06.02.2014 Views

Regulatory Requirements for Investigational Drugs - กระทรวงสาธารณสุข

Regulatory Requirements for Investigational Drugs - กระทรวงสาธารณสุข

Regulatory Requirements for Investigational Drugs - กระทรวงสาธารณสุข

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

The progression and Challenges:<br />

IND like system in Thailand<br />

ภญ.จารุณี กฤษณพันธ์<br />

กลุ่มงานกํากับดูแลยาก่อนออกตลาด สํานักยา<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

13 กรกฎาคม 2554


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Outline of the presentation<br />

• Drug Regulation Framework<br />

• Law, Regulation and Guidelines<br />

• Pre-marketing control , Post-marketing<br />

control<br />

• Importation of IND and IND-like system


Scope of <strong>Regulatory</strong> Control <strong>for</strong> Vaccines<br />

R&D<br />

Candidate<br />

Selection<br />

Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

GLP<br />

Pre-Clinical<br />

Study<br />

EC&FDA<br />

NDA/BLA<br />

IND GCP&GLP<br />

Clinical<br />

studies<br />

Phase I,II,III<br />

Licensing<br />

(1)<br />

SIX CONTROL<br />

FUNCTIONS<br />

AEFI<br />

Surveillance<br />

(2)<br />

Vaccine<br />

Quality<br />

Lot<br />

release (3)<br />

PMS<br />

Importers/Hospitals/<br />

Health centers<br />

Pilot Scale<br />

Production<br />

Scale up<br />

Production<br />

Manufacturing<br />

Plant<br />

Industrial<br />

Scale<br />

Production<br />

cGMP cGMP/GMP GMP<br />

R&D = Research & Development<br />

GLP = Good Laboratory Practice<br />

GCP = Good Clinical Practice<br />

GMP = Good Manufacturing Practice<br />

Clinical Trial<br />

authorization<br />

(6)<br />

cGMP = Current Good Manufacturing Practice<br />

IND = <strong>Investigational</strong> New Drug Application<br />

EC = Ethic Committee<br />

FDA = Food and Drug Administration<br />

GMP Inspection<br />

(5)<br />

Lab Testing (4)<br />

Cold chain<br />

monitoring<br />

NDA = New Drug Application<br />

BLA = Biologic License Application<br />

PMS = Post Marketing Surveillance


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Drug <strong>Regulatory</strong> Framework


Thailand<br />

Food &<br />

Drug <strong>Regulatory</strong> Framework<br />

Drug<br />

Administration<br />

• Marketing authorization and licensing activities<br />

• Post-marketing Surveillance including (AEFI <strong>for</strong><br />

vaccine)<br />

• NRA lot release ( Only <strong>for</strong> vaccine)<br />

• Laboratory access<br />

• <strong>Regulatory</strong> GMP inspection<br />

• Authorization/approval clinical trials


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Law, Regulation and Guidelines<br />

กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์<br />

• พ.ร.บ. ยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม<br />

• มาตรา 4 (1) ในพระราชบัญญัตินี้<br />

• “ยา” หมายความว่า<br />

• (1) วัตถุที่รับรองไว้ในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศ<br />

• (2) วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้ในการวินิจฉัย บําบัด บรรเทา รักษา หรือ<br />

ป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์<br />

• (3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสําเร็จรูปหรือ<br />

• (4) วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทํา<br />

หน้าที่ใดๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์<br />

(1)<br />

มาตรา 4 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่3) พ.ศ. 2522 มาตรา 3


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

• พ.ร.บ. ยา (ต่อ)<br />

กฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์<br />

• วัตถุตาม (1) (2) หรือ (4) ไม่หมายความรวมถึง<br />

• (ก) วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้ในการเกษตรหรือการอุตสาหกรรมตามที่รัฐมนตรี<br />

ประกาศ<br />

• (ข) วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้เป็นอาหารสําหรับมนุษย์ เครื่องกีฬา เครื่องมือ<br />

เครื่องใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ เครื่องสําอางหรือเครื่องมือและส่วนประกอบ<br />

ของเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพเวชกรรม<br />

• (ค) วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้ในห้องวิทยาศาสตร์สําหรับการวิจัย การวิเคราะห์<br />

หรือการชันสูตรโรคซึ่งมิได้กระทําโดยตรงต่อร่างกายของมนุษย์<br />

(1)<br />

มาตรา 4 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่3) พ.ศ.2522 มาตรา 3


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม<br />

• มาตรา12 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผน<br />

ปัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต<br />

• มาตรา 13 บทบัญญัติมาตรา 12 ไม่ใช้บังคับแก่<br />

– (1) การผลิตยาซึ่งผลิตโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป้องกันหรือบําบัดโรค<br />

