12.07.2015 Views

รายงานประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ Annual Report 2012 - สำนักงานนโยบายและ ...

รายงานประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ Annual Report 2012 - สำนักงานนโยบายและ ...

รายงานประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๕ Annual Report 2012 - สำนักงานนโยบายและ ...

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.<strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


สารเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้มีการก่อตั้งขึ้นเมื่อปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๑๘ โดยใช้ชื่อว่า สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (วล.) ภายใต้สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ต่อมาได้ย้ายมาสังกัดกระทรวงวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ เทคโนโลยีและการ<strong>พ</strong>ลังงาน เมื่อปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๒๒ และปัจจุบันสำนักงานฯ เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางสังกัดกระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีภารกิจหลักในการกำหนดนโยบาย แผนมาตรการการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามอำนาจหน้าที่รับผิดชอบที่กำหนดไว้ใน<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๕ประสบการณ์ที่ผ่านมาไม่น้อยกว่า ๓๗ ปี สำนักงานฯ ได้มีการจัดทำนโยบาย แผนและมาตรการ เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างดุลยภา<strong>พ</strong>ของระบบนิเว<strong>ศ</strong> ความอุดมสมบูรณ์ของทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมที่ดีมีคุณภา<strong>พ</strong>ต่อชีวิตอย่างจริงจัง ซึ่งต้องอา<strong>ศ</strong>ัยกลยุทธ์ และเครื่องมือการบริหารจัดการที่หลากหลายมิติ มีมุมมองรอบด้าน เ<strong>พ</strong>ื่อเชื่อมต่อและบูรณาการอย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ทั้งในเชิงเ<strong>ศ</strong>รษฐ<strong>ศ</strong>าสตร์ วิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์ สังคม<strong>ศ</strong>าสตร์ ภูมิ<strong>ศ</strong>าสตร์ และสาขาวิทยาการด้านต่าง ๆจนถึงขณะนี้มีผลงานเป็นที่ประจักษ์แล้วมากมายและเห็นผลในทางปฏิบัติทั้งในระดับโลก ระดับภูมิภาค ระดับประเท<strong>ศ</strong> และระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่ความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยในการสร้างสรรค์ความยั่งยืนให้กับทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและความมั่นคงด้านสิ่งแวดล้อมนี้ สำนักงานฯ จะขอยึดมั่นและปฏิบัติงานเ<strong>พ</strong>ื่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong>อย่างยั่งยืน รักษาฐานทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมที่น่าอยู่ และเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูนความผาสุกให้กับประชาชนสืบต่อไปนายสันติ บุญประคับเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีนาคม ๒๕๕๖


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสารบัญสารเลขาธิการ ๓ข้อมูลภา<strong>พ</strong>รวมองค์กร ๗วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์, <strong>พ</strong>ันธกิจ, เป้าประสงค์ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ๘คณะผู้บริหาร ๙โครงสร้างองค์กร ๑๔อำนาจหน้าที่ ๑๕อัตรากำลัง ๑๖งบประมาณและผลการใช้จ่าย ๑๘ระบบการตรวจสอบภายใน ๒๐ผลการปฏิบัติราชการ ๒๑ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ๒๒ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ๒๖๑. การจัดทำนโยบาย แผน มาตรการ และการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ๒๖๒. การ<strong>พ</strong>ัฒนาและเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>กระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ๔๒๓. การบริหารจัดกองทุนสิ่งแวดล้อม ๔๖๔. การ<strong>ศ</strong>ึกษา วิจัย และการสร้างองค์ความรู้ ๕๓๕. ความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong> ๖๘๖. การติดตามประเมินผลนโยบาย แผน และมาตรการต่างๆ ๗๗๗. การ<strong>พ</strong>ัฒนา ปรับปรุงกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ๘๓๘. ระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๘๕๙. การดำเนินการด้านกฎหมาย และเรื่องราวร้องทุกข์ ๘๙๑๐. ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการระดับชาติ ๙๑๑๑. การ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะบุคลากร ๙๘


สารบัญรายงานการเงิน ๙๙ภารกิจ<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ ๑๐๗ภาคผนวก ๑๑๑รายชื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ๑๑๒เอกสารเผยแ<strong>พ</strong>ร่ การจัดทำสื่อสิ่ง<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ต่าง ๆ ๑๑๕หมายเลขโทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ โทรสาร ของผู้บริหาร สำนัก และกอง ๑๑๙คำสั่งคณะทำงานจัดทำรายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ๑๒๕


ข้อมูลภา<strong>พ</strong>รวมองค์กร


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์เป็นหน่วยงานหลักในการกำหนดและขับเคลื่อนนโยบายและแผนบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับความเชื่อมั่นจากทุกภาคส่วนเ<strong>พ</strong>ื่อนำไปสู่การ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน<strong>พ</strong>ันธกิจจัดทำนโยบายและแผนแบบบูรณาการ เสนอแนะมาตรการและกลไกในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการประสานเ<strong>พ</strong>ื่อนำไปสู ่การปฏิบัติ และเ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองต่อภารกิจตามแนวนโยบายในรัฐธรรมนูญ นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน <strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ชาติ และยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป้าประสงค์ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์มีการกำหนดและปรับปรุงนโยบาย แผน และมาตรการในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ทันต่อเหตุการณ์ เป็นที่ยอมรับร่วมกันสามารถนำไปปฏิบัติที่จะก่อให้เกิดผลในการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong>อย่างยั่งยืนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องรับรู ้และเข้าใจในนโยบาย แผน และมาตรการการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่จัดทำขึ้น และสามารถนำนโยบาย แผน และมาตรการไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และประสิทธิผลทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีเครื่องมือและองค์ความรู้ที่ทันสมัย และเอื้อต่อการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบุคลากรของสำนักงานฯ สามารถปฏิบัติหน้าที่และบริหารจัดการภายในได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>บูรณาการและสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลและวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี8


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGคณะผู้บริหารนายสุ<strong>พ</strong>ัฒน์ หวังวง<strong>ศ</strong>์วัฒนาเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ตั้งแต่วันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ มีนาคม <strong>๒๕๕๕</strong>)นายวิจารย์ สิมาฉายาเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ตั้งแต่วันที่ ๒๘ <strong>พ</strong>ฤษภาคม – ๑๘ ตุลาคม <strong>๒๕๕๕</strong>)นายสันติ บุญประคับเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ตั้งแต่วันที่ ๑๙ ตุลาคม <strong>๒๕๕๕</strong> – ปัจจุบัน)9


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคณะผู้บริหารนายสันติ บุญประคับรองเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ตั้งแต่วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๒ - ๑๗ <strong>พ</strong>ฤษภาคม <strong>๒๕๕๕</strong>)นางสาวอาระยา นันทโ<strong>พ</strong>ธิเดชรองเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ตั้งแต่วันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๒ - ๑๔ มิถุนายน <strong>๒๕๕๕</strong>)นายน<strong>พ</strong>ดล ธิยะใจรองเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม10


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGคณะผู้บริหารนาย<strong>พ</strong>ง<strong>ศ</strong>์บุณย์ ปองทองรองเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ตั้งแต่วันที่ ๓๐ กรกฎาคม <strong>๒๕๕๕</strong> – ปัจจุบัน)นางรวีวรรณ ภูริเดชรองเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ตั้งแต่วันที่ ๓๐ กรกฎาคม <strong>๒๕๕๕</strong> – ปัจจุบัน)11


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคณะผู้บริหารนางอุษา เกียรติชัย<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ัฒน์ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาตินางปิยนันท์ โ<strong>ศ</strong>ภนคณาภรณ์ผู้อำนวยการสำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมนางสาวสุชญา อัมราลิขิตผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อมนางสิริกุล บรร<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ง<strong>ศ</strong>์ผู้อำนวยการกองติดตามประเมินผลรักษาราชการหัวหน้าฝ่ายความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>นายสม<strong>ศ</strong>ักดิ์ บุญดาวผู้อำนวยการกองประสานการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม12


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGคณะผู้บริหารนางรัชวดี <strong>ศ</strong>รีประ<strong>พ</strong>ัทธ์ผู้อำนวยการกองสิ่งแวดล้อมชุมชนและ<strong>พ</strong>ื้นที่เฉ<strong>พ</strong>าะนางดวงมาลย์ สินธุวนิชผู้อำนวยการกองอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ<strong>ศ</strong>ิลปกรรมนาง<strong>พ</strong>วงทิ<strong>พ</strong>ย์ โหมดหิรัญผู้อำนวยการกองบริหารจัดการที่ดินนางสาวชิดชนก <strong>พ</strong>ุทธประเสริฐเลขานุการกรมนางนิรวาน <strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ิธสมบัติช่วยปฏิบัติราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>13


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงสร้างองค์กร<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานเลขานุการกรมสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติสำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อมสำนักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ฝ่ายความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>*กองประสานการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกองอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ<strong>ศ</strong>ิลปกรรมกองสิ่งแวดล้อมชุมชนและ<strong>พ</strong>ื้นที่เฉ<strong>พ</strong>าะกองบริหารจัดการที่ดินกองติดตามประเมินผลกลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหารกลุ่มงานนิติการหน่วยตรวจสอบภายใน14หมายเหตุ * อยู่ในระหว่างการปรับโครงสร้าง


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๕ และ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> สำนักงานฯ มีภารกิจเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม โดยเสนอแนะนโยบายและแผนการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งประสานการจัดการเ<strong>พ</strong>ื่อนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ตลอดจนติดตามตรวจสอบมาตรการและเงื่อนไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเ<strong>พ</strong>ื่อสร้างความเข้มแข็งด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจของประเท<strong>ศ</strong>และสนับสนุนการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนและคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตที่ดี รวมทั้งดำเนินการด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>และประสานความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>กับหน่วยงานทั้งภายในประเท<strong>ศ</strong>และต่างประเท<strong>ศ</strong> โดยให้มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้n จัดทำนโยบายและแผนการอนุรักษ์และบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมn ประสานและจัดทำแผนการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และดำเนินการอื่นให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประสานการจัดการเ<strong>พ</strong>ื่อนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมn <strong>ศ</strong>ึกษา วิเคราะห์ ประสาน และกำหนดมาตรการ เ<strong>พ</strong>ื่อดำเนินการให้มีการประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมn ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบาย แผน และมาตรการ และจัดทำรายงานสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมn ดำเนินการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการหรือกิจกรรมของภาครัฐหรือภาคเอกชน ซึ่งมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดผลเสียหายต่อคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมn บริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนนโยบาย แผน และมาตรการและการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทุกภาคส่วนn เสนอความเห็นเ<strong>พ</strong>ื่อประกอบการ<strong>พ</strong>ิจารณาในการกำหนดนโยบายและแนวทางการบริหารที่ดินการวางแผนการถือครองที่ดิน การสงวนและ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดินเ<strong>พ</strong>ื่อจัดให้แก่ประชาชน และการสงวนหรือหวงห้ามที่ดินของรัฐn ประสานความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเท<strong>ศ</strong>และต่างประเท<strong>ศ</strong> ในการดำเนินการร่วมด้านนโยบายและแผนการอนุรักษ์และบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมn เสนอความเห็นเ<strong>พ</strong>ื่อประกอบการ<strong>พ</strong>ิจารณาในการกำหนดนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ไทย โดยการกักเก็บและการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทั้ง<strong>ศ</strong>ึกษา วิจัย และ<strong>พ</strong>ัฒนาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>n ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน หรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย15


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอัตรากำลังอัตรากำลังประจำปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>สำนักงานฯ มีอัตรากำลังรวมทั้งสิ้น ๕๐๘ คน ประกอบด้วยข้าราชการ ลูกจ้างประจำ <strong>พ</strong>นักงานราชการ<strong>พ</strong>นักงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ลูกจ้างโครงการ และ<strong>พ</strong>นักงานจ้างเหมาจำนวน(คน)๓๐๐๒๕๐๒๐๐๑๕๐๑๐๐๕๐๐ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ <strong>พ</strong>นักงานราชการ<strong>พ</strong>นักงานกองทุนสิ่งแวดล้อมลูกจ้างโครงการ/<strong>พ</strong>นักงานจ้างเหมาn จำนวน(คน) ๒๕๕ ๒๐ ๑๒๓ ๒๔ ๘๐อัตรากำลังข้าราชการข้าราชการของสำนักงานฯ ประกอบด้วยตำแหน่งบริหาร จำนวน ๔ คน ตำแหน่งอำนวยการ จำนวน๙ คน ตำแหน่งวิชาการ จำนวน ๒๑๖ คน และตำแหน่งทั่วไป จำนวน ๒๖ คนจำนวน (คน)๑๒๐๑๐๐๘๐๖๐๔๐๒๐๐สูง ต้น สูง ต้น ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษชำนาญการปฏิบัติการอาวุโสชำนาญงานบริหาร อำนวยการ วิชาการ ทั่วไปn จำนวน(คน) ๒ ๓ ๓ ๖ ๖๐ ๓๐๓ ๕๕ ๓ ๑๒ ๑๐ปฏิบัติงาน16


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGแผนผังความเชื่อมโยงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> :<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๕ การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับชาติระดับกระทรวงระดับหน่วยงานประเด็นนโยบายตามแผนบริหารราชการแผ่นดินเป้าประสงค์เชิงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์เป้าหมายการให้บริการกระทรวงตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์กระทรวงเป้าหมายการให้บริการหน่วยงานตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายกลยุทธ์หน่วยงานผลผลิตตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย๕.๑ การอนุรักษ์และบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ ๕.๒ การจัดการสิ่งแวดล้อมฐานทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติมีการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม และความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>มีความยั่งยืนกลุ่มเป้าหมายมีการนำเครื่องมือ กลไก และฐานข้อมูลมาใช้อนุรักษ์คุ้มครองและ<strong>พ</strong>ัฒนาการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืน๑) จำนวนเครื่องมือ กลไกในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (๑๖ เรื่อง)๒) จำนวนระบบฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ระดับประเท<strong>ศ</strong>ที่ให้บริการผ่านเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong> (๑ ระบบ)๓) ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าไม้มีข้อมูลตามเป้าหมายที่กำหนด (๕ ด้าน)ข้อ ๒ สร้างความมั่นคงของระบบนิเว<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนภาคีการ<strong>พ</strong>ัฒนาใช้เครื่องมือ กลไก และฐานข้อมูลในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างเป็นระบบเครื่องมือ กลไก และฐานข้อมูลที่ดำเนินงานแล้วเสร็จในปีงบประมาณที่ผ่านมาได้รับการผลักดันไปสู่การปฏิบัติ/ถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมาย (ร้อยละ ๗๐)๑. จัดทำแผน หรือนโยบาย มาตรการ แนวทาง ในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับประเท<strong>ศ</strong> และระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง๒. สร้างกลไกและ<strong>พ</strong>ันธมิตรในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทุกระดับ เ<strong>พ</strong>ื่อขับเคลื่อนนโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ๑. เครื่องมือ กลไกในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>กิจกรรมหลัก๑.๑ <strong>พ</strong>ัฒนาเครื่องมือ กลไก และฐานข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และการอนุวัตอนุสัญญา๑.๒ <strong>พ</strong>ัฒนาเครื่องมือและกลไกเ<strong>พ</strong>ื่อการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ๑.๓ <strong>พ</strong>ัฒนาเครื่องมือและกลไกเ<strong>พ</strong>ื่อการบริหารจัดการลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาโครงการถ่ายโอนการสนับสนุนแผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดกิจกรรมหลัก๓.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงปริมาณ : จำนวนเครื่องมือ กลไกในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (๑๖เรื่อง)เชิงคุณภา<strong>พ</strong> : เครื่องมือและกลไกที่จัดทำขึ้นมีการบูรณาการและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ร้อยละ ๘๐)เชิงเวลา : เครื่องมือและกลไกสามารถดำเนินการได้ตามระยะเวลาที่กำหนดในแผนปฏิบัติงาน (ร้อยละ ๗๕)เชิงค่าใช้จ่าย : เครื่องมือและกลไกสามารถดำเนินการได้สำเร็จภายใต้วงเงินงบประมาณที่ได้รับ (๑๑๔.๙๓๐๖ล้านบาท)ผู ้ประกอบการและผู ้บริโภคปรับ<strong>พ</strong>ฤติกรรมการผลิตและบริโภคการผลิตและบริโภคให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทุกภาคส่วนสามารถนำกลไกไปใช้ในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>๑) จำนวนหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชนที่ได้รับการบริหารและอำนวยการ (๑๐๙ หน่วยงาน)๒) จำนวนเครื่องมือ กลไก ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมที่สามารถปฏิบัติได้ (๑๔ เรื่อง)๓) ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีการปรับ<strong>พ</strong>ฤติกรรมในการผลิต การบริการและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ ๓๐)ข้อ ๗ <strong>พ</strong>ัฒนาเครื่องมือและกลไกในการดูแลรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมและการจัดการมล<strong>พ</strong>ิษภาคีการ<strong>พ</strong>ัฒนา ใช้เครื่องมือและกลไกการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ และมีบูรณาการในการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากา<strong>ศ</strong>นโยบาย แผน และมาตรการที่ดำเนินงานแล้วเสร็จในปีที่ผ่านมาได้รับการผลักดันไปสู่การปฏิบัติ/ถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมาย (ร้อยละ ๗๐)๑. จัดทำแผน หรือนโยบาย มาตรการ แนวทาง ในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับประเท<strong>ศ</strong>และระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง๒. สร้างกลไกและ<strong>พ</strong>ันธมิตรในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทุกระดับ เ<strong>พ</strong>ื่อขับเคลื่อนนโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ๓. สร้างองค์ความรู ้ การวิจัยและ<strong>พ</strong>ัฒนา <strong>พ</strong>ัฒนาฐานข้อมูล และปรับปรุงระบบเชื่อมโยงข้อมูลภายในให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>๔. <strong>พ</strong>ัฒนาและเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>บุคลากรและองค์กรให้มีความ<strong>พ</strong>ร้อมในการปฏิบัติงาน๕. ปรับเปลี่ยนกระบวนทั<strong>ศ</strong>น์ ค่านิยม และหล่อหลอมวัฒนธรรมใหม่ เ<strong>พ</strong>ื่อให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong> และขยายผลเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่ยั่งยืน๒. เครื่องมือและกลไกการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากา<strong>ศ</strong>กิจกรรมหลัก๒.๑ <strong>พ</strong>ัฒนาเครื่องมือและกลไกในการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากา<strong>ศ</strong>และการอนุวัตอนุสัญญา๒.๒ <strong>พ</strong>ัฒนาระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม๒.๓ <strong>พ</strong>ัฒนาเครื่องมือและกลไกในการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมเชิงปริมาณ : จำนวนเครื่องมือ กลไกในการบริหารจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม(๑๔ เรื่อง)เชิงคุณภา<strong>พ</strong> : เครื่องมือและกลไกที่จัดทำขึ้นมีการบูรณาการและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ร้อยละ ๘๐)เชิงเวลา : เครื่องมือและกลไกสามารถดำเนินการได้ตามระยะเวลาที่กำหนดในแผนปฏิบัติงาน (ร้อยละ ๗๕)เชิงค่าใช้จ่าย : เครื่องมือและกลไกสามารถดำเนินการได้สำเร็จภายใต้วงเงินงบประมาณที่ได้รับ (๑๗๔.๓๕๙๓ ล้านบาท)เชิงปริมาณ : แผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดให้การสนับสนุน อปท. ดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อม (๑ เรื่อง)เชิงคุณภา<strong>พ</strong> : ประชาชน/อปท. มีความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจในการจัดการสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด (ร้อยละ ๗๐)เชิงเวลา : แผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดสามารถดำเนินการได้ตามระยะเวลาที่กำหนดในแผนการปฏิบัติงาน (ร้อยละ ๗๐)เชิงค่าใช้จ่าย : แผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดสามารถดำเนินการได้สำเร็จภายใต้วงเงินที่ได้รับ(๑๒๖.๕๘๓๘ ล้านบาท)17


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมงบประมาณและผลการใช้จ่ายงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> สำนักงานฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นวงเงินทั้งสิ้น ๔๑๕.๘๗ ล้านบาทโดยจำนวนงบประมาณดังกล่าวได้ดำเนินการภายใต้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนี้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๒ สร้างความมั่นคงของระบบนิเว<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนผลผลิต : เครื่องมือ กลไกการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> จำนวน๑๑๔.๙๓๐๖ ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๖๓ ของผลผลิตทั้งหมด)ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๗ <strong>พ</strong>ัฒนาและปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ผลผลิต : เครื่องมือและกลไกการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากา<strong>ศ</strong> จำนวน ๓๐๐.๙๔ ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๔๓ ของผลผลิตทั้งหมด)(โครงการถ่ายโอนการสนับสนุนแผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดจำนวน๑๒๖.๕๘๓๘ ล้านบาท)หมวดรายจ่ายได้รับจัดสรร (ล้านบาท)ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๒ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๗ รวมงบบุคลากร ๓๘.๕๙ ๗๒.๐๗ ๑๑๐.๖๖งบดำเนินงาน ๑๙.๘๖ ๖๐.๗๘ ๘๐.๖๔งบลงทุน - -งบอุดหนุน ๑๔.๑๓ ๑๒๙.๑๙ ๑๔๓.๓๑งบรายจ่ายอื่น ๔๒.๓๕ ๓๘.๘๘ ๘๑.๒๒รวม ๑๑๔.๙๓ ๓๐๐.๙๔ ๔๑๕.๘๓18


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGผลการเบิกจ่ายงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> สำนักงานฯ ได้มีการเบิกจ่ายงบประมาณ ดังนี้(ล้านบาท)๔๕๐๔๐๐๓๕๐๓๐๐๒๕๐๒๐๐๑๕๐๑๐๐๕๐งบประมาณที่ได้รับจัดสรรผลการเบิกจ่ายเงินกันเหลื่อมปี๐รวม งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น2 3 4 5 6งบประมาณที่ได้รับจัดสรร(ล้านบาท)ผลการเบิกจ่าย(ล้านบาท)เงินกันเหลื่อมปี(ล้านบาท)รวม งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น๔๑๕.๘๖ ๑๑๐.๖๗ ๘๐.๖๔ ๐ ๑๔๓.๓๒ ๘๑.๒๓๒๓๗.๑๓ ๑๐๙.๕๕ ๖๙.๕๙ ๐ ๑๔.๕๒ ๔๓.๔๗๔๘.๘๑ ๐ ๑๑.๐๕ ๐ ๐ ๓๗.๗๖ร้อยละผลการเบิกจ่ายงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> เปรียบเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่ายของรัฐบาลร้อยละ19


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระบบการตรวจสอบภายในการประเมินการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๔ โดยผลการประเมินการควบคุมภายในของสำนักงานฯ <strong>พ</strong>บว่าการควบคุมภายในมีความเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อเหมาะสม แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญ ดังนี้๑. การบริหารงานด้านงบประมาณยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายภา<strong>พ</strong>รวมเป็นรายไตรมาสตามมติคณะรัฐมนตรี๒. สำนักงานฯ มีสารสนเท<strong>ศ</strong>และการสื่อสารเ<strong>พ</strong>ื่อให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มากยิ่งขึ้น ควรดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>อย่างต่อเนื่อง และการรายงานสำหรับการบริหารและตัดสินใจของผู้บริหารให้มากขึ้นผลการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(E-Auction)การดำเนินการหาตัวผู้รับจ้างโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ การจ้างเหมา<strong>พ</strong>นักงานขับรถยนต์ประจำปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ผลการตรวจสอบปรากฏข้อสังเกต ดังนี้๑. คุณสมบัติของผู้รับจ้างในเรื่องการนำผลงานในการรับจ้างงานมายื่นต่อสำนักงานฯ มีคุณสมบัติเงื่อนไขการจ้างเหมา<strong>พ</strong>นักงานขับรถยนต์ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขตามรายละเอียดคุณสมบัติทั่วไป ข้อกำหนดและเงื่อนไขการจ้างเหมา<strong>พ</strong>นักงานขับรถยนต์ สำนักงานฯกำหนดผู้เสนอราคาต้องมีคุณสมบัติ “มีผลงานในการรับจ้างงานให้บริการ<strong>พ</strong>นักงานขับรถยนต์กับส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่เชื่อถือได้ (สัญญาเดียว) ติดต่อกันมาไม่น้อยกว่า ๒ ปี โดยมีมูลค่าผลงานไม่ต่ำกว่า ๑ล้านบาท” แต่หนังสือรับรองผลงานของผู้รับจ้าง ที่นำมารับรองผลงานมีจำนวน ๒ ฉบับ คือ หนังสือรับรองฉบับแรกระยะเวลาการดำเนินการ ๑๕ เดือน และฉบับที่ ๒ ระยะเวลาการดำเนินการ ๑ ปี ๗ เดือน ตามลำดับ๒. จากการชี้แจงของคณะกรรมการจัดจ้างกรรมการและเลขานุการอาจสรุปสาระสำคัญได้ว่าคณะกรรมการเข้าใจว่าสัญญาเดียวกัน หมายถึงการที่สัญญานั้น ๆ มีคู่สัญญาเป็นรายเดียวกัน แม้ว่าเลขสัญญาจะเป็นคนละฉบับกันก็ตาม คณะกรรมการก็จะถือว่าเป็นสัญญาเดียวกันข้อเสนอแนะ คณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงานประกวดราคาจ้าง ควรกำหนดเงื่อนไขการจ้างเหมาในกรณีคุณสมบัติของผู้เสนอราคาที่เกี่ยวกับการรับจ้างเหมาของทางราชการ หรือรัฐวิสาหกิจให้สอดคล้องกับการทำสัญญาจ้างของทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจด้วยที่ปกติจะทำสัญญาปีต่อปี นอกจากนี้หากคณะกรรมการการจัดทำร่าง TOR เห็นว่าการกำหนดคุณสมบัติใดที่มีลักษณะเป็นการใช้ถ้อยคำทางกฎหมาย ก็ควรจะหารือฝ่ายกฎหมายให้ได้ข้อยุติเสียก่อนว่าถ้อยคำดังกล่าวเหมาะสมหรือไม่อย่างไร เ<strong>พ</strong>ื่อไม่ให้เกิดปัญหาในการแปลความหมาย และเ<strong>พ</strong>ื่อที่คณะกรรมการเปิดซองจะได้ปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด20


ผลการปฏิบัติราชการ


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการหน่วยวัด น้ำหนัก(ร้อยละ)เกณฑ์การให้คะแนน๑ ๒ ๓ ๔ ๕ผลการดำเนินงานผลการดำเนินงานค่าคะแนนที่ได้๒ ระดับความสำเร็จของร้อยละ ๑๐.๐๐ ๒.๘๕๑๙ ๐.๒๙๔๐เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๑ การป้องกันและ ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕แก้ไขปัญหายาเส<strong>พ</strong>ติดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๒ ความมั่นคง ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ชายแดนภาคใต้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๓ การป้องกันและ ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔บรรเทาอุบัติภัยทางถนนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๔ สิ่งแวดล้อม ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๒.๐๐ ๒.๐๐๐(คุณภา<strong>พ</strong>น้ำ)ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๕ สิ่งแวดล้อม ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓.๗๐ ๓.๗๐๓๗(คุณภา<strong>พ</strong>อากา<strong>ศ</strong>และหมอกควัน)ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๖ ข้าวไทย ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๗ <strong>พ</strong>ลังงานผสม ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕(เอทานอล)ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๘ เอดส์ ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕(การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี)ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๙ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การปรับปรุงบริการเ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจของประเท<strong>ศ</strong> (Doing Business)ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕๓ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ ่มภารกิจ๔ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของกรมหรือเทียบเท่า๔.๑ ระดับความสำเร็จของการประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่ชายฝั ่งทะเลจ.ประจวบคีรีขันธ์คะแนนถ่วงน้ำหนักเป็นส่วนราชการไม่สังกัดกลุ ่มภารกิจ จึงไม่มีตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ ่มภารกิจ๒๕.๐๐ ๔.๔๔๗๔ระดับ ๗.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓.๕๐ ๓.๕๐๐๐ ๐.๒๕๒๖23


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการหน่วยวัด น้ำหนัก(ร้อยละ)เกณฑ์การให้คะแนน๑ ๒ ๓ ๔ ๕ผลการดำเนินงานผลการดำเนินงานค่าคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้ำหนัก๔.๒ ระดับความสำเร็จของร้อยละ ระดับ ๖.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๔.๔๕ ๔.๔๔๗๔ ๐๒.๗๕๑เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนและมาตรการ กลไก และข้อเสนอแนะ เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๓ ร้อยละของโครงการที่มีผลกระทบ ร้อยละ ๖.๐๐ ๖๐.๐๐ ๗๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๙๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๓๐๙๓สูง มีการดำเนินการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่ระบุไว้ใน EIAและสามารถลดผลกระทบตามที่ระบุไว้๔.๔ ระดับความสำเร็จของการจัดทำ ระดับ ๖.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕.๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๓๐๙๓ท่าที/เอกสาร เ<strong>พ</strong>ื่อประกอบการประชุมตาม<strong>พ</strong>ันธกรณีที่สำคัญ๕ ร้อยละของระดับความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจ ร้อยละ ๗.๐๐ ๖๕.๐๐ ๗๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ๘๕.๐๐ ๘๐.๘๒ ๔.๑๖๔๐ ๐.๓๐๐๕ของผู ้รับบริการ๖ ร้อยละของระดับความ<strong>พ</strong>ึง<strong>พ</strong>อใจ ร้อยละ ๖๕.๐๐ ๗๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ๘๕.๐๐ ยกเลิกตามมติ อ.ก.<strong>พ</strong>.ร.ของผู ้กำหนดนโยบายมิติภายใน ๓๐.๐๐ ๒.๙๘๕๒๗ ระดับความสำเร็จของการจัดทำ ระดับ ๓.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕.๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๑๕๔๖ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต๘ ร้อยละความสำเร็จของการเบิก ร้อยละ ๒.๕๐ ๘๕.๐๐ ๘๗.๕๐ ๙๐.๐๐ ๙๒.๕๐ ๙๕.๐๐ ๖๕.๓๔ ๑.๐๐๐๐ ๐.๐๒๕๘จ่ายเงินงบประมาณตามแผน๙ ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ร้อยละ ๑.๐๐ ๗๐.๐๐ ๗๑.๐๐ ๗๒.๐๐ ๗๓.๐๐ ๗๔.๐๐ ๐.๒๕ ๑.๐๐๐๐ ๐.๐๑๐๓รายจ่ายลงทุน๑๐ ร้อยละการเบิกจ่ายเงิน ร้อยละ ๑.๕๐ ๙๑.๐๐ ๙๒.๐๐ ๙๓.๐๐ ๙๔.๐๐ ๙๕.๐๐ ๕๗.๐๔ ๑.๐๐๐๐ ๐.๐๑๕๕งบประมาณรายจ่ายภา<strong>พ</strong>รวม๑๑ ระดับความสำเร็จของปริมาณ ระดับ ๕.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑.๗๘ ๑.๗๗๗๘ ๐.๐๙๑๖ผลผลิตที่ทำได้จริง เปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย๑๒ ระดับความสำเร็จของการดำเนิน ระดับ ๒.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๒.๐๐ ๒.๐๐๐๐ ๐.๐๔๑๒การตามมาตรการประหยัด<strong>พ</strong>ลังงานของส่วนราชการ๑๓ ระดับความสำเร็จของการ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะของบุคลากรระดับ ๕.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕.๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๒๕๗๗24


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ๑๔ ระดับความสำเร็จของการ<strong>พ</strong>ัฒนาปรับปรุงสารสนเท<strong>ศ</strong>๑๕ ระดับความสำเร็จของการ<strong>พ</strong>ัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การผลคะแนน ณ มีนาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๖หน่วยวัด น้ำหนัก(ร้อยละ)เกณฑ์การให้คะแนน๑ ๒ ๓ ๔ ๕ผลการดำเนินงานผลการดำเนินงานค่าคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้ำหนักระดับ ๕.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๔.๐๐ ๔.๐๐๐๐ ๐.๒๐๖๒ระดับ ๕.๐๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๒.๓๓ ๒.๓๓๓๓ ๐.๑๒๐๓น้ำหนักรวม ๙๗.๐๐ ค่าคะแนนที่ได้ ๓.๓๘๒๒25


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผลการดำเนินงานที่สำคัญ๑. การจัดทำนโยบาย แผน มาตรการ และการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ๑.๑ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> - ๒๕๕๘)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการจัดทำแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> – ๒๕๕๘) เป็นการดำเนินงานให้เป็นไปตามมาตรา ๑๖ แห่ง<strong>พ</strong>ระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๖ เ<strong>พ</strong>ื่อรองรับการปฏิบัติตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมีผลผูก<strong>พ</strong>ันกับการได้รับงบประมาณประจำปี และเป็นกรอบทิ<strong>ศ</strong>ทางการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยมีกระบวนการดำเนินงาน ประกอบด้วยการทบทวนแผนกลยุทธ์ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ และ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ขององค์กร รวบรวมนโยบายและแผนสำคัญต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ความคิดเห็นจากผู้บริหารระดับกระทรวง และผู้บริหารของสำนักงานฯเกี่ยวกับบทบาทของสำนักงานฯ <strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ควรจะเป็น และให้บุคลากรของสำนักงานฯมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์สภา<strong>พ</strong>แวดล้อมและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ขององค์กร การกำหนดวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์กลยุทธ์ และแผนงาน รวมทั้งการกำหนดแผนงานในแต่ละประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ให้มีความเชื่อมโยงและสอดรับกับแนวทางปฏิบัติภายใต้แผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> – ๒๕๕๙ เ<strong>พ</strong>ื่อให้เป็นไปในทิ<strong>ศ</strong>ทางเดียวกันผลผลิตแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปีของสำนักงานฯ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> - ๒๕๕๘)ผลลั<strong>พ</strong>ธ์องค์กรมีทิ<strong>ศ</strong>ทางในการดำเนินงานที่สอดรับกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน รวมทั้งเป็นการขับเคลื่อนแผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> – ๒๕๕๙ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จn บางโครงการที่จัดทำตามแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณn การเปลี่ยนแปลงรัฐบาล หรือนโยบายรัฐบาลบ่อยครั้ง มีผลให้ต้องมีการทบทวนและปรับแผนฯ เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีความสอดคล้องกันข้อเสนอแนะn ผู ้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดสรรงบประมาณควรให้ความสำคัญกับโครงการ/กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์เป็นลำดับแรกก่อนn สำนัก/กองควรจัดทำโครงการที่สอดคล้องกับแผนงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปีn ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานฯควรให้ความสำคัญกับการนำแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ไปถ่ายทอดเป็นตัวชี้วัดลงสู่ระดับบุคคล26


