวอยางของแบบจําลองสถานการณของ Scenario 1<br />

Common Process<br />

P1 P2 P3 P4 P5 P6<br />

Pn<br />

Common Procesa.s<br />

รูปที่<br />

3.2 การใชเครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

3 เซลล<br />

Common Process


6. ผลการทดลอง<br />

จากการ จําลองสถานการณ สามารถสรุปผลการจําลอง<br />

สถานการณของรูปแบบตางๆ ไดดังตารางที่<br />

4 และตารางที่<br />

5 สําหรับ<br />

ตารางที่<br />

4 เปนผลจากการจําลองสถานการณ และตารางที่<br />

5 แสดงผลการ<br />

เปรียบเทียบผลลัพธที่ไดจากรูปแบบที่ไดทําการออกแบบเปรียบเทียบกับ<br />

รูปแบบการผลิตในปจจุบัน ซึ่งผลที่ไดจากการการจําลองสถานการณ<br />

ไดแก ผลผลิตที่ได<br />

และเวลารอบการผลิต (Cycle time) โดยผลผลิตที่ไดมี<br />

หนวยเปนบาร และเวลารอบการผลิตมีหนวยเปนวินาทีตอชิ้น<br />

(Sec./pcs.)<br />

จากตารางที่<br />

4 และ 5 พบวารูปแบบที่ทําใหผลผลิตมากที่สุด<br />

และมีเวลารอบการผลิตต่ําที่สุด<br />

คือ Scenario 4-3 ซึ่งคือรูปแบบที่ทําการ<br />

ตารางที่<br />

4 ผลจากการจําลองสถานการณ<br />

Scenario<br />

2553<br />

Sub-<br />

Scenario<br />

จํานวน<br />

เซลลที่<br />

ใช<br />

รวมกัน<br />

จํานวน<br />

กระบวนการ<br />

ที่ทําการรวม<br />

กลุม<br />

ผลิตภัณฑที่<br />

ทําการรวม<br />

ผลผลิต<br />

(บาร)<br />

เวลารอบ<br />

การผลิต<br />

(ชั่วโมง)<br />

1 - - - - 112,502 41.43<br />

2 - - - - 112,687 41.57<br />

3 3-1 2 1 - 113,631 40.48<br />

3-2 3 1 - 116,863 38.84<br />

3-3 2 2 - 113,889 40.51<br />

3-4 3 2 - 117,007 38.84<br />

3-5 2 3 - 113,948 40.44<br />

3-6 3 3 - 117,022 38.81<br />

4 4-1 2 3 2,3 115,630 39.21<br />

4-2 2 3 1,2 115,375 39.49<br />

4-3 3 3 2,3 117,124 38.82<br />

4-4 3 3 1,2 116,412 38.82<br />

4-5 3 3 1,2,3 116,503 38.89<br />

ตารางที่<br />

5 ผลการเปรียบเทียบผลลัพธ<br />

Scenario<br />

Sub-<br />

Scenario<br />

% ผลผลิต<br />

ที่เพิ่มขึ้น<br />

% เวลารอบ<br />

การผลิตที่ลดลง<br />

2 - 0.16% 0.34%<br />

3 3-1 1.00% 2.29%<br />

3-2 3.88% 6.25%<br />

3-3 1.23% 2.22%<br />

3-4 4.00% 6.25%<br />

3-5 1.29% 2.39%<br />

3-6 4.02% 6.32%<br />

4 4-1 2.78% 5.36%<br />

4-2 2.55% 4.68%<br />

4-3 4.11% 6.30%<br />

4-4 3.48% 6.30%<br />

4-5 3.56% 6.13%<br />

114<br />

รวมกระบวนการ 3 กระบวนการ และรวมเซลลแบบ 3 เซลล โดยมีการ<br />

รวมเซลลระหวางกลุมผลิตภัณฑ<br />

โดยรวมผลิตภัณฑที่<br />

2, 3<br />

เมื่อพิจารณา<br />

Scenario 3 (ทําการรวมเซลลเฉพาะในกลุม<br />

ผลิตภัณฑ) พบวารูปแบบที่ทําใหไดผลผลิตมากที่สุดไดแก<br />

Scenario 3-6<br />

ซึ่งมีรูปแบบคือทําการรวมกระบวนการผลิต<br />

3 กระบวนการผลิต และทํา<br />

การ รวมเซลลการผลิต 3 เซลล ซึ่งจากการทดสอบแบบจําลองพบวา<br />

Scenario 3-6 ใหผลผลิตเทากับ 117,022 บาร คิดเปนปริมาณผลผลิตที่<br />

เพิ่มขึ้น<br />

4.02% และมีเวลารอบการผลิตเทากับ 38.81 ชั่วโมง<br />

คิดเปนเวลา<br />

นําการผลิตที่ลดลงเทากับ<br />

6.32%<br />

สําหรับ Scenario 4 (มีการรวมเซลลระหวางกลุมผลิตภัณฑ)<br />

พบวารูปแบบที่ทําใหไดผลิตมากที่สุดและเวลารอบการผลิตต่ําที่สุด<br />

คือ<br />

Scenario 4-3 ซึ่งมีเปนรูปแบบที่มีการรวมเซลล<br />

