28.07.2013 Views

Untitled - LEAN

Untitled - LEAN

Untitled - LEAN

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ประวัติความเป็ นมา<br />

บริษัท เพาว์เวอร์ ยูต้า กรุ ๊ป จํากัด จดทะเบียนจัดตังเมื อวันที 17<br />

ตุลาคม 2531 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 23 ปี เดิมทีชื อ บริษัท เพาว์เวอร์ อินซูเล<br />

เตอร์ จํากัด สํานักงานใหญ่และโรงงานตังอยู ่เลขที 28/2 หมู ่ที 5 ตําบลเหมือง<br />

อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยคุณภาคิน คุปติธรรม ซึ งประกอบกิจการ<br />

ทางด้านออกแบบและผลิตลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้าแรงสูง ซึ งในช่วงแรกบริษัทฯ ทําการ<br />

ผลิตเพื อส่งให้กลุ่มบริษัทฯ<br />

ในเครือเท่านัน ต่อมาในปี 2538 ได้มีการขยายกิจการ<br />

และปัจจุบันได้เพิมทุนจดทะเบียนเป็น<br />

210 ล้านบาท<br />

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์<br />

บริษัท เพาว์เวอร์ ยูต้า กรุ๊ป จํากัด


เมื อต้นปี พ.ศ.2554ได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการ “การเพิมประสิทธิภาพการ<br />

ผลิตด้วยเทคนิค Lean ManufacturingKaizen”ทังนี บริษัทฯ ได้นําเครื องมือของ Lean<br />

มาประยุกต์ใช้ในการทํางาน เพื อวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา โดยค้นหาความสูญเปล่าที <br />

เกิดขึ นมีการจัดตังทีมงานดังแสดงในรูปที 1<br />

รูปที 1 Lean Team Organization<br />

หลักเกณฑ์การคัดเลือกผลิตภัณฑ์เพือนํามาปรับปรุง<br />

ผลิตภัณฑ์ที เป็นต้นแบบในการปรับปรุง พิจารณาจากมูลค่าทางการตลาดโดยใช้หลักเกณฑ์<br />

แผนผังพาเรโต<br />

คัดเลือกผลิตภัณฑ์ที<br />

มี<br />

ยอดขายสูงสุด82.31%


ขันตอนการดําเนิ นกิจกรรมตามแนวทางของ Lean Kaizen<br />

เริมจากการทํากิจกรรม<br />

Waste Walking เพื อค้นหาความสูญเปล่าและนําสิงที<br />

ค้นพบมาจัดทํา<br />

เป็นรายการสําหรับกิจกรรมในอนาคตเนื องจาก บริษัท เพาว์เวอร์ ยูต้า กรุ๊ป<br />

จํากัด ยังไม่มีทีมงาน จึงได้<br />

จัดตังเป็นทีมขึ นมาสามทีมคือ “System Team” “Production Team” และ “Kaizen Team”แต่ละทีม<br />

ประกอบด้วยบุคลากรที มากด้วยความรู้ความสามารถที แตกต่างกันในแต่ละสายงานมารวมทีมกันขึ นและมี<br />

การแบ่งส่วนงานที รับผิดชอบของแต่ละทีมพร้อมกับเสริมความรู้และปูพื นฐานเกี ยวกับกระบวนการแก้ไข<br />

ปัญหา (Problem Solving), QC 7 Tools, Kaizen, Lean Concept, VSM & Lean Tools รวมทังการทํา<br />