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑.๒ กำหนดยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ระยะยาวในการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong> (ระยะที่ ๑)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลเป็นการดำเนินการตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๓ (๑) และเป็นการเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมเ<strong>พ</strong>ื่อจัดทำนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>ในระยะยาว (๒๐ ปี) ฉบับที่ ๒ เนื่องจากนโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๙ ซึ่งเป็นฉบับแรกกำลังจะสิ้นสุดลงผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ใช้กระบวนการมองภา<strong>พ</strong>อนาคต (Foresight) ในหลากหลายรูปแบบ ได้แก่การเสวนาโต๊ะกลม ๒ ครั้ง การประชุมกลุ่มย่อย ๔ ครั้งการสอบถามความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆด้วยวิธีการเดลฟาย (Delphi) ๓ รอบ และการสัมมนารับฟังความคิดเห็นจากภาคีการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับประเท<strong>ศ</strong>ผลผลิตวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ที่นำไปสู่ภา<strong>พ</strong>ฉายอนาคต ประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์และแนวทางการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระยะ ๒๐ ปีข้างหน้าที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงทั้งปัจจัยภายในและภายนอกประเท<strong>ศ</strong>ในอนาคตผลลั<strong>พ</strong>ธ์การกำหนดนโยบายและเป้าหมายระยะยาวในการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>อย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม สามารถถ่ายทอดไปสู ่การปฏิบัติได้ชัดเจน และเป็นที่ยอมรับจากภาคีการ<strong>พ</strong>ัฒนาปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จn ผู้แทนหน่วยงานที่เข้าร่วมกระบวนการมองภา<strong>พ</strong>อนาคตอาจจะไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์โดยไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญตามที่คาดหวัง ซึ่งจะเป็นเ<strong>พ</strong>ียงผู้ถูกมอบหมาย หรือผู้ติดตามเข้าร่วมการประชุมn วิสัยทั<strong>ศ</strong>น์ที่นำไปสู่ภา<strong>พ</strong>ฉายอนาคต และประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ระยะยาวเป็นเรื่องที่คาดการณ์ยากจึงจำเป็นต้องอา<strong>ศ</strong>ัยผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูงข้อเสนอแนะควรหารูปแบบหรือระบบที่สามารถคัดกรองการเสนอความเห็นโดยให้ความสำคัญกับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญเป็นหลัก หรือเ<strong>พ</strong>ิ่มกระบวนการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้เชี่ยวชาญ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้ข้อมูลมาใช้ประกอบการดำเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น27


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑.๓ การสนับสนุนการดำเนินภารกิจถ่ายโอนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายใต้แผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลเป็นการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดตามมาตรา ๓๗ - ๔๑ แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕โดยสำนักงานฯ แจ้งผู ้ว่าราชการจังหวัดทั่วประเท<strong>ศ</strong>จัดทำแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๖ เ<strong>พ</strong>ื่อสำนักงานฯ วิเคราะห์ กลั่นกรอง และเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ก่อนเสนอสำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>พ</strong>ิจารณาจัดสรรงบประมาณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.) ในการดำเนินการโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๒ผลผลิตโครงการด้านการจัดการน้ำเสียชุมชน จำนวน๘ แห่ง และสถานีกำจัดขยะมูลฝอยชุมชน จำนวน๒๓ แห่ง ได้รับความเห็นชอบผลการวิเคราะห์จากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติผลลั<strong>พ</strong>ธ์n มีขีดความสามารถในการบำบัดน้ำเสียได้ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ลูกบา<strong>ศ</strong>ก์เมตรต่อวัน และจำนวนประชาชนที่รับประโยชน์ประมาณ ๑๓๓,๐๐๐ คนn มีขีดความสามารถในการรองรับขยะมูลฝอยประมาณ ๑,๐๐๐ ตัน/วัน และจำนวนประชาชนที่รับประโยชน์ประมาณ ๑,๙๘๗,๐๐๐ คนปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จn องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งยังคงมีข้อจำกัดในการจัดทำข้อเสนอโครงการให้ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในคู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดระบบกำจัดขยะมูลฝอยชุมชนเท<strong>ศ</strong>บาลเมืองสุโขทัยธานีระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนเท<strong>ศ</strong>บาลเมืองตาก จังหวัดตากn องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งยังไม่มีการเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อม อาทิ ความ<strong>พ</strong>ร้อมด้านที่ดินการ<strong>ศ</strong>ึกษาและออกแบบรายละเอียดระบบ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การเตรียมการจัดเก็บค่าบริการบำบัดน้ำเสียชุมชน เป็นต้นข้อเสนอแนะn ควรให้การสนับสนุนการดำเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจังหวัด ในการเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การดำเนินงานแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉ<strong>พ</strong>าะการสนับสนุนการเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมในเรื่องเทคนิควิชาการ และการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ในลำดับความสำคัญที่จะต้องมีระบบกำจัดขยะมูลฝอยรวมและระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียชุมชนn ควรมีการติดตามประเมินผลการเดินระบบและบำรุงรักษาระบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและจัดทำข้อเสนอแนะแนวทางสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เหมาะสมและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>28


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑.๔ แนวทางการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการผูก<strong>พ</strong>ันให้ภาคธุรกิจเข้ามามีส่วนรับผิดชอบอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืน เป็น<strong>พ</strong>ันธกรณีตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ประกอบกับกระแสความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจได้ผลักดันให้องค์กรธุรกิจให้ความสนใจต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น ซึ่งภาคธุรกิจของประเท<strong>ศ</strong>ไทยกว่า ๖๐ แห่ง ได้ดำเนินงานการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>มากมาย ทั้งด้านการอนุรักษ์<strong>พ</strong>ันธุกรรม<strong>พ</strong>ืชและสัตว์การฟื้นฟูระบบนิเว<strong>ศ</strong> การเสริมสร้างความรู้และความตระหนัก การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน รวมถึงงานวิจัยผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินงานร่วมกับคณะทำงานจัดทำแนวทางการถือปฏิบัติที่ดีที่สุดสำหรับการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืนโดยภาคธุรกิจ จัดทำแนวทางการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจขึ้น อย่างไรก็ตาม มีความจำเป็นที่จะต้องมีกลไกหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคธุรกิจดำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และร่วมกับภาครัฐป้องกันและแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและลดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ผลผลิตแนวทางการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจผลลั<strong>พ</strong>ธ์n มีกลไก/เครื่องมือในการบริหารจัดการและดูแลการใช้ประโยชน์จากทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่เหมาะสมกับการดำเนินงานของภาคธุรกิจn ภา<strong>พ</strong>ลักษณ์ที่ดีขององค์กรธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม และภา<strong>พ</strong>ลักษณ์ที่ดีของประเท<strong>ศ</strong>ไทยในเวทีโลก ในการคงไว้ซึ่งทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและบริการของระบบนิเว<strong>ศ</strong>ที่เป็นต้นทุนทางธรรมชาติไปสู่คนรุ่นต่อไปปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>เป็นเรื่องใหม่สำหรับภาคธุรกิจหลายแห่ง โดยเฉ<strong>พ</strong>าะธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กที่ยังไม่เห็นความสำคัญของการดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืน ภาครัฐจึงจำเป็นต้องสร้างความรู ้และความเข้าใจให้แก่ภาคธุรกิจได้ตระหนักถึง<strong>พ</strong>ิบัติภัยจากการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ข้อเสนอแนะการขับเคลื่อนไปสู ่ภาคปฏิบัติควรมีการจัดตั้งคณะทำงานที่มาจากภาคธุรกิจและภาครัฐที่เกี่ยวข้องเ<strong>พ</strong>ื่อแปลงแนวทางดังกล่าวเป็นกิจกรรม/โครงการ และการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและบังเกิดผลที่ชัดเจน29


์รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑.๕ การจัดการชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นใน<strong>พ</strong>ื้นที่นำร่อง (จังหวัด<strong>พ</strong>ะเยา น่าน นครราชสีมา)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๒ เรื่องมาตรการป้องกัน ควบคุม และกำจัดชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่น กำหนดมาตรการ ๑ แนวทางปฏิบัติ๑.๒ จัดทำแผนและดำเนินการควบคุมการแ<strong>พ</strong>ร่ระบาดและ/หรือกำจัดชนิด<strong>พ</strong>ันธุ ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้วในรายการที่๑ ซึ่งจะต้องเป็นแผนจัดการเฉ<strong>พ</strong>าะชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ และต้องดำเนินการโดยเร่งด่วน ซึ่งจังหวัดเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ และสำนักงานฯ เป็นหน่วยงานสนับสนุนในการจัดทำแผนและดำเนินการควบคุมการแ<strong>พ</strong>ร่ระบาดและ/หรือกำจัดชนิด<strong>พ</strong>ันธุ ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้วในรายการที่ ๑ ซึ่งจะต้องเป็นแผนจัดการเฉ<strong>พ</strong>าะชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์และต้องดำเนินการโดยเร่งด่วน โดยในปีงบประมาณ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> <strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและคณะทำงานชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่น ได้คัดเลือกจังหวัดที่มีความสนใจในปัญหาความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ได้แก่ จังหวัด<strong>พ</strong>ะเยาน่าน และนครราชสีมา โดย<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้จัดประชุมเผยแ<strong>พ</strong>ร่เรื่องชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานและมาตรการดังกล่าว เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนให้จังหวัดคัดเลือกชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานรุนแรง และหาแนวทางในการจัดการผลการดำเนินงานจังหวัด<strong>พ</strong>ะเยาเห็นว่าหอยเชอรี่เป็นชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานรุนแรงที่สุดของจังหวัด โดยจะกำจัดผักตบชวาในกว๊าน<strong>พ</strong>ะเยาก่อน เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญของภัยคุกคามจากชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่น โดยสำนักงานทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด<strong>พ</strong>ะเยาได้จัดตั้งคณะกรรมการป้องกัน ควบคุม และกำจัดชนิด<strong>พ</strong>ันธุ ์ต่างถิ่นที่รุกราน จังหวัด<strong>พ</strong>ะเยา <strong>พ</strong>ร้อมทั้งประสานหน่วยงานภายในจังหวัดให้ดำเนินงานเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์กำจัดหอยเชอรี่และผักตบชวาจังหวัดน่าน ไม่สามารถระบุชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานรุนแรงของจังหวัดได้ เ<strong>พ</strong>ราะแต่ละ<strong>พ</strong>ื้นที่ประสบปัญหาชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแตกต่างกัน มีองค์ความรู้<strong>พ</strong>ื้นบ้านแก้ไขปัญหาแตกต่างกัน แต่ปัญหาสำคัญของจังหวัดน่านคือ การเปลี่ยนแปลง<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อปลูกไม้ต่างถิ่นเป็น<strong>พ</strong>ืชเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจมากขึ้น ทำให้มีชนิด<strong>พ</strong>ันธุต่างถิ่นที่รุกรานเข้าไปใน<strong>พ</strong>ื้นที่ด้วย เกษตรกรแก้ปัญหาด้วยการใช้ยากำจัดวัช<strong>พ</strong>ืชหรือเผาทำลาย ซึ่งส่งผลต่อชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ื้นเมืองและ<strong>พ</strong>ื้นที่อนุรักษ์ ดังนั้นแนวทางการจัดการชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานของจังหวัดจึงมุ่งเน้นการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน และการสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกไม้ท้องถิ่นไว้ใช้ประโยชน์จังหวัดนครราชสีมาเห็นว่าหอยเชอรี่เป็นชนิด<strong>พ</strong>ันธุ ์ต่างถิ่นที่รุกรานรุนแรงที่สุดของจังหวัด ประมงจังหวัดจึงสนับสนุนการจัดทำโครงการใน<strong>พ</strong>ื้นที่ระดับตำบล<strong>พ</strong>ร้อมทั้งประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดร่วมดำเนินงาน30


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGผลผลิตปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จข้อคิดเห็น แนวทาง การดำเนินงานจัดการ ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ไม่ใช่เรื่องชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นใน<strong>พ</strong>ื้นที่ ๓ จังหวัด นำร่อง (จังหวัด ที่มีลำดับความสำคัญสูงสุดของงานสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ะเยา น่าน นครราชสีมา) มีการจัดการชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ จังหวัดต่างๆ ดังนั้น เมื่อเจ้าหน้าที่ผู้ประสานหลักของต่างถิ่นที่รุกรานที่สุดในจังหวัด<strong>พ</strong>ะเยาและจังหวัด แต่ละจังหวัดมีจำนวนน้อยและมีภารกิจมาก ทำให้นครราชสีมา และมีการรับรู้มีความเข้าใจที่ดีเรื่องชนิด บางโครงการดำเนินการได้ไม่สมบูรณ์ หรือใช้เวลานาน<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นในจังหวัดน่านข้อเสนอแนะผลลั<strong>พ</strong>ธ์ควรมีการเสริมสร้างสมรรถนะให้กับจังหวัดหน่วยงานและประชาชนของทั้งสามจังหวัด เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างความเข้าใจถึงความสำคัญของความหลากเข้าใจและตระหนักถึงภัยคุกคามที่เกิดจากชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ หลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และปัญหาคุกคามความหลากหลายต่างถิ่น ทำให้เกิดการดำเนินงานต่อเนื่อง ในแผนแม่บท ทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong> อันจะนำไปสู่การสนับสนุนการ<strong>พ</strong>ัฒนากว๊าน<strong>พ</strong>ะเยา แผนจังหวัด ปี ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ การดำเนินงานแบบบูรณาการของหน่วยงานส่วนภูมิภาคและร่วมโครงการสหกรณ์เลี้ยงปลาไทย๑.๖ การเสริมสร้างการบูรณาการจัดการระบบนิเว<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมปากแม่น้ำบางปะกงสาระสำคัญ หลักการ เหตุผล<strong>พ</strong>ื้นที่ปากแม่น้ำบางปะกงเป็น<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับชาติ มีระบบนิเว<strong>ศ</strong>ชายฝั่งทะเลที่เป็นแหล่งทรั<strong>พ</strong>ยากรอันอุดมสมบูรณ์และมีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของคนใน<strong>พ</strong>ื้นที่โดยเฉ<strong>พ</strong>าะนิเว<strong>ศ</strong>ปากแม่น้ำที่ประกอบด้วย ป่าชายเลนซึ่งเป็นแหล่งอาหาร ที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อนให้กับสัตว์น้ำนานาชนิด ตลอดจนเป็นแหล่งอา<strong>ศ</strong>ัยของนกนานา<strong>พ</strong>ันธุ์ ในขณะเดียวกันก็มีความเปราะบางและอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ง่ายจากกิจกรรมการใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาสถานภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่ลุ่มน้ำบางปะกงอย่างต่อเนื่อง และเ<strong>พ</strong>ื่อให้การบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่ปากแม่น้ำบางปะกงเกิดความสมดุล โดยขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการเ<strong>พ</strong>ื่อกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่บริเวณปากแม่น้ำบางปะกงเป็น<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม และในปีงบประมาณ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ได้ดำเนินการติดตามสถานภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่ปากแม่น้ำบางปะกงเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงมาตรการตามเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความยั่งยืนในการใช้ประโยชน์<strong>พ</strong>ื้นที่ปากแม่น้ำบางปะกง31


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผลผลิตn ข้อมูลสถานภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงn แนวทางการดำเนินการตามมาตรการคุ ้มครอง สิ่งแวดล้อมในแต่ละเขต<strong>พ</strong>ื้นที่บริเวณปากแม่น้ำบางปะกงn สื่อการเรียนรู ้ เผยแ<strong>พ</strong>ร่และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์การกำหนดเขตและมาตรการตามเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมn ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงมาตรการตามเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม<strong>พ</strong>ื้นที่บริเวณปากแม่น้ำบางปะกงผลลั<strong>พ</strong>ธ์หน่วยงานใน<strong>พ</strong>ื้นที่รับทราบและนำข้อมูลสถานภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ปากแม่น้ำบางปะกงข้อเสนอแนะควรมีการดำเนินการใน<strong>พ</strong>ื้นที่อย่างต่อเนื่องโดยผลักดันและขับเคลื่อนกลไกเครือข่ายและเสริมสร้างองค์ความรู้ในการจัดการระบบนิเว<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมปากแม่น้ำบางปะกง เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การบริหารจัดการระบบนิเว<strong>ศ</strong>ปากแม่น้ำให้กับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง32


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑.๗ การ<strong>ศ</strong>ึกษาเ<strong>พ</strong>ื่อกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่ต้นน้ำลำธารภาคเหนือเป็น<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่สาระสำคัญ หลักการ เหตุผล<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้<strong>พ</strong>ิจารณาและวิเคราะห์ความสำคัญของ<strong>พ</strong>ื้นที่แล้วเห็นว่า <strong>พ</strong>ื้นที่ต้นน้ำลำธาร (ลุ่มน้ำชั้น ๑และ ๒) มีมากกว่าร้อยละ ๘๐ ในเขตอำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ จำเป็นต้องอนุรักษ์ไว้เป็น<strong>พ</strong>ื้นที่ต้นน้ำลำธาร เนื่องจากมีแนวโน้มที่อาจถูกบุกรุกทำลาย หรืออาจได้รับผลกระทบจากกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ได้โดยง่าย อาทิ จากการขยายตัวของชุมชน การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงสร้าง<strong>พ</strong>ื้นฐานเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับความเจริญของ<strong>พ</strong>ื้นที่จากการจัดตั้งขึ้นเป็นเขตการปกครองระดับอำเภอ รวมถึงส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่และอัตลักษณ์ของชนเผ่าชาติ<strong>พ</strong>ันธุ์ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของ<strong>พ</strong>ื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนาผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการเสริมสร้างความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับ<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ และประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐเอกชน และประชาชน เ<strong>พ</strong>ื่อชี้แจงทำความเข้าใจ รับทราบสภา<strong>พ</strong>ปัญหา และรับฟังความคิดเห็นในการดำเนินโครงการ โดยประสานหารือแนวทางการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานระดับจังหวัด อำเภอ ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนเครือข่ายต่างๆ และประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่อย่างต่อเนื่อง เ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลประกอบการ<strong>พ</strong>ิจารณากำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความเหมาะสมกับ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของระบบนิเว<strong>ศ</strong>ลุ่มน้ำ และความเป็นอยู่ของประชาชน33


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผลผลิตข้อมูลสถานภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภา<strong>พ</strong>ปัญหาใน<strong>พ</strong>ื้นที่อำเภอกัลยาณิวัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ รวมทั้งข้อเสนอแนะในการกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู ้แทนเครือข่ายต่าง ๆ และประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนเครือข่ายต่างๆ และประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่ เข้าใจแนวคิดการกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ ้มครองสิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการเสนอแนะแนวทางในการกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม อำเภอกัลยาณิวัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จความไม่เข้าใจในเรื่องแนวทางการกำหนด<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานและประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าชาติ<strong>พ</strong>ันธุ์ข้อเสนอแนะการเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมในการประกา<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ต้นน้ำลำธารเป็น<strong>พ</strong>ื้นที่คุ ้มครองสิ่งแวดล้อม เห็นควรต้องประสานความร่วมมือภาคีทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องใน<strong>พ</strong>ื้นที่ และต้องสร้างความเข้าใจและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่อย่างต่อเนื่อง34


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑.๘ การจัดทำร่างแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ ่มน้ำทะเลสาบสงขลา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการจัดทำ (ร่าง) แผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๗ -๒๕๕๙ จัดทำขึ้นโดยใช้กรอบแผนแม่บทการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาที่ได้รับความเห็นชอบจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๙ <strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๘และแผนแม่บทการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาฉบับปรับปรุง <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙ โดยเน้นประเด็นปัญหาเร่งด่วน ๗ ประเด็นหลัก ได้แก่(๑) การอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเว<strong>ศ</strong>ป่าไม้(ป่าบก และป่า<strong>พ</strong>รุ) ให้เกิดความสมดุล(๒) การจัดการและฟื้นฟูทรั<strong>พ</strong>ยากรสัตว์น้ำและประมงเ<strong>พ</strong>ื่อการดำรงชี<strong>พ</strong>ของคนลุ่มน้ำ(๓) การแก้ปัญหาความตื้นเขินของทะเลสาบและแหล่งน้ำเ<strong>พ</strong>ื่อการสัญจรทางน้ำ การระบายน้ำและฟื้นฟูสัตว์น้ำในทะเลสาบสงขลา(๔) การป้องกันและควบคุมมล<strong>พ</strong>ิษ (มล<strong>พ</strong>ิษทางน้ำและขยะ) เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมที่ดีให้กับประชาชน(๕) การลดปัญหาอุทกภัยใน<strong>พ</strong>ื้นที่วิกฤติ(๖) การลดปัญหาการกัดเซาะชายฝั ่งทะเลให้สอดคล้องกับสภา<strong>พ</strong>ธรรมชาติ(๗) การบริหารจัดการลุ ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างบูรณาการและมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้จัดประชุมกลุ ่มย่อย (Focus Group)ตามประเด็นยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์จำนวน ๗ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ระหว่างวันที่ ๔ – ๗ กันยายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดสงขลา เ<strong>พ</strong>ื่อระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาคราชการ ภาคเอกชน องค์กร<strong>พ</strong>ัฒนาเอกชน ภาคประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสื่อมวลชน จากนั้นมีการประชุมสัมมนารับฟังความคิดเห็นต่อ(ร่าง) กรอบแผนงบประมาณฯ จำนวน ๒ ครั้ง ซึ่งแผนงบประมาณฯ ประกอบด้วย ๗ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ๒๘ แผนงาน ๘๒ โครงการ วงเงินงบประมาณรวม ๑๑,๒๗๕.๖๘ล้านบาท มีการระบุ<strong>พ</strong>ื้นที่ดำเนินการที่มีลำดับความสำคัญเร่งด่วนและตัวชี้วัดความสำเร็จที่ชัดเจน คณะกรรมการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา<strong>พ</strong>ิจารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๒โดยให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทั้งหน่วยงานภาครัฐ ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคส่วนท้องถิ่น สถาบันการ<strong>ศ</strong>ึกษา ภาคีเครือข่ายภาคประชาชน ผ่านการประชุมระดมความคิดเห็นผลผลิต(ร่าง) แผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ผลลั<strong>พ</strong>ธ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน<strong>พ</strong>ื้นที่มีการตั้งงบประมาณดำเนินโครงการตามแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา และสามารถแก้ไขปัญหาทางด้านทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใต้แผนงบประมาณในเชิงบูรณาการฯ เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะทำให้การจัดทำแผนงบประมาณฯประสบความสำเร็จข้อเสนอแนะควรมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เ<strong>พ</strong>ื่อทบทวนและปรับปรุงแผนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง35


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑.๙ การจัดทำแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> – ๒๕๙๓สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่๒๒ มกราคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๑ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๑ - <strong>๒๕๕๕</strong> เป็นกรอบดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ไทย <strong>พ</strong>ร้อมทั้งขอให้กระทรวงที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>และจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นในขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งสำนักงานฯได้ดำเนินการจัดทำแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> - ๒๕๙๓ เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของทุกภาคส่วนในประเท<strong>ศ</strong>ให้สามารถรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ในระยะยาว ควบคู่ไปกับการ<strong>พ</strong>ัฒนาด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคม ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นสู่ระดับจังหวัดภาค และประเท<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะทั่วประเท<strong>ศ</strong>ต่อร่างแผนแม่บทฯ ใน ๕ ภูมิภาคได้แก่ ภาคตะวันตก (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์) ภาคใต้(จังหวัดนคร<strong>ศ</strong>รีธรรมราช) ภาคเหนือ (จังหวัดเชียงราย)ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดขอนแก่น) และภาคกลาง (กรุงเท<strong>พ</strong>มหานคร) ก่อนนำเสนอคณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แห่งชาติและคณะรัฐมนตรี<strong>พ</strong>ิจารณาให้ความเห็นชอบตามลำดับผลผลิต(ร่าง) แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> - ๒๕๙๓ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีการเตรียมการด้านนโยบายสาธารณะระดับชาติที่เหมาะสม เ<strong>พ</strong>ื่อใช้รองรับและกำหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>เงื่อนไขความสำเร็จการจัดทำนโยบายและแผนการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ในระดับชาติ ต้อง<strong>พ</strong>ิจารณาให้ครอบคลุมผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นอย่างรอบด้าน ทั้งในระดับประเท<strong>ศ</strong>ตลอดจนระหว่างประเท<strong>ศ</strong> รวมทั้งต้องจัดให้มีกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> ซึ่งจำเป็นต้องอา<strong>ศ</strong>ัยระยะเวลา งบประมาณ และบุคลากรที่เหมาะสม36


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑.๑๐ การจัดทำมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรม ประเภทย่านชุมชนเก่าสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีย่านที่อยู่อา<strong>ศ</strong>ัยดั้งเดิมเรียกโดยทั่วไปว่า ย่านชุมชนเก่า กระจายอยู ่ทั่วทุกภาคของประเท<strong>ศ</strong> มีรูปแบบลักษณะที่ต่างกันไปตามลักษณะภูมิประเท<strong>ศ</strong> หรือบริบทของเมือง เช่น ย่านกรุงรัตนโกสินทร์ย่านชุมชนริมคลองอัม<strong>พ</strong>วา จังหวัดสมุทรสงครามย่านชุมชนเก่าเมืองภูเก็ต ย่านชุมชนเก่ากาดกองต้าจังหวัดลำปาง เป็นต้น ย่านชุมชนเก่าส่วนใหญ่มีอายุไม่น้อยกว่า ๕๐ ปี บางแห่งมีอายุนับร้อยปี จัดได้ว่าเป็น<strong>ศ</strong>ิลปกรรมประเภทหนึ่ง ตามนิยาม<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ที่สำนักงานฯได้ให้คำจำกัดความไว้ย่านชุมชนเก่าเหล่านี้เป็นสัญลักษณ์ของอดีตที่มีความสัม<strong>พ</strong>ันธ์เกี่ยวเนื่องกับการตั้งถิ่นฐานของไทยมาจนถึงปัจจุบัน เป็น<strong>พ</strong>ื้นที่ที่แสดงให้เห็นเค้าโครงของชุมชนเมืองและสะท้อนถึงวิถีชีวิตของผู้คนในอดีตที่ประกอบไปด้วยอาคารที่มีลักษณะสถาปัตยกรรมเฉ<strong>พ</strong>าะสถานที่สำคัญทางประวัติ<strong>ศ</strong>าสตร์ และวัฒนธรรมองค์ประกอบเหล่านี้ทำให้เมืองแต่ละแห่งมีความเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งถึงแม้สภา<strong>พ</strong>ทางกายภา<strong>พ</strong>ของย่านชุมชนเก่าเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา แต่ยังคงมีความเป็นต้นกำเนิด ความเป็นของแท้ที่มีคุณค่าทั้งในด้านแนวคิดการตั้งถิ่นฐาน การก่อกำเนิดย่านชุมชน องค์ประกอบของย่านชุมชน ตลอดจนการเชื่อมโยงไปยังย่านอื่น ๆของเมือง ย่านชุมชนเก่าจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าที่ไม่ได้มีความหมายต่อผู้ที่อยู่อา<strong>ศ</strong>ัยเท่านั้น หากแต่ยังเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญของเมือง ทั้งในด้านประวัติ<strong>ศ</strong>าสตร์โบราณคดี สถาปัตยกรรม การวางผังเมือง รวมถึงกิจกรรมทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคม ซึ่งแสดงถึงเอกลักษณ์ของเมืองนั้น ๆผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะเป็นหน่วยงานหลักที่มีภารกิจในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรมของประเท<strong>ศ</strong>ได้จัดทำมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรมประเภทย่านชุมชนเก่าขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อหาแนวทางรักษา ฟื้นฟูเอกลักษณ์ ส่งเสริมคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิต และสนับสนุนประชาชนในบริเวณย่านชุมชนเก่า ให้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์แหล่ง<strong>ศ</strong>ิลปกรรมอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งสามารถนำไปสู่การ<strong>พ</strong>ัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเชิงวัฒนธรรมควบคู่กันไปกับการอยู่อา<strong>ศ</strong>ัยได้อย่างเหมาะสม37


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมย่านชุมชนเก่าถนนยมจินดาจังหวัดระยองผลผลิตn มาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรมประเภทย่านชุมชนเก่า ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออกn ทะเบียนข้อมูลย่านชุมชนเก่าใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออกn คู่มือการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรมประเภทย่านชุมชนเก่าผลลั<strong>พ</strong>ธ์ได้กลไกสำคัญที่ช่วยท้องถิ่นบริหารจัดการย่านชุมชนเก่าของตน ไปในแนวทางที่ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของสิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรมของย่านชุมชนเก่า และสร้างความรู ้ความเข้าใจให้กับหน่วยงานภาครัฐและองค์กรเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องการอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่า และแนวทางการจัดทำมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรม ประเภทย่านชุมชนเก่าปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จn ขาดความตระหนักและรับรู้ความสำคัญของการอนุรักษ์ย่านชุมชนเก่า ของภาคประชาชนและหน่วยงานส่วนท้องถิ่นn ขาดบุคลากรผู้นำทั้งในภาคประชาชนและภาครัฐในการนำผลของโครงการไปสู่การปฏิบัติเงื่อนไขความสำเร็จคุณค่าและความสำคัญของย่านชุมชนเก่าในแต่ละท้องถิ่น ซึ่งเป็นทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่แล้วที่<strong>พ</strong>ร้อมสำหรับการสร้างให้เกิดมูลค่าของท้องถิ่นต่อไป38


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑.๑๑ การกำหนดขอบเขต<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ ๒ เมืองเก่าแ<strong>พ</strong>ร่ เมืองเก่าเ<strong>พ</strong>ชรบุรี เมืองเก่าจันทบุรีเมืองเก่าร้อยเอ็ด และเมืองเก่าปัตตานีสาระสำคัญ หลักการ เหตุผล“เมืองเก่า” เป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดความเจริญรุ่งเรืองทางด้าน<strong>ศ</strong>ิลปวัฒนธรรมและประวัติ<strong>ศ</strong>าสตร์ ภายในเมืองเก่ามีองค์ประกอบเมืองที่สำคัญ ได้แก่ คูเมือง กำแ<strong>พ</strong>งเมือง วัด วัง คุ้มเจ้าเมืองและต้นไม้ใหญ่<strong>พ</strong>ื้นถิ่นที่อยู่คู่กับเมืองเก่า ปัจจุบันการ<strong>พ</strong>ัฒนาและการขยายตัวของเมืองโดยไม่มีขอบเขตและทิ<strong>ศ</strong>ทาง ทำให้องค์ประกอบเมืองหรือคุณค่าของเมืองเก่าลดความสำคัญและถูกทำลาย รวมทั้งมีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายกิจกรรมทั้งภาคราชการและเอกชนที่ไม่เหมาะสมและไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้เมืองเก่าหลายเมืองหมดสภา<strong>พ</strong>และถูกทำลาย ส่งผลให้คุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นเมืองเก่าค่อย ๆ หมดไปผลการดำเนินงานการกำหนดขอบเขต<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่า เป็นขั้นตอนแรกของการดำเนินงานอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาเมืองเก่า โดยดำเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาทางประวัติ<strong>ศ</strong>าสตร์และโบราณคดี สำรวจหลักฐานภาคสนามองค์ประกอบเมืองที่สำคัญ รวมทั้งปัญหาและภัยคุกคาม เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีขอบเขต<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่าที่ชัดเจนที่จะดำเนินการวางนโยบาย แผนงาน โครงการ มาตรการและระเบียบต่าง ๆ ในการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาเมืองเก่าต่อไป ที่ผ่านมาคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบขอบเขต<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ ๑ แล้ว รวม๙ เมือง ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าลำ<strong>พ</strong>ูนเมืองเก่าลำปาง เมืองเก่าน่าน เมืองเก่ากำแ<strong>พ</strong>งเ<strong>พ</strong>ชรเมืองเก่าล<strong>พ</strong>บุรี เมืองเก่า<strong>พ</strong>ิมาย เมืองเก่านคร<strong>ศ</strong>รีธรรมราชและเมืองเก่าสงขลา สำหรับปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>สำนักงานฯ จึงได้ดำเนินการต่อเนื่องในการบริหารจัดการเมืองเก่ากลุ ่มที่ ๒ จำนวน ๕ เมืองจากกำหนด ๒๖ เมืองผลผลิตขอบเขต<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่าและแนวทางการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาเมืองเก่า รวม ๕ เมือง ได้แก่เมืองเก่าแ<strong>พ</strong>ร่ เมืองเก่าเ<strong>พ</strong>ชรบุรี เมืองเก่าจันทบุรีเมืองเก่าร้อยเอ็ด และเมืองเก่าปัตตานีผลลั<strong>พ</strong>ธ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่ามีความเข้าใจและเห็นคุณค่าความสำคัญของเมืองเก่า และรับรู้ทราบเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาเมืองเก่าปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการกำหนดขอบเขต<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่๒ จำเป็นต้องอา<strong>ศ</strong>ัยการมีส่วนร่วมจากประชาชนหน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญ และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมกันกำหนดขอบเขต<strong>พ</strong>ื้นที่เมืองเก่า เ<strong>พ</strong>ื่อให้เป็นที่ยอมรับและสามารถดำเนินการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาเมืองเก่าที่เหมาะสมกับบริบทของ<strong>พ</strong>ื้นที่ข้อเสนอแนะการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาเมืองเก่าต้องอา<strong>ศ</strong>ัยองค์ความรู ้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเป็นหลักดังนั้น จึงต้องเสริมสร้างจิตสำนึกและความตระหนักรู้ในคุณค่า การจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับเมืองเก่า การส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดี การสนับสนุนด้านมาตรการทางกฎหมาย และระบบแรงจูงใจในการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาเมืองเก่า39


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑.๑๒ เป้าหมายและแนวทางการใช้ที่ดินที่สอดคล้องกับทิ<strong>ศ</strong>ทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong>สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลประเท<strong>ศ</strong>ไทยจำเป็นต้องมีแผนการใช้ที่ดินของชาติเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นเครื่องมือในการควบคุมการใช้ที่ดิน ดังนั้นต้องมีการกำหนดเป้าหมายสัดส่วนการใช้ที่ดินในแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของที่ดิน และเป็นไปในทิ<strong>ศ</strong>ทางเดียวกันกับการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมของประเท<strong>ศ</strong> รวมทั้งสอดรับกับระบบนิเว<strong>ศ</strong>และความสมดุลทางธรรมชาติในระยะยาวผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้ดำเนินการกำหนดเป้าหมายสัดส่วนและแนวทางการใช้ที่ดินประเภทต่างๆ ที่สอดคล้องกับทิ<strong>ศ</strong>ทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong>และ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของ<strong>พ</strong>ื้นที่ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างสมดุลทางธรรมชาติและการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืนผลผลิตสัดส่วนและแนวทางการใช้ที่ดินแต่ละประเภทที่สอดคล้องกับทิ<strong>ศ</strong>ทางการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong>และ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของ<strong>พ</strong>ื้นที่ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีเป้าหมายสัดส่วนและแนวทางการใช้ที่ดินระดับประเท<strong>ศ</strong>ที่ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและผู้มีส่วนได้เสียให้การยอมรับปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการกำหนดเขตการใช้ที่ดินเฉ<strong>พ</strong>าะด้านจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาการทับซ้อนของเขตการใช้ที่ดินและความไม่ชัดเจนในการกำหนดสัดส่วนการใช้ที่ดินของประเท<strong>ศ</strong> ดังนั้น ควรนำเป้าหมายสัดส่วนและแนวทางการใช้ที่ดินระดับประเท<strong>ศ</strong>ไปสู่การจัดทำแผนการใช้ที่ดินอย่างบูรณาการ เ<strong>พ</strong>ื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และเป็นรูปธรรมข้อเสนอแนะควรขับเคลื่อนและดำเนินการ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเกิดการยอมรับเป้าหมายสัดส่วนการใช้ที่ดินของประเท<strong>ศ</strong> และนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และเป็นรูปธรรม40