สภากาชาดไทย และองค์การเภสัชกรรม<br />

– (2) การผลิตยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือของผู้ประกอบ<br />

โรคศิลปะที่สั่งสําหรับคนไข้เฉพาะรายหรือตามใบสั่งยาของผู้ประกอบการบําบัด<br />

โรคสัตว์สําหรับสัตว์เฉพาะราย


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ต่อ)<br />

• มาตรา 13 บทบัญญัติมาตรา 12 ไม่ใช้บังคับแก่ (ต่อ)<br />

– (3) การขายยาสมุนไพรที่ไม่ใช่ยาอันตราย การขายยาสามัญประจําบ้าน<br />

การขายยาซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบโรคศิลปะในสาขา<br />

ทันตกรรมขายเฉพาะสําหรับคนไข้ของตนหรือการขายยาซึ่งผู้ประกอบการ<br />

บําบัดโรคสัตว์ขายยาสําหรับสัตว์ซึ่งตนบําบัดหรือป้องกันโรค หรือการขาย<br />

ยาซึ่งขายโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป้องกันหรือบําบัดโรค<br />

สภากาชาดไทย และองค์การเภสัชกรรม<br />

– (4) การนํายาติดตัวเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งไม่เกินจํานวนที่จําเป็น<br />

จะต้องใช้เฉพาะตัวได้สามสิบวัน


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม<br />

(ต่อ)<br />

• มาตรา 13 บทบัญญัติมาตรา 12 ไม่ใช้บังคับแก่(ต่อ)<br />

–(5) การนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยกระทรวง ทบวง กรม<br />

ในหน้าที่ป้องกันหรือบําบัดโรค สภากาชาดไทย และองค์การเภสัช<br />

กรรม<br />

– ผู้ได้รับการยกเว้นตาม (1) และ (5) ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ<br />

และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (<br />

ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2530)<br />

• มาตรา 79 ผู้รับอนุญาตผลิตยา หรือผู้รับอนุญาตให้นําหรือสั่งยาเข้า<br />

มาในราชอาณาจักร ผู้ใดประสงค์จะผลิตหรือนําหรือสั่งเข้ามาใน<br />

ราชอาณาจักร ซึ่งยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ต้องนําตํารับ<br />

ยานั้นมาขอขึ้นทะเบียน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่และเมื่อได้รับใบสําคัญ<br />

การขึ้นทะเบียนตํารับยาแล้ว จึงจะผลิตยาหรือสั่งเข้ามาใน<br />

ราชอาณาจักรได้


พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 และ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 5<br />

Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

พ.ศ. 2530)<br />

Administration<br />

• มาตรา 79 ทวิ บทบัญญัติมาตรา 79 ไม่ใช้บังคับแก่<br />

(1) ยาที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสําเร็จรูป ซึ่งมิใช่ยาบรรจุ<br />

เสร็จ<br />

(2) ยาสมุนไพร<br />

(3) ยาตัวอย่างที่ได้รับอนุญาตให้นําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขอขึ้น<br />

ทะเบียนตํารับยาตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง<br />

(4) ยาที่ได้รับอนุญาตให้นําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรตามหลักเกณฑ์<br />

วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประกาศ<br />

กําหนดในราชกิจจานุเบกษา


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์<br />

• ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง การกําหนดรายละเอียด<br />

เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยาแผนปัจจุบัน<br />

สําหรับยาชีววัตถุ ตามกฏหมายว่าด้วยยา พ.ศ. 2549<br />

• ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง เงื่อนไข<br />

การขึ้นทะเบียนตํารับยาวัคซีน พ.ศ. 2549


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์ (ต่อ)<br />

ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ว่าด้วยข้อกําหนด<br />

ชีววัตถุที่ใช้สําหรับมนุษย์ พ.ศ. 2543<br />

• ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ว่าด้วยการควบคุม<br />

ชีววัตถุที่ใช้สําหรับมนุษย์ก่อนออกจําหน่าย พ.ศ. 2543<br />

• ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การขึ้น<br />

ทะเบียนตํารับยาใหม่ (New <strong>Drugs</strong>) และยาสามัญใหม่ (New<br />

Generic <strong>Drugs</strong>) พ.ศ. 2547


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์ (ต่อ)<br />

• ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การขึ้น<br />

ทะเบียนตํารับยาตามข้อตกลง ASEAN Harmonization<br />

Product on Pharmaceutical Registration พ.ศ. 2551


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์ (ต่อ)<br />

• ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง<br />

คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน ที่สํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยาให้การยอมรับ พ.ศ. 2552<br />

• ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ<br />

เงื่อนไขในการนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ต้อง<br />

ขึ้นทะเบียนตํารับ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา<br />

• เรื่อง เงื่อนไขการขึ้นทะเบียนตํารับยาวัคซีน พ.ศ. 2549<br />

• กําหนดให้ผู้รับอนุญาตผลิต นําหรือสั่งยาแผนปัจจุบันฯ ต้องติดตาม<br />

ความปลอดภัยของยาโดยรายงานข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้<br />

(Adverse Events Following Immunization: AEFI) ให้สํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยาทราบตามขั้นตอนและกระบวนวิธี<br />

(Protocol) อย่างเคร่งครัด


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

ประกาศสํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา<br />

• เรื่อง การขึ้นทะเบียนตํารับยาตามข้อตกลง ASEAN Harmonization<br />

Product on Pharmaceutical Registration พ.ศ. 2551<br />

• กําหนดให้ผู้รับอนุญาตยื่นคําขอและใช้เอกสารตามหลักเกณฑ์ใหม่ที่<br />

สอดคล้องกับข้อตกลง ASEAN Harmonization โดยยาชีววัตถุให้ยื่น<br />

คําขอตามคู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตํารับยาชีววัตถุ และการยื่น<br />

เอกสารตามแบบ ASEAN Harmonization จําแนกตามประเภท<br />

ยาชีววัตถุ รวมทั้งเป็นไปตามข้อกําหนดด้าน Technical<br />

<strong>Requirements</strong>


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Pre-marketing control<br />

การกํากับดูแลก่อนออกสู่ตลาด


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

การกํากับดูแลก่อนออกสู่ตลาด<br />

• การออกใบอนุญาตผลิต นําหรือสั่งฯ ยา/วัคซีน<br />

• การอนุญาตนําหรือสั่งยา/วัคซีนเข้ามาใน<br />

ราชอาณาจักรเพื่อขึ้นทะเบียน<br />

• การขึ้นทะเบียนตํารับยา/วัคซีน


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

การออกใบอนุญาตผลิตยา/วัคซีน<br />

Manufacturing License<br />

• Approval the plant layout<br />

• Pre-licensing Inspection: premise inspection, review<br />

methods, equipment, facilities, production process<br />

and GMP compliance<br />

• Granting the manufacturing license


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Registration Procedure<br />

I. Application <strong>for</strong> produce or import drugs/vaccines sample<br />

Document reviews<br />

Approved<br />

II. Application <strong>for</strong> drugs/vaccines registration<br />

Document reviews<br />

Experts (Quality, Safety, Efficacy)<br />

Approval Revision Reject<br />

Certificate of drugs/vaccines registration<br />

Drug Committee


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

การขึ้นทะเบียนตํารับยา/วัคซีน<br />

(Product Registration)<br />

Pre-marketing evaluation of drugs/vaccines<br />

• Quality<br />

• Safety<br />

• Efficacy<br />

• Risk/benefit


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Current framework involved in regulating<br />

new vaccines<br />

in Thailand<br />

Schematic of New Vaccine Approval Process (current status)<br />

New Vaccine<br />

Application<br />

Conditional<br />

Approval<br />

(SMP <strong>for</strong> 2 yrs)<br />

Unconditional<br />

Approval<br />

Authorizing Clinical Trial<br />

: Approval the<br />

importation<br />

of investigational<br />

clinical trial materials in<br />

accordance with the<br />

Ministerial Notification<br />

No. 14 (1989)<br />

: No clinical trial<br />

inspection/audit<br />

Lot release<br />

Approval<br />

Distribution is<br />

restricted in<br />

hospital / clinic<br />

Lot release<br />

Approval<br />

Distribution<br />

through normal<br />

channels


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Importation of IND and IND-like system


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

NDA and IND<br />

NDA = New Drug Application<br />

= ยาใหม่<br />

IND = <strong>Investigational</strong> New Drug<br />

= ยาวิจัยทางคลินิก


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

การอนุญาตนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร<br />

(น.ย.ม.1)<br />

Importation of IND


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Parties involved in CT<br />

Sponsor/CRO<br />

Ethic<br />

Committee<br />

Regulator<br />

Investigators<br />

Site


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Number of <strong>Investigational</strong> Drug Import Permit<br />

Application, Thailand, 2001-2009<br />

400<br />

350<br />

300<br />

250<br />

200<br />

150<br />

100<br />

50<br />

0<br />

2001 2003 2005 2007 2009<br />

No. of <strong>Investigational</strong><br />

Drug Import Permit<br />

Application<br />

Source : Bureau of Drug control, Food and Drug Administration, Thailand


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

• ปี 2544 จัดตั้งหน่วยงานที่มีการกํากับดูแลยาที่ใช้วิจัยทางคลินิก (IND)<br />

• ปี 2546 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกําหนดหลักเกณฑ์และมาตรการการกํากับ<br />

