11.04.2014 Views

3. โครงสร้างของของแข็งผลึก

3. โครงสร้างของของแข็งผลึก

3. โครงสร้างของของแข็งผลึก

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บทที 3 โครงสร้ างของของแข็งผลึก ผศ.ดร.สุภาสินี ลิมปานุภาพ ซีท<br />

รูปที <strong>3.</strong>3 แสดงยูนิตเซลล์แบบ BCC คือมีอะตอมหนึงอยู่ตรงกลางของยูนิตเซลล์แบบคิวบิก และ<br />

เนืองจากยูนิตเซลล์แบบคิวบิกมีด้านทุกๆด้านยาวเท่ากัน ในทีนี กําหนดให้เป็ น 1 หน่วย และกําหนดให้มุม<br />

ล่างด้านในของยูนิตเซลล์อยู่ทีจุดเริมต้น (0, 0, 0) ดังนั นจะได้ว่าจุดทีฝาด้านล่างของยูนิตเซลล์ตัดแกน x<br />

และ y คือ (1, 0, 0) และ (0, 1, 0) ตามลําดับ ใช้หลักการเดียวกันในการพิจารณาจะสามารถหาตําแหน่ง<br />

ตรงมุมของยูนิตเซลล์ได้ครบทุกตําแหน่ง ตําแหน่งสุดท้ายทีพิจารณาคือตําแหน่งตรงกลางของยูนิตเซลล์<br />

เนืองจากอยู่ตรงกลางแสดงว่าอยู่ทีตําแหน่งกึงกลางของความยาวแต่ละด้าน ดังนั นพิกัดตําแหน่งสุดท้ายนี <br />

คือ<br />

⎛<br />

⎜<br />

⎝<br />

1<br />

,<br />

2<br />

1 1<br />

,<br />

⎞<br />

⎟<br />

2 2 ⎠<br />

<strong>3.</strong><strong>3.</strong>2 ทิศทางในยูนิตเซลล์<br />

การระบุทิศทางในยูนิตเซลล์มีความสําคัญ เนืองจากสมบัติบางอย่างของวัสดุนั นขึ นกับทิศทาง<br />

ยกตัวอย่างเช่นเหล็กทีมีโครงสร้างแบบ BCC จะมีค่ามอดูลัสความยืดหยุ่น (elastic modulus) ในทิศทาง<br />

ขนานเส้นทแยงมุมผ่านยูนิตเซลล์มากกว่าในทิศทางตามขอบของยูนิตเซลล์ หรืออํานาจแม่เหล็กจะผ่าน<br />

ออกมามากทีสุดในทิศทางขนานกับขอบของยูนิตเซลล์ เป็ นต้น ดังนั นจึงจําเป็นต้องระบุทิศทางในยูนิต<br />

เซลล์ให้ถูกต้อง ดัชนีทีใช้ในการแสดงทิศทางเรียกว่า ดัชนีมิลเลอร์ (Miller Index) เขียนแสดงได้โดยใช้<br />

ชุดตัวเลขสามตัวในวงเล็บใหญ่ [ ] สําหรับโครงสร้างผลึกทัวไป เช่น ทิศทาง [100] และ [011] เป็ นต้น และ<br />

ชุดตัวเลขสีตัวในวงเล็บใหญ่ สําหรับโครงสร้างผลึกแบบเฮกซะโกนอล เช่น [1100] และ [0111] เป็ นต้น<br />

<strong>3.</strong><strong>3.</strong>2.1 วิธีการหาดัชนีมิลเลอร์ของทิศทาง<br />

ดัชนีมิลเลอร์ของทิศทาง มีขั นตอนในการหาดังนี <br />

1) หาตําแหน่งของจุดสองจุดทีอยู่ในทิศทางทีกําหนด<br />

2) ใช้ตําแหน่งจุดปลาย ลบด้วยตําแหน่งจุดเริมต้น<br />

3) ทําให้เป็ นตัวเลขลงตัวน้อยๆ<br />

4) เขียนตัวเลขทีได้เรียงติดกันในวงเล็บ [ ] โดยไม่มีเครืองหมาย , มาคัน<br />

ถ้าตัวเลขทีได้ติดลบ ให้ขีดเส้นไว้เหนือตัวเลขนั น<br />

ยกตัวอย่างการหาทิศทางในรูปที <strong>3.</strong>4 จะได้ว่าจุดเริมต้นของทิศทางคือ (0, 0, 0) และจุด<br />

ปลายของทิศทางคือ (1, 0, 1) ดังนั นเมือนํามาลบกันจะได้ (1, 0, 1) – (0, 0, 0) = (1, 0, 1) ชุดตัวเลขทีได้<br />

เป็ นตัวเลขลงตัวค่าน้อยๆอยู่แล้ว ดังนันสามารถนําไปเขียนเรียงกันในวงเล็บ จะได้ดัชนีทีใช้บอกทิศทางนี <br />

เป็ น [101]<br />

~ 34 ~

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!