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑.๑๓ แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อปิดนิคมเกษตรกรรมทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก องค์การสงเคราะห์ทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึกสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลมาตรา ๒๐ แห่งประมวลกฎหมายที่ดินให้คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ มีอำนาจในการวางนโยบาย กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดการที่ดินและควบคุมการจัดที่ดินตามกฎหมาย และเนื่องจากข้อบังคับของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.๒๕๑๙) ว่าด้วยหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดที่ดินตามโครงการจัดที่ดินเ<strong>พ</strong>ื่อสงเคราะห์ทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึกครอบครัวทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก และทหารนอกประจำการของกระทรวงกลาโหม มิได้กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทางปฏิบัติในการส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อปิดนิคมฯ และคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ยังไม่เคย<strong>พ</strong>ิจารณาในเรื่องดังกล่าว และองค์การสงเคราะห์ทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก เป็นหน่วยจัดที่ดินของกระทรวงกลาโหมภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ได้จัดที่ดินให้แก่สมาชิกในนิคมเกษตรกรรมทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึกอุดรธานีใกล้เสร็จสิ้นผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะฝ่ายเลขาธิการคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ จึงได้ดำเนินการ<strong>ศ</strong>ึกษาแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อปิดนิคมเกษตรกรรมทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก องค์การสงเคราะห์ทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก โดยมีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษาแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อปิดนิคมเกษตรกรรมทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก และจัดทำข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong>การจัดที่ดินในนิคมฯ เ<strong>พ</strong>ื่อเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมในการส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อปิดนิคมฯ และมอบ<strong>พ</strong>ื้นที่ดังกล่าวให้หน่วยงานตามกฎหมายดำเนินการต่อไปผลผลิตn แนวทางการปฏิบัติในการส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อปิดนิคมเกษตรกรรมทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก องค์การสงเคราะห์ทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึกn ข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong>การจัดที่ดิน การจำแนก<strong>พ</strong>ื้นที่ และจัดทำแผนที่แสดงการครอบครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินของราษฎร ในนิคมเกษตรกรรมทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก จังหวัดอุดรธานีผลลั<strong>พ</strong>ธ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่าน<strong>ศ</strong>ึก สามารถปิดนิคมและส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่ให้คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติและใช้ข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณาส่งมอบ<strong>พ</strong>ื้นที่ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการบริหารจัดการที่ดินให้เป็นไปตามกฎหมายปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จข้อ<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>าทเกี่ยวกับการอ้างสิทธิครอบครองของราษฎรในนิคมฯข้อเสนอแนะควรสำรวจการครอบครองที่ดินของราษฎรเดิมก่อนจัดตั้งนิคม และราษฎรที่ครอบครอง<strong>พ</strong>ื้นที่ส่วนกลางของนิคมฯ เ<strong>พ</strong>ื่อจัดทำแผนที่แสดงการครอบครองที่ดินดังกล่าวให้สมบูรณ์ก่อนส่งมอบ<strong>พ</strong>ื้นที่นิคมฯให้คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ<strong>พ</strong>ิจารณา41


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๒. การ<strong>พ</strong>ัฒนาและเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>กระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลสำนักงานฯ ได้ดำเนินการด้านการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ภายใต้<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕โดยมีการประกา<strong>ศ</strong>กำหนดประเภทและขนาดของโครงการที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมรวม ๓๕ ประเภท และโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ และสุขภา<strong>พ</strong>จำนวน ๑๑ ประเภท ในระยะที่ผ่านมาสำนักงานฯได้ดำเนินการ<strong>พ</strong>ัฒนาและปรับปรุงกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด อย่างไรก็ตามกระบวนการดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการ<strong>พ</strong>ัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งกระบวนการ เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจของประเท<strong>ศ</strong>ให้ควบคู่กับการ<strong>พ</strong>ัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเ<strong>พ</strong>ื่อให้ระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นที่ยอมรับในฐานะเครื่องมือที่ช่วยป้องกันและคุ้มครองสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ผลการดำเนินงานn การ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำน ักงานฯ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (คชก.) ทั้ง ๑๒ ชุดทำหน้าที่ตรวจสอบรายงาน EIA และเสนอความเห็นเบื้องต้น รวมทั้งนำคณะกรรมการผู ้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (คชก.) เข้าสำรวจ<strong>พ</strong>ื้นที่โครงการ ตลอดจนจัดประชุมเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณารายงาน EIA ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> สำนักงานฯ ได้จัดประชุม คชก. จำนวนทั้งสิ้น ๓๔๓ ครั้ง และได้แจ้งเห็นชอบรายงาน EIA รวมทั้งสิ้น ๕๐๓ โครงการ42


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGn การ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในรายงาน EIAสำนักงานฯ ได้รับรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมรวมทั้งสิ้น ๒,๔๗๑ ฉบับ และได้<strong>พ</strong>ิจารณาตรวจสอบโครงการ และแจ้งผลไปยังหน่วยงานอนุญาตและเจ้าของโครงการ รวมทั้งสิ้น ๘๔๑ ฉบับn การ<strong>พ</strong>ิจารณาผู้มีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมคณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณาผู้มีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้มีการประชุมรวม ๑๕ ครั้ง และคณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขอรับใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้มีการประชุมรวม๒๗ ครั้ง มีผลการ<strong>พ</strong>ิจารณาดังนี้ประเภทการ<strong>พ</strong>ิจารณา จำนวนนิติบุคคล (ราย) เห็นชอบ (ราย)การขอรับอนุญาตฯการขอเ<strong>พ</strong>ิ่มผู้ชำนาญการฯการขอถอนผู้ชำนาญการฯการขอเปลี่ยนเจ้าหน้าที่๒๘๘๔๔๕๒๕๕-๔๕n การจัดประชุมและสัมมนาด้านการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จำนวน ๑๕ ครั้ง การประชุมชี้แจงเรื่องรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม : ข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อประชาชนจำนวน ๕ ครั้ง การประชุมที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบด้านสมุทร<strong>ศ</strong>าสตร์ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จำนวน ๓ ครั้ง การประชุมหารือนิยามของโครงการอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า จำนวน ๕ ครั้ง การประชุมสัมมนานิติบุคคลผู ้มีสิทธิจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จำนวน๑ ครั้ง การสัมมนาเรื่องการจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีความหมายที่แท้จริงในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Meaningful Participation in EIA) จำนวน ๑ ครั้งทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนและทุกภาคส่วนมีความเชื่อมั่นในกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ที่สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย <strong>พ</strong>ุทธ<strong>ศ</strong>ักราช ๒๕๕๐ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ที่เกิดขึ้นทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปใช้เ<strong>พ</strong>ื่อป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อลดปัญหาความขัดแย้งของประชาชนหรือชุมชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่ที่มีการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการ ตลอดจนทำให้ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่เสื่อมโทรมลงไปกว่าก่อนมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการ43


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผลผลิตn รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เสนอสำนักงานฯ และได้รับการ<strong>พ</strong>ิจารณาจากเจ้าหน้าที่สผ.n รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ผ่านความเห็นชอบจาก คชก. ๕๐๓ โครงการn รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับการ<strong>พ</strong>ิจารณาและแจ้งผลการ<strong>พ</strong>ิจารณา ๘๔๑ ฉบับn หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป เข้าร่วมการประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินการด้านการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมในรายงาน EIA จำนวนทั้งสิ้น ๓,๑๗๘ คนผลลั<strong>พ</strong>ธ์n หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้เ<strong>พ</strong>ื่อลดความขัดแย้งของประชาชน หรือชุมชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่ที่มีการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการn ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่เสื่อมโทรมลงมากไปกว่าก่อนมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการn ประชาชน ชุมชน ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ที่มีการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการที่จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม มีคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตหรือสุขภา<strong>พ</strong>อนามัยที่ดีขึ้นปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จปัญหา อุปสรรคn การไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในรายงาน EIA รวมทั้งหน่วยงานอนุมัติ/อนุญาต นำมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมในรายงาน EIA ไปประกอบในเงื่อนไขการอนุมัติ/อนุญาตไม่ครบถ้วนn คุณภา<strong>พ</strong>ของรายงาน EIA ที่จัดทำโดยนิติบุคคลผู้จัดทำรายงาน EIAn จำนวนบุคลากรในการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานEIA และ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมในรายงาน EIA ไม่เ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อ เนื่องจากบุคลากรไม่ได้รับเ<strong>พ</strong>ิ่มเติม ในขณะที่ปริมาณงานเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นทุกปีเงื่อนไขความสำเร็จn บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด ประกอบกับใช้มาตรการจูงใจในด้านอื่น ๆ เช่น ให้รางวัลกับผู้ประกอบการที่ปฏิบัติดี หรือมีมาตรการจูงใจทางด้านภาษี เป็นต้น44


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGn ปรับปรุงกระบวนการขั้นตอนการ<strong>พ</strong>ิจารณาให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มากยิ่งขึ้น รวมทั้ง<strong>พ</strong>ัฒนาความรู้ และความเชี่ยวชาญของบุคลากรให้มากยิ่งขึ้นn หน่วยงานอนุมัติ/อนุญาตต้องนำมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมไปกำหนดในเงื่อนไขการอนุมัติ/อนุญาตให้ครบถ้วน และกำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมในรายงาน EIA อย่างเคร่งครัดn นิติบุคคลผู้จัดทำรายงาน EIA จะต้องดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักวิชาการและขั้นตอนตามกฎหมาย รวมทั้งมีจรรยาบรรณในหน้าที่ความรับผิดชอบn ปรับปรุงและ<strong>พ</strong>ัฒนาฐานข้อมูลรายงานEIA ที่ผ่านความเห็นชอบ และผลการปฏิบัติตามมาตรการในรายงาน EIA ให้เป็นปัจจุบัน และหน่วยงาน/ประชาชนทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงได้n <strong>พ</strong>ัฒนาและเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์อย่างต่อเนื่องข้อเสนอแนะการ<strong>พ</strong>ัฒนาและเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>กระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ประกอบด้วยหน่วยงานราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานที่มีอำนาจในการอนุมัติ อนุญาต และหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมตามกฎหมาย ผู้ประกอบการ/เจ้าของโครงการ นิติบุคคลผู้มีสิทธิจัดทำรายงาน EIAประชาชน/ชุมชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการ องค์การเอกชน สถาบันการ<strong>ศ</strong>ึกษา ตลอดจนสื่อสารมวลชนที่จะต้องร่วมกันขับเคลื่อนกระบวนการ EIA ให้เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้การมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>45


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๓. การบริหารจัดกองทุนสิ่งแวดล้อมสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลกองทุนสิ่งแวดล้อมจัดตั้งขึ้นตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.๒๕๓๕ โดยมีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมภายใต้กระบวนการความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการจัดให้มีระบบบำบัดอากา<strong>ศ</strong>เสียน้ำเสีย และระบบกำจัดของเสีย สำหรับควบคุม บำบัดและขจัดมล<strong>พ</strong>ิษ รวมทั้งการดำเนินกิจกรรมใดๆ เ<strong>พ</strong>ื่อการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมสำนักงานฯ ได้ดำเนินงานมา ๒๐ ปีเต็มได้ให้การสนับสนุนหน่วยงานทั้งภาครัฐ ที่เป็นส่วนราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ และเอกชน องค์กรเอกชน ในการจัดให้มีระบบบำบัดน้ำเสีย/อากา<strong>ศ</strong>เสีย ระบบกำจัดของเสีย รวมทั้งสนับสนุนองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมจนถึงปัจจุบันมี จำนวนรวมทั้งสิ้น ๒๕๖โครงการ วงเงินทั้งสิ้น ๑๒,๘๗๔.๐๘ ล้านบาทในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนทั้งสิ้นจำนวน ๑๒ โครงการ วงเงิน ๑๗๗.๓๒ล้านบาท ดังนี้เงินอุดหนุน อปท. ๒ โครงการ ส่วนราชการ ๒ โครงการn โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียของเท<strong>ศ</strong>บาลตำบลกุดจิก จ.นครราชสีมา วงเงิน๑๑.๔๗ ล้านบาท เป็นเงินอุดหนุนจากกองทุน ๑๐.๗๐ล้านบาท เท<strong>ศ</strong>บาลสมทบ ๑.๑๕ ล้านบาท โดยดำเนินการก่อสร้างระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย ชุมชนบุสามัคคีเท<strong>ศ</strong>บาลตำบลกุดจิก จังหวัดนครราชสีมา เป็นระบบบ่อปรับเสถียรสามารถบำบัดน้ำเสียได้ประมาณ ๕๐๐ลูกบา<strong>ศ</strong>ก์เมตรต่อวัน สามารถรองรับน้ำเสียใน<strong>พ</strong>ื้นที่ชุมชนหนาแน่นของเท<strong>ศ</strong>บาลตำบลกุดจิก ได้ถึงปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๗๑n โครงการก่อสร้างบ่อรวมน้ำชะขยะ<strong>พ</strong>ร้อมสถานีสูบบริเวณหลุมฝังกลบขยะบ้านคำปอนของเท<strong>ศ</strong>บาลนครขอนแก่น วงเงิน ๗๓.๓๔ ล้านบาทเป็นเงินอุดหนุนจากกองทุน ๕๑.๓๔ ล้านบาทเท<strong>ศ</strong>บาลสมทบ ๒๒.๐๐ ล้านบาท ดำเนินการดังนี้v ดำเนินการก่อสร้างบ่อรวบรวมน้ำชะขยะ<strong>พ</strong>ร้อมสถานีสูบ เ<strong>พ</strong>ื่อรวบรวมน้ำชะขยะเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย เ<strong>พ</strong>ื่อป้องกันไม่ให้น้ำชะขยะไหลล้นออกนอก<strong>พ</strong>ื้นที่ และไม่ให้ส่งผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมโดยรอบv จัดซื้อเครื่องจักร ๔ รายการ- รถขุดไฮดรอลิกตีนตะขาบ ชนิดแขนยาวไม่น้อยกว่า ๑๕ เมตร- รถขุดไฮดรอลิกตีนตะขาบ ชนิดแขนยาวไม่น้อยกว่า ๙.๕ เมตร- รถยนต์บรรทุกเทท้าย ๑ ล้อ- รถขุดหน้าตักหลัง เครื่องยนต์ดีเซลกำลังไม่น้อยกว่า ๙๙ แรงม้า46


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGn โครงการการวางแนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการเชื้อเ<strong>พ</strong>ลิงป่าเต็งรัง โดยใช้แบบจำลองไฟป่าของคณะวิ<strong>ศ</strong>วกรรม<strong>ศ</strong>าสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วงเงิน ๕.๐๐ ล้านบาท ดำเนินการวิจัยเ<strong>พ</strong>ื่อใช้แบบจำลองไฟป่าเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการไฟป่าให้สามารถใช้ประโยชน์จากไฟป่าที่มีความรุนแรงต่ำหมอกควันน้อย ในการลดการสะสมของเชื้อเ<strong>พ</strong>ลิงและรักษาระบบนิเว<strong>ศ</strong>ของป่าเต็งรัง ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม โดยการสร้างชุมชนบ้านแม่เตี๊ยะใต้ ตำบลสบเตี๊ยะ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นชุมชนต้นแบบที่สามารถถ่ายทอดรูปแบบความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติออบหลวง ในการจัดการไฟป่าสู่ชุมชนอื่นได้n โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาแบบจำลองเชิง<strong>พ</strong>ื้นที่แบบ<strong>พ</strong>ลวัตเ<strong>พ</strong>ื่อติดตามและประเมินสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>น้ำ กรณี<strong>ศ</strong>ึกษาแม่น้ำเ<strong>พ</strong>ชรบุรี ของสำนักงานปลัดกระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดำเนินการโดยสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๘ ราชบุรี วงเงิน ๔.๘๒๐ล้านบาท เป็นการ<strong>พ</strong>ัฒนาแบบจำลองเชิง<strong>พ</strong>ื้นที่แบบ<strong>พ</strong>ลวัต(Dynamic Spatial Model) เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>พ</strong>ัฒนา ติดตามและประเมินสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>น้ำ จากแหล่งกำเนิดมล<strong>พ</strong>ิษทางน้ำทั้งที่ทราบ (point source) และไม่ทราบแหล่งที่มา (non-point sources) ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อคุณภา<strong>พ</strong>น้ำแม่น้ำเ<strong>พ</strong>ชรบุรี โดยจะเน้น<strong>พ</strong>ิจารณาตามแนวทาง Activity-based Approach เป็นหลักซึ่งบริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่<strong>ศ</strong>ึกษาจะเน้นตามแนวแม่น้ำเ<strong>พ</strong>ชรบุรีระยะทางทั้งสิ้น ๒๑๐ กิโลเมตรเงินอุดหนุนองค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม๑ โครงการn โครงการสร้างความตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมในการจัดการฐานทรั<strong>พ</strong>ยากรดิน น้ำ ป่าต.แวงน้อย อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น ของสมาคมเ<strong>พ</strong>ื่อนภูวงเงิน ๔.๐๕๔ ล้านบาท เป็นการรณรงค์การทำเกษตรวิถีธรรมชาติ และการฟื้นฟูป่าสาธารณะ โดยสร้างกระบวนการเรียนรู ้จากการปฏิบัติจริงตามวิถีวัฒนธรรมของชุมชนที่<strong>พ</strong>ัฒนาจากองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสร้างตัวอย่าง<strong>พ</strong>ื้นที่นำร่องที่เป็นต้นแบบในที่ดินทำกินของตนเองและป่าสาธารณะให้เกิดประสิทธิภา<strong>พ</strong>สูงสุด47


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการจากภาคีทุกภาคส่วน ในกระบวนการวางแผน และการดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาผลกระทบจากการเสื่อมโทรมของฐานทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ซึ่งดำเนินการใน<strong>พ</strong>ื้นที่ ๑๐ หมู่บ้าน ๕ โรงเรียนใน ต.แวงน้อย อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่นเงินกู้เอกชน ๗ โครงการn โครงการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียเ<strong>พ</strong>ื่อผลิตก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>และปรับเปลี่ยนหม้อไอน้ำ ของบริษัทผลิตภัณฑ์อาหารเช<strong>พ</strong>ช้อย จำกัด วงเงินกู้ ๑๖.๗๑๕ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ เป็นโรงงานผลิตภัณฑ์อาหารตั้งอยู่จังหวัดนนทบุรี ในกระบวนการผลิตมีปริมาณน้ำเสียเกิดขึ้น ๕๐๐ ลบ.ม./วัน มีค่า COD เฉลี่ย ๗,๐๐๐มิลลิกรัม/ลิตร ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นมีปริมาณมากโรงงานได้ว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญเข้ามาดูแลและสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>แบบถังกวนสมบูรณ์ (ContinuouslyStirred Tank Reactor, CSTR) ซึ่งก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>ที่เกิดขึ้นจะถูกนำไปใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเ<strong>พ</strong>ลิงในหม้อไอน้ำใช้ในกระบวนการผลิต สำหรับตะกอนที่ผ่านการหมักย่อยแล้ว ตะกอนแห้งจะถูกกวาดเก็บไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์เ<strong>พ</strong>ื่อการเกษตร ส่วนน้ำเสียที่ผ่านการหมักย่อยแล้วจะถูกส่งไปบำบัดต่อในระบบบำบัดขั้นหลัง เ<strong>พ</strong>ื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมก่อนปล่อยลงสู่คลองมหาสวัสดิ์n โครงการก่อสร้างและติดตั้งระบบไบโอแก๊สของ บริษัท นทีโภคภัณฑ์ จำกัด วงเงินกู้ ๕ ล้านบาทซึ่งบริษัทฯ ประกอบธุรกิจเลี้ยงสุกรครบวงจร มีระบบบำบัดน้ำเสียแบบ Covered Lagoon การทำงานของระบบจะ<strong>พ</strong>ยายามให้น้ำเสียไหลเข้าสู่ระบบทางด้านล่างของบ่อ แล้วผสมเข้ากับตะกอนแบคทีเรียที่ตกตะกอนอยู่บริเวณก้นบ่อ จากนั้นไหลไปตามแนวยาวของบ่อ โดยระบบรวบรวมน้ำออกอยู่ด้านบนของบ่อในอีกฝั่งหนึ่ง แบคทีเรียประกอบด้วยที่อยู่ในสภาวะไม่ใช้อากา<strong>ศ</strong>ทั้งสองแบบ ได้แก่ แบคทีเรียสร้างกรด และสร้างมีเทน เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการจัดการฟาร์มให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยไม่ให้มีกลิ่นเหม็นรุนแรง จึงต้องมีการนำระบบ Covered Lagoon บำบัดน้ำเสีย และมีการนำก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>กลับมาใช้ประโยชน์เป็น<strong>พ</strong>ลังงานเชื้อเ<strong>พ</strong>ลิง48


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGทดแทน<strong>พ</strong>ลังงานเชื้อเ<strong>พ</strong>ลิงจากแหล่งอื่นๆ เช่น ไฟฟ้านอกจากนี้กากที่ได้จากการหมักก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>จะมีการนำไปทำเป็นปุ๋ยอีกด้วยn โครงการเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางของเขตประกอบการอุตสาหกรรมสยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียล<strong>พ</strong>าร์ค ของบริษัท สยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียล<strong>พ</strong>าร์ค จำกัด วงเงินกู้ ๒๒.๒๐ล้านบาท บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจจัดสรรที่ดินเ<strong>พ</strong>ื่ออุตสาหกรรมจัดตั้งเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรมในนามเขตประกอบการอุตสาหกรรมสยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียล<strong>พ</strong>าร์ค และได้มีระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางขั้นที่๑ และ ๒ แบบเคมีและชีวภา<strong>พ</strong> ความสามารถรองรับปริมาณน้ำเสียอยู ่ที่ ๔,๗๕๐ ลูกบา<strong>ศ</strong>ก์เมตร/วัน สามารถบำบัดได้ตามเกณฑ์มาตรฐานกำหนด จึงมีแนวคิดในการออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียขั้นที่ ๓ เป็นระบบแบบ Activated Carbon Treatment กำลังการบำบัดวันละ ๕,๐๐๐ ลูกบา<strong>ศ</strong>ก์เมตร ดังนั้นในอนาคตการบำบัดน้ำเสียรวมจะผ่านการบำบัดทางเคมี การบำบัดทางชีวภา<strong>พ</strong> และการบำบัดขั้นสูงแบบ Activated CarbonTreatment น้ำที่ออกมาจะมีลักษณะใส ไม่มีโลหะหนักปนเปื้อน สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้n โครงการก่อสร้างระบบก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>ของฟาร์มม่วนใจ๋ บริษัท ม่วนใจ๋ กรีนเนอร์รี่ จำกัด วงเงิน๕.๐๐ ล้านบาท ซึ่งเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจฟาร์มสุกรระดับ<strong>พ</strong>่อแม่<strong>พ</strong>ันธุ์ สำหรับผลิตลูกสุกรเ<strong>พ</strong>ื่อออกจำหน่ายให้กับลูกค้าทั่วไปนำไปเลี้ยงต่อเป็นสุกรขุน โดยบริษัทฯมีความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในฟาร์มอันเกิดจากสิ่งปฏิกูลที่สุกรขับถ่ายออกมา โดยจัดให้มีระบบบำบัดของเสียที่ฟาร์มมาตรฐานทั่วไปมี ทั้งยังมีความต้องการนำก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>ที่ได้จากการบำบัดมาเปลี่ยนเป็น<strong>พ</strong>ลังงานไฟฟ้าเ<strong>พ</strong>ื่อใช้ภายในฟาร์ม บริษัทฯได้เลือกใช้ระบบ Cover Lagoon ซึ่งก่อสร้างบนเนื้อที่49


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑๕ ไร่ ประกอบด้วย บ่อกักเก็บ บ่อน้ำล้น และเครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้าและจ่ายไฟที่เกิดสู ่โรงเรือนเลี้ยงสุกรn โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียโดยการใช้<strong>พ</strong>ืชน้ำและวิธีธรรมชาติบริษัท ไทย ปังก้า ฟาร์มจำกัด วงเงิน ๑๒ ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ตั้งอยู ่ที่บ้านโคกก่องตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ดำเนินกิจการเลี้ยงสัตว์น้ำในเชิง<strong>พ</strong>าณิชย์ และเป็นผู ้เลี้ยงปลาเผาะรายใหญ่ของประเท<strong>ศ</strong> เนื่องจากน้ำเสียจากการเลี้ยงปลาที่ต้องระบายสู่คลองชลประทาน และแหล่งน้ำสาธารณะ ทำให้ชาวนาและเกษตรกรรอบๆ ได้รับผลกระทบจากน้ำเสียดังกล่าว ดังนั้น บริษัทฯ จะดำเนินการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียแบบน้ำวน โดยการใช้<strong>พ</strong>ืชน้ำและการไหลหมุนเวียนเ<strong>พ</strong>ื่อบำบัดน้ำเสียที่เกิดจากการเลี้ยงปลา สามารถนำน้ำที่บำบัดกลับไปใช้เลี้ยงปลาอีกครั้ง เป็นการลดการใช้เคมีภัณฑ์และกระแสไฟฟ้าในการบำบัดน้ำที่เกิดจากการเลี้ยงปลา ลดต้นทุนในส่วนของการผลิตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งไม่ทำให้เกิดปัญหาน้ำเสียส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนใกล้เคียงn โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียบริษัท เจนเนอรัล เบฟเวอร์เรจ จำกัด วงเงิน ๑๙.๕๐ล้านบาท โดยบริษัทฯ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ ถนนบ้านแ<strong>พ</strong>้ว-นครปฐม ตำบลตลาดจินดา อำเภอสาม<strong>พ</strong>ราน จังหวัดนครปฐม ดำเนินธุรกิจโรงงานผลิตเครื่องดื่มบรรจุขวดประเภท PET โดยใช้เทคโนโลยีการบรรจุแบบปลอดเชื้อ (Aseptic) มีกำลังการผลิต ๖๐๐ ขวดต่อวันสำหรับขวดขนาด ๓๘๐ มิลลิลิตร และบริษัทฯอยู่ระหว่างการก่อสร้างระบบผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มชนิดบรรจุขวด จะดำเนินการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียที่ได้จากกระบวนการผลิตดังกล่าว ซึ่งจะสามารถบำบัดน้ำเสียได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ลูกบา<strong>ศ</strong>ก์เมตร/วันn โครงการก่อสร้างและติดตั้งระบบผลิตก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>และบำบัดน้ำเสียจากมูลไก่ของบริษัท<strong>พ</strong>ลวิทยาฟาร์ม จำกัด วงเงิน ๒๑.๐๐ ล้านบาท ดำเนินการก่อสร้างและติดตั้งระบบผลิตก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>และบำบัดน้ำเสียจากมูลไก่ โดยใช้เทคโนโลยีระบบผลิตก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>แบบ CMU-CD (Chiang Mai University ChannelDigester) ขนาด ๔,๐๐๐ ลูกบา<strong>ศ</strong>ก์เมตร สามารถผลิตก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>ได้ไม่ต่ำกว่า ๑,๖๐๐ ลูกบา<strong>ศ</strong>ก์เมตร/วันณ บริษัท <strong>พ</strong>ลวิทยาฟาร์ม จำกัด ถนนมิตรภา<strong>พ</strong> ตำบลเก่างิ้วอำเภอ<strong>พ</strong>ล จังหวัดขอนแก่น ซึ่งบริษัทดำเนินธุรกิจฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ เนื้อที่ ๙๐ ไร่ มีจำนวนไก่ไข่ ๓๒๐,๐๐๐ ตัวกำลังการผลิต ๒๕๔,๔๖๘ ฟองต่อวัน ซึ่งระบบผลิตก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>และบำบัดน้ำเสียจากมูลไก่ จะช่วยลดปัญหามล<strong>พ</strong>ิษทางอากา<strong>ศ</strong> (มล<strong>พ</strong>ิษทางด้านกลิ่น) ต่อชุมชนได้ รวมทั้งยังนำก๊าซชีวภา<strong>พ</strong>ที่ได้ไปผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ภายในฟาร์มด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อมกองทุนสิ่งแวดล้อมได้มีการ<strong>พ</strong>ัฒนา ปรับปรุงการบริหารจัดการในด้านต่างๆ เ<strong>พ</strong>ื่อให้การดำเนินการมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>บรรลุวัตถุประสงค์ และเจตนารมณ์ของกองทุนฯ ที่เป็นมาตรการทางด้านการเงินที่จะ50


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGสร้างแรงจูงใจให้ทุกภาคส่วน ในการเข้ามามีส่วนร่วมเ<strong>พ</strong>ื่อการป้องกันและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมและทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติของประเท<strong>ศ</strong> สรุปการดำเนินการสำคัญดังนี้n การจัดทำประกา<strong>ศ</strong>คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข ในการ<strong>พ</strong>ิจารณาให้กู ้ยืม อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาปลอดการชำระคืนเงินต้นและระยะเวลาชำระหนี้เงินกู้ยืมเ<strong>พ</strong>ื่อบรรเทาผลกระทบจากเหตุอุทกภัย <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ เนื่องจากได้เกิดอุทกภัยรุนแรงใน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบกำจัดของเสีย หรือระบบบำบัดอากา<strong>ศ</strong>เสียทั้งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ดังนั้น กองทุนสิ่งแวดล้อมจึงเห็นสมควรที่จะให้การสนับสนุนภาคส่วนดังกล่าว ในการฟื้นฟูหรือปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสีย ของเสีย หรืออากา<strong>ศ</strong>เสียให้สามารถใช้งานต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึงได้มีการจัดทำและออกประกา<strong>ศ</strong>คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม เรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ในการ<strong>พ</strong>ิจารณาให้กู ้ยืม อัตราดอกเบี้ยระยะเวลาปลอดการชำระคืนเงินต้น และระยะเวลาชำระหนี้เงินกู ้ยืมเ<strong>พ</strong>ื่อบรรเทาผลกระทบจากเหตุอุทกภัย<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๓ เมษายน <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ <strong>พ</strong>ฤษภาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ถึง ๓๑ ธันวาคม<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> โดยปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นดังนี้l องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เดิมอัตราร้อยละ ๒.๒๕ เหลือร้อยละ ๑.๒๕ ต่อปีl รัฐวิสาหกิจ เดิมอัตราร้อยละ ๒.๕๐ เหลือร้อยละ ๑.๕๐ ต่อปีl ภาคเอกชน เดิมอัตราร้อยละ ๒ - ๓เหลือร้อยละ ๑ - ๒ ต่อปีn จัดทำคู ่มือการดำเนินงานตามมาตรา ๘๘และ ๙๓ แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ ได้ดำเนินการจัดทำคู ่มือฯ เ<strong>พ</strong>ื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อมสำหรับก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวม หรือระบบกำจัดของเสียรวม รวมทั้งการจัดหาหรือจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือและเครื่องใช้ในการดำเนินงานและบำรุงรักษาระบบฯ ได้มีความเข้าใจและเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมที่จะดำเนินการกำหนดอัตราค่าบริการ และการจัดเก็บค่าบริการจากระบบบำบัดน้ำเสียรวม หรือระบบกำจัดของเสียรวม โดยให้นำค่าบริการและค่าปรับที่จัดเก็บได้หักส่งเข้ากองทุนฯ ตามอัตราส่วนที่คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อมกำหนด ให้สามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> บรรลุตามหลักการผู ้ก่อมล<strong>พ</strong>ิษเป็นผู ้จ่าย และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมต่อไปn การติดตามและประเมินผลประสิทธิภา<strong>พ</strong>ของระบบบำบัดน้ำเสีย และระบบกำจัดขยะมูลฝอยรวมที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการติดตามและประเมินผลประสิทธิภา<strong>พ</strong>ระบบบำบัดน้ำเสียรวม และระบบกำจัดขยะมูลฝอยรวมที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม จำนวน ๓๙<strong>พ</strong>ื้นที่ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้ข้อเสนอแนะ บทเรียนในการปรับปรุงประสิทธิภา<strong>พ</strong>ระบบในแต่ละ<strong>พ</strong>ื้นที่ รวมทั้งปรับปรุงการบริหารจัดการในการสนับสนุนเงินกองทุนเ<strong>พ</strong>ื่อดำเนินการในกิจการตามมาตรา ๒๓ (๑) ให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ที่จะสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนn การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม เนื่องจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อมจำนวน ๕ ท่าน ได้ครบวาระซึ่งมีระยะเวลา ๓ ปี ในวันที่๖ เมษายน <strong>๒๕๕๕</strong> สำนักงานฯ ได้นำเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ ๓/<strong>๒๕๕๕</strong>เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน <strong>๒๕๕๕</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณาแต่งตั้งกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิชุดใหม่ ซึ่งคณะกรรมการฯ ได้มีมติ51


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเห็นชอบให้แต่งตั้งกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อมชุดใหม่ จำนวน ๕ ท่าน คือ- นายธเร<strong>ศ</strong> <strong>ศ</strong>รีสถิตย์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรอง<strong>ศ</strong>าสตราจารย์ สังกัดภาควิชาวิ<strong>ศ</strong>วกรรมสิ่งแวดล้อมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย- นางนิ<strong>ศ</strong>านาท สถิรกุล ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม และประธานคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการด้านการจัดการมล<strong>พ</strong>ิษ- นายปกรณ์ ปรียากร ปัจจุบันดำรงตำแหน่งคณบดีคณะรัฐประ<strong>ศ</strong>าสน<strong>ศ</strong>าสตร์ สถาบันบัณฑิต<strong>พ</strong>ัฒนบริหาร<strong>ศ</strong>าสตร์- นางสาวแสงจันทร์ ลิ้มจิรกาล ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม และประธานคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการด้านการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม- นายณรงค์ ใจหาญ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองคณบดีคณะนิติ<strong>ศ</strong>าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรม<strong>ศ</strong>าสตร์ผลผลิตn การสนับสนุนเงินอุดหนุนให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา ๒๓(๑) ให้ส่วนราชการและองค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๒๓(๔)สนับสนุนเงินกู้ให้กับภาคเอกชน ตามมาตรา ๒๓(๓)จำนวน ๑๒ โครงการn การ<strong>พ</strong>ัฒนาการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อม จำนวน ๔ เรื่องผลลั<strong>พ</strong>ธ์n การจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน และถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมทั้งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕n การบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>บรรลุวัตถุประสงค์ และเจตนารมณ์ของกองทุนฯปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จn กองทุนฯ ยังขาดสภา<strong>พ</strong>คล่องในการบริหารจัดการในรูปแบบกองทุนฯ ขาดเงินหมุนเวียนเข้า และไม่มีแหล่งรายรับทางตรงที่แน่นอนn ไม่มีกรอบการสนับสนุนที่ชัดเจนในการตอบสนองต่อการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในการสนับสนุนในแต่ละกลุ่มปัญหาn กองทุนสิ่งแวดล้อมยังไม่เป็นที่รู้จักของสาธารณะ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะอย่างยิ่งกลุ่มผู้รับบริการ ตามที่กฎหมายกำหนดโดยเฉ<strong>พ</strong>าะอย่างยิ่งภาคเอกชนข้อเสนอแนะให้มีการทำการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ให้กว้างขวางและแ<strong>พ</strong>ร่หลายมากขึ้น และปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และเชิงรุกมากยิ่งขึ้น52