ดูแลการผลิตหรือนําสั่งยาเพื่อการศึกษาวิจัยทางคลินิก และคณะอนุกรรมการ<br />

พิจารณาอันตรายและอาการข้างเคียงในการศึกษาวิจัยทางคลินิก<br />

• ปี 2547 ยอมรับคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรม (EC) เพิ่มขึ้น เป็นเงื่อนไข<br />

ส่วนหนึ่งในการอนุมัติให้นําหรือสั่งยาฯ เพื่อการวิจัย<br />

• ปี 2549 ประกาศสํานักงานฯ ให้กรณีที่ผลิตยาเพื่อการวิจัยให้ขออนุญาตผลิต<br />

จาก อย. และกําหนดเงื่อนไขในการอนุญาตไว้


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

<strong>Regulatory</strong> Framework of Clinical<br />

Trial (CT)<br />

• วัตถุประสงค์<br />

– คุ้มครองอาสาสมัครในการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านความปลอดภัย<br />

• ทําให้แน่ใจในคุณค่าของการวิจัยตามหลักทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งการวิจัยมี<br />

การออกแบบมาอย่างดี คํานึงถึงประเด็นด้านความปลอดภัยและด้าน<br />

จริยธรรม<br />

• ทําให้แน่ใจว่าข้อมูลน่าเชื่อถือ ซึ่งจะต้องใช้ต่อไปในการประเมินเพื่อการขึ้น<br />

ทะเบียนตํารับยา


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

ขั้นตอนการขออนุญาตทําการศึกษาวิจัยทางคลินิก<br />

Submit protocol Approved<br />

Applicants Ethics committee Applicants<br />

Submit N.Y.M.1<br />

Importation/Mfr.of IND<br />

Applicants<br />

FDA<br />

Approved<br />

Start the clinical trial


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

<strong>Regulatory</strong> Measures<br />

Inspection<br />

Import Permit<br />

<strong>for</strong> IND<br />

Accepted EC<br />

Safety Report<br />

Conditions


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Import Permit <strong>for</strong><br />

IND Drug


ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 14 พ.ศ.2532<br />

Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552<br />

Administration<br />

เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการนําหรือสั่งยาเข้ามาใน<br />

ราชอาณาจักรโดยไม่ต้องขึ้นทะเบียนตํารับยา<br />

-อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 79 ทวิ(4) แห่งพระราชบัญญัตยา พ.ศ.<br />

2510 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตยา(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2530<br />

-การนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรที่จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องขึ้น<br />

ทะเบียนตํารับยาต้องเป็นการนําเข้าเพื่อการวิจัย(น.ย.ม.1) การวิเคราะห์<br />

(น.ย.ม.2) การจัดนิทรรศการ (น.ย.ม.3) หรือการบริจาคเพื่อการกุศล (น.ย.ม.4)


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (ต่อ)<br />

• ปี 2552 แก้ไขประกาศกระทรวงฯ (ฉบับที่ 14) ให้ชัดเจนโดย<br />

กําหนดให้การนําเข้าฯยาเพื่อการวิจัยต้อง มีเอกสารอนุมัติให้<br />

ทําการวิจัย จาก EC ที่ อย. ยอมรับ<br />

• ปี 2552 กําหนดกลยุทธ์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

เปรียบเทียบเอกสารแนบตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2532)<br />

และประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552) สําหรับ น.ย.ม.1<br />

ฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2532) ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552)<br />

ฉลากทุกขนาดบรรจุ<br />

ฉลากทุกขนาดบรรจุ<br />

เอกสารกํากับยา เอกสารกํากับยา(สําหรับยาที่ขึ้นทะเบียนแล้ว)<br />

ผลการทดลองในประเทศผู้ผลิต (Clinical trial<br />

report)<br />

Certificate of Free Sale


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

เปรียบเทียบเอกสารแนบตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2532)<br />

และประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552) สําหรับ น.ย.ม.1<br />

ฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2532) ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552)<br />

รายละเอียดโครงการวิจัย<br />

รายละเอียดโครงการวิจัยฉบับสมบูรณ์<br />

เอกสารคู่มือผู้วิจัย (investigator Brochure)(<br />

สําหรับยาที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียน)<br />

เอกสารแนะนําอาสาสมัคร(Patient<br />

in<strong>for</strong>mation sheet)


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

เปรียบเทียบเอกสารแนบตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2532)<br />

และประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552) สําหรับ น.ย.ม.1<br />

ฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2532) ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552)<br />

สรุปย่อโครงการวิจัย<br />

เอกสารควบคุมคุณภาพและการผลิตยา<br />

เอกสารอนุมัติให้ทําการศึกษาวิจัยจากคณะกรรมการ<br />

พิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน ที่สํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยายอมรับ


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

ผู้มีสิทธิ์ยื่นคําขออนุญาตฯ<br />

• ผู้รับอนุญาตผลิต นําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร<br />

• กระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป้องกันบําบัดโรค<br />

• สภากาชาดไทย<br />

• องค์การเภสัชกรรม


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

เอกสาร/หลักฐานประกอบคําขออนุญาตฯ<br />

• หนังสือปะหน้า/หนังสือนําส่ง (ภาคผนวก 6)<br />

• Checklist เอกสารแนบ (ภาคผนวก 3)<br />

• แบบคําขอ น.ย.ม.1 (ท้ายภาคผนวก 2)<br />

• เอกสารกํากับยา (สําหรับยาที่ขึ้นทะเบียนตํารับยาแล้ว)<br />

• เอกสารคู่มือผู้วิจัย (Investigator Brochure) (สําหรับยาที่ยัง<br />

ไม่ได้ขึ้นทะเบียน)<br />

• เอกสารแนะนําอาสาสมัคร (Patient In<strong>for</strong>mation Sheet)<br />

(ภาษาไทย)


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

เอกสาร/หลักฐานประกอบคําขออนุญาตฯ<br />

(ต่อ)<br />

• สรุปย่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) (ภาคผนวก 7)<br />

• รายละเอียดโครงการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ภาษาไทย หรือ<br />

ภาษาอังกฤษ)<br />

• เอกสารควบคุมคุณภาพและการผลิตยา (CMC Chemical<br />

Manufacturing Control ) (ภาคผนวก 8 – 10)<br />

• CFS/CPP หรือ สําเนาใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยา<br />

• เอกสารอนุมัติให้ทําการวิจัยจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรม<br />

การวิจัยในคน (IRB/IEC) ที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้<br />

การยอมรับ<br />

• เอกสารการคํานวณยาสําหรับการใช้ในระยะเวลา 1 ปี


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

See More…<br />

คู่มือการยื่นคําขอในการนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการวิจัยทาง<br />

คลินิก (กันยายน พ.ศ. 2552) ( available online)<br />

– แบบฟอร์ม<br />

– รายละเอียดข้อกําหนดต่างๆ


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Conditions


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

(ร่าง) เงื่อนไขการอนุญาตให้นําหรือสั่งยาเข้ามาใน<br />

ราชอาณาจักรเพื่อการวิจัยทางคลินิก<br />

ผู้รับอนุญาตให้นําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการวิจัย ต้อง<br />

1. นําเข้าเฉพาะยาที่ผลิตตาม GMP<br />

2. ใช้ยาเฉพาะในการวิจัยตาม protocol ที่แนบคําขออนุญาต น.ย.ม.1<br />

จาก อย. เท่านั้น ในกรณียาเหลือต้องส่งคือหรืทําลาย พร้อมแจ้ง อย.<br />

ภายใน 30 วันทําการ นับจากวันสิ้นสุดโครงการ<br />

3. กํากับการดําเนินการวิจัยให้เป็นไปตาม GCP และ GLP<br />

4. ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการรายงานอาการไม่พึงประสงค์ ตาม<br />

เอกสารแนบท้าย


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

(ร่าง) เงื่อนไขการอนุญาตให้นําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร<br />

เพื่อการวิจัยทางคลินิก<br />

ผู้รับอนุญาตให้นําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการวิจัย ต้อง<br />

5. จัดทําและส่งรายงานสรุปการสิ้นสุด/ยุติการวิจัยตามแบบฟอร์มแนบท้าย<br />

ให้ อย. ภายใน 30 วันทําการ นับแต่วันสิ้นสุดโครงการ<br />

6. อํานวยความสะดวกแก่ จนท. อย. ในการตรวจตราการวิจัยทั้งก่อน/<br />

ระหว่าง/หลังการวิจัย<br />

7. ยินยอมให้ อย. ระงับการวิจัย และ/หรือ ระงับการใช้ยา เมื่อปรากฏว่าไม่<br />

ปลอดภัยต่ออาสาสมัคร และหรือ ผู้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขการ<br />

อนุญาต


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Accepted EC


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน<br />

– กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข<br />

– คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

– คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

– คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

– คณะเวชศาสตร์เขตร้อน<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

– กรมแพทย์ทหารบก รพ.พระมงกุฎเกล้า<br />

– คณะแพทยศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

– คณะแพทยศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

– คณะแพทยศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

– สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยใน<br />

มนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน<br />

สําหรับ HIV/AIDS vaccines ต้องได้รับการอนุญาตเพิ่มจาก<br />

คณะอนุกรรมการควบคุมการทดลองวัคซีนป้องกัน และรักษา<br />

โรคเอดส์


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administrationการดําเนินการหลังจากได้รับอนุญาต<br />