แบบ 3 เซลล โดยผลผลิต<br />

ที่ไดมีคาเทากับ<br />

117,124 บาร คิดเปนปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น<br />

4.11%<br />

และมีเวลารอบการผลิตเทากับ 38.82 ชั่วโมง<br />

คิดเปนเวลานําการผลิตที่<br />

ลดลงเทากับ 6.3%<br />

6. สรุปผล<br />

การตัดสินใจเลือกรูปแบบการวางเครื่องจักรที่เหมาะสมและมี<br />

ประสิทธิภาพของระบบการผลิตของอุตสาหกรรม ฮารดดิสกนั้นจะตองมี<br />

ออกแบบรูปแบบการจัดวางเครื่องจักรที่สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตตอ<br />

1<br />

ตารางเมตรใหสูงที่สุด<br />

และเวลานําในการผลิตต่ําที่สุด<br />

โดยรูปแบบการจัด<br />

เซลลการผลิตดังกลาวตองมีความสอดคลองกับกระบวนการตรวจสอบ<br />

กลับและการปองกันการปนเปลื้อนของกระบวนการผลิตดวย<br />

ซึ่งผลของ<br />

การศึกษานี้จะเปนแนวทางใหกับอุตสาหกรรม<br />

ฮารดดิสก สามารถนําไป<br />

ออกแบบการจัดวางเซลลการผลิตที่มีประสิทธิภาพทั้งในรูปของปริมาณ<br />

ผลผลิตที่ไดตอหนวยพื้นที่ที่สูงขึ้นและเวลานําในการผลิตที่ลดลง<br />

ซึ่ง<br />

ขอสรุปจากการศึกษามีดังนี้<br />

เมื่อมีการรวมเซลลเฉพาะในกลุมผลิตภัณฑ<br />

พบวารูปแบบที่<br />

ทําใหไดผลผลิตมากที่สุดไดแก<br />

รูปแบบที่มีการรวมกระบวนการผลิต<br />

โดยหากมีการรวมกระบวนการผลิต และรวมเซลลการผลิตมากเทาใดยิ่ง<br />

จะทําใหมีปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น<br />

และมีเวลารอบการผลิตที่ลดลงมาก<br />

ขึ้น<br />

เมื่อมีการรวมเซลลระหวางกลุมผลิตภัณฑ<br />

พบวารูปแบบที่ทํา<br />

ใหไดผลิตมากที่สุดและเวลารอบการผลิตต่ําที่สุด<br />

คือ รูปแบบที่มีการรวม<br />

เซลลและการรวมกระบวนการผลิต จํานวนมาก


ปริมาณผลผลิตตอพื้นที่จะเพิ่มขึ้น<br />

และเวลานําในการผลิตจะ<br />

ลดลงเมื่อมีการใชเครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลการผลิต<br />

นั่นคือ<br />

เมื่อมี<br />

การรวมเซลลการผลิตที่จํานวนเซลลที่มากขึ้น<br />

ผลผลิตที่ไดก็จะมากขึ้น<br />

ตามไปดวย ในงานวิจัยนี้ไดทําการออกแบบรูปแบบการจัดกลุม<br />

ผลิตภัณฑใหมีความเหมาะสมกับรูปแบบการผลิต เพื่อลดเวลาในการรอ<br />

คอยที่เกิดการไหลของผลิตภัณฑที่มีความแตกตางกัน<br />

อีกทั้งไดทําการ<br />

ออกแบบการรวมเครื่องจักรระหวางเซลลการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

ในการทํางานของเครื่องจักรในเซลลที่มีการทํางานไมเต็มประสิทธิภาพ<br />

และเปนการแบงเบาภาระงานใหกับเครื่องจักรที่ทํางานเกินประสิทธิภาพ<br />

จากผลการจําลองสถานการณพบวา ในการออกแบบการใช<br />

เครื่องจักรรวมกันระหวางเซลลจะตองทําการออกแบบการใชเครื่องจักร<br />

รวมกันโดยเริ่มจากหากระบวนการที่เปนคอขวดของกระบวนการ<br />

ทั้งหมด<br />

จากนั้นทําการรวมเซลลในเฉพาะกระบวนการที่เปนคอขวด<br />

เทานั้น<br />

เนื่องจากผลลัพธในการทดลองทําใหทราบวา<br />

การรวมเซลลใน<br />

กระบวนการที่ไมใชคอขวดของกระบวนการผลิตแลว<br />

ผลลัพธที่ไดจะไม<br />

แตกตางจากผลลัพธที่ไดในปจจุบัน<br />

7. กิตติกรรมประกาศ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก<br />

ศูนยวิจัยรวมเฉพาะ<br />

ทางดานสวนประกอบฮารดดิสกไดรฟ ( I/UCRC) คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน และศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ<br />