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๔. การ<strong>ศ</strong>ึกษา วิจัย และการสร้างองค์ความรู้๔.๑ การจัดประชุมวันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลองค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้วันที่๒๒ <strong>พ</strong>ฤษภาคม ของทุกปี เป็นวันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (International Day forBiological Diversity) เ<strong>พ</strong>ื่อรณรงค์ให้ประชาคมโลกเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืน ซึ่งจะมีการกำหนดหัวข้อ (theme) สำหรับการฉลองในแต่ละปี สำหรับปี <strong>๒๕๕๕</strong> (ค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๒) นี้สำนักเลขาธิการอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ได้กำหนดหัวข้อคือ “ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทางทะเลและชายฝั่ง” (marine and coastalbiodiversity) เนื่องจากในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งทั่วโลกกำลังถูกคุกคามและเปลี่ยนสภา<strong>พ</strong>ไปอย่างต่อเนื่อง เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการแก้ไขประเด็นปัญหาดังกล่าว และส่งเสริมให้ประชาคมโลกตระหนักถึงความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทางทะเลและชายฝั่งผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดการประชุมวิชาการเนื่องในโอกาสวันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ปี <strong>๒๕๕๕</strong> ภายใต้หัวข้อ “ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทางทะเลและชายฝั่ง”เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมให้สาธารณชนตระหนักถึงความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทางทะเลและชายฝั่ง เมื่อวันที่ ๒๒ - ๒๓ <strong>พ</strong>ฤษภาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>ผลผลิตการประชุมเ<strong>พ</strong>ื่อนำเสนอ หารือ และตลอดจนแจกจ่ายเอกสารวิชาการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู ้ ความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืนผลลั<strong>พ</strong>ธ์บุคลากรในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้ตระหนักถึงคุณค่า ความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งรับทราบเป้าหมายการเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งขึ้นจากร้อยละ ๑ เป็นร้อยละ ๑๐ ภายในปี ๒๐๒๐ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการจัดประชุมวันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> เป็นส่วนหนึ่งของการสนับสนุนการดำเนินงานอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ไทยให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายไอจิของกลยุทธ์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ดังนั้นจึงต้องการขยายการดำเนินงานให้ประชาชนและทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมแต่ไม่ได้รับงบประมาณดำเนินงานเ<strong>พ</strong>ียง<strong>พ</strong>อข้อเสนอแนะควรสนับสนุนและขอความร่วมมือให้หน่วยงานภาคธุรกิจ เอกชน และองค์กร<strong>พ</strong>ัฒนาเอกชนจัดงานเช่นเดียวกันในจังหวัดและท้องถิ่น53


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๒ การจัดกิจกรรมและนิทรร<strong>ศ</strong>การเทิด<strong>พ</strong>ระเกียรติสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ <strong>พ</strong>ระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๙ <strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๓ เห็นชอบการถวาย<strong>พ</strong>ระราชสมัญญา“<strong>พ</strong>ระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>” แด่สมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ เ<strong>พ</strong>ื่อเฉลิม<strong>พ</strong>ระเกียรติเนื่องในปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๐ ที่ทรงอนุรักษ์และคุ ้มครองทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong> ด้วย<strong>พ</strong>ระปรีชาสามารถและ<strong>พ</strong>ระอุตสาหะวิริยะมาอย่างต่อเนื่องยาวนานจนเป็นที่ประจักษ์ผลการดำเนินงานมูลนิธิสวนสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ฯได้กำหนดการจัดงานขึ้นระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๙ สิงหาคม<strong>๒๕๕๕</strong> ภายใต้ชื่อ “ป่าเล็กในเมืองใหญ่ รักษ์ประชารักษ์ป่า รักษ์น้ำ รักษ์แผ่นดิน เฉลิม<strong>พ</strong>ระเกียรติ ๘๐ <strong>พ</strong>รรษาสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ <strong>พ</strong>ระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>” โดยมีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปมีจิตสำนึกเกิดความรู้สึกรักและหวงแหนความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และเกิดแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong> นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้งสมาคมและโครงการ<strong>พ</strong>ระราชดำริต่าง ๆ ร่วมจัดแสดงนิทรร<strong>ศ</strong>การด้วยสำนักงานฯ ได้ร่วมกับมูลนิธิฯ จัดกิจกรรมและจัดนิทรร<strong>ศ</strong>การเทิด<strong>พ</strong>ระเกียรติสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ <strong>พ</strong>ระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> “ใต้ร่ม<strong>พ</strong>ระบารมีคุ้มครองสรร<strong>พ</strong>ชีวิต” ในระหว่างวันดังกล่าวข้างต้นณ สวนสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เขตจตุจักร กรุงเท<strong>พ</strong>ฯและร่วมรับเสด็จสมเด็จ<strong>พ</strong>ระเท<strong>พ</strong>รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โดยเลขาธิการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถวายรายงานความเป็นมาในการจัดกิจกรรม <strong>พ</strong>ร้อมทูลเกล้าฯถวายหนังสือที่ระลึกผลผลิตกิจกรรมและนิทรร<strong>ศ</strong>การเทิด<strong>พ</strong>ระเกียรติสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ <strong>พ</strong>ระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> “ใต้ร่ม<strong>พ</strong>ระบารมี คุ้มครองสรร<strong>พ</strong>ชีวิต”ผลลั<strong>พ</strong>ธ์<strong>พ</strong>ระเกียรติคุณ<strong>พ</strong>ระมารดาแห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ได้รับการเผยแ<strong>พ</strong>ร่สู่สาธารณชน และสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรู้สึกรักและหวงแหนความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการเทิด<strong>พ</strong>ระเกียรติสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าฯ<strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ ควรขยายการดำเนินงานไปยังทุกจังหวัด และทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวต้องมีนโยบายระดับกระทรวงและงบประมาณสนับสนุนให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องข้อเสนอแนะควรมีหน่วยงานรับผิดชอบการเทิด<strong>พ</strong>ระเกียรติสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าฯ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ เ<strong>พ</strong>ื่อดำเนินงานอย่างยิ่งใหญ่และยั่งยืน54


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๔.๓ การประเมินสถานภา<strong>พ</strong>ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ใน<strong>พ</strong>ื้นที่วิกฤติภาคเหนือ (จังหวัดเชียงใหม่ และลำ<strong>พ</strong>ูน)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผล<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ใน<strong>พ</strong>ื้นที่วิกฤติทางความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.๒๕๔๘ โดยการสำรวจใน ๗ ระบบนิเว<strong>ศ</strong>หลัก ตามโปรแกรมงานอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ได้แก่ ระบบนิเว<strong>ศ</strong>ป่าไม้ ภูเขา <strong>พ</strong>ื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้นแหล่งน้ำในแผ่นดิน ทะเลและชายฝั่ง เกาะ และเกษตรผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ได้ดำเนินการอีก ๔ ระบบนิเว<strong>ศ</strong> ได้แก่ ระบบนิเว<strong>ศ</strong>ภูเขา ป่าไม้ แหล่งน้ำในแผ่นดิน และเกษตรของ<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และลำ<strong>พ</strong>ูน ซึ่งผลการ<strong>ศ</strong>ึกษาสำรวจทำให้ได้ข้อมูลสถานภา<strong>พ</strong>ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันซึ่งสามารถใช้ติดตามการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>จากกิจกรรมต่างๆ ที่คุกคามระบบนิเว<strong>ศ</strong>และชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ืชและสัตว์ใกล้สูญ<strong>พ</strong>ันธุ์รวมถึงชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์หายาก และชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์เฉ<strong>พ</strong>าะถิ่นผลผลิตรายงานสถานภา<strong>พ</strong>ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ใน<strong>พ</strong>ื้นที่วิกฤติทางความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ร้อมแผนที่การแบ่งเขตระบบนิเว<strong>ศ</strong> มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ใน<strong>พ</strong>ื้นที่วิกฤติทางความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ในระบบนิเว<strong>ศ</strong>ที่<strong>ศ</strong>ึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ และลำ<strong>พ</strong>ูน และเผยแ<strong>พ</strong>ร่ผ่านกลไกการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (http://chm-thai.onep.go.th)ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับสถานภา<strong>พ</strong>ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่ถูกต้องและทันสมัย เ<strong>พ</strong>ื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จn ฝ่ายบริหาร/นโยบายที่มีหน้าที่ในการจัดสรรงบประมาณไม่เห็นควรสำคัญของงานด้านการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>n ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของนักอนุกรมวิธานในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล มีผลต่อการได้ข้อมูลที่มีความถูกต้องข้อเสนอแนะควรเร่งรัดการสำรวจและประเมินสถานภา<strong>พ</strong>ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว เ<strong>พ</strong>ื่อนำมาจัดลำดับความสำคัญและกำหนดนโยบายและแผนเ<strong>พ</strong>ื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์สาย<strong>พ</strong>ันธุ์ และ<strong>พ</strong>ื้นที่ที่ถูกคุกคามในระดับวิกฤติ55


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๔ แนวทางการดำเนินงานด้านการสื่อสาร การให้การ<strong>ศ</strong>ึกษา และการเสริมสร้างความตระหนักแก่สาธารณชนเรื่องความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (CEPA) เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองต่อท<strong>ศ</strong>วรรษแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ขององค์การสหประชาชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลสมัชชาองค์การสหประชาชาติ (UnitedNations General Assembly) ได้มีข้อมติ ๖๕/๑๖๑ประกา<strong>ศ</strong>ให้ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓ (ค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๑ - ๒๐๒๐)เป็น “ท<strong>ศ</strong>วรรษแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของสหประชาชาติ (United Nations Decade onBiodiversity 2011 - 2020)” โดยมีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อช่วยสนับสนุนและกระตุ้นให้ทุกประเท<strong>ศ</strong>มีส่วนร่วมในการลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทั่วโลกให้ได้ภายในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๖๓ผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยประสานงานกลางอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ได้ดำเนินการจัดทำ (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานด้านการสื่อสาร การให้การ<strong>ศ</strong>ึกษา และการเสริมสร้างความตระหนักแก่สาธารณชนเรื่องความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (CEPA) เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองต่อท<strong>ศ</strong>วรรษแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ขององค์การสหประชาชาติ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓ โดยผ่านการสำรวจความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และร่างดังกล่าวได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>แห่งชาติ (กอช.) ในคราวประชุม ครั้งที่ ๒/<strong>๒๕๕๕</strong> เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ประกอบด้วย ๓ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ๗ กลยุทธ์ได้แก่ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่๑ : ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานด้านการสื่อสารความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>แก่สาธารณชน ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๒ : ให้การ<strong>ศ</strong>ึกษาและเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูนความรู้แก่สาธารณชนในเรื่องความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ผ่านระบบการ<strong>ศ</strong>ึกษาทั้งในและนอกระบบและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ที่ ๓ : เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักแก่สาธารณชนในเรื่องความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ผลผลิตแนวทางการดำเนินงานด้านการสื่อสารฯการให้การ<strong>ศ</strong>ึกษา และการเสริมสร้างตระหนักแก่สาธารณชน เรื่องความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (CEPA)เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองต่อท<strong>ศ</strong>วรรษแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ขององค์การสหประชาชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓ประกอบด้วย ๓ ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ ๗ กลยุทธ์ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ทุกภาคส่วนเกิดความรู ้ ความเข้าใจ และความตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> อันจะนำไปสู่การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืนปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะหน่วยงานด้านนโยบายหน่วยงานด้านงบประมาณ ภาคเอกชน และหน่วยงานด้านสื่อสารมวลชนข้อเสนอแนะควรเร่งผลักดันเรื่องความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ให้เข้าไปอยู่ในระบบการ<strong>ศ</strong>ึกษา และกระแสหลักของสังคม เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนเกิดความตระหนัก และเห็นถึงความสำคัญของความหลากหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ซึ่งอยู ่รอบตัวและเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต56


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๔.๕ แนวทางการวิจัยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่จำเป็นและสนองต่อเป้าหมายของแผนกลยุทธ์อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ระยะ ๒๐๑๑ - ๒๐๒๐ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลผลการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> สมัยที่ ๑๐ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ ณ เมืองนาโงยาประเท<strong>ศ</strong>ญี่ปุ่น รับรองแผนกลยุทธ์อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> สำหรับระยะ ๒๐๑๑ -๒๐๒๐ (Strategic Plan for the Post - ๒๐๑๐Period) โดยให้ภาคีแปลงไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้ข้อมติ ๖๕/๑๖๑ ของสมัชชาสหประชาชาติ (UnitedNations General Assembly) เมื่อวันที่ ๒๐ธันวาคม ๒๕๕๔ ประกา<strong>ศ</strong>ให้ ค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๑ - ๒๐๒๐เป็นท<strong>ศ</strong>วรรษแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของสหประชาชาติ และกระตุ้นให้ทุกประเท<strong>ศ</strong>มีส่วนร่วมอย่างเต็มกำลังในท<strong>ศ</strong>วรรษนี้ เ<strong>พ</strong>ื่อลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ทั่วโลกให้ได้ภายในปี๒๐๒๐ ซึ่งทำให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยต้องปรับทิ<strong>ศ</strong>ทางของนโยบาย แผน แนวทาง รวมถึงมาตรการที่เกี่ยวข้อง เ<strong>พ</strong>ื่อเร่งดำเนินการในการลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยประสานงานกลาง อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ได้ดำเนินการจัดทำ (ร่าง) แนวทางการวิจัยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่จำเป็นและสนองต่อเป้าหมายของแผนกลยุทธ์อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ระยะ ๒๐๑๑ - ๒๐๒๐ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓)โดยผ่านการระดมความคิดเห็นและการหารือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้ทรงคุณวุฒิด้านความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> โดยได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>แห่งชาติ (กอช.) ในคราวประชุมครั้งที่ ๒/<strong>๒๕๕๕</strong> เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>ประกอบด้วย ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) แก้ไขมูลเหตุรากฐานของการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>โดยหยิบยกความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>เป็นกระแสหลักในภาครัฐและภาคประชาสังคม ๒) ลดแรงกดดันโดยตรงต่อความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และส่งเสริมการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ๓) ปรับปรุงสถานภา<strong>พ</strong>ของความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> โดยเฝ้าระวังรักษาความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของระบบนิเว<strong>ศ</strong> ชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ และ<strong>พ</strong>ันธุกรรม๔) เ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูนผลประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และบริการจากระบบนิเว<strong>ศ</strong>ต่อคนทั้งปวง๕) เ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูนการอนุวัตอนุสัญญาฯ โดยมีการวางแผนอย่างมีส่วนร่วม การจัดการความรู้ และการ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะ รวมทั้งหมด ๓๐๑ แนวทางผลผลิตแนวทางการวิจัยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่จำเป็น และสนองต่อเป้าหมายของแผนกลยุทธ์อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ระยะ๒๐๑๑ - ๒๐๒๐ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓)ผลลั<strong>พ</strong>ธ์สามารถกำหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางการวิจัยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ให้สอดรับกับบริบทโลกยกระดับองค์ความรู้เชิงวิชาการและสังคมวิจัยให้เข้าสู่ระดับสากล ส่งผลให้การกำหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางและนโยบายอยู่บน<strong>พ</strong>ื้นฐานของข้อเท็จจริงทางวิชาการปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ ในการสนับสนุนทุนวิจัยและร่วมดำเนินการข้อเสนอแนะในอนาคตอันใกล้ ภาวะโลกร้อน หรือการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> จะเป็นภัยคุกคามหลักต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ การบริหารจัดการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อคงสภา<strong>พ</strong>การให้บริการจากระบบนิเว<strong>ศ</strong>ไว้อย่างยั่งยืน จะสามารถช่วยบรรเทาภัยคุกคามดังกล่าวได้ ภาคส่วนต่างๆจึงควรทราบบทบาทของตนและลงมือปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่นั้นๆ ร่วมอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างสมดุลและยั่งยืนต่อไป โดยสังคมวิจัยก็เป็นหนึ่งภาคส่วนที่มีบทบาทตามแนวทางการวิจัยฯ นี้เช่นกัน57


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๖ การสำรวจสถานภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำประเภทหนองบึงน้ำจืดของประเท<strong>ศ</strong>ไทยสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการจัดทำทะเบียนรายนามสถานภา<strong>พ</strong>และฐานข้อมูล<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำของประเท<strong>ศ</strong>ไทยใน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๙มีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>ศ</strong>ึกษา รวบรวม และจัดทำฐานข้อมูล<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำของประเท<strong>ศ</strong>ไทย <strong>พ</strong>ร้อมทั้ง<strong>พ</strong>ัฒนาระบบฐานข้อมูล<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำสำหรับการวางแผนการจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำของประเท<strong>ศ</strong>ไทยผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินโครงการสำรวจจัดทำทะเบียนรายนามสถานภา<strong>พ</strong>และฐานข้อมูล<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำของประเท<strong>ศ</strong>ไทยใน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๙ ตลอดจนเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ความเข้าใจในคุณค่า ความสำคัญ การอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน ซึ่งมีข้อมูลครอบคลุมประเด็นในเรื่องจำนวน เนื้อที่ ที่ตั้ง <strong>พ</strong>ิกัดภูมิ<strong>ศ</strong>าสตร์ ชื่อ สถานภา<strong>พ</strong>ทางกฎหมายของ<strong>พ</strong>ื้นที่ ข้อมูลด้านกายภา<strong>พ</strong> ด้านชีวภา<strong>พ</strong> ด้านเคมี ด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคม ด้านการใช้ประโยชน์ ภาวะการคุกคาม เป็นต้นทั้งในและโดยรอบ<strong>พ</strong>ื้นที่ รายชื่อ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ ่มน้ำที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการขึ้นทะเบียนเป็นแรมซาร์ไซต์ และข้อเสนอการจัดลำดับความสำคัญของ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำประเภทหนองบึงน้ำจืด รวมทั้งมาตรการและกลไกการอนุรักษ์<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำประเภทหนองบึงน้ำจืดที่เหมาะสมกับ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนผลผลิตรายงานสถานภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ชุ ่มน้ำประเภทหนองบึงน้ำจืดภาคกลางและภาคตะวันออก และเผยแ<strong>พ</strong>ร่ผ่านเว็บไซต์ของสำนักงานฯ เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู ้เกี่ยวข้องและผู ้สนใจได้ใช้ประโยชน์ทะเบียนรายนามและสถานภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำประเภทหนองบึงน้ำจืดภาคกลางและภาคตะวันออกผลลั<strong>พ</strong>ธ์อนุรักษ์<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำประเภทหนองบึงน้ำจืดภาคกลางและภาคตะวันออก และสามารถใช้ประโยชน์ในการ<strong>พ</strong>ิจารณา<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการขึ้นทะเบียนเป็นแรมซาร์ไซต์ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จเนื่องจากการดำเนินโครงการฯ มีระยะเวลาค่อนข้างจำกัด จึงทำให้เป็นอุปสรรคในการสำรวจ และติดตามสถานภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำใน<strong>พ</strong>ื้นที่ดังกล่าว เ<strong>พ</strong>ราะบางครั้งในการออกไปสำรวจและเก็บตัวอย่าง มีสภา<strong>พ</strong>อากา<strong>ศ</strong>ที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการทำงาน จึงทำให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินโครงการในบางช่วงเวลาข้อเสนอแนะควรจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับการดำเนินงานในการสำรวจสถานภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำในทุกๆด้าน เ<strong>พ</strong>ื่อความต่อเนื่องในการดำเนินงานและเ<strong>พ</strong>ื่อให้ได้ข้อมูลที่ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน58


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๔.๗ การอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ เรื่อง การประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมสาระสำคัญ หลักการ เหตุผล<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานเครือข่าย<strong>พ</strong>ันธมิตร ภายใต้แผน<strong>พ</strong>ัฒนาอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> – ๒๕๕๙ จึงได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ เรื่อง การประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อม เ<strong>พ</strong>ื่อให้เป็นไปตามแผน<strong>พ</strong>ัฒนาอุทยานฯและเป็นการให้ความร่วมมือกับการดำเนินงานของอุทยานฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และประสิทธิผลอันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน สังคม และประเท<strong>ศ</strong>ชาติ ในระหว่างวันที่๒๘ – ๓๐ มีนาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเ<strong>พ</strong>ชรบุรี มีผู ้เข้าร่วมการอบรมจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๕๐ คนผลผลิตบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องได้รับการอบรมการประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่ และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมรายงานสรุปผลการอบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ เรื่องการประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อมผลลั<strong>พ</strong>ธ์ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่รับผิดชอบของตนเองและหน่วยงาน ได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และประสิทธิผลปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน<strong>พ</strong>ื้นที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อการบรรลุความสำเร็จข้อเสนอแนะควรดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐต่อเนื่องโดยเฉ<strong>พ</strong>าะหน่วยงานในระดับท้องถิ่นที่เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่59


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๘ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ คุ้มครอง และฟื้นฟูคุณภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ด จังหวัดนครสวรรค์สาระสำคัญ หลักการ เหตุผล ประเมินมูลค่าทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ (ทางตรง) จากการใช้บึงบอระเ<strong>พ</strong>็ดเป็น<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญ ประโยชน์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติจากบึงของชุมชน และตามมติคณะรัฐมนตรี ในขณะเดียวกันก็เป็นแหล่ง ใช้วิธีการประชุมระดมข้อมูลจากผู้ใช้ประโยชน์ในบึงอาหารที่สำคัญของชุมชนโดยรอบบึง ในการอนุรักษ์ บอระเ<strong>พ</strong>็ดโดยตรง รวม ๔ ครั้ง และทำการระดมข้อมูลทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติของบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ด เ<strong>พ</strong>ื่อดำรงซึ่งความ แยกไปตามกลุ่มอาชี<strong>พ</strong> ประกอบด้วย ๖ อาชี<strong>พ</strong>หลัก คือหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และแหล่งอาหารของชุมชน อาชี<strong>พ</strong>เกษตรกรรม อาชี<strong>พ</strong>ประมงและเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงสัตว์น้ำจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีข้อมูลที่แสดงให้เห็นความสำคัญ อาชี<strong>พ</strong>เก็บ<strong>พ</strong>ืชผัก (ใบบัว เกสรบัว ขุดรากบัว) อาชี<strong>พ</strong>แปรรูปของทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติในบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ดที่มีต่อวิถีชีวิต อาหาร อาชี<strong>พ</strong>ท่องเที่ยว และกลุ ่มอนุรักษ์ โดยส่งเสริมการของชุมชนอย่างชัดเจน ซึ่งมูลค่าทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจที่เกิดจาก มีส่วนร่วมของประชาชนในการเสนอข้อคิดเห็น และให้การใช้ประโยชน์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติในบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ดของ ข้อมูลจากการประกอบอาชี<strong>พ</strong>ทั้งด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและด้านชุมชนเป็นปัจจัยหนึ่งที่สามารถสร้างความตระหนักของ สังคม เ<strong>พ</strong>ื่อจัดทำร่างฐานข้อมูลการใช้ประโยชน์และการชุมชนถึงความสำคัญของบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ด และร่วมกันดูแล ประเมินมูลค่าทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ (ทางตรง) จากทรั<strong>พ</strong>ยากรรักษา และใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมธรรมชาติของบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ด โดย<strong>พ</strong>บว่ามูลค่าทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจผลการดำเนินงาน(ทางตรง) อาชี<strong>พ</strong>เกษตรกรรม ๓๓,๐๔๔,๙๐๐ บาท/ปี อาชี<strong>พ</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากร ประมงและเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๗๖,๑๕๑,๙๐๐ บาท/ปีธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินโครงการการมี อาชี<strong>พ</strong>เก็บ<strong>พ</strong>ืชผัก ๘๐,๒๕๒,๑๐๐ บาท/ปี อาชี<strong>พ</strong>แปรรูปส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ คุ้มครอง และฟื้นฟู อาหาร ๒๖,๙๒๖,๕๒๐ บาท/ปี อาชี<strong>พ</strong>ท่องเที่ยวคุณภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณ ๓,๔๑๙,๘๔๐ บาท/ปีบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ด จังหวัดนครสวรรค์ โดยมีเป้าหมายในการ ผลผลิตร่างฐานข้อมูลการประกอบอาชี<strong>พ</strong>และมูลค่าของเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ (ทางตรง) ที่เกี่ยวข้องกับบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ดผลลั<strong>พ</strong>ธ์ชุมชนและประชาชนทั่วไปมีความรู ้ความเข้าใจถึงความสำคัญและประโยชน์ของทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติในบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ดต่อการดำรงชีวิต รวมทั้งมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติของบึงบอระเ<strong>พ</strong>็ดอย่างยั่งยืน60


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๔.๙ การ<strong>ศ</strong>ึกษาวิจัยเ<strong>พ</strong>ื่ออนุวัติกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลเนื่องจากสถานการณ์ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ไทย เช่น ภาวะฝนทิ้งช่วงอุทกภัยที่เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น เป็นต้น ซึ่งได้ส่งผลกระทบทางลบต่อเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ สังคม ความเป็นอยู่ของประชาชน ตลอดจนระบบนิเว<strong>ศ</strong>ต่างๆ และประเท<strong>ศ</strong>ไทยจำเป็นต้องดำเนินงานตาม<strong>พ</strong>ันธกรณีที่จะต้องเตรียมการเ<strong>พ</strong>ื่อปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>(vulnerable area) และกำหนดหลักเกณฑ์สำหรับประเมิน<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงดังกล่าว เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นแนวทางเตรียมการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> และส่งเสริมการปรับตัวของประเท<strong>ศ</strong>ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ <strong>๒๕๕๕</strong> ได้ทำการประเมิน<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงและเปราะบางต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ในระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่ของระบบนิเว<strong>ศ</strong>แหล่งน้ำในแผ่นดินของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการ<strong>พ</strong>ิจารณากำหนดแนวทางเตรียมการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> การป้องกันการเกิดผลกระทบรุนแรง และส่งเสริมการปรับตัวในระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่ได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนเป็นส่วนสำคัญในการทดสอบ และปรับปรุงหลักเกณฑ์สำหรับประเมิน<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงฯ ในรายสาขา (ระบบนิเว<strong>ศ</strong>) ให้เกิดความเหมาะสมต่อไป ทั้งนี้ การดำเนินงานดังกล่าวจะนำไปใช้ประโยชน์ในการ<strong>พ</strong>ัฒนาแนวทาง/เครื่องมือ/กลไก/มาตรการที่เหมาะสมในการดำเนินงานของแต่ละ<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงฯ รวมถึงเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการ<strong>ศ</strong>ึกษาแนวทางสร้างเสริมสมรรถนะของประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงฯ ให้สามารถปรับตัวเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับต่อผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสมต่อไปผลผลิตประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีหลักเกณฑ์สำหรับประเมิน<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงและมีความเปราะบางต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ของระบบนิเว<strong>ศ</strong>แหล่งน้ำในแผ่นดินผลลั<strong>พ</strong>ธ์สามารถประเมิน<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงและมีความเปราะบางต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ของระบบนิเว<strong>ศ</strong>แหล่งน้ำในแผ่นดินเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและองค์ความรู้ในการป้องกัน และ/หรือ บรรเทาผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการ<strong>ศ</strong>ึกษาต้องใช้เวลานานและผู้เชี่ยวชาญจำนวนมากที่มีประสบการณ์เรื่องระบบนิเว<strong>ศ</strong>แหล่งน้ำในแผ่นดินข้อเสนอแนะควรมีการจัดทำแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์สำหรับกำหนด<strong>พ</strong>ื้นที่เสี่ยงและเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อจัดทำแผนการบริหารจัดการในระดับ<strong>พ</strong>ื้นที่61


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๑๐ เมืองต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลโครงการเมืองต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน เป็นโครงการหนึ่งภายใต้ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียนของคณะทำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยวัตถุประสงค์หลักของโครงการฯเ<strong>พ</strong>ื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเสริมสร้าง<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การดำเนินงานในระดับท้องถิ่นด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ระยะเวลาดำเนินงานตั้งแต่เดือน<strong>พ</strong>ฤษภาคม ๒๕๕๔ - เมษายน <strong>๒๕๕๕</strong> โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก Japan - ASEANIntegration Fund (JAIF) จำนวน ๔๓,๔๕๕ USD หรือประมาณ ๑,๓๐๓,๖๕๐ บาทผลการดำเนินงานมีเมืองที่เข้าร่วมโครงการจำนวน ๓ เมืองได้แก่ ๑) เท<strong>ศ</strong>บาลตำบลเมืองแกลง กำหนด Themeในการดำเนินโครงการฯ ได้แก่ การเป็น Low CarbonSociety ๒) เท<strong>ศ</strong>บาลเมืองแม่ฮ่องสอน กำหนด Themeในการดำเนินโครงการฯ ได้แก่ การเป็น Living Museumและ ๓) เท<strong>ศ</strong>บาลนคร<strong>พ</strong>ิษณุโลก กำหนด Theme ในการดำเนินโครงการฯ ได้แก่ การปรับหลักสูตรการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (Community Based SolidWaste Management: CBM)ผลผลิตn เมืองของประเท<strong>ศ</strong>ไทยที่เข้าร่วมโครงการเมืองต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน จำนวน ๓ เมืองn สื่อวีดิทั<strong>ศ</strong>น์เผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์โครงการเมืองต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนผลลั<strong>พ</strong>ธ์การถ่ายทอดประสบการณ์ และเปิดมุมมองรวมทั้งเกิดการเชื่อมเครือข่ายการดำเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในอนาคตหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในระดับเมืองที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ในการดำเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จผู้นำของเท<strong>ศ</strong>บาล หรือนายกเท<strong>ศ</strong>มนตรีของเท<strong>ศ</strong>บาลในทุกระดับให้ความสำคัญในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนอย่างจริงจังและต่อเนื่องข้อเสนอแนะหน่วยงานภาครัฐควรร่วมผลักดันให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice: COP)ในการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนตามภารกิจของหน่วยงาน รวมทั้งการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดี เ<strong>พ</strong>ื่อต่อยอดการดำเนินงานในเรื่องดังกล่าวสู่ระดับเมืองและประเท<strong>ศ</strong>62


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๔.๑๑ ภาคีรักษ์อยุธยาช่วยฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมืองอยุธยาให้น่าอยู่สาระสำคัญ หลักการ เหตุผล<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำแผนปฏิบัติการจัดการสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ จังหวัด<strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยาซึ่งเป็นการดำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่๒๒ มีนาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ โดยบูรณาการการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำโครงการภาคีรักษ์อยุธยาช่วยฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมืองอยุธยาให้น่าอยู่ ซึ่งมี ๒ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรม “ลดขยะ และรักษาสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์” เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> และกิจกรรม “เสริมสร้าง<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การจัดการขยะชุมชนอย่างเป็นระบบ เ<strong>พ</strong>ื่อคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมืองและชุมชนยั่งยืน” ระหว่างวันที่ ๒๘ - ๒๙กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อให้ภาคีรักษ์อยุธยามีส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างบูรณาการ ซึ่งจะทำให้สิ่งแวดล้อม ภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมือง<strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยามีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และสวยงาม สมคุณค่าของการเป็นเมืองมรดกโลกอย่างยั่งยืนผลผลิตภาคีรักษ์อยุธยามีส่วนร่วมในการจัดการขยะอย่างบูรณาการ รักษาสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ที่ดีของเมือง<strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยาผลลั<strong>พ</strong>ธ์เมือง<strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยามีสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ที่ดี มีความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ความสะอาด สวยงามและปลอดภัยปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการสร้างความเข้มแข็งของภาคีรักษ์อยุธยาให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จะทำให้การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมือง<strong>พ</strong>ระนคร<strong>ศ</strong>รีอยุธยาประสบความสำเร็จข้อเสนอแนะสำนักงานฯ ควรส่งเสริม สนับสนุน และให้ภาคีรักษ์อยุธยา ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง63


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๑๒ ภาคีร่วมใจ สืบสานอัตลักษณ์บ้านเก่า อาคารเก่าและภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมืองหัวหินสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลผลผลิต<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากร ภาคีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์บ้านเก่าธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำแผนปฏิบัติการ อาคารเก่าเมืองหัวหิน ร่วมกันอนุรักษ์อาคารและจัดการสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมืองหัวหิน ซึ่งเป็นการ สิ่งก่อสร้างที่มีคุณค่าความงามของสถาปัตยกรรมดำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม เมืองหัวหิน และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ของ<strong>๒๕๕๕</strong> โดยบูรณาการการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน บริเวณโดยรอบอาคารเ<strong>พ</strong>ื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมในการ ผลลั<strong>พ</strong>ธ์จัดการสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์อาคารและสิ่งก่อสร้างที่มีคุณค่าความงามผลการดำเนินงานของสถาปัตยกรรมเมืองหัวหิน และสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ได้จัดกิจกรรม ภาคีร่วมใจสืบสานอัตลักษณ์ ของบริเวณโดยรอบอาคาร ได้รับการอนุรักษ์ ดูแลบ้านเก่า อาคารเก่าและภูมิทั<strong>ศ</strong>น์เมืองหัวหิน เมื่อวันที่ รักษา ทำให้เมืองหัวหินมีสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ที่ดี มีความ๒๔ กันยายน <strong>๒๕๕๕</strong> เ<strong>พ</strong>ื่ออนุรักษ์อาคารและสิ่งก่อสร้าง เป็นระเบียบ เรียบร้อย ความสะอาด สวยงาม และที่มีคุณค่าความงามของสถาปัตยกรรม อันเป็นอัตลักษณ์ ปลอดภัยเฉ<strong>พ</strong>าะของเมืองหัวหิน เช่น <strong>พ</strong>ลับ<strong>พ</strong>ลาที่ประทับ สถานี ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จรถไฟหัวหิน โรงแรมโซฟิเทลหรือโรงแรมรถไฟหัวหินเดิม การสร้างความเข้มแข็งของภาคีอนุรักษ์ตลาดฉัตรไชย สถานที่ราชการและบ้าน<strong>พ</strong>ักตากอากา<strong>ศ</strong> สิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์บ้านเก่า อาคารเก่าเมืองหัวหินชายทะเลที่มีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม เป็นต้น รวมทั้ง ให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จะทำให้การอนุรักษ์การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ของบริเวณโดยรอบ อาคารและสิ่งก่อสร้างที่มีคุณค่าความงามของสถาปัตยกรรมอาคารเหล่านั้น ด้วยการร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมตัดสินใจ เมืองหัวหิน และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ของจากภาคีทุกภาคส่วนของเมืองหัวหิน เ<strong>พ</strong>ื่อให้หัวหิน บริเวณโดยรอบอาคาร ประสบความสำเร็จมีการจัดการสิ่งแวดล้อมภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ที่ดี คงความเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอย่างยั่งยืน๔.๑๓ การตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง <strong>พ</strong>ื้นที่ป่าชุมชนตามมติคณะรัฐมนตรี จังหวัดอุบลราชธานี และกาฬสินธุ ์สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติผลการจำแนกประเภทที่ดินออกจากป่าไม้ถาวร ซึ่งอยู่นอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ เ<strong>พ</strong>ื่อจัดเป็นป่าชุมชนตามมติคณะรัฐมนตรี จำนวน ๒๗ มติ ๔๗ จังหวัด ๒๐๙<strong>พ</strong>ื้นที่ ๑,๑๑๗ แห่ง และมอบให้คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ (คจช.) <strong>พ</strong>ิจารณาดำเนินการ โดยมอบให้กรมที่ดินดำเนินการสงวนหวงห้าม ตามมาตรา ๒๐ (๔)แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ต่อมากรมที่ดินแจ้งรายชื่อป่าชุมชนฯ จำนวน ๔ จังหวัด ๗ <strong>พ</strong>ื้นที่รวม ๘ แห่ง ซึ่งจังหวัดมีความเห็นว่าไม่สมควรสงวนหวงห้าม เนื่องจากไม่อยู ่ในหลักเกณฑ์การสงวนหวงห้ามตามระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติฉบับที่ ๙ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๒๙) ว่าด้วยการสงวนหรือหวงห้ามที่ดินของรัฐเ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน64