• กรณีที่ต้องขอความเห็นจากสํานักงานฯ<br />

– การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับยาวิจัย หรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆที่เกี่ยวข้อง<br />

กับคุณภาพและความปลอดภัยของยาวิจัย<br />

– Protocol Amendment ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาสาสมัคร<br />

– กรณีที่ต้องดําเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อความปลอดภัยของอาสาสมัคร ให้<br />

ดําเนินการได้ทันที และยื่นขอแก้ไขภายใน 15 วันนับจากวันที่ดําเนินการ<br />

• กรณีที่ต้องแจ้งสํานักงานฯ เพื่อทราบ<br />

– การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ไม่มีผลกระทบด้านความปลอดภัยต่ออาสาสมัคร<br />

• การรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากยาวิจัย


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Safety Report


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

การรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากยาที่ใช้ในการวิจัย<br />

มี 2 แบบได้แก่<br />

I. Expedited Report<br />

II. Annual Safety Report


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

• Expedited Report<br />

การรายงานอาการไม่พึงประสงค์<br />

– Serious Unexpected Adverse Drug Reaction (SUSAR)<br />

1. เกิดจากยาที่มิใช้ยาหลอก ในประเทศไทยที่ได้รับอนุมัติ น.ย.ม.<br />

2. เกิดจากยาตัวเดียวกับข้อ 1 ในประเทศไทยที่ไม่ได้ขอ น.ย.ม.<br />

3. เกิดจากยาตัวเดียวกับข้อ 1 ที่ได้รับการรายงานโดยสมัครใจ สิ่ง<br />

ตีพิมพ์ หรือหน่วยงานกํากับดูแลอื่น<br />

– กรณีอื่นๆ ที่มีผลต่อ Risk – Benefit Assessment หรือต่อการเปลี่ยน<br />

วิธีการใช้ยาหรือต่อการเปลี่ยนแปลงการดําเนินการวิจัยในภาพรวม


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

วิธีการรายงานอาการไม่พึงประสงค์ (ต่อ)<br />

• Serious Unexpected Adverse Drug Reaction (SUSAR)<br />

– Fatal or life-threatening : 7 วันปฏิทิน นับจากรับทราบข้อมูล<br />

ครั้งแรก และจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์ภายใน 8 วันปฏิทิน<br />

ต่อจากนั้น<br />

– Other cases : 15 วันปฏิทินหลังจากรับทราบข้อมูลในครั้งแรก<br />

และจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์โดยเร็วที่สุด<br />

– การรายงานเฉพาะราย → ระบบสารสนเทศของศูนย์เฝ้าระวังความ<br />

ปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ<br />

– อื่นๆ → ส่งรายงาน ณ กองควบคุมยา


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

วิธีการรายงานอาการไม่พึงประสงค์ (ต่อ)<br />

• Annual Safety Report<br />

– รายงานประจําปี : ภายใน 3 เดือนจากวันที่เป็นจุดตัดของ<br />

ข้อมูลความปลอดภัยประจําปี<br />

– สิ้นสุดการวิจัย : ภายใน 6 เดือน หลังจากวันสิ้นสุด<br />

โครงการวิจัย<br />

– รายงานต่อกลุ่มต่างประเทศและยาวิจัยทางคลินิก กอง<br />

ควบคุมยา


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Expedited Reporting<br />

• รายงานเริ่มต้น<br />

– ข้อมูลที่สามารถระบุตัวผู้ป่วย<br />

– ยาที่ใช้ในการวิจัย<br />

– อาการไม่พึงประสงค์หรือผลลัพธ์ที่สงสัยว่าสัมพันธุ์กับยา<br />

– แหล่งที่มาของรายงาน<br />

– รหัสโครงการวิจัย/ชื่อโครงการวิจัย<br />

– เลขที่การรายงาน


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Expedited Reporting (ต่อ)<br />

• กรณีปกปิดการรักษา<br />

– เปิดเผยรหัสการรักษาของผู้ป่วย<br />

– อาจขอยกเว้นล่วงหน้าได้ หากมีผลลัพธ์นั้นเป็นตัวเดียวกับตัววัดผล<br />

ทางประสิทธิผลหลักของการวิจัย ซึ่งอาจทําให้การวิจัยไม่สมบูรณ์<br />

• หากเหตุการณ์เกิดขึ้นหลังจากการวิจัยเสร็จสิ้นแล้ว<br />

– รายงานให้อย.ทราบภายใน 15 วันปฏิทินหลังจากรับทราบข้อมูล<br />

เป็นครั้งแรก


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Annual Safety Report รายงานความ<br />