Workshop โดยใช้กรอบ QC Story เพื อเป็นแนวทางให้องค์กรได้นําไปใช้อนาคต<br />

กิจกรรมการจัดตั งทีมงาน<br />

การวิเคราะห์ปัญหา<br />

การดําเนินการตามแผน<br />

การสํารวจความสูญเปล่า<br />

การเสริมความรู ้ Lean Kaizen<br />

สรุปผลการดําเนินงาน


VSM :<br />

CURRENT<br />

STATE<br />

เวล<br />

า<br />

480<br />

เวล<br />

า 1<br />

นา<br />

เวล<br />

า<br />

48<br />

เวล<br />

า<br />

12


VSM :<br />

Future<br />

State


จากการศึกษาผังสายธารคุณค่า(Value Stream Map) ทางทีมงานได้ร่วมกัน<br />

ทําการวิเคราะห์การไหลของวัตถุดิบในกระบวนการที มีทังหมด 14 กระบวนการโดย<br />

เริมจากการนําเอาวัตถุดิบที<br />

ใช้ในการผลิตนํ าดินเข้าสู ่กระบวนการโม่บดวัตถุดิบ การ<br />

ปล่อยลงสู ่บ่อกวนนํ าดิน การอัดดินแผ่น การรีดให้เป็นดินก้อน การรีดให้เป็นดิน<br />

แท่ง การตากดิน การขึ นรูป การนําเข้าห้องอบ การเคลือบผิว การนําเข้าเตาเผา<br />

การประกอบชิ นส่วนเข้ากับผลิตภัณฑ์ การทดสอบวาบไฟ พร้อมทังการทดสอบ<br />

ขันตอนสุดท้ายและบรรจุภัณฑ์ จนได้ผลิตภัณฑ์ตามที ลูกค้าต้องการพร้อมนําส่ง<br />

ลูกค้า จากการวิเคราะห์จุดที ทําให้การไหลของผลิตภัณฑ์ไม่ต่อเนื องหรือจุดคอขวด<br />

ของกระบวนการผลิต พบว่าในกระบวนการเผาเกิดปัญหาอันเนื องมาจากมีอัตราของ<br />

เสียที เกิดขึ นเป็นจํานวนมากจากหลายสาเหตุด้วยกัน โดยก่อนปรับปรุงอัตราของเสีย<br />

ในกระบวนการเผามีค่าเท่ากับ 5.8%จึงทําให้เกิดของเสียที ต้องสูญเสียต้นทุนในการ<br />

ผลิตรวมถึงเพิมค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าแรงค่าขนส่งการกําจัดของเสีย<br />

ค่าใช้จ่ายใน<br />

ส่วนของวัตถุดิบ และค่าแรงของพนักงาน จึงได้ตังดัชนีวัดความสําเร็จของโครงการ<br />

คือ ลดอัตราของเสียในกระบวนการเผาลงอีก 1.2%<br />

โดยมีรายละเอียดขันตอนในการวิเคราะห์หาสาเหตุ และแก้ไขปัญหาที <br />

เกิดขึ น ดังต่อไปนี <br />

1. การจัดตังทีมงาน และศึกษาข้อมูลก่อนปรับปรุง<br />

2. การระดมสมอง และจัดทํา Action Plan<br />

รูปที 2การระดมสมองจัดทํา Action Plan ของทีม Lean


3. การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้A3 Process Management<br />

ทีมาของปัญหา<br />

- พบของเสียที เกิดในกระบวนการเผาสาเหตุเกิดจากเครื องจักรที ขาด<br />

การบํารุงรักษา, วิธีการทําความสะอาดเตาที ขาดประสิทธิภาพ<br />

- กระบวนการเผาที ขาดมาตรฐานการทํางานและเกิดการเคลื อนไหวที ไม่จําเป็นในส่วน<br />

ของการปรับอุณหภูมิเตาเผาและดูกราฟที ตู้ Recorder (ระยะทางระหว่างวาล์วเพื อปรับ<br />