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ได้ดำเนินการตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง <strong>พ</strong>ื้นที่ป่าชุมชนตามมติคณะรัฐมนตรีจำนวน ๒ จังหวัด ๓ <strong>พ</strong>ื้นที่ ๔ แห่ง ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าดงผักขา (๑ แห่ง), ป่าสีสุก(๒ แห่ง) และจังหวัดกาฬสินธุ์ ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าแก้งกะอาม(๑ แห่ง) โดยมีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อทราบสาเหตุของการไม่สมควรสงวนหวงห้าม และให้ได้ข้อยุติว่า<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าชุมชนฯ ที่จังหวัดมีความเห็นว่าไม่สมควรสงวนหวงห้าม เป็น<strong>พ</strong>ื้นที่แปลงเดียวกันกับ<strong>พ</strong>ื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติจัดให้เป็นป่าชุมชนหรือไม่ผลผลิตผลการตรวจสอบกลั่นกรอง ข้อมูล ข้อเท็จจริงใน<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าชุมชนตามมติคณะรัฐมนตรีที่จังหวัดมีความเห็นว่าไม่สมควรสงวนหวงห้าม ตามมาตรา ๒๐ (๔)แห่งประมวลกฎหมายที่ดินผลลั<strong>พ</strong>ธ์n คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ใช้ประกอบการ<strong>พ</strong>ิจารณาในการขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรีจาก<strong>พ</strong>ื้นที่ที่จัดให้เป็นป่าชุมชน เป็น<strong>พ</strong>ื้นที่ทำกินของราษฎรหรือเ<strong>พ</strong>ื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่น ตามนัยมติคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม๒๕๔๘n กรมที่ดินได้ใช้เป็นแนวทางในการรังวัดทำแผนที่ป่าชุมชนในจังหวัดอื่นได้ ซึ่งเมื่อทราบตำแหน่งที่ดินที่ถูกต้องแล้วจะสามารถยุติข้อร้องเรียนของประชาชนได้อีกทางหนึ่งปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการเข้าตรวจสอบ<strong>พ</strong>ื้นที่ต้องได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่กรมที่ดิน กรมการปกครอง กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดิน และหน่วยงานใน<strong>พ</strong>ื้นที่ข้อเสนอแนะ<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าชุมชนตามมติคณะรัฐมนตรี ที่จังหวัดเห็นควรไม่สงวนหวงห้าม ตามมาตรา ๒๐ (๔) แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ในบาง<strong>พ</strong>ื้นที่เป็น<strong>พ</strong>ื้นที่ที่มีประชาชนเข้าบุกรุกครอบครอง<strong>พ</strong>ื้นที่ดังกล่าว การเข้าดำเนินการจึงต้องทำความเข้าใจกับประชาชนถึงวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ<strong>พ</strong>ื้นที่65


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๔.๑๔ แนวทางการอนุรักษ์และการนำมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ประเภทธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณาไปสู ่การปฏิบัติ : <strong>พ</strong>ื้นที่ตัวอย่าง บริเวณมอหินขาว ตำบลท่าหินโงม อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิสาระสำคัญ หลักการ เหตุผล แหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทธรณีสัณฐานแหล่งธรรมชาติที่ควรอนุรักษ์ประเภทธรณี และภูมิลักษณวรรณาได้อย่างสอดคล้องเหมาะสมสัณฐานและภูมิลักษณวรรณาของท้องถิ่น เช่น ผาจ้อ กับสภา<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ และเ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการป้องกันและรักษาและผาวิ่งชู้ จังหวัดเชียงใหม่ เขา<strong>พ</strong>ิงกัน และเขาตาปู สิ่งแวดล้อมธรรมชาติให้คงสภา<strong>พ</strong>ที่ดีไว้ให้มากที่สุดจังหวัด<strong>พ</strong>ังงา ภูทอก จังหวัดหนองบัวลำภู ละลุ จังหวัด และได้จัดสัมมนาเ<strong>พ</strong>ื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ดังกล่าว เมื่อวันที่ปราจีนบุรี และผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี เหล่านี้ ๖ กรกฎาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> โดยเน้นให้ชุมชนท้องถิ่นถูก<strong>พ</strong>ัฒนาและนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการท่องเที่ยว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบางแห่งมีการตกแต่งและปรับปรุงภูมิทั<strong>ศ</strong>น์ ขัดต่อ ในจังหวัดชัยภูมิ ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนาความเป็นธรรมชาติ มีสิ่งอำนวยความสะดวกขนาด สิ่งแวดล้อมธรรมชาติได้อย่างเหมาะสมและมีความใหญ่และเกินความจำเป็น ขาดการวางแผนการจัดการ สอดคล้องกับ<strong>พ</strong>ื้นที่มากที่สุด และเป็นไปในทิ<strong>ศ</strong>ทางเดียวกันที่เหมาะสม โดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong> ผลผลิตของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทำให้สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ มาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณาหลาย<strong>พ</strong>ื้นที่ ประเภทธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณาไปสู่การมีการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ถูกทำลายและลดคุณค่าความ ปฏิบัติ ไปสู่การปฏิบัติใน<strong>พ</strong>ื้นที่มอหินขาว จังหวัดชัยภูมิสำคัญลงผลลั<strong>พ</strong>ธ์ผลการดำเนินงานความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากร สำคัญของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จัดทำมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong> ธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณา โดยเฉ<strong>พ</strong>าะอย่างยิ่งสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทธรณีสัณฐานและภูมิ ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ตัวอย่าง และเกิดเครือข่ายหรือแนวร่วมในการลักษณวรรณาโดยมี<strong>พ</strong>ื้นที่มอหินขาว ตำบลท่าหินโงม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติฯ ในระดับท้องถิ่นอำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เป็น<strong>พ</strong>ื้นที่ตัวอย่างในการ ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จบริหารจัดการเ<strong>พ</strong>ื่อให้ชุมชน จังหวัด และหน่วยงานที่ หน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบควรมีการวางแผนเกี่ยวข้องนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ การจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ที่เหมาะสม ในการ<strong>พ</strong>ัฒนาต้องคำนึงถึงคุณค่าและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และความสามารถในการรองรับของ<strong>พ</strong>ื้นที่ จะทำให้สิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณาได้รับการปกป้องรักษาและใช้ประโยชน์สูงสุดด้านการอนุรักษ์ข้อเสนอแนะควรดำเนินงานเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู ้เ<strong>พ</strong>ื่อนำแนวทางการอนุรักษ์และมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมธรรมชาติไปสู่การปฏิบัติใน<strong>พ</strong>ื้นที่ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง66


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๔.๑๕ วารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการจัดทำวารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นเอกสารเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้ในด้านบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจได้เป็นอย่างดี โดยนำเรื่องราวที่น่าสนใจซึ่งเป็นตัวอย่างที่ดีของการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และได้รับผลสำเร็จ หรือบุคคลที่ได้รับการยอมรับและเป็นตัวอย่างที่ดีในการบริหารจัดการ เป็นต้น รวมทั้งเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ให้ทุกภาคส่วนรับทราบและเห็นคุณค่าความสำคัญของทุกประเด็นปัญหา รวมทั้งยังเป็นการปลูกจิตสำนึกสาธารณะในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ผลการดำเนินงานสำนักงานฯ ได้จัดทำวารสารฯ อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ตั้งแต่<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๘ ถึงปัจจุบัน นับเป็นเวลาถึง ๘ ปี เป็นวารสารฯ รายไตรมาส จำนวน ๔ ฉบับวารสารฯ ได้มีการเปลี่ยนชื่อจากวารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>ไทย เป็นวารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีการปรับรูปลักษณ์ของวารสารใหม่ และมีการเ<strong>พ</strong>ิ่มเติมเนื้อหาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมจากต่างประเท<strong>ศ</strong> สำหรับปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>มีเนื้อหาสาระสำคัญ เช่น เรื่องบทบาทหน้าที่ของสำนักงานฯ กับงานด้านสิ่งแวดล้อมและการ<strong>พ</strong>ัฒนาอย่างยั่งยืน การบริหารความเสี่ยงของเขื่อนขนาดใหญ่จากแผ่นดินไหว บทความ “ความจริงกับ Rio+20”บทความ “จังหวัดระนอง จังหวัดนำร่องแหล่งมรดกของชาติไทย” และบทความ เรื่องจิตรกรรมฝาผนังวัดเชิงท่า วิกฤตการณ์หลังน้ำท่วม นอกจากนี้ยังมีบทความที่น่าสนใจอื่นๆ เช่น โครงการ Modelcities programme ในประเท<strong>ศ</strong>ไทย การป้องกันน้ำท่วมและการบริหารจัดการน้ำท่วมของสาธารณรัฐสิงคโปร์ และองค์ความรู้เกี่ยวกับ ปูเจ้าฟ้าแห่งน้ำตกหงาว และบทความเรื่อง กุดทิงสายน้ำแห่งชีวิตแรมซาร์ไซต์แห่งที่ ๑๒ เป็นต้นผลผลิตวารสาร “ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”รายไตรมาส จำนวน ๔ ฉบับ ฉบับละ ๑,๒๐๐ เล่มรวม ๔,๘๐๐ เล่มผลลั<strong>พ</strong>ธ์สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และองค์ความรู้ที่ทันเหตุการณ์ต่างๆ67


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๕. ความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong>๕.๑ การจัดเตรียมสารัตถะและท่าทีประเท<strong>ศ</strong>ไทยสำหรับการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๒ (United Nations Conference on Sustainable Development: UNCSD) หรือ Rio+20สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน ค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๒ (United Nations Conference onSustainable Development: UNCSD) หรือ Rio+20จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๒ มิถุนายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>ณ นครรีโอเดจาเนโร สห<strong>พ</strong>ันธ์สาธารณรัฐบราซิล โดยมีหัวข้อการประชุมหลัก ๒ เรื่อง ได้แก่ เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจสีเขียวในบริบทของการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนและการขจัดความยากจน (Green economy within the contextof sustainable development and povertyeradication) และกรอบเชิงสถาบันเ<strong>พ</strong>ื่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน (Institutional framework for sustainabledevelopment) โดย<strong>ศ</strong>าสตราจารย์ ดร.สมเด็จ<strong>พ</strong>ระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีทรงเป็นผู้แทน<strong>พ</strong>ระองค์<strong>พ</strong>ระบาทสมเด็จ<strong>พ</strong>ระเจ้าอยู่หัวและองค์หัวหน้าคณะผู้แทนไทยในการเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว <strong>พ</strong>ร้อมด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกระบวนการเตรียมการสำหรับการประชุมRio+20 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน๒๕๕๔ เห็นชอบให้กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานหลัก ซึ่งกระทรวงฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการเ<strong>พ</strong>ื่อเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมสำหรับการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน ค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๒(Rio+20) และแต่งตั้งคณะทำงาน ๓ คณะ ได้แก่ คณะทำงานด้านสารัตถะ คณะทำงานด้านงบประมาณ<strong>พ</strong>ิธีการ การบริหารจัดการ และประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์ และคณะทำงานเ<strong>พ</strong>ื่อกำกับการดำเนินการจัดทำเอกสารเผยแ<strong>พ</strong>ร่ Thailand Green Economy และนิทรร<strong>ศ</strong>การโดยสำนักงานฯ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบคณะทำงานด้านสารัตถะผลการดำเนินงานคณะทำงานด้านสารัตถะ ได้จัดประชุมคณะทำงานฯ จำนวน ๕ ครั้ง เ<strong>พ</strong>ื่อจัดทำข้อเสนอของประเท<strong>ศ</strong>ไทย สำหรับบรรจุในร่างเอกสารผลลั<strong>พ</strong>ธ์ของการประชุม (Zero Draft of the OutcomeDocument) และจัดเตรียมสารัตถะและท่าทีของประเท<strong>ศ</strong>ในการเข้าร่วมประชุมเตรียมการในระดับโลกภูมิภาค และการประชุมข้างเคียงอื่นๆ เช่น การประชุมของคณะกรรมการเตรียมการการประชุมสหประชาชาติ(The Meeting of the Preparatory Committee forthe United Nations Conference on SustainableDevelopment: PrepCom) การประชุมระหว่างปี (Intersessional Meeting of United NationsConference on Sustainable Development)68


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGการประชุมเตรียมการในระดับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก การเจรจาอย่างไม่เป็นทางการต่อร่างเอกสารZero Draft รวมทั้งการจัดทำท่าทีประเท<strong>ศ</strong>ไทยสำหรับการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๒ (United Nations Conference onSustainable Development: UNCSD หรือ Rio+20เสนอต่อคณะกรรมการเ<strong>พ</strong>ื่อเตรียมความ<strong>พ</strong>ร้อมสำหรับการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๒ (Rio+20) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>ผลผลิตสารัตถะและท่าทีของประเท<strong>ศ</strong>ไทยในการเข้าร่วมประชุมเตรียมการ และการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน ค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๒ (Rio+20)ผลลั<strong>พ</strong>ธ์คณะผู้แทนไทยที่เข้าร่วมประชุมสามารถนำท่าทีไทยที่จัดเตรียม ไปใช้ในการเจรจาสำหรับการประชุม Rio+20 ซึ่งเมื่อสิ้นสุดการประชุม ผู้นำ ๗๙ประเท<strong>ศ</strong>ทั่วโลกได้ตกลงร่วมกันในการรับรองเอกสารผลลั<strong>พ</strong>ธ์การประชุม (outcome document) ที่มีชื่อว่า “The Future We Want”ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จขาดกลไกและหน่วยงานรับผิดชอบหลักด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉ<strong>พ</strong>าะการเตรียมการสำหรับการประชุม Rio+20 ทำให้ต้องจัดตั้งคณะกรรมการเฉ<strong>พ</strong>าะกิจเ<strong>พ</strong>ื่อเข้าร่วมและกำหนดท่าทีของประเท<strong>ศ</strong>ในการเข้าร่วมประชุมไว้ล่วงหน้า และมีการเปลี่ยนแปลงผู้แทนของหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมในแต่ละครั้งรวมถึงข้อมูลและท่าทีจากหน่วยงานต่างๆ ทำให้ไม่มีความต่อเนื่องทั้งผู้แทนและหน่วยงานข้อเสนอแนะควรจัดตั้งกลไกเ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความร่วมมือกันอย่างจริงจังเรื่องการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนและจัดทำ Roadmapสู่การ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนที่เป็นที่ยอมรับในทุกภาคส่วนโดยจัดทำเป็นรายสาขา เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดทิ<strong>ศ</strong>ทางและแผนการดำเนินงานในรายละเอียดที่เป็นรูปธรรม โดยคำนึงถึงกรอบความร่วมมือระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านที่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานของประเท<strong>ศ</strong> ได้อย่างเหมาะสม69


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๕.๒ การประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วย<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ สมัยที่ ๑๑สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลอนุสัญญาว่าด้วย<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำหรืออนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) ถือกำเนิดในปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๑๔ ประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๑ ปัจจุบันได้เสนอ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ ๑๒ แห่งขึ้นทะเบียนเป็น แรมซาร์ไซต์ (Ramsar Site) ในคราวการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ สมัยที่ ๑๑ กำหนดมีขึ้นในระหว่างวันที่ ๖ - ๑๓ กรกฎาคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>ณ เมืองบูคาเรสต์ ประเท<strong>ศ</strong>โรมาเนีย โดยมีหัวข้อสำคัญของการประชุม คือ “Wetlands: home anddestination” มีรองปลัดกระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นายสุร<strong>พ</strong>ล ปัตตานี) เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนในการเข้าร่วมการประชุมดังกล่าวและผลการประชุมสามารถสรุปประเด็นที่สำคัญ เช่นn สถาบันเจ้าภา<strong>พ</strong>ของสำนักเลขาธิการอนุสัญญาว่าด้วย<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯเห็นชอบให้สหภา<strong>พ</strong>สากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (IUCN)เป็นสถาบันเจ้าภา<strong>พ</strong>ต่อไปn การปรับแผนกลยุทธ์ ๒๐๐๙ - ๒๐๑๕สำหรับช่วงปี ๒๐๑๓ - ๒๐๑๕ สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯตระหนักถึงการดำเนินงานของอนุสัญญาฯ ที่ช่วยสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายไอจิว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> และรับรองการปรับแผนกลยุทธ์ ๒๐๐๙ -๒๐๑๕ สำหรับช่วงปี ๒๐๑๓ - ๒๐๑๕n การท่องเที่ยว นันทนาการ และ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ ขอให้ปรับปรุงการสอดแทรก/ผสาน และการตระหนักถึงคุณค่าของ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ และแนวทางสู่การใช้ประโยชน์<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำอย่างชาญฉลาดเข้าสู่นโยบายและการวางแผนการท่องเที่ยวและนันทนาการ รวมถึงยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การท่องเที่ยวแห่งชาติ และการดำเนินงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดมากขึ้นระหว่างการท่องเที่ยวกับภาคการอนุรักษ์<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำและการใช้ประโยชน์อย่างชาญฉลาดn กรอบการดำเนินงานอย่างบูรณาการเ<strong>พ</strong>ื่อหลีกเลี่ยง บรรเทา และชดเชยการสูญเสีย<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ ยืนยันถึง<strong>พ</strong>ันธกรณีที่หลีกเลี่ยงผลกระทบเสียหายต่อลักษณะทางนิเว<strong>ศ</strong>ของ Ramsar Sites และ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำอื่น และให้ดำเนินการตามแนวทางการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์ (SEA) กับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดและดำเนินการติดตามตรวจสอบ ระยะยาว สำหรับการบรรเทาผลกระทบ และสอดแทรกกรอบการดำเนินงานเข้าในนโยบายและกฎระเบียบท้องถิ่น70


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGn <strong>พ</strong>ื้นที่ชุ ่มน้ำและประเด็น<strong>พ</strong>ลังงาน สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ ยินดีต่อ “คำแนะแนวทางสำหรับการสอดแทรกนัยของ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำเข้าสู่นโยบาย แผน และกิจการในภาค<strong>พ</strong>ลังงาน” โดยเชิญภาคีให้ดำเนินการจัดทำเกณฑ์ผลกระทบทางนิเว<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อประยุกต์ใช้ในการคัดเลือกที่ตั้งแหล่งผลิต<strong>พ</strong>ลังงานที่เกี่ยวข้องกับ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำรวมทั้งให้เลขาธิการอนุสัญญาฯ นำข้อมตินี้เข้าสู่การประชุม IUCN Secretary - General และคณะกรรมการระดับสูง (UN High - Level panel) ซึ่งรับผิดชอบการจัดทำความริเริ่ม “<strong>พ</strong>ลังงานที่ยั่งยืนเ<strong>พ</strong>ื่อทั้งมวล”n หลักการสำหรับการวางแผนและการจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำในเขตเมืองและย่านชานเมืองสมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ รับรอง “หลักการสำหรับการวางแผนและการจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ ่มน้ำในเขตเมืองและย่านชานเมือง”n <strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำและสุขอนามัย ตามวิถีทางสู่ระบบนิเว<strong>ศ</strong> สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ กระตุ้นให้ภาคีรับวิถีทางสู่ระบบนิเว<strong>ศ</strong>ไปใช้กับเรื่องสุขอนามัย และกระตุ้นองค์กรระดับชาติและระหว่างประเท<strong>ศ</strong> ให้ช่วยสร้างสมรรถนะให้แก่ผู้จัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ เ<strong>พ</strong>ื่อดำเนินการดังกล่าว และเ<strong>พ</strong>ื่อสร้างการ<strong>พ</strong>ิจารณาและการจัดการเชื้อโรคเข้าไปสู่แผนของตนn กรอบการดำเนินการอย่างบูรณาการเ<strong>พ</strong>ื่อเชื่อมโยงการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างชาญฉลาด กับการขจัดความยากจน สมัชชาภาคีอนุสัญญาฯ ยินดีรับ “กรอบการดำเนินการอย่างบูรณาการเ<strong>พ</strong>ื่อเชื่อมโยงการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างชาญฉลาด กับการขจัดความยากจน” และร้องขอให้สำนักเลขาธิการอนุสัญญาฯ ช่วยเหลือภาคีในการวิเคราะห์ประเมินการเกื้อกูลที่ไปสู ่การบรรลุความสำเร็จตามเป้าประสงค์การ<strong>พ</strong>ัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDG) ผ่านการอนุวัตอนุสัญญาว่าด้วย<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ และเ<strong>พ</strong>ื่อผูก<strong>พ</strong>ันเข้าสู่กระบวนและการ<strong>พ</strong>ัฒนาเป้าประสงค์แห่งการ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)ผลผลิตข้อเสนอแนะต่างๆ แผนกลยุทธ์ กรอบการดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน และเป้าหมายของอนุสัญญาฯผลลั<strong>พ</strong>ธ์หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการ<strong>ศ</strong>ึกษา องค์กร<strong>พ</strong>ัฒนาเอกชน และประชาชนที่เกี่ยวข้องกับ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำได้รับทราบข้อเสนอแนะต่างๆแผนกลยุทธ์ แผนงานและเป้าหมายของอนุสัญญาฯและนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการวางนโยบายและแผนเ<strong>พ</strong>ื่อการบริหารจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วย<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ ได้วาง<strong>พ</strong>ันธกรณี ๔ ข้อมติ ให้ภาคีนำไปปฏิบัติ ดังนั้นทุกประเท<strong>ศ</strong>ภาคีจึงต้องมีกระบวนการรองรับ<strong>พ</strong>ันธกรณีดังกล่าว เ<strong>พ</strong>ื่อให้การอนุวัตอนุสัญญาฯประสบความสำเร็จและระบบนิเว<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่ชุมน้ำของชาติได้รับการดำรงรักษาสืบทอดแก่ชนรุ่นต่อไป แต่จากการดำเนินงานที่ผ่านมาในประเท<strong>ศ</strong>ไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ ขาดแคลนบุคลากรงบประมาณ และความเชี่ยวชาญในการดำเนินงานตามอนุสัญญาฯ อีกทั้งประชาชนและองค์การ<strong>พ</strong>ัฒนาเอกชนในท้องถิ่นต้องการความร่วมมือและการสนับสนุนอย่างแข็งขันจากรัฐบาล ในการดูแลรักษา<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำตามธรรมชาติไว้เ<strong>พ</strong>ื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิตข้อเสนอแนะควรดำเนินการต่อเนื่องกำหนดแผนกลยุทธ์ไตรวรรษ ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ และเป้าหมายเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเ<strong>พ</strong>ื่อผูก<strong>พ</strong>ันให้หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมกันดำเนินงานตามทิ<strong>ศ</strong>ทางและกำหนดเวลาตามแผนกลยุทธ์และได้รับการสนับสนุนทั้งงบประมาณและกำลังบุคลากร71


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๕.๔ การลงนามใน<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมนาโงยา - กัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการรับผิดและชดใช้ตาม<strong>พ</strong>ิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong>สาระสำคัญ หลักการ เหตุผล<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมนาโงยา - กัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการรับผิดและชดใช้ตาม<strong>พ</strong>ิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong> ได้รับการรับรองจากที่ประชุมภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong> สมัยที่ ๕ (COP - MOP 5) ในเดือนตุลาคม๒๕๕๓ ณ เมืองนาโงยา ประเท<strong>ศ</strong>ญี่ปุ ่น และเปิดให้มีการลงนามรับรอง<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ ณ สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นครนิวยอร์ก ระหว่างวันที่ ๗ มีนาคม๒๕๕๔ – ๖ มีนาคม <strong>๒๕๕๕</strong><strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ ประกอบด้วย ๒๑ มาตรามีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อสนับสนุนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืน โดยคำนึงถึงความเสี่ยงต่อสุขภา<strong>พ</strong>ของมนุษย์ ด้วยการจัดเตรียมหลักเกณฑ์และวิธีการระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ในเรื่องของการรับผิดและชดใช้ที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิตดัดแปลง<strong>พ</strong>ันธุกรรมผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยประสานงานกลาง<strong>พ</strong>ิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong>ได้มีการดำเนินการประสานหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ในการจัดประชุมหารือเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณาและทำความเข้าใจกับรายละเอียดเนื้อหาของ<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ มาโดยตลอด เริ่มตั้งแต่กระบวนการจัดทำกรอบเจรจาสำหรับการ<strong>พ</strong>ิจารณาให้ความเห็นต่อร่าง<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ ในการประชุม (COP - MOP 5) ระหว่างวันที่๑๑ - ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๓ ณ เมืองนาโงยา ประเท<strong>ศ</strong>ญี่ปุ่น และหลังจากนั้นได้มีการประชุมเผยแ<strong>พ</strong>ร่ประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์อีกหลายครั้งเ<strong>พ</strong>ื่อเข้าสู่กระบวนการลงนามใน<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ โดยสำนักงานฯ ได้นำเรื่องการลงนาม<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๘ กุมภา<strong>พ</strong>ันธ์ <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบการลงนามใน<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯดังกล่าวและได้มอบหมายให้นายนรชิต สิงหเสนีเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติณ นครนิวยอร์ก เป็นผู้ลงนามผลผลิตประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้ลงนามใน<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯเป็นประเท<strong>ศ</strong>ลำดับที่ ๕๐ เมื่อวันที่ ๖ มีนาคม <strong>๒๕๕๕</strong>ผลลั<strong>พ</strong>ธ์การลงนาม<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ เป็นการแสดงเจตจำนงในทางนโยบายของไทยในการเข้าเป็นภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ และเ<strong>พ</strong>ื่อนำไปสู่การให้สัตยาบัน<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมฯ ของประเท<strong>ศ</strong>ไทย ซึ่งจะทำให้ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีกรอบการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ที่เกี่ยวกับการรับผิดและชดใช้ความเสียหายที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตดัดแปลง<strong>พ</strong>ันธุกรรมที่เคลื่อนย้ายข้ามแดน73


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๕.๕ การเป็นเจ้าภา<strong>พ</strong>ในการจัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> (UnitedNations Climate Change Talks, Bangkok)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม<strong>๒๕๕๕</strong> เห็นชอบให้ กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นเจ้าภา<strong>พ</strong>ในการจัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>(United Nations Climate Change Talks, Bangkok)และการประชุมอื่นที่เกี่ยวข้องผลการดำเนินงานสำนักงานฯ ได้รับมอบหมายเป็นเจ้าภา<strong>พ</strong>ในการจัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> (United NationsClimate Change Talks, Bangkok) และการประชุมอื่นที่เกี่ยวข้อง ในระหว่างวันที่ ๒๘ สิงหาคม – ๕ กันยายน<strong>๒๕๕๕</strong> ณ <strong>ศ</strong>ูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเท<strong>พ</strong>มหานครโดยมีผู้แทนจากประเท<strong>ศ</strong>ภาคีสมาชิกของอนุสัญญาฯจำนวน ๑๗๓ ประเท<strong>ศ</strong> ประมาณ ๑,๗๐๐ คน เข้าร่วมประชุมเ<strong>พ</strong>ื่อร่วมกันกำหนดทิ<strong>ศ</strong>ทาง ตลอดจนยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การดำเนินงานในการแก้ไขปัญหาโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> (Global Warming andClimate Change) นำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่มุ่งหวังให้นานาชาติบรรลุข้อตกลงร่วมกันได้ ภายใต้แผนปฏิบัติการบาหลี ซึ่งได้เริ่มต้นดำเนินการตั้งแต่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ ตามมติการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>สมัยที่ ๑๓ และ<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต สมัยที่ ๓ ณ ประเท<strong>ศ</strong>อินโดนีเซีย โดยใช้งบประมาณของสำนักเลขาธิการอนุสัญญาฯ (เงินนอกงบประมาณ) ประมาณ ๓๑ ล้านบาทและงบประมาณของสำนักงานฯ ๕๐๐,๐๐๐ บาทผลผลิตประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้เป็นเจ้าภา<strong>พ</strong>จัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>(United Nations Climate Change Talks, Bangkok)ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ประเท<strong>ศ</strong>ไทยมีส่วนในการขับเคลื่อนการดำเนินการภายใต้อนุสัญญาฯ และ<strong>พ</strong>ิธีสารฯ อันนำมาซึ่งภา<strong>พ</strong>ลักษณ์และชื่อเสียงที่ดีของประเท<strong>ศ</strong> เ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ูนความตระหนักและความเข้าใจมากขึ้นสำหรับนักวิชาการและผู้เกี่ยวข้อง และส่งเสริมให้เกิดรายได้ภายในประเท<strong>ศ</strong>74


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๕.๖ การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>สมัยที่ ๑๗ (COP 17)และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต สมัยที่ ๗ (CMP 7)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> สมัยที่ ๑๗และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต สมัยที่ ๗(COP 17/CMP 7) ได้จัดขึ้น ระหว่างวันที่ ๒๘<strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน - ๙ ธันวาคม ๒๕๕๔ ณ เมืองเดอร์บันสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๒ <strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน ๒๕๕๔ เรื่อง กรอบการเจรจาของประเท<strong>ศ</strong>ไทยสำหรับการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แห่งชาติเสนอ ดังนี้n เห็นชอบกรอบการเจรจาของการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> สมัยที่ ๑๕ (COP 15/CMP 5) และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต สมัยที่ ๕ (COP14/CMP15) ซึ่งรัฐสภาเห็นชอบแล้ว เป็นกรอบการเจรจาสำหรับการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>สมัยที่ ๑๗ และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโตสมัยที่ ๗ (COP17/CMP 7) ไป<strong>พ</strong>ลางก่อนn เห็นชอบ (ร่าง) กรอบการเจรจาของประเท<strong>ศ</strong>ไทยสำหรับการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโตมาใช้เป็นกรอบการเจรจาหลักครั้งต่อๆ ไป และให้นำร่างกรอบการเจรจาดังกล่าวเสนอรัฐสภา<strong>พ</strong>ิจารณาให้ความเห็นชอบตามมาตรา ๑๙๐ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยต่อไปผลการดำเนินงานคณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบรายงานผลการประชุม ตามที่กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอเมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งสรุปได้ ดังนี้ผลการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> สมัยที่ ๑๗n ให้มีการจัดตั้งคณะทำงานเฉ<strong>พ</strong>าะกิจใหม่อีกหนึ่งคณะ คือ Ad Hoc Working Group on theDurban Platform for Enhanced Action สำหรับ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>พ</strong>ิธีสาร (protocol) หรือตราสารกฎหมาย(legal instrument) หรือผลลั<strong>พ</strong>ธ์ที่ตกลงกันและมีผลบังคับทางกฎหมาย (agreed outcome withlegal force) อย่างช้าที่สุดภายในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๘เ<strong>พ</strong>ื่อเสนอที่ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาฯ สมัยที่ ๑๗และให้ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ดังกล่าวมีผลบังคับใช้กับประเท<strong>ศ</strong>ภาคีทุกประเท<strong>ศ</strong>ตั้งแต่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๖๓75


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมn ให้ต่ออายุการดำเนินงานของการประชุมคณะทำงานเฉ<strong>พ</strong>าะกิจว่าด้วยความร่วมมือระยะยาวภายใต้อนุสัญญาฯ ออกไปอีกหนึ่งปี และรายงานผลการดำเนินงานในการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาฯ สมัยที่ ๑๘n ให้เริ่มการดำเนินงานของคณะกรรมการด้านการปรับตัวโดยเร็ว โดยคณะกรรมการชุดนี้จะเป็นผู้ให้ข้อเสนอแนะด้านวิชาการที่เกี่ยวกับการปรับตัวให้แก่ภาคีn เห็นชอบให้เร่งดำเนินการจัดตั้งกองทุนGreen Climate และให้เริ่มดำเนินการโดยเร็วตามข้อเสนอของ Transitional Committee ได้แก่ การจัดตั้งคณะกรรมการกำกับ การระดมทุน และหลักเกณฑ์ในการสนับสนุนทุนn ให้มีการจัดประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาฯสมัยที่ ๑๘ และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารฯ ครั้งที่ ๘ณ กรุงโดฮา รัฐกาตาร์ผลการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต สมัยที่ ๗n ประเท<strong>ศ</strong>ในกลุ่มสหภา<strong>พ</strong>ยุโรปยินดีที่จะมี<strong>พ</strong>ันธกรณีต่อเนื่องภายใต้<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโตต่อไปอีกตั้งแต่ปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ หรือ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๖๓ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับข้อตัดสินใจของประเท<strong>ศ</strong>สมาชิกในการประชุมของคณะทำงานเฉ<strong>พ</strong>าะกิจภายใต้<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต (AWG - KP)ครั้งที่ ๑๗ โดยประเท<strong>ศ</strong>แคนาดาแสดงความตั้งใจในการออกจากการเป็นรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต ประเท<strong>ศ</strong>ญี่ปุ่นไม่ประสงค์ให้มี<strong>พ</strong>ันธกรณีระยะที่ ๒ สำหรับประเท<strong>ศ</strong>ตนส่วนสห<strong>พ</strong>ันธรัฐรัสเซียประสงค์ไม่อยู่ภายใต้ข้อบังคับn ให้คณะทำงานเฉ<strong>พ</strong>าะกิจว่าด้วย<strong>พ</strong>ันธกรณีต่อเนื่องสำหรับประเท<strong>ศ</strong>ในภาคผนวกที่ ๑ ภายใต้<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต ทำงานต่อไปในการแก้ไข<strong>พ</strong>ิธีสารให้แล้วเสร็จ และนำไป<strong>พ</strong>ิจารณาในการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารฯ สมัยที่ ๘ณ กรุงโดฮา รัฐกาตาร์ผลผลิตประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้มีส่วนร่วม และติดตามผลการประชุมด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ในระดับนานาชาติผลลั<strong>พ</strong>ธ์ประเท<strong>ศ</strong>ไทยสามารถกำหนดมาตรการ/นโยบายที่จำเป็นและสำคัญเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับและปรับตัวให้เข้ากับแนวนโยบายภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ได้อย่างเหมาะสมทันท่วงที และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อส่วนรวม76


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๖. การติดตามประเมินผลนโยบาย แผน และมาตรการต่างๆ๖.๑ การติดตามและประเมินแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ของท้องถิ่น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๗<strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๒ ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๗ <strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๒ เห็นชอบให้ประกา<strong>ศ</strong>รายชื่อแหล่งธรรมชาติให้เป็นมรดกทางธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ของท้องถิ่นในปีแห่งการ<strong>พ</strong>ิทักษ์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจำนวน ๒๖๓ แห่ง ใน ๖๒ จังหวัด ที่ผ่านมาแหล่งธรรมชาติฯ เหล่านี้ ถูกนำมาใช้ประโยชน์ด้านต่างๆซึ่งอาจไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าและ<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ทำให้<strong>พ</strong>ื้นที่ถูกทำลายจนหมดคุณค่าความสำคัญลงไป<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้ติดตามและประเมินแหล่งธรรมชาติฯ ตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคต่างๆ ของประเท<strong>ศ</strong> และตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๒ ที่เห็นชอบแผนแม่บทการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๒ -๒๕๕๖) ดังนั้นในปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> สำนักงานฯได้ติดตามและประเมินแหล่งธรรมชาติฯ ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวม ๒๐ จังหวัด จำนวน ๕๙ แห่งจากทั้งหมด ๖๒ แห่ง และมีการจัดกลุ ่มเรียงลำดับความสำคัญของแหล่งธรรมชาติฯ โดยกลุ ่มที่ ๑ มีความสำคัญมากและความเสี่ยงมาก จะต้องมีการอนุรักษ์อย่างเร่งด่วน มี ๑ แห่ง ได้แก่ ถ้ำเอราวัณ จังหวัดหนองบัวลำภูสำหรับแหล่งธรรมชาติฯ แหล่งอื่นๆ จะอยู่ในกลุ่มที่ ๒และกลุ ่มที่ ๓ ซึ่งมีความเสี่ยงน้อย หน่วยงานที่รับผิดชอบอาจปล่อยให้เป็นไปตามลักษณะธรรมชาติเดิมไปก่อนหากมีการอนุรักษ์ ควรกำหนดไว้เป็นแผนงาน/โครงการในระยะยาว มี ๒๓ แห่ง ส่วนกลุ่มที่ ๔ มีความสำคัญน้อยและความเสี่ยงมากซึ่งไม่ปรากฏว่ามีแหล่งธรรมชาติฯ อยู่ในกลุ่มนี้ผลผลิตแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ของท้องถิ่นใน<strong>พ</strong>ื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รับการประเมินคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ โดยประเมินถึงคุณค่าความสำคัญทางด้านสิ่งแวดล้อม ด้าน<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong> และด้านความเสี่ยงผลลั<strong>พ</strong>ธ์สามารถรักษาไว้ซึ่งสภา<strong>พ</strong>แวดล้อมธรรมชาติรวมถึงทั<strong>ศ</strong>นียภา<strong>พ</strong>ที่สวยงามและมีคุณค่าให้เป็นมรดกทางธรรมชาติของท้องถิ่นตลอดไปแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์77