ปลอดภัยแบบประจําปีและเมื่อสิ้นสุดการวิจัย<br />

• ประกอบด้วย<br />

– หนังสือชี้แจงความปลอดภัยของผู้ป่วยในโครงการ<br />

• การวิเคราะห์ความปลอดภัย<br />

• Risk-Benefit Assessment<br />

• ประเด็นความปลอดภัยที่พบใหม่<br />

– รายการแสดงอาการไม่พึงประสงค์จากยาชนิดร้ายแรงสําหรับ<br />

อาสาสมัครแต่ละราย<br />

– ตารางสรุปจํานวนรายงานรวมอาการไม่พึงประสงค์จากยาชนิด<br />

ร้ายแรงแยกตามคําศัพท์ (อาการ และการวินิจฉัยโรค)


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

Inspection


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

วัตถุประสงค์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

• การดําเนินการวิจัยทางคลินิกสอดคล้องกับ GCP<br />

• ตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลจากการวิจัย<br />

• ตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง เช่น ประกาศ<br />

กระทรวงฯ ประกาศสํานักงานฯ


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

ขอบเขตการตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

• ตรวจตรา ณ สถานที่ของ<br />

– แพทย์ผู้วิจัย<br />

– ผู้ให้ทุนวิจัย<br />

– บริษัทรับทําวิจัยตามสัญญา<br />

– ผู้รับอนุญาตนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการวิจัย


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

• มี 3 แบบ<br />

– ตรวจตราการวิจัยทางคลินิกก่อนเริ่มการวิจัย<br />

– ตรวจตราการวิจัยทางคลินิกระหว่างดําเนินการวิจัย<br />

– ตรวจตราการวิจัยทางคลินิกหลังจบการวิจัย


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กลยุทธ์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

• มาตรการการตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

– การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐาน GCP และกฎระเบียบที่<br />

เกี่ยวข้อง<br />

– การตรวจตราจะใช้เวลาโดยเฉลี่ย 1 สัปดาห์ โดยจะแจ้งให้ผู้รับการ<br />

ตรวจตราทราบล่วงหน้า<br />

– ยกเว้น การตรวจตราโดยไม่แจ้งให้ทราบล่วงอาจทําได้ตามความ<br />

เห็นชอบของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กลยุทธ์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

• การประเมินผลและการรายงาน<br />

– ผลการประเมิน : compliance และ non-compliance<br />

– ผู้รับการตรวจตราจะต้องชี้แจงและเสนอแนวทางแก้ไข<br />

ข้อบกพร่องที่ไม่เป็นไปตามข้อกําหนด<br />

– มีระบบการอุทธรณ์


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กลยุทธ์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

• มาตรการดําเนินการเมื่อพบการไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนด<br />

– ผู้รับการตรวจได้แก้ไข โดย จะมีการรายงานผลการตรวจตรา<br />

ไปยังสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเพื่อให้<br />

ข้อเสนอแนะและมาตรการดําเนินการต่อไป<br />

• การสืบสวนเพิ่มเติม กรณีที่พบว่ามีความเสี่ยงที่สําคัญหรือการไม่<br />

ปฏิบัติตามข้อกําหนด


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

กลยุทธ์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

แผนดําเนินการ แบ่งเป็น 2 ระยะ<br />

• ระยะแรก<br />

– สร้างความเชื่อมั่นและตรวจตราตามความสมัครใจ 1 ปี<br />

– เริ่ม 1 ตุลาคม 2552<br />

– เป็นการตรวจตราโดยความร่วมมือจากผู้ให้ทุนวิจัย หรือผู้รับ<br />

อนุญาตนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการวิจัย<br />

– เพื่อการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลจากการวิจัย


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

ผลการดําเนินการระยะแรก<br />

กลยุทธ์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

• แผนการตรวจตราการวิจัย ณ สถานที่ทําการศึกษาวิจัย<br />

– เป็นการตรวจตราโดยความร่วมมือจากผู้ให้ทุนวิจัย หรือผู้รับ<br />

อนุญาตนําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการวิจัย<br />

– สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 17-<br />

20 สิงหาคม 2553


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

• ระยะที่สอง<br />

กลยุทธ์การตรวจตราการวิจัยทางคลินิก<br />

– ช่วงที่นําไปสู่การปฏิบัติจริง<br />

– หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้<br />

• จํานวนโครงการวิจัยที่ทําวิจัย ณ สถานที่วิจัยนั้น<br />

• จํานวนอาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการวิจัยนั้น<br />

• จํานวนอาการไม่พึงประสงค์ชนิดร้ายแรงที่ไม่คาดคิดมาก่อนที่พบ ณ สถานที<br />

วิจัยนั้น<br />

• สิ่งตรวจพบจากการตรวจตรา (observations) ที่ได้จากการตรวจตราในอดีต<br />

• กรณีพิเศษ เช่น การร้องเรียน การร้องขอจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