คอมพิวเตอรแหงชาติ , สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

แหงชาติ<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] C. Lowa, C.-J. Hsub and C.-T. Sub (2008). A two-stage hybrid<br />

flowshop scheduling problem with a function constraint and<br />

unrelated alternative machines. Computers & Operations<br />

Research, 35, 845 – 853<br />

[2] Duran, O. Rodriguez, N. Consalter, L.A. (2008). A PSO-based<br />

Clustering Algorithm for Manufacturing Cell Design. Knowledge<br />

Discovery and Data Mining, 2008. WKDD 2008, 72-75<br />

[3] F. Riane, C. Raczy, A. Artiba (1999). Hybrid auto-adaptable<br />

simulated annealing based heuristic. Computers & Industrial<br />

Engineering, 37(1-2), 277 – 280.<br />

[4] J.- T. Chen (2007). Queueing models of certain manufacturing<br />

cells under product-mix sequencing rules. European Journal of<br />

Operation Research, 188, 826-837<br />

115<br />

2553<br />

[5] M. Reza Abdi (2005). Selection of a layout configuration for<br />

reconfigurable manufacturing systems using the AHP. ISAHP<br />

2005, Honolulu, Hawaii, July 8-10, 2005<br />

[6] M. Vamanana, Q. Wangb, R. Batta and R. J. Szczerbad (2004).<br />

Integration of COTS software products ARENA & CPLEX for an<br />

inventory/logistics problem. Computers and Operations Research,<br />

31(4), 533-547<br />

[7] M. sheikhzadeh, S. Benjaafar and D. Gupta (1998). Machine<br />

Sharing in Manufacturing Systems: Total Flexibility versus<br />

Chaining. The International Journal of Flexible Manufacturing<br />

Systems, 10: 351–378<br />

[8] N. Safaei, M. Saidi-Mehrabad, M. Babakhani (2007). Design<br />

cellular manufacturing systems under dynamic and uncertain<br />

conditions. Journal of Intelligent Manufacturing, 18, 383-399<br />

[9] R. G. Qui, S. Joshi and P. Mcdonnell (2004). An approch to<br />

regulating machine sharing in reconfigurable back-end<br />

semiconductor manufacturing. Journal of intelligent<br />

manufacturing, 15, 597-591<br />

[10] S. Spicer, Y. Koren, M. Shpitalni, D. Yip-Hoi (2002). Design<br />

Principles for Machining System Configurations. CIRP Annals-<br />

Manufacturing Technology, 51(1), 275-280<br />

[11] S. A. Brah and L. L. Loo (1999), Heuristics for scheduling in a<br />

flow shop with multiple processors. European Journal of<br />

Operational Research, 113(1), 113-122<br />

[12] V. Vitanov, B. Tjahjono, I. Marghalany (2007). A decision<br />

support tool to facilitate the design of cellular manufacturing<br />

layouts. Computer & Industrial Engineering, 52, 380-403<br />

[13] Der-Fang Shiau, Shu-Chen Cheng and Yueh-Min Huang a (2008).<br />

Proportionate flexible flow shop scheduling via a hybrid<br />

constructive genetic algorithm. Expert Systems with Applications<br />

34, 1133–1143<br />

ณพิตร วัฒนวีรพงษ จบการศึกษาระดับปริญญา<br />

ตรี คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมอุตสา<br />

หการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ในป พ.ศ. 2550<br />

ปจจุบันกําลังศึกษาระดับปริญญาโท คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน งานวิจัยที่สนใจเกี่ยวกับการจําลองสถานการณ<br />

การปรับปรุงกระบวนการผลิต และการจัดลําดับการผลิต


2553<br />

กาญจนา เศรษฐนันท จบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญา -ตรี คณะวิศวกรรมศาสตร สาขา<br />

วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

ระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัย Oklahoma<br />

State ประเทศสหรัฐอเมริกาและระดับปริญญา<br />

เอกจาก มหาวิทยาลัย West Virginia ประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา ปจจุบันดํารงตําแหนงอาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมอุต<br />

สาหการ คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน และดํารงตําแหนง<br />

ผูอํานวยการ<br />

สถานจัดการและอนุรักษพลังงาน มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

งานวิจัยเกี่ยวกับการจัดลําดับการผลิต<br />

การจําลองสถานการณ การ<br />

ปรับปรุงผลิตภาพ และการจัดการโลจิสติกส<br />

116

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!