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไข ความสำเร็จแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ของท้องถิ่นถูกนำมาใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ทำให้แหล่งธรรมชาติฯเสื่อมโทรม ขณะเดียวกันความต้องการด้านเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจมีเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น จึงมีการขยาย<strong>พ</strong>ื้นที่ท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติฯ แห่งใหม่ๆ และมีกิจกรรมการ<strong>พ</strong>ัฒนาต่างๆเกิดขึ้นเ<strong>พ</strong>ื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยวฉะนั้น หากมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาใดๆ ควรคำนึงถึงหลักการในการอนุรักษ์ ธรรมชาติเป็นสำคัญ ไม่ควรทำลายหรือข่มธรรมชาติ ตลอดจนทำให้คุณค่าของแหล่งธรรมชาติฯ ด้อยลง๖.๒ รายงานสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลการติดตามประเมินสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมเป็นการดำเนินการตามกฎหมายที่กำหนดไว้ตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๓ (๑๓)ได้กำหนดให้เสนอรายงานเกี่ยวกับสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>ไทยต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีตามลำดับ โดยมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำรายงานสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม ซึ่งมี<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นฝ่ายเลขานุการฯ ยกร่างรายงานสถานการณ์ฯ ภายใต้กรอบที่โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP)กำหนดเป็นการติดตามประเมินการเปลี่ยนแปลงคุณภา<strong>พ</strong>ของทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทุกด้าน และวิเคราะห์แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเ<strong>พ</strong>ื่อหาแนวทางมาตรการการป้องกัน แก้ไข และฟื ้นฟู ดังนั้นจึงเป็นรายงานที่สะท้อนสภา<strong>พ</strong>ปัญหา สาเหตุ ซึ่งผู ้บริหารสามารถใช้ประกอบการตัดสินใจในการบริหารจัดการและภาคส่วนอื่นๆ สามารถเสริมความรู้ความเข้าใจและนำไปสู ่ความตระหนัก และความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดีผลการดำเนินงานสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในช่วงระหว่าง <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ – กลาง <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> โดย<strong>พ</strong>บว่าประเท<strong>ศ</strong>ไทย ยังต้องเผชิญและแก้ไขปัญหาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมเ<strong>พ</strong>ื่อนำ<strong>พ</strong>าประเท<strong>ศ</strong>ไปสู่การ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืนในหลายประเด็นโดยเฉ<strong>พ</strong>าะ ทรั<strong>พ</strong>ยากรน้ำ <strong>พ</strong>ลังงานการใช้ประโยชน์ที่ดิน มล<strong>พ</strong>ิษ ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> รวมทั้งสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> สรุปได้ดังนี้ ป่าไม้ซึ่งเป็นระบบนิเว<strong>ศ</strong>ที่มีหน้าที่เก็บ78


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGกักน้ำตามธรรมชาติมี<strong>พ</strong>ื้นที่ลดลงเหลือเ<strong>พ</strong>ียง ๙๙.๖ ล้านไร่ (ร้อยละ ๓๐.๙ ของ<strong>พ</strong>ื้นที่ทั้งหมด) และมีแนวโน้มลดลงจากการบุกรุก การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ยังคงเป็นประเด็นสำคัญเ<strong>พ</strong>ราะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเว<strong>ศ</strong> มีการใช้<strong>พ</strong>ลังงานทดแทนเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ ๑๒ <strong>พ</strong>ื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างมีแนวโน้มเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้น ทรั<strong>พ</strong>ยากรดินยังประสบกับการเสื่อมโทรม คุณภา<strong>พ</strong>อากา<strong>ศ</strong>โดยทั่วไปดีขึ้น แต่ยังคง<strong>พ</strong>บว่าปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กและก๊าซโอโซนมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานในบาง<strong>พ</strong>ื้นที่และบางเวลา คุณภา<strong>พ</strong>น้ำในแหล่งน้ำผิวดินที่เป็นแม่น้ำสายหลักและแหล่งน้ำนิ่งขนาดใหญ่มีคุณภา<strong>พ</strong>ดีขึ้น การเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> อุณหภูมิเฉลี่ย อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด และอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด ในระยะยาวมีแนวโน้มเ<strong>พ</strong>ิ่มสูงขึ้นผลผลิตรายงานข้อเท็จจริงสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม ในช่วงระหว่าง <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ - กลาง <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายแบบบูรณาการผลลั<strong>พ</strong>ธ์ผู้บริหารและหน่วยงานใช้เป็นฐานข้อมูลประกอบการตัดสินใจวางแผน ปรับปรุงและแก้ไขนโยบายด้านทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong> ได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>๖.๓ การติดตามสถานการณ์การถูกคุกคามของโลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลาตอนบน (ทะเลหลวง)สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลในประเท<strong>ศ</strong>ไทยโลมาอิรวดีเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตาม <strong>พ</strong>.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.๒๕๓๕ ถูกจัดให้อยู่ในสถานภา<strong>พ</strong>ใกล้สูญ<strong>พ</strong>ันธุ์อย่างยิ่ง(CR) ใน Thailand red data และการประชุม CITESครั้งที่ ๑๓ เมื่อปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๖ ประเท<strong>ศ</strong>ไทยได้เสนอให้โลมาอิรวดีเป็นสัตว์ป่าคุ ้มครองบัญชีที่ ๑ (Appendix I)อันมีผลทำให้โลมาอิรวดีได้รับความคุ้มครองในระดับนานาชาติ นอกจากนี้ สมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าฯ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถ ทรงมี<strong>พ</strong>ระราชประสงค์ให้ กรมป่าไม้ จังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง และประชาชนทั่วไปช่วยกันจัดทำโครงการอนุรักษ์โลมาอิรวดีในทะลสาบสงขลา โดยทรงรับให้เป็นโครงการใน <strong>พ</strong>ระบรมราชินูปถัมภ์ (ประกา<strong>ศ</strong>จังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุง ณ วันที่ ๓ ต.ค. ๒๕๔๔) และล่าสุดโลมาอิรวดีจัดเป็นสัตว์สัญลักษณ์ที่ควรอนุรักษ์ ๑ ใน ๒๐ ชนิดของปีสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ไทยอีกด้วยผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการติดตามสถานการณ์ ปัญหาสำคัญ (Hot Issues) เ<strong>พ</strong>ื่อติดตามสถานการณ์การคุกคามของโลมาอิรวดีใน<strong>พ</strong>ื้นที่ทะเลสาบสงขลาตอนบน (ทะเลหลวง) ซึ่งอยู่ในภาวะวิกฤติและใกล้สูญ<strong>พ</strong>ันธุ์ เนื่องจากการตายและลดจำนวนลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีการร่วมดำเนินการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ จังหวัดสงขลา จังหวัด<strong>พ</strong>ัทลุงกรมทรั<strong>พ</strong>ยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมประมง79


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและ<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ืช ชาวประมงกลุ่มอนุรักษ์ ชุมชน และสถาบันการ<strong>ศ</strong>ึกษาใน<strong>พ</strong>ื้นที่ เป็นระยะเวลา ๖ เดือน เ<strong>พ</strong>ื่อหารือและจัดทำ มาตรการแก้ไขปัญหาถูกคุกคามของโลมาอิรวดีที่มีการตายโดยเครื่องมือประมงบางชนิดการติดตามสถานการณ์ ปัญหา สาเหตุและสำรวจ<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>พ</strong>ื่อรับฟังหารือและแลกเปลี่ยนแนวทางการแก้ไขปัญหาวิกฤติที่เกิดขึ้นกับโลมาอิรวดีฝูงสุดท้ายแห่งทะเลหลวง เป็นจำนวน ๔ ครั้ง ร่วมกับทุกภาคส่วน จนได้มาตรการแก้ไขปัญหาการถูกคุกคามของโลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลาตอนบน (ทะเลหลวง)ที่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ ๗ มาตรการ บนหลักการ“ชาวประมงอยู่ได้ โลมาอิรวดีอยู่รอด” ประกอบด้วยมาตรการที่ ๑ เร่งรัด ควบคุม เครื่องมือประมงที่เป็นอันตรายต่อโลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลาตอนบน (ทะเลหลวง)มาตรการที่ ๒ เสริมสร้างอาชี<strong>พ</strong>ประมงสัตว์น้ำทดแทนอย่างยั่งยืนมาตรการที่ ๓ ปรับปรุงระบบนิเว<strong>ศ</strong>แหล่งที่อยู่อา<strong>ศ</strong>ัยและแหล่งอาหารของโลมาอิรวดีมาตรการที่ ๔ เร่งสร้างเสริมองค์ความรู ้ด้านความสำคัญของโลมาอิรวดีฝูงสุดท้ายแห่งทะเลหลวงมาตรการที่ ๕ สนับสนุนให้ภาคธุรกิจและภาคส่วนอื่นๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์โลมาอิรวดีมาตรการที่ ๖ เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายอนุรักษ์โลมาอิรวดีมาตรการที่ ๗ ติดตามประเมินผลผลผลิตn สภา<strong>พ</strong>ปัญหาการถูกคุกคามของโลมาอิรวดีที่สำคัญ คือ เครื่องมือประมงอวนลอยปลาบึกn มาตรการแก้ไขปัญหาการถูกคุกคามของโลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลาตอนบนผลลั<strong>พ</strong>ธ์ความรู ้ ความเข้าใจ และความตระหนักรู ้ของทุกภาคส่วนเกี่ยวกับปัญหาการคุกคามโลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลาตอนบน ลดการตายของโลมาอิรวดีในทะเลสาบสงขลาตอนบน จากเครื่องมือประมงที่เป็นอันตรายบางชนิดปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จความรู้ความเข้าใจความตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง80


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๖.๔ การติดตามประเมินผลแผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลเนื่องจากแผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ได้ดำเนินการจนสิ้นสุดแผนแล้ว<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกองติดตามประเมินผลจึงได้กำหนดให้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการติดตามตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นและผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ มีปัญหาและอุปสรรคอย่างไรบ้าง และช่วยให้ทราบถึงผลที่เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์เหล่านั้น เ<strong>พ</strong>ื่อให้ผู ้บริหารหรือผู ้มีอำนาจตัดสินใจได้ใช้ประกอบการกำหนดทิ<strong>ศ</strong>ทาง และปรับปรุงแก้ไขนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องและทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อนำมาซึ่งการ<strong>พ</strong>ัฒนาประเท<strong>ศ</strong>อย่างยั่งยืนและส่งผลกระทบต่อเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะ เ<strong>พ</strong>ื่อให้เกิดความโปร่งใสและสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน เ<strong>พ</strong>ื่อให้ทิ<strong>ศ</strong>ทางการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>เป็นไปอย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน และไม่ส่งผลเสียต่อการ<strong>พ</strong>ัฒนาทางเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืนผลการดำเนินงานการประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามแผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔<strong>พ</strong>บว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่มีการดำเนินงานที่สอดคล้องกับแนวทางของแผนจัดการฯ โดยสาขาทรั<strong>พ</strong>ยากรที่ได้มีการดำเนินการตามเป้าหมายของแผนจัดการฯ ได้แก่ สาขาทรั<strong>พ</strong>ยากรป่าไม้ สาขาความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> สาขาทรั<strong>พ</strong>ยากรดินและที่ดิน สาขาทรั<strong>พ</strong>ยากรธรณีและทรั<strong>พ</strong>ยากร<strong>พ</strong>ลังงาน สาขาทรั<strong>พ</strong>ยากรประมงและทรั<strong>พ</strong>ยากรทางทะเลและชายฝั่ง และสาขาทรั<strong>พ</strong>ยากรน้ำ สาขาการจัดการมล<strong>พ</strong>ิษ (มล<strong>พ</strong>ิษทางอากา<strong>ศ</strong>และขยะมล<strong>พ</strong>ิษทางน้ำ และมล<strong>พ</strong>ิษจากสารอันตราย)สาขาสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน สาขาสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ<strong>ศ</strong>ิลปกรรม และสาขา<strong>พ</strong>ันธกรณีและข้อตกลงระหว่างประเท<strong>ศ</strong>ด้านทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำหรับสาขาทรั<strong>พ</strong>ยากรที่มีการดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผนจัดการฯ ได้แก่ สาขาการจัดการมล<strong>พ</strong>ิษ (มล<strong>พ</strong>ิษจากของเสียอันตราย) ที่เป้าหมายกำหนดให้มี<strong>ศ</strong>ูนย์จัดการของเสียอันตรายชุมชนที ่ถูกต้องตามหลักวิชาการในภูมิภาคอย่างน้อยภูมิภาคละ ๑ แห่ง81


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผลผลิตรายงานผลสัมฤทธิ์แผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการวางแผนและบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแต่ละระดับผลลั<strong>พ</strong>ธ์หน่วยงานและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบและร่วมกัน<strong>พ</strong>ัฒนาและปรับแผนการดำเนินการด้านทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในอนาคตให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>มากยิ่งขึ้นปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องเห็นความสำคัญในการนำแผนดังกล่าวไปเป็นกรอบในการดำเนินงานรวมทั้งให้ความร่วมมือในการติดตามประเมินผลข้อเสนอแนะควรมีการประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์และถ่ายทอดแผนดังกล่าวไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง และมีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง82


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๗. การ<strong>พ</strong>ัฒนา ปรับปรุงกฎหมาย และระเบียบต่างๆ๗.๑ การดำเนินการกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณลุ ่มน้ำอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหลดอกกราย และคลองใหญ่ จังหวัดระยองสาระสำคัญ หลักการ เหตุผลอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล ดอกกราย และคลองใหญ่ เป็นแหล่งน้ำอุปโภค - บริโภค ที่สำคัญของจังหวัดระยอง และชลบุรี ในขณะเดียวกันการขยายตัวของการ<strong>พ</strong>ัฒนาในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้มีจำนวนโรงงานบริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่ต้นน้ำของอ่างเก็บน้ำดังกล่าวเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นการดูแลและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในบริเวณลุ่มน้ำอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล ดอกกราย และคลองใหญ่ จังหวัดระยองให้เป็นแหล่งน้ำอุปโภค - บริโภคของจังหวัดระยองและ<strong>พ</strong>ื้นที่ข้างเคียงสืบต่อไปอย่างยั่งยืน จึงจำเป็นต้องกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่ดังกล่าวผลการดำเนินงานใน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> <strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ประชุมร่วมกับหน่วยราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการ<strong>พ</strong>ิจารณากำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณลุ่มน้ำอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล ดอกกราย และคลองใหญ่ จังหวัดระยองมาอย่างต่อเนื่องผลผลิต(ร่าง) เขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณลุ่มน้ำอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหลดอกกราย และคลองใหญ่ จังหวัดระยองผลลั<strong>พ</strong>ธ์มีเครื่องมือทางกฎหมายเ<strong>พ</strong>ื่อคุ้มครองและใช้ประโยชน์ควบคู่กับการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่ลุ่มน้ำอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล ดอกกราย และคลองใหญ่ปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จประชาชนส่วนใหญ่ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ยังขาดความตระหนักถึงความสำคัญของการรักษาคุณภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมข้อเสนอแนะสนับสนุนมาตรการด้านแรงจูงใจ เช่น การส่งเสริมกิจกรรมการอนุรักษ์ ฟื้นฟูของชุมชนหรือกลุ่มอนุรักษ์ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างแนวร่วมในการดำเนินการประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม83


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๗.๒ การปรับปรุงประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัด<strong>พ</strong>ังงาและจังหวัดกระบี่สาระสำคัญ หลักการ เหตุผลประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อม ในท้องที่อำเภอคุระบุรี อำเภอตะกั่วป่าอำเภอท้ายเหมือง อำเภอทับปุด อำเภอเมือง<strong>พ</strong>ังงาอำเภอตะกั่วทุ่ง และอำเภอเกาะยาว จังหวัด<strong>พ</strong>ังงา และประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อำเภออ่าวลึก อำเภอเมืองกระบี่ อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ ้มครองสิ่งแวดล้อมในบริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัดกระบี่ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๓รวม ๓ ฉบับ ได้สิ้นสุดการบังคับใช้แล้วเมื่อวันที่ ๒๖มีนาคม <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งปัจจุบันได้เกิดช่องว่างของการบังคับใช้กฎหมายผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยู่ระหว่างการปรับปรุงประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงฯ ทั้ง ๒ <strong>พ</strong>ื้นที่ เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในการดูแล รักษา และฟื้นฟูทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม ใน<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัด<strong>พ</strong>ังงา และจังหวัดกระบี่อย่างต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนผลผลิตร่างประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในท้องที่จังหวัด<strong>พ</strong>ังงา และจังหวัดกระบี่ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ประชาชนใน<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัด<strong>พ</strong>ังงา และจังหวัดกระบี่ มีคุณภา<strong>พ</strong>ชีวิตที่ดีขึ้น สืบเนื่องจากมีแหล่งทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ภายใต้สถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่ดีปัญหา อุปสรรค และเงื่อนไขความสำเร็จn มีขั้นตอนการดำเนินการหลายขั้นตอนซึ่งในแต่ละขั้นตอนต้องใช้ระยะเวลาในการ<strong>พ</strong>ิจารณาซึ่งขณะนี้ ร่างประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงฯ ทั้ง ๒ จังหวัดอยู ่ระหว่างการ<strong>พ</strong>ิจารณาของคณะอนุกรรมการ<strong>พ</strong>ิจารณาการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมn มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมเป็นมาตรการทางกฎหมายที่มีผลต่อการรอนสิทธิของประชาชนในบางเรื่อง นำไปสู ่การไม่เห็นด้วยกับดำเนินการประกา<strong>ศ</strong> เขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมn ประชาชนส่วนใหญ่ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ยังขาดความตระหนักถึงความสำคัญของการรักษาคุณภา<strong>พ</strong>ทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมข้อเสนอแนะสนับสนุนมาตรการด้านแรงจูงใจ เช่นการสนับสนุนกิจกรรมการอนุรักษ์ฟื้นฟูของชุมชนกลุ่มองค์กรอนุรักษ์ใน<strong>พ</strong>ื้นที่ เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างแนวร่วมในการดำเนินการประกา<strong>ศ</strong>เขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม84


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๘. ระบบสารสนเท<strong>ศ</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๘.๑ การ<strong>พ</strong>ัฒนาระบบสารสนเท<strong>ศ</strong><strong>ศ</strong>ูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการหลักการ เหตุผล และสาระสำคัญ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ กำหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของทางราชการเ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดู ซึ่งเป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีที่มุ่งเน้นให้การบริหารภาครัฐมีความโปร่งใสด้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร เ<strong>พ</strong>ื่อให้ประชาชนได้รับรู้การทำงานของหน่วยงานผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้<strong>พ</strong>ัฒนาเว็บไซต์<strong>ศ</strong>ูนย์ข้อมูลข่าวสาร (http://www.onep.go.th/information)ของสำนักงานฯ ขึ้น เ<strong>พ</strong>ื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนสามารถตรวจดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานฯ ได้โดยสะดวกอีกช่องทางหนึ่ง โดยมีเนื้อหาประกอบด้วยเอกสารที่เผยแ<strong>พ</strong>ร่ตามมาตรา ๗ ได้แก่ โครงสร้างการจัดองค์กรอำนาจหน้าที่ และวิธีการดำเนินงานของสำนักงานฯ และข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๙ซึ่งประกอบด้วยนโยบาย แผนงาน และโครงการ คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน สัญญาสำคัญ ประกา<strong>ศ</strong>สอบราคา ประกวดราคา และผล<strong>พ</strong>ิจารณาจัดซื้อจัดจ้าง และมติคณะกรรมการต่างๆ รวมถึงข้อมูลข่าวสารสิ่งแวดล้อมและสุขภา<strong>พ</strong> ตามประกา<strong>ศ</strong>คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ลงวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๓ผลผลิตเว็บไซต์<strong>ศ</strong>ูนย์ข้อมูลข่าวสาร <strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งมีข้อมูลข่าวสารที่<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ กำหนดไว้อย่างครบถ้วนผลลั<strong>พ</strong>ธ์ประชาชนได้รับความสะดวกในการเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารของสำนักงานฯ ที่<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ กำหนดไว้85


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๘.๒ การปรับปรุงเว็บไซต์ของ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหลักการ เหตุผล และสาระสำคัญปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน มีการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือสื่อสารในการดำเนินชีวิตอย่างแ<strong>พ</strong>ร่หลาย การให้บริการของภาครัฐจึงจำเป็นต้องมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วเว็บไซต์ของหน่วยงานเป็นช่องทางหนึ่งในการที่จะอำนวยความสะดวกให้ประชาชนสามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่หน่วยงานมีอยู่ได้อย่างรวดเร็ว <strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จึงได้ทำการปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>ทั้งในด้านข้อมูลและรูปแบบการให้บริการผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้<strong>พ</strong>ัฒนาเว็บไซต์ของสำนักงานฯ(http://www.onep.go.th) ซึ่งมีข้อมูลประกอบด้วย๑. หน้าหลัก ประกอบด้วย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง นโยบายและแผน เช่น นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ แผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด เป็นต้น๒. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ เช่นคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติคณะกรรมการ<strong>พ</strong>ัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา๓. บริการข้อมูลข่าวสาร เช่น เอกสารเผยแ<strong>พ</strong>ร่การจัดซื้อจัดจ้าง <strong>ศ</strong>ูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักงานฯรับสมัครงาน News Clips ห้องสมุด สผ. ข่าวประกา<strong>ศ</strong>ทั่วไป๔. ข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงาน เช่น ความเป็นมาวิสัยทั<strong>ศ</strong>น์/อำนาจหน้าที่ ผู้บริหาร การแบ่งส่วนราชการ๕. ข่าวกิจกรรม และบทความสิ่งแวดล้อมต่างๆ นอกจากนี้เว็บไซต์ของสำนักงานฯ ยังได้มีการเชื่อมโยงกับ Social Media เ<strong>พ</strong>ื่อเ<strong>พ</strong>ิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร และการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสาร ประกอบด้วย Facebook.com/onep.go.th และ Twitter.com/oneptwittผลผลิตเว็บไซต์<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (http://www.onep.go.th)ผลลั<strong>พ</strong>ธ์ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานฯ รวมถึงองค์ความรู้ด้านการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสะดวกและทั่วถึง ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเ<strong>พ</strong>ิ่มมากขึ้น86


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๘.๓ การ<strong>พ</strong>ัฒนา Mobile Application สนับสนุนการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารของราชการหลักการ เหตุผล และสาระสำคัญเนื่องจากในปัจจุบันมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาเทคโนโลยีสารสนเท<strong>ศ</strong>และการสื่อสารที่ทันสมัย ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวกและรวดเร็วผ่านทางอุปกรณ์การสื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile Device)ดังนั้น การให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภา<strong>พ</strong>จึงเป็นกลไกหนึ่งที่จะทำให้หน่วยงาน องค์กร ภาคี และประชาชนมีความรู ้ ความเข้าใจและเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>ได้อย่างสมบูรณ์ผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้<strong>พ</strong>ัฒนา Mobile Applicationชื่อ “ThaiEnvi4Future” ซึ่งเป็นแอ<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ลิเคชันสำหรับอุปกรณ์การสื่อสารที่ใช้ระบบ iOS เช่น ไอโฟน หรือไอแ<strong>พ</strong>ดโดยมีหัวข้อที่สำคัญประกอบด้วยn กิจกรรมของสำนักงานn ข่าวสิ่งแวดล้อมn การรายงานภา<strong>พ</strong>และข้อความด้านสิ่งแวดล้อมโดยผู้ใช้งานn เ<strong>พ</strong>ื่อเผยแ<strong>พ</strong>ร่ใน Application และในเว็บไซต์ สผ.n เรื่องน่ารู้n กฎหมายสิ่งแวดล้อมn ข้อมูลเกี่ยวกับสำนักงานฯn ข้อมูลข่าวสารของราชการn เอกสารเผยแ<strong>พ</strong>ร่n เช็กเมล สผ.ผลผลิตMobile Application ชื่อ “ThaiEnvi4Future” ได้เผยแ<strong>พ</strong>ร่ใน Apple Store และอนุญาตให้ดาวน์โหลดไปใช้งานได้ฟรีผลลั<strong>พ</strong>ธ์n หน่วยงาน องค์กร ภาคี และประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านภารกิจของสำนักงานและข้อมูลสนับสนุนการบริหารจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งข้อมูลข่าวสารของราชการ ตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ ได้อย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>n ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>87


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๘.๔ รายงานผลการปฏิบัติตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐หลักการ เหตุผล และสาระสำคัญ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ เป็นกลไกสำคัญที่จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคมไทย ซึ่งหน่วยงานของรัฐจะต้องมีการ<strong>พ</strong>ัฒนาการดำเนินงานด้านข้อมูลข่าวสารในเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการปรับปรุงวิธีการให้บริการข้อมูลข่าวสารอย่างมีประสิทธิภา<strong>พ</strong>การรณรงค์ให้บุคลากรในองค์กรตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายซึ่งสำนักงานฯ ก็ได้มีการปฏิบัติตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติฯดังกล่าวมาตลอด อย่างไรก็ตามเนื่องจากสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประชาชนมีความต้องการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเ<strong>พ</strong>ื่อรักษาสิทธิและหน้าที่ของตนตามรัฐธรรมนูญ ประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีการ<strong>พ</strong>ัฒนาช่องทางสื่อสารต่างๆอย่างแ<strong>พ</strong>ร่หลาย ทำให้สำนักงานฯ จำเป็นต้องปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง และความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียผลการดำเนินงาน<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง เ<strong>พ</strong>ื่อให้มีความตระหนักถึงความสำคัญและมีจิตสำนึกที่ดีในการให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน และสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ตามหลักกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการได้อย่างถูกต้อง โดยได้ดำเนินการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การดำเนินการตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐”ซึ่งจัดขึ้นตามแผนปฏิบัติการตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ ประจำปีงบประมาณ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> เมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม <strong>๒๕๕๕</strong>นอกจากนี้ยังได้เผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู้เรื่อง “การเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภา<strong>พ</strong>” ซึ่งจัดขึ้นภายใต้โครงการการประชุมชี้แจงเรื่อง “รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม :ข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อประชาชน” โดยมีวัตถุประสงค์เ<strong>พ</strong>ื่อให้หน่วยงานอนุญาต หน่วยงานท้องถิ่น สำนักงานทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบหลักการการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภา<strong>พ</strong> ซึ่งกำหนดให้มีการบรรยายในหัวข้อ “การเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภา<strong>พ</strong>” ซึ่งเป็นการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ความรู ้เกี่ยวกับการดำเนินการตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ และข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภา<strong>พ</strong>ผลผลิตn การจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การดำเนินการตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐” ๑ ครั้ง โดยมีบุคลากรของสำนักงานฯ เข้าร่วมอบรมรวมทั้งสิ้น ๘๘ คน เป็นข้าราชการ๔๗ คน <strong>พ</strong>นักงานราชการ ๓๓ คน และลูกจ้าง ๘ คนn การเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสุขภา<strong>พ</strong> ซึ่งจัดขึ้นภายใต้โครงการการประชุมชี้แจงเรื่อง “รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม : ข้อมูลเ<strong>พ</strong>ื่อประชาชน” ได้ดำเนินการจัดประชุม ๔ ครั้ง มีผู้เข้าร่วมประชุม ๕๕๒ คนผลลั<strong>พ</strong>ธ์เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๐ มีความตระหนักถึงความสำคัญและมีจิตสำนึกที่ดีในการให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนและสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ตามหลักกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการได้อย่างถูกต้อง88


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๙. การดำเนินการด้านกฎหมาย และเรื่องราวร้องทุกข์๙.๑ การดำเนินงานทางด้านนิติการ ประกอบด้วยคดีและการให้ความเห็นทางกฎหมายจานวนคดีปกครองที่<strong>ศ</strong>าลปกครองชั้นต้นมีคา<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ากษา/ถอนฟ้อง๒๖ คดีคดีปกครองที่อยู่ในระหว่าง<strong>พ</strong>ิจารณา๑๙ คดีคดีปกครอง คดีแ<strong>พ</strong>่ง ที่สานักงานฯ เป็น<strong>พ</strong>ยานและผู้เชี่ยวชาญ๒๐ คดีการให้ความเห็นทางกฎหมาย ๑๔๑ เรื่องการตรวจ<strong>พ</strong>ิจารณาร่างสัญญา ๓๔ ฉบับการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้มีสิทธิในการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม๓๗ รายการเตรียมการเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิในการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม๒๘ รายรวม๓๐๕ เรื่องในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.<strong>๒๕๕๕</strong> สำนักงานฯ มีจำนวนคดีปกครองเกี่ยวกับรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมจำนวน๓๙ คดี <strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองจำนวน ๓ คดี และอื่นๆ เช่น สัญญาทางปกครอง สนธิสัญญา จำนวน ๓ คดีจานวน (คดี)๔๐๓๕๓๐๒๕๒๐๒๒คดีที่<strong>ศ</strong>าลปกครองชั้นต้นมีคำ<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ากษา/ถอนฟ้องอยู่ระหว่างการ<strong>พ</strong>ิจารณาของ<strong>ศ</strong>าลปกครอง๑๕๑๐๕๐๒๗รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม๑๒ ๓<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครอง อื่นๆเรื่องคดีที่<strong>ศ</strong>าลปกครองชั้นต้น มีคำ<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ากษา/ถอนฟ้อง รวมร้อยละ๕๘ ของจำนวนคดีปกครองทั้งหมด89


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๙.๒ การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์การดำเนินการเรื่องร้องเรียนจากประชาชนในภา<strong>พ</strong>รวมประชาชนได้แจ้งข้อร้องเรียนในประเด็นต่างๆ รวม ๒๗ เรื่อง โดยแบ่งเป็นเรื่องร้องเรียนจาก<strong>ศ</strong>ูนย์บริการประชาชน (e-petition) กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จำนวน ๕ เรื่องและเรื่องร้องเรียนในระบบจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของสำนักงานฯ จำนวน ๒๐ เรื่อง ประเด็นต่างๆ ที่ประชาชนร้องเรียน มีดังนี้n ด้านการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจำนวน ๑๒ เรื่อง ได้แก่ ๑) โครงการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมเมโทรและโรงไฟฟ้าถ่านหิน บริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่ ต.บางเดชะ อ.เมืองปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี๒) การก่อสร้างอาคารคอนโดมิเนียม 1-TowerPratamnak Condominium ๓) การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของการนิคมอุตสาหกรรม ในกรณีการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) ของบริษัท ไออาร์<strong>พ</strong>ีซี จำกัด๔) โครงการโรงไฟฟ้า<strong>พ</strong>ลังงานความร้อนร่วม ๔๗.๔เมกะวัตต์ ของบริษัท ไทยเ<strong>พ</strong>าเวอร์ ซั<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ลายจำกัด ๕) การอนุญาตก่อสร้างอาคารที่อยู่ในข่ายต้องทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมบ้านช่างเคี่ยน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๖) โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล ๙.๙ เมกะวัตต์ จ.ยะลา ๗) การก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินขนาดใหญ่ ของบริษัท ไทยเ<strong>พ</strong>าเวอร์ซั<strong>พ</strong><strong>พ</strong>ลาย จำกัด ๘) โครงการก่อสร้างหอ<strong>พ</strong>ักบุคลากรคณะแ<strong>พ</strong>ทย<strong>ศ</strong>าสตร์ โรง<strong>พ</strong>ยาบาลรามาธิบดี กทม. ๙) การก่อสร้างโครงการ The Seed Atom เขต<strong>พ</strong>ญาไท กทม.๑๐) การก่อสร้างโรงไฟฟ้า ซึ่งใช้<strong>พ</strong>ลังงานก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเ<strong>พ</strong>ลิง ต.บางกรวย อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ๑๑)การก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล ของบริษัท หนองบัวกรีน<strong>พ</strong>าวเวอร์ จำกัด ใน<strong>พ</strong>ื้นที่หมู่ที่ ๒๐ ต.หนองบัวอ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ ๑๒) การก่อสร้างอาคารถังเก็บน้ำมันและวางท่อรับน้ำมันในทะเล ของคลังน้ำมันไออาร์<strong>พ</strong>ีซี จ.ชุม<strong>พ</strong>รn ด้านการประกอบการเหมืองแร่ จำนวน๑ เรื่อง ได้แก่ ๑) ขอประทานบัตรทำเหมืองแร่โปแตชของบริษัท เอเซีย แปซิฟิก โปแตช คอร์ปอเรชั่น จำกัดn ด้านประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จำนวน ๑ เรื่อง ได้แก่ ๑) การประกา<strong>ศ</strong><strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (ส่วนขยาย)n ด้านการบริหารจัดการที่ดิน จำนวน ๒เรื่อง ได้แก่ ๑) การออกโฉนดที่ดินในท้องที่ ต.คลองยาอ.อ่าวลึก จ.กระบี่ ๒) ขอให้ออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน(โฉนด) ที่ราษฎรครอบครองและทำประโยชน์เต็ม<strong>พ</strong>ื้นที่อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎร์ธานีn ด้านการติดตามตรวจสอบคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม และการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน ๔ เรื่อง ได้แก่ ๑) โครงการ คอนโดเดอะคริส ๔ ๒) โรงงาน บริษัท ทีเอชเอช โมลีโ<strong>พ</strong>รเซสซิ่งจำกัด ๓) โครงการระบบรถไฟฟ้าชานเมือง (สายสีแดง)ช่วงบางซื่อ - ตลิ่งชัน ของการรถไฟแห่งประเท<strong>ศ</strong>ไทย๔) โครงการบ้านเอื้ออาทร ปัญญารามอินทรา ของการเคหะแห่งชาติ กทม.n การให้ข้อคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะต่างๆผลการดำเนินการ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดำเนินการในส่วนที่สำนักงานฯ รับผิดชอบแล้วเสร็จจำนวน ๑๘ เรื่อง และเรื่องร้องเรียนที่อยู่ระหว่างการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน๙ เรื่อง90