วัตถุประสงค์ ของ IND like system<br />

• ระบบการกํากับดูแลด้านการศึกษาวิจัยทางคลินิกที่มีคุณภาพ สามารถ<br />

ประเมินได้ภายในเวลาที่เหมาะสม


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

<strong>Regulatory</strong> challenges: authorization of<br />

vaccine trials and Marketing authorization<br />

• ผู้ผลิตต่างประเทศ (สหรัฐอเมริกา) ต้องปฏิบัติตามขั้นตอน IND application สําหรับ<br />

ผลิตภัณฑ์ที่จะขายภายในประเทศ แต่ถ้าเป็นผลิตภัณฑ์สําหรับการส่งออกเท่านั้น ไม่<br />

จําเป็นต้องปฏิบัติตามขั้นตอน IND US FDA ไม่ได้พิจารณา clinical<br />

development plan ของวัคซีนใหม่<br />

• หน่วยงานกํากับดูแลยาของประเทศในสหภาพยุโรปอาจไม่ได้พิจารณา clinical trial<br />

protocol ที่ดําเนินการศึกษานอกประเทศสหภาพยุโรป


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

<strong>Regulatory</strong> challenges: authorization of vaccine trials<br />

and Marketing authorization<br />

• วัคซีนใหม่ที่กําลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาเป็นวัคซีนสําหรับโรคที่พบมากในประเทศกําลัง<br />

พัฒนา หรือพัฒนาน้อย<br />

• การพัฒนาวัคซีนภายในประเทศกําลังพัฒนา เช่นวัคซีน Influenza H1N1<br />

• ดังนั้นจะมีการศึกษาวิจัยวัคซีนเพิ่มขึ้นในประเทศที่จะใช้วัคซีน และจะมีการนําวัคซีน<br />

เหล่านั้นขึ้นทะเบียนในประเทศนั้นๆ เป็นประเทศแรกของโลก


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

<strong>Regulatory</strong> challenges:<br />

inspections of clinical trials<br />

• หน่วยงานกํากับดูแลยาของสหรัฐอเมริกา หรือ สหภาพยุโรป จะออกมาตรวจประเมิน<br />

GCP Inspection ในประเทศกําลังพัฒนาเฉพาะกรณีที่ผู้ประเมินเอกสารสําหรับการ<br />

ขึ้นทะเบียนมีความเห็นว่ามีเหตุอันควรสงสัยในข้อมูลที่ยื่นเพื่อการขึ้นทะเบียน หรือ<br />

เป็นข้อมูล Pivotal study


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

แนวทางการพัฒนา<br />

• พัฒนาระบบ IND like system และนําไปปฏิบัติ<br />

• ปรับปรุงระบบการกํากับดูแล<br />

– –การประเมิน clinical trial application<br />

– -การตรวจ GCP inspection<br />

• พัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้อง<br />

– สร้างความตระหนักถึง ปัญหา ความท้าทาย ที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยทางคลินิก<br />

– ส่งเสริมการสื่อสารและประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้สนับสนุน<br />

การวิจัย ผู้วิจัย คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรม หน่วยงานกํากับดูแล เช่น<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

แนวทางการพัฒนา<br />

• ร่วมมือกับหน่วยงานอื่น เช่น องค์การอนามัยโลก หน่วยงานกํากับดูแลยาของประเทศ<br />

อื่นๆ เช่นอาเซียน<br />

– เป็นสมาชิก DCVRN (Developing Country Vaccine Regulator's<br />

Network)<br />

Establishment: Bangkok, Thailand, 17 September 2004<br />

Mission : to promote and support the strengthening of the regulatory capacity<br />

of NRAs of participating and other developing countries <strong>for</strong> evaluation of<br />

clinical trial proposals (including preclinical data and product development<br />

processes) and clinical trial data through expertise and exchange of relevant<br />

in<strong>for</strong>mation.<br />

Member countries: RSA, India, Indonesia, Thailand, South Korea, China, Russia,<br />

Cuba, Brazil


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

PILOTING OF THE IND-LIKE PROCESS :<br />

ตัวอย่าง การพัฒนา Pandemic Live Attenuated Influenza vaccine<br />

(PLAIV) (H1N1) By Local manufacturer<br />

• Pre IND Meeting between NRA and sponsor/manufacturer<br />

– Product description/product characteristic<br />

– Preclinical data<br />

• IND Meeting Prior to Phase I-II :<br />

– Pre-clinic and Clinical lot production<br />

– Clinical Trial Protocol Development (objectives, design,<br />

number of subject, schedule)<br />

• Dossier <strong>for</strong> registration MA


Thailand<br />

Food &<br />

Drug<br />

Administration<br />

ขอบคุณค่ะ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!