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑๐. ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการระดับชาติ๑๐.๑ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ แต่งตั้งตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>มีการประชุมจำนวน ๔ ครั้ง โดยมีเรื่องเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณา๔๖ เรื่อง และเรื่องเ<strong>พ</strong>ื่อทราบ ๘ เรื่อง ดังนี้ด้านนโยบายและการบริหาร จำนวน ๑๖ เรื่อง เช่นn แผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๖n กรอบทิ<strong>ศ</strong>ทางการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๒๓ (๔) แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖n ร่างประกา<strong>ศ</strong>กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณท้องที่ตำบลตลิ่งงามตำบลบ่อผุด ตำบลมะเร็ต ตำบลแม่น้ำ อำเภอเกาะสมุยและตำบลเกาะ<strong>พ</strong>ะงัน ตำบลบ้านใต้ ตำบลเกาะเต่าอำเภอเกาะ<strong>พ</strong>ะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ....n การยกร่างกฎหมายเ<strong>พ</strong>ื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมตามความในมาตรา ๒๙๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย <strong>พ</strong>ุทธ<strong>ศ</strong>ักราช ๒๕๕๐n การทบทวนข้อกำหนดที่กรม<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดินเคยใช้ในการกำหนดเขต<strong>พ</strong>ื้นที่ระงับการเ<strong>พ</strong>าะเลี้ยงกุ ้งกุลาดำระบบความเค็มต่ำใน<strong>พ</strong>ื้นที่น้ำจืดเมื่อปี ๒๕๔๑ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๔ด้านการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จำนวน ๒๒เรื่อง เช่นn โครงการระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าสายต่างๆ เช่น สายสีส้ม สายสีชม<strong>พ</strong>ู และสายสีม่วง เป็นต้นn โครงการก่อสร้างท่าเรือชายฝั ่งที่จังหวัดตรังของกรมเจ้าท่าn โครงการก่อสร้างทางคู่ในเส้นทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออกระหว่างฉะเชิงเทรา - คลองสิบเก้า - แก่งคอย ของการรถไฟแห่งประเท<strong>ศ</strong>ไทยn โครงการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าระบบ ๑๑๕กิโลโวลต์ อำเภอเขาค้อ-อำเภอหล่มสัก จังหวัดเ<strong>พ</strong>ชรบูรณ์ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคด้านการกำหนดมาตรฐานคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมจำนวน ๒ เรื่อง คือn กำหนดมาตรฐานค่าความเข้มกลิ่นของอากา<strong>ศ</strong>เสียที่ปล่อยทิ้งจากสถานที่เลี้ยงสัตว์n มาตรฐานระดับเสียงยาน<strong>พ</strong>าหนะใหม่ขณะวิ่งนอกจากนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการฯ<strong>พ</strong>ร้อมด้วยผู ้บริหารและเจ้าหน้าที่ของกระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้เดินทางไปใน<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัดระยอง ระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๘ สิงหาคม <strong>๒๕๕๕</strong>เ<strong>พ</strong>ื่อติดตามการดำเนินงานตามมติของคณะกรรมการฯเรื่องต่างๆ เช่น การแก้ไขปัญหามล<strong>พ</strong>ิษบริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรมมาบตา<strong>พ</strong>ุด โครงการ<strong>ศ</strong>ูนย์กำจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง และความก้าวหน้าการดำเนินโครงการก่อสร้างสะ<strong>พ</strong>านข้ามแม่น้ำประแสร์ ของกรมทางหลวงชนบท91


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑๐.๒ คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อมคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม แต่งตั้งตาม<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ได้มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม จำนวน๖ ครั้ง โดยมีวาระการ<strong>พ</strong>ิจารณา ซึ่งคณะกรรมการฯได้มีมติแล้ว โดยแบ่งออกเป็นแต่ละด้าน ดังนี้n ด้านนโยบายในการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อม จำนวน ๑๐ เรื่อง- การสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อมในการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากอุทกภัย- ร่างเกณฑ์การประเมินผลการดำเนินงานทุนหมุนเวียน (กองทุนสิ่งแวดล้อม) ปีบัญชี <strong>๒๕๕๕</strong>- คู่มือการดำเนินงานตามมาตรา ๘๘ และ๙๓ แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕- ร่างแผนแม่บทกองทุนสิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.<strong>๒๕๕๕</strong> – ๒๕๕๙- ขยายเวลาการใช้กรอบทิ<strong>ศ</strong>ทางการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๒๓ (๔) แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ – <strong>๒๕๕๕</strong> เ<strong>พ</strong>ื่อใช้เป็นกรอบในปี ๒๕๕๖- แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการด้านการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการด้านการจัดการมล<strong>พ</strong>ิษ- แผนจัดสรรเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๕๖- แผนบริหารความเสี่ยงกองทุนสิ่งแวดล้อมปี ๒๕๕๖- สมาคมนักกฎหมาย<strong>พ</strong>ิทักษ์สิ่งแวดล้อม ขอให้คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม<strong>พ</strong>ิจารณาทบทวนมติการประชุมครั้งที่ ๒/<strong>๒๕๕๕</strong> เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม<strong>๒๕๕๕</strong> กรณีโครงการให้ความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังการปนเปื ้อนของสาร<strong>พ</strong>ิษจากบ่อขยะสู ่สิ่งแวดล้อมด้วยวิธีทางกฎหมายโดยชุมชนมีส่วนร่วม- แนวทางการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อมเ<strong>พ</strong>ื่อการฟื้นฟูระบบบำบัดน้ำเสีย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยn ด้านการ<strong>พ</strong>ิจารณาสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม จำนวน ๑๒ โครงการ- การสนับสนุนโครงการเงินอุดหนุนเ<strong>พ</strong>ื่อก่อสร้างระบบรวม ตามมาตรา ๒๓ (๑) แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ จำนวน ๒ โครงการ- การสนับสนุนโครงการเงินกู้ภาคเอกชนตามมาตรา ๒๓ (๓) แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ จำนวน๗ โครงการ- การสนับสนุนโครงการเงินอุดหนุนด้านการส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๒๓(๔) แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ จำนวน ๓ โครงการ- การติดตามระบบบริหารจัดการและผลการปฏิบัติงาน จำนวน ๗ เรื่อง- ผลปฏิบัติงานของระบบการควบคุมภายใน- ผลปฏิบัติงานของระบบบริหารทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล- ผลปฏิบัติงานของระบบตรวจสอบภายใน- ผลการดำเนินงานด้านการเงิน- ผลปฏิบัติงานของระบบการบริหารความเสี่ยง- ผลปฏิบัติงานของระบบบริหารจัดการสารสนเท<strong>ศ</strong>- ผลการดำเนินงานด้านไม่ใช่การเงินตามวัตถุประสงค์และภารกิจของทุนหมุนเวียน92


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑๐.๓ คณะกรรมการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่าคณะกรรมการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๖ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> คณะกรรมการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่าได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายในการวางนโยบาย กำหนด<strong>พ</strong>ื้นที่ และจัดทำแผนแม่บทโดยความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี รวมทั้งให้ความเห็นโครงการภาครัฐใน<strong>พ</strong>ื้นที่ที่รับผิดชอบ สรุปดังนี้n โครงการวางท่อส่งน้ำที่บำบัดแล้วไปใช้ประโยชน์ในเขตกรุงรัตนโกสินทร์ : มติขอให้สำนักการระบายน้ำ<strong>พ</strong>ิจารณาจัดทำแผนแม่บทการใช้น้ำที่บำบัดแล้วไปใช้ประโยชน์ในเขตกรุงรัตนโกสินทร์ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของการตั้งโรงควบคุมคุณภา<strong>พ</strong>น้ำกรุงรัตนโกสินทร์ และสอดคล้องกับหลักการอนุรักษ์และ<strong>พ</strong>ัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนn โครงการลานเฉลิม<strong>พ</strong>ระเกียรติ<strong>พ</strong>ระบาทสมเด็จ<strong>พ</strong>ระเจ้าอยู ่หัวภูมิ<strong>พ</strong>ลอดุลยเดช บริเวณสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ถนนราชดำเนินกลาง : มติมอบให้สำนักงานคณะกรรมการ<strong>พ</strong>ัฒนาการเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รับเป็นเจ้าของเรื่อง หารือร่วมกับหน่วยงานและผู ้เกี่ยวข้อง ปรับปรุงรูปแบบลานเฉลิม<strong>พ</strong>ระเกียรติฯและนำเสนอคณะกรรมการฯ <strong>พ</strong>ิจารณาต่อไปn โครงการปรับปรุงท่อประปาใน<strong>พ</strong>ื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ : มติไม่ขัดข้องการปรับปรุงซ่อมแซมท่อประปาและวางทดแทนท่อเดิมในแนวเส้นทางเดิมหากขุด<strong>พ</strong>บหลักฐานโบราณคดี ขอให้ประสานงานกับกรม<strong>ศ</strong>ิลปากร และหากมีการวางท่อในแนวเส้นทางใหม่ขอให้การประปานครหลวงนำรายละเอียดและแบบแปลนเสนอคณะอนุกรรมการฯ เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณาn โครงการนำสายสาธารณูปโภคลงใต้ดินในเขตกรุงรัตนโกสินทร์ : มติเห็นชอบในหลักการ และขอให้กรุงเท<strong>พ</strong>มหานครมีเงื่อนไขในสัญญาให้ผู ้รับผิดชอบดำเนินโครงการ ระมัดระวังไม่ให้เกิดผลกระทบต่อหลักฐานโบราณคดี และจะต้องรับผิดชอบหากมีความเสียหายเกิดขึ้นn โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาตลาดปากคลองตลาด :มติเห็นชอบให้องค์การตลาดปรับเปลี่ยนโครงการเป็นโครงการปรับปรุงตลาดn โครงการก่อสร้างและ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>ศ</strong>ูนย์การเรียนรู ้ราชทัณฑ์ระหว่างประเท<strong>ศ</strong> : เห็นชอบในหลักการและขอให้กระทรวงยุติธรรมทำเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรีขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เ<strong>พ</strong>ื่อขอใช้ประโยชน์ที่ดินสวนรมณีนาถ และประสานกรม<strong>ศ</strong>ิลปากรเ<strong>พ</strong>ื่อดำเนินการต่อไปn โครงการ<strong>ศ</strong>ูนย์การเรียนรู้กรมธนารักษ์และห้องสมุดชุมชน (ที่ราช<strong>พ</strong>ัสดุแปลงโรง<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์คุรุสภา) :เห็นชอบในหลักการให้กรมธนารักษ์ใช้ประโยชน์ที่ดินที่ราช<strong>พ</strong>ัสดุแปลงโรง<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์คุรุสภา เป็น<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ิธภัณฑ์ที่สอดคล้องกับภารกิจของกรมธนารักษ์93


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑๐.๔ คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก (ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุงรองนายกรัฐมนตรี ประธาน) ในการประชุมครั้งที่ ๑/<strong>๒๕๕๕</strong> เมื่อวันที่ ๗ มิถุนายน <strong>๒๕๕๕</strong> มีมติเห็นชอบการนำเสนอแหล่งมรดกทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าโดดเด่นอันเป็นสากลต่อ<strong>ศ</strong>ูนย์มรดกโลก กรุงปารีส สห<strong>พ</strong>ันธรัฐฝรั่งเ<strong>ศ</strong>ส ดังนี้n การนำเสนอ<strong>พ</strong>ื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน(Kaeng Krachan Forest Complex, KKFC) เ<strong>พ</strong>ื่อขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ (NaturalWorld Heritage) ด้วย<strong>พ</strong>ื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจานเป็น<strong>ศ</strong>ูนย์รวมความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชีย โดย<strong>พ</strong>บชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์สัตว์ป่าอย่างน้อย ๗๒๐ชนิด มีการกระจาย<strong>พ</strong>ันธุ ์จากถิ่นอา<strong>ศ</strong>ัยทางใต้ขึ้นไปจนถึงบริเวณเหนือสุด มีคุณค่าความสำคัญ โดดเด่นอันเป็นสากลตรงตามเกณฑ์ของมรดกโลกข้อ ๑๐ ตามเอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุ ้มครองมรดกโลก คือ“ถิ่นที่อยู่อา<strong>ศ</strong>ัยตามธรรมชาติ ที่มีความสำคัญต่อการอนุรักษ์ในถิ่นที่อยู ่ (In - situ conservation) ของความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> รวมถึงถิ่นที่อยู่ของชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ที่ถูกคุกคามที่มีความโดดเด่นอันเป็นสากลทั้งจากมุมของวิทยา<strong>ศ</strong>าสตร์หรือการอนุรักษ์”ขณะนี้อยู่ระหว่างการนำเสนอคณะรัฐมนตรีเ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณาให้ความเห็นชอบ เ<strong>พ</strong>ื่อจะได้ประสาน<strong>ศ</strong>ูนย์มรดกโลก เ<strong>พ</strong>ื่อนำเสนอคณะกรรมการมรดกโลก<strong>พ</strong>ิจารณาตามลำดับต่อไปn การนำเสนอวัด<strong>พ</strong>ระมหาธาตุวรมหาวิหารจังหวัดนคร<strong>ศ</strong>รีธรรมราช (Wat Phra MahathatWoramahawihan, Nakhon Si Thammarat) เ<strong>พ</strong>ื่อขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List)ซึ่งวัด<strong>พ</strong>ระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นวัดสำคัญในสมัยรัฐตาม<strong>พ</strong>รลิงค์ ในช่วง<strong>พ</strong>ุทธ<strong>ศ</strong>ตวรรษที่ ๑๘ ถึงกลาง<strong>พ</strong>ุทธ<strong>ศ</strong>ตวรรษที่ ๑๙ มี<strong>พ</strong>ระบรมธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ทรงกลมขนาดใหญ่ที่มีความโดดเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมและเป็นสถานที่<strong>ศ</strong>ักดิ์สิทธิ์ทาง<strong>พ</strong>ระ<strong>พ</strong>ุทธ<strong>ศ</strong>าสนาฝ่ายเถรวาท มีคุณค่าความสำคัญโดดเด่นเป็นสากลตรงตามเกณฑ์ของมรดกโลก ๓ ข้อ ตามเอกสารแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก ได้แก่ ข้อ ๑“เป็นตัวแทนผลงานที่เป็นเลิ<strong>ศ</strong>ของการสร้างจากความอัจฉริยะของมนุษย์” ข้อ ๒ “เป็นการแสดงถึงความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงคุณค่าของมนุษย์ตามกาลเวลาหรือในวัฒนธรรมด้านใดด้านหนึ่งของโลก ในการ<strong>พ</strong>ัฒนาด้านสถาปัตยกรรม หรือทางเทคโนโลยี <strong>ศ</strong>ิลปะสถาปัตยกรรมโบราณ การออกแบบผังเมืองหรือการออกแบบภูมิทั<strong>ศ</strong>น์” และ ข้อ ๖ “มีความสัม<strong>พ</strong>ันธ์โดยตรงหรือเห็นได้ชัดเจนกับเหตุการณ์ หรือประเ<strong>พ</strong>ณีที่ยังคงอยู่หรือความคิด หรือความเชื่อ งาน<strong>ศ</strong>ิลปกรรม และวรรณกรรม ที่มีความโดดเด่นเป็นสากล”คณะรัฐมนตรีมติเมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม<strong>๒๕๕๕</strong> เห็นชอบการนำเสนอวัด<strong>พ</strong>ระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนคร<strong>ศ</strong>รีธรรมราช เ<strong>พ</strong>ื่อขึ้นทะเบียนบัญชีรายชื่อเบื้องต้น ณ <strong>ศ</strong>ูนย์มรดกโลก ขณะนี้ กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการแห่งชาติฯ และหน่วยประมาณงานกลางอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก (NationalFocal Point) ได้ประสาน<strong>ศ</strong>ูนย์มรดกโลก เ<strong>พ</strong>ื่อเสนอคณะกรรมการมรดกโลก<strong>พ</strong>ิจารณาเรียบร้อยแล้ว คาดว่าคณะกรรมการมรดกโลกจะ<strong>พ</strong>ิจารณาเรื่องดังกล่าวในการประชุมสมัยสามัญ ครั้งที่ ๓๗ ราวเดือนมิถุนายน๒๕๕๖ ณ กรุง<strong>พ</strong>นมเปญ ราชอาณาจักรกัม<strong>พ</strong>ูชา94


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑๐.๕ คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แห่งชาติคณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แต่งตั้งตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการดำเนินการด้านการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๐ โดยในปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการประชุมจำนวน ๒ ครั้ง ซึ่งที่ประชุมมีมติที่สำคัญ ดังนี้n การประชุมครั้งที่ ๑/<strong>๒๕๕๕</strong> เมื่อวันที่ ๑๘เมษายน <strong>๒๕๕๕</strong> ที่ประชุมมีมติเห็นชอบที่สำคัญ อาทิ- เห็นชอบในแนวทางการดำเนินงานของประเท<strong>ศ</strong>ไทยตามข้อตัดสินใจของการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> สมัยที่ ๑๗ และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต สมัยที่ ๗ ณ เมืองเดอร์บัน สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ โดยแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญของประเท<strong>ศ</strong>ไทย เช่น การ<strong>พ</strong>ิจารณาบทบาทของประเท<strong>ศ</strong>ในการเข้าร่วมเจรจาในคณะกรรมการชุดใหม่ การ<strong>พ</strong>ิจารณากำหนดนโยบายเกี่ยวกับ REDD+ของประเท<strong>ศ</strong>ไทยการ<strong>พ</strong>ิจารณากรอบการทำงานในเรื่องแนวทางความร่วมมือลดก๊าซเรือนกระจกรายสาขา การ<strong>พ</strong>ิจารณากรอบการทำงานในเรื่องแนวทางความร่วมมือลดก๊าซเรือนกระจกรายสาขา การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเ<strong>พ</strong>ื่อรองรับการจัดทำรายงานด้านก๊าซเรือนกระจกของประเท<strong>ศ</strong>ไทย การเตรียมการคัดสรรผู้มีความเชี่ยวชาญเ<strong>พ</strong>ื่อรับการคัดเลือกเป็นสมาชิกของคณะกรรมการด้านการปรับตัว การติดตามแผนงานสำหรับการให้ความช่วยเหลือทางการเงินในระยะยาวและเสนอแนะแนวทางในการดำเนินการของประเท<strong>ศ</strong>ไทยในการเข้าถึงแหล่งเงิน เป็นต้น- ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้เ<strong>พ</strong>ิ่มเติมผู้อำนวยการสำนักงบประมาณและผู ้แทนจากคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน ๓ สถาบัน รวมทั้งการเ<strong>พ</strong>ิ่มเติมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>แห่งชาติn การประชุมครั้งที่ ๒/<strong>๒๕๕๕</strong> เมื่อวันที่ ๑๔<strong>พ</strong>ฤ<strong>ศ</strong>จิกายน <strong>๒๕๕๕</strong> ที่ประชุมมีมติเห็นชอบที่สำคัญ อาทิ- เห็นชอบ (ร่าง) กรอบเจรจาของประเท<strong>ศ</strong>ไทยสำหรับการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> สมัยที่ ๑๘ และการประชุมรัฐภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารเกียวโต สมัยที่ ๘ ณ กรุงโดฮารัฐกาตาร์- รับทราบและสนับสนุนให้นำผลการ<strong>ศ</strong>ึกษา<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>การลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเท<strong>ศ</strong>ไทยในภาค<strong>พ</strong>ลังงาน (การผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรมและ<strong>พ</strong>ลังงานจากขยะ) และภาคการขนส่ง ไปประกอบการจัดทำแผนการดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเท<strong>ศ</strong> (NAMAs) ของประเท<strong>ศ</strong>ไทยและเห็นชอบให้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำแนวทางการแสดงเจตจำนง (Pledge) การดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเท<strong>ศ</strong> (NAMAs)โดยมอบหมายให้กระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง95


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑๐.๖ คณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>แห่งชาติคณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>แห่งชาติ แต่งตั้งตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๓ และ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๒) ใน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการประชุมจำนวน ๓ ครั้ง เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>วันที่ ๑๑ เมษายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> และวันที่ ๒๘ กันยายน<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> โดยมีประเด็นการ<strong>พ</strong>ิจารณาที่สำคัญ ดังนี้n การลงนาม<strong>พ</strong>ิธีสารนาโงยาว่าด้วยการเข้าถึงทรั<strong>พ</strong>ยากร<strong>พ</strong>ันธุกรรมและการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ทรั<strong>พ</strong>ยากร<strong>พ</strong>ันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม และ<strong>พ</strong>ิธีสารเสริมนาโงยา-กัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการรับผิดและการชดใช้ตาม<strong>พ</strong>ิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong>n การเสนอคณะรัฐมนตรี ให้ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔-๒๕๖๓ เป็นท<strong>ศ</strong>วรรษแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ของประเท<strong>ศ</strong>ไทยn (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานด้านการสื่อสาร การให้การ<strong>ศ</strong>ึกษา และการเสริมสร้างความตระหนักแก่สาธารณชนเรื่องความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (CEPA) เ<strong>พ</strong>ื่อตอบสนองต่อท<strong>ศ</strong>วรรษแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ขององค์การสหประชาชาติค.<strong>ศ</strong>. ๒๐๑๑ - ๒๐๒๐n (ร่าง) ยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืนโดยความร่วมมือของภาคธุรกิจn (ร่าง) แนวทางการวิจัยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่จำเป็นและสนองต่อเป้าหมายของแผนกลยุทธ์อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ระยะ ๒๐๑๑ - ๒๐๒๐n การประชุมสมัชชาภาคี<strong>พ</strong>ิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong> สมัยที่ ๖ และการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> สมัยที่ ๑๑ ระหว่างวันที่ ๑-๑๙ตุลาคม <strong>๒๕๕๕</strong> ณ เมืองไฮเดอราบาด สาธารณรัฐอินเดียn ร่างนโยบาย มาตรการ และแผนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>อย่างยั่งยืน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐n ปรับปรุงองค์ประกอบคณะอนุกรรมการอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>96


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑๐.๗ คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๒๐ แห่งประมวลกฎหมายที่ดินโดยมีภารกิจในการวางนโยบายการจัดที่ดิน วางแผนการถือครองที่ดิน สงวนและ<strong>พ</strong>ัฒนาที่ดินเ<strong>พ</strong>ื่อจัดให้แก่ประชาชนการอนุมัติและควบคุมการจัดที่ดินของทบวงการเมืองตามประมวลกฎหมายที่ดินและกฎหมายอื่น การวางระเบียบหรือข้อบังคับการกำหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดที่ดินและปฏิบัติการอื่นเกี่ยวกับที่ดินตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>คณะกรรมการฯ มีการประชุม จำนวน ๒ ครั้ง โดยได้<strong>พ</strong>ิจารณาจำนวน ๔ เรื่อง ดังนี้n สำนักงานปฏิรูปที่ดินเ<strong>พ</strong>ื่อการเกษตรกรรมขอส่งคืน<strong>พ</strong>ื้นที่จำแนกออกจากป่าไม้ถาวรส่วนที่เหลืออีกจำนวน ๖๖๔,๓๘๕ ไร่ ให้คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ เ<strong>พ</strong>ื่อ<strong>พ</strong>ิจารณามอบให้หน่วยงานรับไปดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายn สำนักชลประทานที่ ๕ กรมชลประทานขอใช้<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าไม้ส่วนกลางในนิคมสร้างตนเองโ<strong>พ</strong>น<strong>พ</strong>ิสัยจังหวัดหนองคาย เ<strong>พ</strong>ื่อสร้างประตูระบายน้ำn กรมส่งเสริมสหกรณ์ ขออนุญาตนำ<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าไม้ส่วนกลาง ในนิคมสหกรณ์ฟากท่า อำเภอฟากท่าจังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน ๕๑๙ ไร่ เ<strong>พ</strong>ื่อจัดให้ราษฎรจำนวน ๘๓ ครอบครัวn กรมที่ดิน ขออนุญาตขึ้นทะเบียนที่ดินบริเวณโครงการก่อสร้างระบบกำจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจร ป่าแม่ตุ ๋ยฝั ่งซ้าย (ป่าแม่เมาะ แปลง ๒) จังหวัดลำปาง เ<strong>พ</strong>ื่อให้ทบวงการเมืองใช้ประโยชน์ในราชการตามมาตรา ๘ แห่งประมวลกฎหมายที่ดินนอกจากนี้ คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่๕ มิถุนายน <strong>๒๕๕๕</strong> แต่งตั้งนายโชติ ตราชู เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านน้ำบาดาล ในคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ97


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม๑๑. การ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะบุคลากรการฝึกอบรม/สัมมนาสำนักงานฯ ได้มีการ<strong>พ</strong>ัฒนาสมรรถนะบุคลากร โดยจัดการฝึกอบรม/สัมมนาจำนวน ๑๙ หลักสูตร ดังนี้ลำดับ หลักสูตร จำนวนบุคลากร๑ การสัมมนา “ทิ<strong>ศ</strong>ทางการดำเนินงานของ<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” ๒๒๐๒ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล ประจำปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>” ๑๔๐๓ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของ<strong>พ</strong>นักงานราชการ” ๑๗๐๔ การสัมมนา “การส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในส่วนราชการภายใต้แผน<strong>พ</strong>ัฒนาสตรี ในช่วงแผนเ<strong>ศ</strong>รษฐกิจและสังคม”๕ การสัมมนา “มุมมองใหม่ สผ. เ<strong>พ</strong>ื่อสานต่องานด้านสิ่งแวดล้อมจากนักบริหาร” ๑๙๒๖ โครงการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ<strong>พ</strong>ัฒนาประสิทธิภา<strong>พ</strong>การบริการด้วย วัฒนธรรมการบริการ ๑๑๑ONEP Smile”๗ การฝึกอบรม “ร่วมแรง ร่วมใจ ก้าวไกลไปกับ สผ.” ๒๐๐๘ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ๘๐รายบุคคล”๙ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การตกลงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายร่วมกัน” ๑๕๐๑๐ การอบรมโครงการ “<strong>พ</strong>ุทธชยันตี สร้าง<strong>พ</strong>ลังแห่งความดี สร้างวิถีแห่งความสุข” ๒๐๐๑๑ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “แผน<strong>พ</strong>ัฒนาทรั<strong>พ</strong>ยากรบุคคล สผ. ปี ๒๕๕๖-๒๕๕๘” ๒๒๑๒ การปฐมนิเท<strong>ศ</strong>ข้าราชการและ<strong>พ</strong>นักงานราชการบรรจุใหม่ รุ่นที่ ๒ ๗๐๑๓ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การดำเนินงานของหน่วยงานสนับสนุน” ๘๐๑๔ การฝึกอบรม “การเขียนหนังสือราชการ และการเขียนรายงานการประชุม” ๑๕๐๑๕ การ<strong>พ</strong>ัฒนาทีม สผ. ครั้งที่ ๑ ฝึกอบรมหลักสูตร CREATING GREATER TEAM SYNERGY๔๘“<strong>พ</strong>ลังทำ <strong>พ</strong>ลังทีม”๑๖ สำรวจตน ฝึกฝนงาน ประสานคุณค่าสู่ความสำเร็จ ๖๐๑๗ การสัมมนาระดมความเห็น “การกำหนดทิ<strong>ศ</strong>ทางในการทำงานของ สผ. แบบมีส่วนร่วม” ๒๖๐๑๘ การ<strong>พ</strong>ัฒนาทีม สผ. ครั้งที่ ๒ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การ<strong>พ</strong>ัฒนามนุษย์ตาม<strong>พ</strong>ุทธวิถี..หนทางสู่การ ๙๐<strong>พ</strong>ัฒนาที่ยั่งยืน “<strong>พ</strong>ลังธรรม .. <strong>พ</strong>ลังทีม ตามวิถีแห่งคนดี” โดยใช้เกมท้าทายอัตตาสลับการบรรยาย(Ego Challenge Game)๑๙ การสัมมนาระดมความเห็น “การเ<strong>พ</strong>ิ่มประสิทธิภา<strong>พ</strong>การดำเนินงานของหน่วยงานสนับสนุน” ๒๘๐๑๐๐98


รายงานการเงิน


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมงบแสดงฐานะทางการเงินณ วันที่ ๓๐ กันยายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> และ ๒๕๕๔สินทรั<strong>พ</strong>ย์สินทรั<strong>พ</strong>ย์หมุนเวียน(<strong>พ</strong>ันบาท)<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>(<strong>พ</strong>ันบาท)<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ๔๐,๗๕๒.๗๔ ๔๖,๖๕๔.๙๖ลูกหนี้ระยะสั้น ๔,๖๐๗.๒๐ ๒,๕๖๘.๑๘รายได้ค้างรับ ๔,๕๕๘.๒๓ ๓๒๐.๐๓วัสดุคงเหลือ ๒,๐๙๑.๔๔ ๒,๕๘๗.๐๙รวมสินทรั<strong>พ</strong>ย์หมุนเวียน ๕๒,๐๐๙.๖๑ ๕๒,๑๓๐.๒๖สินทรั<strong>พ</strong>ย์ไม่หมุนเวียนลูกหนี้อื่นระยะยาว ๑,๔๗๙.๕๗ ๑,๗๑๑.๒๑ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) ๔๘,๐๘๕.๖๐ ๕๗,๔๖๘.๓๗สินทรั<strong>พ</strong>ย์โครงสร้าง<strong>พ</strong>ื้นฐาน (สุทธิ) ๑,๔๑๐.๑๖ ๑,๖๐๐.๑๖สินทรั<strong>พ</strong>ย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) ๒,๖๐๐.๓๘ ๔,๑๗๑.๐๑รวมสินทรั<strong>พ</strong>ย์ไม่หมุนเวียน ๕๓,๕๗๕.๗๑ ๖๔,๙๕๐.๗๕รวมสินทรั<strong>พ</strong>ย์ ๑๐๕,๕๘๕.๓๒ ๑๑๗,๐๘๑.๐๑100


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGงบแสดงฐานะทางการเงิน (ต่อ)ณ วันที่ ๓๐ กันยายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> และ ๒๕๕๔หนี้สินหนี้สินหมุนเวียน(<strong>พ</strong>ันบาท)<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>(<strong>พ</strong>ันบาท)<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔เจ้าหนี้ระยะสั้น ๕,๙๘๔.๔๑ ๔,๙๕๘.๔๙ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ๓,๓๗๔.๗๑ ๓๕,๓๓๐.๗๔เงินรับฝากระยะสั้น ๐.๒๓ ๑๙๒.๐๐เงินกู้ระยะสั้น ๑,๐๓๔.๕๕ ๒,๕๗๓.๘๒หนี้สินหมุนเวียนอื่น ๖,๒๖๔.๗๕ ๖,๖๙๑.๑๓รวมหนี้สินหมุนเวียน ๑๖,๖๕๘.๖๕ ๔๙,๗๔๖.๑๘หนี้สินไม่หมุนเวียนรายได้รอการรับรู้ระยะยาว ๓๕,๑๓๐.๔๘ ๒,๑๑๗.๕๗เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว ๑,๕๐๐.๐๐ ๑,๕๐๐.๐๐หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ๑,๔๗๙.๕๗ ๑,๗๑๑.๒๑รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน ๓๘,๑๑๐.๐๕ ๕,๓๒๘.๗๘รวมหนี้สิน ๕๔,๗๖๘.๗๐ ๕๕,๐๗๔.๙๖สินทรั<strong>พ</strong>ย์สุทธิ ๕๐,๘๑๖.๖๒ ๖๒,๐๐๖.๐๕สินทรั<strong>พ</strong>ย์สุทธิทุน ๒๗,๑๑๑.๔๐ ๒๗,๑๑๑.๔๐รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม ๒๓,๗๐๕.๒๒ ๓๔,๘๙๔.๖๕รวมสินทรั<strong>พ</strong>ย์สุทธิ ๕๐,๘๑๖.๖๒ ๖๒,๐๐๖.๐๕101


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมงบแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> และ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔(<strong>พ</strong>ันบาท)<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>(<strong>พ</strong>ันบาท)<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔รายได้จากการดำเนินงานรายได้จากรัฐบาลรายได้จากงบประมาณ ๓๒๐,๑๖๐.๕๘ ๓๔๖,๒๔๔.๖๕รวมรายได้จากรัฐบาล ๓๒๐,๑๖๐.๕๘ ๓๔๖,๒๔๔.๖๕รายได้จากแหล่งอื่นรายได้จากการขายสินค้าและบริการ ๕๐๐.๙๑ ๔๑.๑๐รายได้จากเงินช่วยเหลือและเงินบริจาค ๑๓,๖๓๔.๘๑ ๕๕,๓๓๑.๑๗รวมรายได้จากแหล่งอื่น ๑๔,๑๓๕.๗๒ ๕๕,๓๗๒.๒๗รวมรายได้จากการดำเนินงาน ๓๓๔,๒๙๖.๓๐ ๔๐๑,๖๑๖.๙๒ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานค่าใช้จ่ายบุคลากร ๑๓๑,๗๑๑.๒๒ ๑๒๐,๙๒๒.๔๑ค่าบำเหน็จบำนาญ ๑๘,๖๘๒.๖๖ ๑๑,๘๐๘.๒๖ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ๑๐,๙๗๗.๙๐ ๑๓,๗๗๐.๗๗ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ๑๘,๘๗๙.๔๕ ๒๑,๙๘๗.๙๑ค่าวัสดุ และค่าใช้สอย ๑๒๘,๗๘๔.๗๗ ๒๐๑,๗๒๖.๓๘ค่าสาธารณูปโภค ๖,๐๒๖.๕๒ ๕,๘๒๘.๖๑ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ๑๕,๕๒๗.๘๐ ๑๕,๕๓๔.๘๙ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน ๑๔,๖๗๖.๘๓ ๑๔,๙๑๘.๗๐ค่าใช้จ่ายอื่นๆ - -รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ๓๔๕,๒๖๗.๑๕ ๔๐๖,๔๙๗.๙๓รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน (๑๐,๙๗๐.๘๕) (๔,๘๘๑.๐๑)ค่าใช้จ่าย ที่ไม่เกิดจากการดำเนินงานขาดทุนสุทธิจากการจำหน่ายสินทรั<strong>พ</strong>ย์ ๒๕๗.๗๕ ๑๗.๖๙รวมค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน ๒๕๗.๗๕ ๑๗.๖๙รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายจากกิจกรรมตามปกติ (๑๑,๒๒๘.๖๐) (๔,๘๙๘.๗๐)รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายก่อนรายการรายได้แผ่นดิน (๑๑,๒๒๘.๖๐) (๔,๘๙๘.๗๐)102


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGการวิเคราะห์ทางการเงิน การย่อส่วนตามแนวดิ่ง (Common Size)วิเคราะห์งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> และ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔(<strong>พ</strong>ันบาท) อัตราย่อส่วนตามแนวดิ่ง<strong>๒๕๕๕</strong> ๒๕๕๔ <strong>๒๕๕๕</strong> ๒๕๕๔สินทรั<strong>พ</strong>ย์สินทรั<strong>พ</strong>ย์หมุนเวียนเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ๔๐,๗๕๒.๗๔ ๔๖,๖๕๔.๙๖ ๓๘.๖๐ ๓๙.๘๕ลูกหนี้ระยะสั้น ๔,๖๐๗.๒๐ ๒,๕๖๘.๑๘ ๔.๓๖ ๒.๑๙รายได้ค้างรับ ๔,๕๕๘.๒๓ ๓๒๐.๐๓ ๔.๓๒ ๐.๒๗วัสดุคงเหลือ ๒,๐๙๑.๔๔ ๒,๕๘๗.๐๙ ๑.๙๘ ๒.๒๑รวมสินทรั<strong>พ</strong>ย์หมุนเวียน ๕๒,๐๐๙.๖๑ ๕๒,๑๓๐.๒๖ ๔๙.๒๖ ๔๔.๕๒สินทรั<strong>พ</strong>ย์ไม่หมุนเวียนลูกหนี้ระยะยาว ๑,๔๗๙.๕๗ ๑,๗๑๑.๒๑ ๑.๔๐ ๑.๔๖ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ) ๔๘,๐๘๕.๖๐ ๕๗,๔๖๘.๓๗ ๔๕.๕๔ ๔๙.๐๘สินทรั<strong>พ</strong>ย์โครงสร้าง<strong>พ</strong>ื้นฐาน (สุทธิ) ๑,๔๑๐.๑๖ ๑,๖๐๐.๑๖ ๑.๓๔ ๑.๓๗สินทรั<strong>พ</strong>ย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) ๒,๖๐๐.๓๘ ๔,๑๗๑.๐๑ ๒.๔๖ ๓.๕๖รวมสินทรั<strong>พ</strong>ย์ไม่หมุนเวียน ๕๓,๕๗๕.๗๑ ๖๔,๙๕๐.๗๕ ๕๐.๗๔ ๕๕.๔๘รวมสินทรั<strong>พ</strong>ย์ ๑๐๕,๕๘๕.๓๒ ๑๑๗,๐๘๑.๐๑ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐หนี้สินหนี้สินหมุนเวียนเจ้าหนี้ระยะสั้น ๕,๙๘๔.๔๑ ๔,๙๕๘.๔๙ ๕.๖๗ ๔.๒๔ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ๓,๓๗๔.๗๑ ๓๕,๓๓๐.๗๔ ๓.๒๐ ๓๐.๑๘เงินรับฝากระยะสั้น ๐.๒๓ ๑๙๒.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๑๖เงินกู้ระยะสั้น ๑,๐๓๔.๕๕ ๒,๕๗๓.๘๒ ๐.๙๘ ๒.๒๐หนี้สินหมุนเวียนอื่น ๖,๒๖๔.๗๕ ๖,๖๙๑.๑๓ ๕.๙๓ ๕.๗๑รวมหนี้สินหมุนเวียน ๑๖,๖๕๘.๖๕ ๔๙,๗๔๖.๑๘ ๑๕.๗๘ ๔๒.๔๙หนี้สินไม่หมุนเวียนรายได้รอการรับรู้ระยะยาว ๓๕,๑๓๐.๔๘ ๒,๑๑๗.๕๗ ๓๓.๒๗ ๑.๘๑เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว ๑,๕๐๐.๐๐ ๑,๕๐๐.๐๐ ๑.๔๒ ๑.๒๘หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ๑,๔๗๙.๕๗ ๑,๗๑๑.๒๑ ๑.๔๐ ๑.๔๖รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน ๓๘,๑๑๐.๐๕ ๕,๓๒๘.๗๘ ๓๖.๐๙ ๔.๕๕รวมหนี้สิน ๕๔,๗๖๘.๗๐ ๕๕,๐๗๔.๙๖ ๕๑.๘๗ ๔๗.๐๔สินทรั<strong>พ</strong>ย์สุทธิ ๕๐,๘๑๖.๖๒ ๖๒,๐๐๖.๐๕ ๔๘.๑๓ ๕๒.๙๖103


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมวิเคราะห์งบรายได้และค่าใช้จ่ายสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กันยายน <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> และ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔(<strong>พ</strong>ันบาท) อัตราย่อส่วนตามแนวดิ่ง<strong>๒๕๕๕</strong> ๒๕๕๔ <strong>๒๕๕๕</strong> ๒๕๕๔รวมรายได้ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐รายได้จากการดำเนินงานรายได้จากรัฐบาลรายได้จากงบประมาณ ๓๒๐,๑๖๐.๕๘ ๓๔๖,๒๔๔.๖๕ ๙๕.๗๗ ๘๖.๒๑รวมรายได้จากรัฐบาล ๓๒๐,๑๖๐.๕๘ ๓๔๖,๒๔๔.๖๕ ๙๕.๗๗ ๘๖.๒๑รายได้จากแหล่งอื่นรายได้จากการขายสินค้าและบริการ ๕๐๐.๙๑ ๔๑.๑๐ ๐.๑๕ ๐.๐๑รายได้จากการช่วยเหลือและบริจาค ๑๓,๖๓๔.๘๑ ๕๕,๓๓๑.๑๗ ๔.๐๘ ๑๓.๗๘รวมรายได้จากแหล่งอื่น ๑๔,๑๓๕.๗๒ ๕๕,๓๗๒.๒๗ ๔.๒๓ ๑๓.๗๙รวมรายได้จากการดำเนินงาน ๓๓๔,๒๙๖.๓๐ ๔๐๑,๖๑๖.๙๒ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานค่าใช้จ่ายบุคลากร ๑๓๑,๗๑๑.๒๒ ๑๒๐,๙๒๒.๔๑ ๓๙.๔๐ ๓๐.๑๑ค่าบำเหน็จบำนาญ ๑๘,๖๘๒.๖๖ ๑๑,๘๐๘.๒๖ ๕.๕๙ ๒.๙๔ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ๑๐,๙๗๗.๙๐ ๑๓,๗๗๐.๗๗ ๓.๒๘ ๓.๔๓ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ๑๘,๘๗๙.๔๕ ๒๑,๙๘๗.๙๑ ๕.๖๕ ๕.๔๗ค่าวัสดุ และค่าใช้สอย ๑๒๘,๗๘๔.๗๗ ๒๐๑,๗๒๖.๓๘ ๓๘.๕๒ ๕๐.๒๓ค่าสาธารณูปโภค ๖,๐๒๖.๕๒ ๕,๘๒๘.๖๑ ๑.๘๐ ๑.๔๕ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ๑๕,๕๒๗.๘๐ ๑๕,๕๓๔.๘๙ ๔.๖๔ ๓.๘๗ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน ๑๔,๖๗๖.๘๓ ๑๔,๙๑๘.๗๐ ๔.๓๙ ๓.๗๑ค่าใช้จ่ายอื่น - - - -รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ๓๔๕,๒๖๗.๑๕ ๔๐๖,๔๙๗.๙๓ ๑๐๓.๒๘ ๑๐๑.๒๒รายได้ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน (๑๐,๙๗๐.๘๕) (๔,๘๘๑.๐๑) (๓.๒๘) (๑.๒๒)รายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการดำเนินงานขาดทุนสุทธิจากการจำหน่ายสินทรั<strong>พ</strong>ย์ ๒๕๗.๗๕ ๑๗.๖๙ ๐.๐๘ ๐.๐๐รวมค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน ๒๕๗.๗๕ ๑๗.๖๙ ๐.๐๘ ๐.๐๐รายได้ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายจากกิจกรรมตามปกติ (๑๑,๒๒๘.๖๐) (๔,๘๙๘.๗๐) (๓.๓๖) (๑.๒๒)รายได้ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายก่อนรายการรายได้แผ่นดิน (๑๑,๒๒๘.๖๐) (๔,๘๙๘.๗๐) (๓.๓๖) (๑.๒๒)104


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGการวิเคราะห์จากอัตราย่อส่วนตามแนวดิ่งข้างต้น สรุปการวิเคราะห์ได้ดังนี้งบแสดงฐานะการเงินมีสัดส่วนของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ต่อสินทรั<strong>พ</strong>ย์) ลดลงจากร้อยละ ๓๙.๘๕ ในปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ เป็นร้อยละ ๓๘.๖๐ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> หน่วยงานได้รับเงินช่วยเหลือจากต่างประเท<strong>ศ</strong> คงเหลือต้นปีจำนวน ๖ โครงการ ได้ดำเนินการสิ้นสุดแล้ว จำนวน ๓โครงการ คงเหลือ ณ วันสิ้นปี จำนวน ๓ โครงการ และเงินฝากคลังลดลง เนื่องจาก มีการรับเงินประกันสัญญาจากการทำสัญญาจ้างโดยใช้เงินสดน้อยกว่าหนังสือค้ำประกันของธนาคาร มีการใช้บันทึกข้อตกลงแทนสัญญาจ้าง และมีการถอนคืนเงินประกันสัญญาเมื่อครบกำหนดของสัญญาจ้างปีก่อนมีสัดส่วนของลูกหนี้ระยะสั้น (ต่อสินทรั<strong>พ</strong>ย์)เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากร้อยละ ๒.๑๙ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ เป็นร้อยละ๔.๓๖ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ระยะเวลาการส่งใช้เงินยืมราชการยังไม่ครบกำหนดการส่งใช้เงินสดหรือใบสำคัญ จากจำนวนคงเหลือในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ จำนวน ๒๒ สัญญาเป็นจำนวน ๕๒ สัญญามีสัดส่วนของรายได้ค้างรับ (ต่อสินทรั<strong>พ</strong>ย์)เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากร้อยละ ๐.๒๗ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ เป็นร้อยละ๔.๓๒ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการขอเบิกเงินจากคลังแต่ยังไม่ได้รับตัวเงิน โดยกรมบัญชีกลางประมวลผลสั่งจ่ายในปีงบประมาณถัดไป เป็นรายการขอเบิกเงินคืนค่าปรับโครงการก่อสร้างปรับปรุงสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยเท<strong>ศ</strong>บาลเมืองโ<strong>พ</strong>ธาราม จำนวน ๓,๒๔๙,๙๕๐ บาทมีสัดส่วนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์(สุทธิ) (ต่อสินทรั<strong>พ</strong>ย์) ลดลงจากร้อยละ ๔๙.๐๘ ในปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ เป็นร้อยละ ๔๕.๕๔ ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการจำหน่ายครุภัณฑ์ที่หมดความจำเป็น เสื่อมสภา<strong>พ</strong> ชำรุด และได้มีการจัดซื้อครุภัณฑ์คอม<strong>พ</strong>ิวเตอร์และครุภัณฑ์อื่น ๆ ที่มีการส่งมอบงานในปีงบประมาณถัดไปมีสัดส่วนของค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (ต่อสินทรั<strong>พ</strong>ย์)ลดลงจากร้อยละ ๓๐.๑๘ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔เป็นร้อยละ ๓.๒๐ ในปี <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการรับเงินช่วยเหลือจากต่างประเท<strong>ศ</strong>ระหว่างปี จำนวน ๓๔,๔๙๕,๑๓๘.๒๐ บาท จากสำนักงานเลขาธิการอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> (UNFCCC) เ<strong>พ</strong>ื่อค่าใช้จ่ายการจัดประชุมภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> ได้ดำเนินการแล้ว แต่ยังมิได้จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง ภายในปีงบประมาณ จำนวน ๑,๓๗๖,๐๙๔.๔๘ บาท ส่วนที่เหลือส่งมอบงานในปีงบประมาณถัดไปมีสัดส่วนของรายได้รอการรับรู้ระยะยาว(ต่อสินทรั<strong>พ</strong>ย์) เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากร้อยละ ๑.๘๑ ในปี ๒๕๕๔เป็นร้อยละ ๓๓.๒๗ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการรับเงินช่วยเหลือจากต่างประเท<strong>ศ</strong> ระหว่างปี จำนวน ๓๔,๔๙๕,๑๓๘.๒๐ บาทจากสำนักงานเลขาธิการอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> (UNFCCC) เ<strong>พ</strong>ื่อค่าใช้จ่ายการจัดประชุมภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> ได้ดำเนินการแล้ว แต่ยังมิได้จ่ายเงินให้กับผู ้รับจ้าง ภายในปีงบประมาณจำนวน ๑,๓๗๖,๐๙๔.๔๘ บาท ส่วนที่เหลือส่งมอบงานในปีงบประมาณถัดไป105


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมงบรายได้และค่าใช้จ่ายมีสัดส่วนของรายได้จากงบประมาณประจำ งบกลาง และงบลงทุน (ต่อรายได้รวม) เ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากร้อยละ ๘๖.๒๑ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ เป็นร้อยละ ๙๕.๗๗ ในปี<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>หน่วยงานได้รับงบประมาณเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจากปีก่อนแต่เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีที่เบิกในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ มียอดต่ำกว่าเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>.<strong>๒๕๕๕</strong> มีผลทำให้เกิดความแตกต่างเล็กน้อยมีสัดส่วนของรายได้จากเงินช่วยเหลือและเงินบริจาค (ต่อรายได้รวม) ลดลงจากร้อยละ ๑๓.๗๘ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔ เป็นร้อยละ ๔.๐๘ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> บันทึกรับรู้ค่าใช้จ่าย<strong>พ</strong>ร้อมรายได้จากเงินช่วยเหลือจากต่างประเท<strong>ศ</strong>ต่ำกว่าปีก่อน และโครงการได้สิ้นสุด ๓ โครงการมีสัดส่วนของค่าวัสดุและค่าใช้สอย (ต่อรายได้รวม) ลดลงจากร้อยละ ๕๐.๒๓ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔เป็นร้อยละ ๓๘.๕๒ ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> ซึ่งเป็นผลเกิดจากการที่ปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการรับเงินช่วยเหลือจากต่างประเท<strong>ศ</strong> ระหว่างปี จำนวน ๓๔,๔๙๕,๑๓๘.๒๐ บาทจากสำนักงานเลขาธิการอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> (UNFCCC) เ<strong>พ</strong>ื่อค่าใช้จ่ายการจัดประชุมภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> ได้ดำเนินการแล้ว แต่ยังมิได้จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง ภายในปีงบประมาณ จำนวน ๑,๓๗๖,๐๙๔.๔๘ บาท ส่วนที่เหลือส่งมอบงานในปีงบประมาณถัดไป ทำให้การบันทึกรับรู้ค่าใช้จ่ายค่าจ้างเหมาบริการบุคคลภายนอกลดลง และ ค่าจ้างที่ปรึกษา เบิกจ่ายจากงบรายจ่ายอื่น เป็นการดำเนินการก่อหนี้ผูก<strong>พ</strong>ันได้ (ลงนามสัญญา)ต่อเมื่อ <strong>พ</strong>รบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ประกา<strong>ศ</strong>ใช้ในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีการใช้งบประมาณ<strong>พ</strong>ลางก่อน มีผลทำให้ผลการเบิกจ่ายต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด กันไว้เบิกเหลื่อมปีสูงกว่าปีก่อน และสัญญาครบกำหนดส่งมอบงานในปีงบประมาณถัดไป106


ภารกิจ<strong>พ</strong>ิเ<strong>ศ</strong>ษ


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (ปคร.)เป็นการสนับสนุนการดำเนินของคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา ในการจัดทำเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี การขอความเห็นเ<strong>พ</strong>ื่อประกอบการ<strong>พ</strong>ิจารณาของคณะรัฐมนตรี การติดตามความคืบหน้าของเรื่องที่เสนอคณะรัฐมนตรี การประสานชี้แจงคณะกรรมาธิการและการประสานการเสนอร่างกฎหมายและติดตามร่างกฎหมาย ตลอดจนกระบวนการนิติบัญญัติระหว่างคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภา<strong>พ</strong> โดยในปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> มีเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้การเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี จำนวน ๒๒เรื่อง มีเรื่องที่สำคัญ เช่นn แนวทางการวิจัยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่จำเป็นและสนองต่อเป้าหมายของแผนกลยุทธ์อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ระยะ ๒๐๑๑-๒๐๒๐ (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔-๒๕๖๓)n การจัดทำความตกลงในรูปแบบหนังสือแลกเปลี่ยนระหว่างรัฐบาลไทยและสำนักเลขาธิการอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong> ว่าด้วยการจัดประชุมคณะทำงานเฉ<strong>พ</strong>าะกิจภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>อย่างไม่เป็นทางการและการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องn มติคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ ้มครองมรดกโลก เรื่อง ท่าทีของประเท<strong>ศ</strong>ไทยในฐานะกรรมการมรดกโลก ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครั้งที่ ๓๖การจัดทำความเห็นเ<strong>พ</strong>ื่อประกอบการ<strong>พ</strong>ิจารณาของคณะรัฐมนตรี จำนวน ๑๒๖ เรื่องโดยมีเรื่องที่สำคัญ เช่นn โครงการก่อสร้างเขื่อนยกระดับน้ำในแม่น้ำเจ้า<strong>พ</strong>ระยาและน่านเ<strong>พ</strong>ื่อการเดินเรือของกรมเจ้าท่าn แนวทางการ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>พ</strong>ื้นที่เ<strong>ศ</strong>รษฐกิจเชื่อมโยงฝั่งตะวันตกกับสาธารณรัฐแห่งสหภา<strong>พ</strong>เมียนมาร์(โครงการ<strong>พ</strong>ัฒนาท่าเรือน้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย)n โครงการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าระบบจำหน่าย ๑๑๕ กิโลโวลต์ อำเภอเขาค้อ-อำเภอหล่มสักจังหวัดเ<strong>พ</strong>ชรบูรณ์การชี้แจงและให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการจำนวน ๘๑ เรื่อง มีเรื่องที่สำคัญ เช่นn การ<strong>พ</strong>ิจารณาให้ความช่วยเหลือกรณีการกำหนดขยายแนวเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีชม<strong>พ</strong>ูจากตลาดมีนบุรีไปยังถนนสุวินทวง<strong>ศ</strong>์n รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการแก่งเสือเต้น โครงการเขื่อนยมตอนล่าง โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำรี โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยโสมงn เรื่องร้องเรียน กรณีอนุญาตให้ก่อสร้างอาคารโดยมิได้ดำเนินการตามที่กำหนดไว้ใน<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕การตอบกระทู้ถามของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๓ เรื่อง มีเรื่องสำคัญ เช่นn กระทู้ถามที่ ๔๓๗ ร. เรื่อง การจัดสร้างโครงการก่อสร้าง<strong>ศ</strong>ูนย์ประชุมและนิทรร<strong>ศ</strong>การนานาชาติจังหวัดภูเก็ต ของนางอัญชลี เท<strong>พ</strong>บุตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดภูเก็ต <strong>พ</strong>รรคประชาธิปัตย์n กระทู้ถามที่ ๐๑๖ ของนายสุโข วุฒิโชติสมาชิกวุฒิสภา เรื่อง การ<strong>พ</strong>ัฒนา<strong>พ</strong>ื้นที่แหล่งท่องเที่ยวภูมิภาคโดยการสร้างกระเช้าไฟฟ้าขึ้นภูกระดึง จังหวัดเลยn กระทู้ถาม การขุดเจาะสำรวจแหล่งปิโตรเลียม บริเวณ<strong>พ</strong>ุทธมณฑลสาย ๒ เขตทวีวัฒนากรุงเท<strong>พ</strong>มหานคร108


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGกิจกรรมปลูกป่าเฉลิม<strong>พ</strong>ระเกียรติสมเด็จ<strong>พ</strong>ระนางเจ้าสิริกิติ์ <strong>พ</strong>ระบรมราชินีนาถเนื่องในโอกาส<strong>พ</strong>ระราช<strong>พ</strong>ิธีมหามงคลเฉลิม<strong>พ</strong>ระชนม<strong>พ</strong>รรษา ๘๐ <strong>พ</strong>รรษาสาระสำคัญ หลักการ เหตุผล<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวใน<strong>พ</strong>ื้นที่ที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของชุมชนและเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการป่าในเมือง เ<strong>พ</strong>ื่อถวายเป็น<strong>พ</strong>ระราชกุ<strong>ศ</strong>ลเนื่องในโอกาส<strong>พ</strong>ระราช<strong>พ</strong>ิธีมหามงคลเฉลิม<strong>พ</strong>ระชนม<strong>พ</strong>รรษา ๘๐ <strong>พ</strong>รรษา๑๒ สิงหาคม <strong>๒๕๕๕</strong> รวมทั้งดำเนินการตามแผนปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวที่มีไม้ยืนต้นเป็นองค์ประกอบหลักสำนักงานฯ จึงได้จัดกิจกรรมปลูกป่าเฉลิม<strong>พ</strong>ระเกียรติฯ ณ <strong>พ</strong>ื้นที่ปลูกป่า ๒ แห่ง ได้แก่ฝายเก็บน้ำห้วยแม่เตาไห บริเวณน้ำผุดป่าแค เท<strong>ศ</strong>บาลตำบลหนองหาร และบริเวณโครงการ<strong>พ</strong>ระราชดำริบ้านปง สระ ๕ ไร่ แก้มลิง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีผู้เข้าร่วมปลูกป่าประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคการ<strong>ศ</strong>ึกษา องค์กรฯ ชุมชนเยาวชน และประชาชน และเจ้าหน้าที่สำนักงานฯจำนวนรวมทั้งสิ้น ๑,๐๐๐ คน โดยมีหน่วยงาน รวมทั้งองค์กรสนับสนุน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สำนักฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นายกเท<strong>ศ</strong>มนตรีเท<strong>ศ</strong>บาลตำบลป่าไผ่ นายกเท<strong>ศ</strong>มนตรีเท<strong>ศ</strong>บาลตำบลหนองหาร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเท<strong>ศ</strong>ไทย และนายกสโมสรไลออนส์เชียงใหม่<strong>ศ</strong>รีวิชัยผลผลิต<strong>พ</strong>ื้นที่ป่าในเมือง/ชุมชน และ<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืนในบริเวณ<strong>พ</strong>ื้นที่ที่มี<strong>ศ</strong>ักยภา<strong>พ</strong>ของชุมชนเ<strong>พ</strong>ิ่มขึ้นจำนวน ๕ ไร่ผลลั<strong>พ</strong>ธ์การรวม<strong>พ</strong>ลังของทุกภาคส่วน เ<strong>พ</strong>ื่อร่วมผลักดันให้เกิดการเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวของชุมชน และร่วมมือกันที่จะช่วยดูแลบำรุงรักษา<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวชุมชนหรือป่าในเมือง ที่ร่วมกันสร้างขึ้นให้คงอยู่อย่างยั่งยืนเงื่อนไขความสำเร็จการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉ<strong>พ</strong>าะงบประมาณทั้งเ<strong>พ</strong>ื่อการปลูกและการดูแลบำรุงรักษา<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวให้คงอยู่อย่างยั่งยืนข้อเสนอแนะควรส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมเ<strong>พ</strong>ื่อรณรงค์และสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือในการเ<strong>พ</strong>ิ่ม<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวยั่งยืน ทั้งในที่อยู่อา<strong>ศ</strong>ัย สถานประกอบการ ชุมชน และที่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งให้มีการนำมาตรการทางสังคมมาใช้เ<strong>พ</strong>ื่อยกย่อง เชิดชูบุคคล หรือหน่วยงานชุมชนตัวอย่างที่จัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวได้อย่างดี109


ภาคผนวก


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรายชื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ๑. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ๑.๑ คณะกรรมการผู้ชำนาญการ๑) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม๒) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านเหมืองแร่ และอุตสาหกรรมถลุง หรือแต่งแร่๓) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้าน<strong>พ</strong>ัฒนาปิโตรเลียมและระบบขนส่งทางท่อ๔) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และแยกหรือแปรสภา<strong>พ</strong>ก๊าซธรรมชาติ๕) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านอุตสาหกรรมและระบบสาธารณูปโภคที่สนับสนุน๖) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านอาคาร การจัดสรรที่ดิน และบริการชุมชน๗) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านโรงไฟฟ้า<strong>พ</strong>ลังความร้อน๘) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านโครงสร้าง<strong>พ</strong>ื้นฐานและอื่นๆ๙) คณะกรรมการผู ้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านการ<strong>พ</strong>ัฒนาโครงการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชน๑๐) คณะกรรมการผู ้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านคมนาคมของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชน๑๑) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้าน<strong>พ</strong>ัฒนาแหล่งน้ำ๑๒) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการบ้านเอื้ออาทรชุดที่ ๑๑๓) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการบ้านเอื้ออาทรชุดที่ ๒๑๔) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต๑๕) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่๑๖) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัด<strong>พ</strong>ังงา112


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๑๗) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณเมือง<strong>พ</strong>ัทยา จังหวัดชลบุรี๑๘) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดเ<strong>พ</strong>ชรบุรี๑๙) คณะกรรมการผู้ชำนาญการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์๑.๒ คณะอนุกรรมการ๑) คณะอนุกรรมการการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรลุ่มน้ำ๒) คณะอนุกรรมการอนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมล<strong>พ</strong>ิษที่ตกค้างยาวนาน๓) คณะอนุกรรมการ<strong>พ</strong>ิจารณารายงานการ<strong>ศ</strong>ึกษาด้านสิ่งแวดล้อมเ<strong>พ</strong>ื่อประกอบการขออนุมัติผ่อนผันการใช้ประโยชน์<strong>พ</strong>ื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ ๑ เ<strong>พ</strong>ื่อการทำเหมืองแร่๔) คณะอนุกรรมการกำกับการจัดทำแผนปฏิบัติการเ<strong>พ</strong>ื่อการจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด๕) คณะอนุกรรมการ<strong>พ</strong>ิจารณาการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในเขต<strong>พ</strong>ื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม๖) คณะอนุกรรมการประสานการรวบรวมข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลสารสนเท<strong>ศ</strong>สิ่งแวดล้อมระดับชาติ๗) คณะอนุกรรมการการจัดการ<strong>พ</strong>ื้นที่ชุ่มน้ำ๘) คณะอนุกรรมการวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน๙) คณะอนุกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านมลทั<strong>ศ</strong>น์๑๐) คณะอนุกรรมการอนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัด<strong>ศ</strong>ัตรู<strong>พ</strong>ืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเท<strong>ศ</strong>๑๑) คณะอนุกรรมการทรั<strong>พ</strong>ยากรทางทะเลและชายฝั่ง๑๒) คณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ<strong>ศ</strong>ิลปกรรม๑๓) คณะอนุกรรมการอนุสัญญาบาเซล๑๔) คณะอนุกรรมการประสานการจัดการสิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม๑๕) คณะอนุกรรมการกำกับการดำเนินงานตามโครงการเร่งด่วนเ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกทำลายทรั<strong>พ</strong>ยากรป่าไม้ของประเท<strong>ศ</strong>๑๖) คณะอนุกรรมการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล๑๗) คณะอนุกรรมการกำกับดูแลการแก้ไขปัญหามล<strong>พ</strong>ิษในเขตควบคุมมล<strong>พ</strong>ิษจังหวัดระยองและ<strong>พ</strong>ื้นที่ใกล้เคียง๑๘) คณะอนุกรรมการ<strong>พ</strong>หุภาคีเ<strong>พ</strong>ื่อแก้ไขปัญหามล<strong>พ</strong>ิษและ<strong>พ</strong>ัฒนาใน<strong>พ</strong>ื้นที่จังหวัดระยอง๑๙) คณะอนุกรรมการแผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม๒๐) คณะอนุกรรมการด้านการจัดการสารปรอท๒๑) คณะอนุกรรมการจัดทำรายงานสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม๒๒) คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขอรับอนุญาตเป็นผู ้มีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม113


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGเอกสารเผยแ<strong>พ</strong>ร่ การจัดทำสื่อสิ่ง<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ต่าง ๆสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติn แผนจัดการคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> - ๒๕๕๙n Executive Summary Environmental Quality Management Plan <strong>2012</strong> - 2016n แผนกลยุทธ์ และ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (<strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong> - ๒๕๕๘)สำนักวิเคราะห์ผลกระทบและสิ่งแวดล้อมn ระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>ไทย (<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ครั้งที่ ๘ – ๑๐)n โครงการหรือกิจการที่ต้องทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมn คู่มือการขอรับใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (<strong>พ</strong>ิม<strong>พ</strong>์ครั้งที่ ๕)n Environmental Impact Assessment in Thailandn คู่มือการวิเคราะห์สำหรับนักลงทุนชาวญี่ปุ่นn EIA Newsletter จำนวน ๓ ฉบับ115


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อมn จดหมายข่าวกองทุนสิ่งแวดล้อม ไตรมาสที่ ๑-๔ ประจำปี <strong>๒๕๕๕</strong>n การดำเนินงานตามมาตรา ๘๘ และ ๙๓ แห่ง<strong>พ</strong>ระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๓๕ สำหรับโครงการที่ขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม- ฉบับ ก่อนวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐- ฉบับหลังวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐n แผนแม่บทกองทุนสิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>-๒๕๕๙n แผ่น<strong>พ</strong>ับกองทุนสิ่งแวดล้อม- เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำเ<strong>พ</strong>ื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น- เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ สำหรับภาคเอกชนที่ประสบอุทกภัย- แหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำเ<strong>พ</strong>ื่อภาคเอกชนn คู่มือแนวทางและหลักเกณฑ์ การประเมินความเหมาะสมโครงการ- ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น- ด้านการจัดการน้ำเสียชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นn รายงานประจำปี ๒๕๕๔ กองทุนสิ่งแวดล้อม116


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGสำนักติดตามประเมินผลสิ่งแวดล้อมn วารสารธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเท<strong>ศ</strong>ไทยn รายงานสถานการณ์คุณภา<strong>พ</strong>สิ่งแวดล้อม <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๔n จับตาประเด็นร้อนข่าวสิ่งแวดล้อมn รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>n รายงานการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจประจำปีงบประมาณ <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. ๒๕๕๓117


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฝ่ายความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>n รายงานการประชุมวันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> : ป่าไม้n รายงานการประชุม การจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ที่มีการใช้ประโยชน์จากความรู ้ตามขนบธรรมเนียมประเ<strong>พ</strong>ณี หรือธรรมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดมาและภูมิปัญญาท้องถิ่น และการสูญเสียความหลากหลายของ<strong>พ</strong>ันธุ์<strong>พ</strong>ืช กับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมหรือธรรมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดมาn รายงานการประชุม บทบาทของ<strong>พ</strong>ิ<strong>พ</strong>ิธภัณฑ์<strong>พ</strong>ืชในการสนับสนุนโปรแกรมการริเริ่มทั่วโลกทางอนุกรมวิธานภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>n รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ ๕ ปี อนุวัตการ<strong>พ</strong>ิธีสารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภา<strong>พ</strong>n คู่มือทะเบียนชนิด<strong>พ</strong>ันธุ์ต่างถิ่นที่ควรป้องกัน ควบคุม และกำจัดของประเท<strong>ศ</strong>ไทยn ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ในเมือง (City and Biodiversity)n แผ่น<strong>พ</strong>ับกลไกการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (ปี <strong>๒๕๕๕</strong>) ฉบับภาษาไทยn แผ่น<strong>พ</strong>ับกลไกการเผยแ<strong>พ</strong>ร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> (ปี <strong>๒๕๕๕</strong>) ฉบับภาษาอังกฤษ118


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGหมายเลขโทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ โทรสาร ของผู้บริหาร สำนัก และกองผู้บริหาร โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ โทรสารเลขาธิการนายสันติ บุญประดับ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๓รองเลขาธิการนายน<strong>พ</strong>ดล ธิยะใจรองเลขาธิการนาย<strong>พ</strong>ง<strong>ศ</strong>์บุณย์ ปองทองรองเลขาธิการนางรวีวรรณ ภูริเดช๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๔ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๖๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๙ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๘๐ ๒๒๖๕ ๖๕๑๗ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๑๒สำนักงานเลขานุการกรมเลขานุการกรม ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๑๔งานสารบรรณ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๑๕ - ๑๖ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๑๑ฝ่ายการคลัง ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๑๙ - ๒๓ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๔๑ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๒๔ - ๒๕ฝ่ายแผนงาน ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๒๖ - ๒๗ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๒๖ฝ่ายช่วยอำนวยการนักบริหาร ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๗ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๒๘ฝ่ายประชาสัม<strong>พ</strong>ันธ์/ห้องสมุด ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๐ - ๓๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๐สำนักติดตามประเมินผลสิ่งแวดล้อมผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๓งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๕ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๖กลุ่มงานติดตามประเมินสถานการณ์ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๗ - ๓๘กลุ่มงานติดตามประเมินผลนโยบายและแผน ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๙ - ๔๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๘๖กลุ่มงานระบบฐานข้อมูลและสารสนเท<strong>ศ</strong> ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๔๑ - ๔๒119


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผู้บริหาร โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ โทรสารกองบริหารจัดการที่ดินผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๔๓งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๔๕ - ๔๖ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๔๔กลุ่มงานวิเคราะห์การบริหารจัดการที่ดิน ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๔๗ - ๔๘กลุ่มงานจัดที่ดินของทบวงการเมือง ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๔๙ - ๕๐กลุ่มงานสงวนหวงห้ามและจัดที่ดิน ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๕๑ - ๕๒กองประสานการจัดการทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๕๓งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๕๕ - ๕๖ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๘๔กลุ่มงานประสาน ๑ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๕๗ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๕๘กลุ่มงานประสาน ๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๕๙ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๐กลุ่มงานประสาน ๓ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๑ - ๖๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๒กลุ่มงานประสาน ๔ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๓ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๘๔กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและ<strong>พ</strong>ื้นที่เฉ<strong>พ</strong>าะผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๕งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๖ - ๖๘ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๗กลุ่มงานสิ่งแวดล้อมชุมชน ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๙ - ๗๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๐กลุ่มงานสิ่งแวดล้อมใน<strong>พ</strong>ื้นที่เฉ<strong>พ</strong>าะ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๑ - ๗๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๒กลุ่มงาน<strong>พ</strong>ื้นที่สีเขียวและนันทนาการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๓ - ๗๔ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๔กองอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ<strong>ศ</strong>ิลปกรรมผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๕งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๗ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๘120


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGผู้บริหาร โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ โทรสารกลุ่มงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๗๙ – ๘๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๐กลุ่มงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม<strong>ศ</strong>ิลปกรรม ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๑ – ๘๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๑กลุ่มงานคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๓ – ๘๔ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๔กลุ่มงานประสานเครือข่ายและ<strong>พ</strong>ัฒนาองค์กร ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๕ – ๘๖ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๖สำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อมผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๗งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๙ – ๙๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๘กลุ่มงานนโยบายและแผนการบริหารกองทุน ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๙๗ - ๙๘ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๘กลุ่มงานวิเคราะห์และประเมินความเหมาะสมของโครงการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๙๑ - ๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๘กลุ่มงานติดตามและประเมินผล ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๙๕ - ๖ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๘๘กลุ่มงานวิชาการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๙๓ - ๔ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๙๔กลุ่มงานอำนวยการคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๙๙สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๑งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๓ – ๔ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๒กลุ่มนโยบายและแผน ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๕ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๖กลุ่มวิเคราะห์มาตรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๑ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๒กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๗ – ๐๘ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๐๗กลุ่มเลขานุการคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๐สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๓ - ๑๔งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๕ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๖121


รายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong><strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผู้บริหาร โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ โทรสารกลุ่มเหมืองแร่ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๗ – ๑๘กลุ่มอุตสาหกรรม ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๗กลุ่มคมนาคม ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๑ – ๒๒กลุ่มโครงการบริการชุมชนและที่<strong>พ</strong>ักอา<strong>ศ</strong>ัย ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๓ - ๒๔กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาแหล่งน้ำและเกษตรกรรม ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๕ - ๒๖กลุ่ม<strong>พ</strong>ลังงาน๐ ๒๒๖๕ ๖๖๑๙๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๘กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๐กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๙ - ๓๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๒๙ฝ่ายความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>ผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๗งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๘ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๘กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong>๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๔ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๖๙กลุ่มงานความมั่นคงทางชีวภา<strong>พ</strong> ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๖ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๖กลุ่มงานสนับสนุนการจัดการระบบนิเว<strong>ศ</strong> ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๖ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๖กลุ่มงานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภา<strong>พ</strong> ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๙ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๙กลุ่มงานประสานงานกลางของอนุสัญญาฯ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๔๐ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๔๐สำนักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภา<strong>พ</strong>ภูมิอากา<strong>ศ</strong>ผู้อำนวยการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๕๐งานธุรการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๙๒ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๙๒กลุ่มนโยบายและยุทธ<strong>ศ</strong>าสตร์กลุ่มเจรจาและประสานอนุสัญญาฯ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๐ต่อ ๖๘๔๒๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๐ต่อ ๖๗๘๕122


<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2012</strong>OFFICE OF NATURAL RESOURCES ANDENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNINGกลุ่มงานวิชาการ และฐานข้อมูลผู้บริหาร โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ โทรสาร๐ ๒๒๖๕ ๖๕๐๐ต่อ ๖๗๘๓กลุ่มข้อมูลและเผยแ<strong>พ</strong>ร่ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๙๐หน่วยงานอิสระหน่วยงานตรวจสอบภายใน ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๕๒กลุ่ม<strong>พ</strong>ัฒนาระบบบริหาร ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๒ - ๓๓ ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๒๖กลุ่มงานนิติการ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๔ - ๓๕ ๐ ๒๒๖๕ ๖๖๓๕123


คำสั่งคณะทำงานจัดทำรายงานประจำปี <strong>พ</strong>.<strong>ศ</strong>. <strong>๒๕๕๕</strong>


MEMO<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


<strong>สำนักงานนโยบายและ</strong>แผนทรั<strong>พ</strong>ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมOFFICE OF NATURAL RESOURCES AND ENVIRONMENTAL POLICY AND PLANNING๖๐/๑ ซอย<strong>พ</strong>ิบูลวัฒนา ๗ ถนน<strong>พ</strong>ระราม ๖ <strong>พ</strong>ญาไท กรุงเท<strong>พ</strong>มหานคร ๑๐๔๐๐โทร<strong>ศ</strong>ั<strong>พ</strong>ท์ : ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๗-๘ โทรสาร : ๐ ๒๒๖๕ ๖๕๓๖60/1 Soi Pibulwattana 7, Rama 6 Road, Phyathai, Bangkok 10400Tel. 0 2265 6537-8 Fax 0 2265 6536www.onep.go.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!