อุณหภูมิและตู้ Recorder ประมาณ 50 เมตร)<br />

- เกิดของเสียจากการขนย้ายลูกถ้วยขณะเตรียมเข้าเตาเผาส่งผลให้ต้องทําการแก้ไข<br />

ข้อบกพร่องและเสียเวลาในการซ่อมงานบางกรณีอาจต้องทําการทิ งลูกถ้วยที เกิด<br />

ข้อบกพร่องทําให้เกิดการเพิ มต้นทุนในการผลิต<br />

สภาพปัญหา<br />

% ของเสี ย<br />

6.00%<br />

4.00%<br />

2.00%<br />

0.00%<br />

เป้ าหมาย<br />

% ของเสี ย<br />

6.00%<br />

5.00%<br />

4.00%<br />

3.00%<br />

2.00%<br />

1.00%<br />

0.00%<br />

เคลือบถลอก<br />

2.213%<br />

2.213%<br />

เคลือบถลอก<br />

เหล็กเตา<br />

1.770%<br />

กราฟแสดงอัตราของเสียที เกิดในกระบวนการเผาลูกถ้วย<br />

1.303%<br />

ผงเศษดิน<br />

1.303%<br />

เหล็กเตา<br />

1.107%<br />

0.736%<br />

ผงเศษดิน<br />

ผงไฟเบอร์<br />

0.531%<br />

ผงไฟเบอร์<br />

ผงอลูมิน่า<br />

0.364%<br />

สาเหตุของเสี ย<br />

ผงอลูมิน่า<br />

แตกขนย้าย<br />

0.242%<br />

แตกขนย้าย<br />

เศษผงลูกถ้วย<br />

0.183%<br />

เศษผงลูกถ้วย<br />

แตกเรียงเข้า<br />

กราฟแสดงอัตราของเสียเทียบกับเป้ าหมาย<br />

0.736%<br />

0.552%<br />

0.531%<br />

0.393%<br />

0.364%<br />

0.273%<br />

สาเหตุของเสี ย<br />

0.242%<br />

0.146%<br />

0.183%<br />

0.116%<br />

0.137%<br />

แตกเรียงเข้า<br />

รวม<br />

0.116%<br />

5.688%<br />

0.093%<br />

5.688%<br />

รวม<br />

ปัจจุบัน<br />

เป้าหมาย<br />

4.471%


การวิเคราะห์ปัญหากระบวนการขนย้าย<br />

เคลือบถลอก<br />

วิธีการ<br />

ไม่มีการกําหนด<br />

มาตรฐานวิธีการวางลูก<br />

ถ้วยบนรถเข็นที ชัดเจน<br />

ปริ มาณลูกถ้วยที วาง<br />

บนรถเข็นมากเกินไป<br />

ไม่มีการจัดลําดับการวาง<br />

ลูกถ้วยบนแผ่น SLAB<br />

รูปที 3แสดงการวิเคราะห์ปัญหาที เกิดขึ นในกระบวนการขนย้าย<br />

การวิเคราะห์ปัญหากระบวนการเผา<br />

Yes<br />

Yes<br />

แตกขนย้าย<br />

คน/พนักงาน<br />

พนักงานเข็นรถเข็น<br />

ด้วยความเร่ งรี บ<br />

Yes<br />

Yes<br />

พนักงานข าดความ<br />

ระมัดระวังในการปฏิบัติ<br />

งาน<br />

ปริ มาณลูกถ้วยที วาง<br />

บนรถเข็นมากเกิน<br />

ไป<br />

Yes<br />

Yes<br />

แตกเรียงเข้า แตกขนย้าย<br />

แตกขนย้าย<br />

ล้อรถเข็ นบางคันชํารุ ด<br />

Yes<br />

เครืองจักร<br />

เคลือบถลอก<br />

สภาพอุณหภูมิในพื นทีทํางานร้อนส่ง<br />

ผลให้พนักงานมีเหงื อออกบริ เวณมือ<br />

No<br />

สภาพแวดล้อม<br />

พนักงานส่งลูกถ้วยเพื อเรี ยง<br />

เข้าเตาเผาด้วยการโยน<br />

พนักงานข าดความระมัดระวัง<br />

ในการปฏิบัติงาน<br />

พนักงานเกิดความเมือย<br />

ล้าขณะเรี ยงลูกถ้วย<br />

พนักงานขาดความ<br />

ระมัดระวังขณะปฏิบัติ<br />

งาน<br />

เคลือบถลอก<br />

แตกเรียงเข้า<br />

รูปที 4แสดงการวิเคราะห์ปัญหาที เกิดขึ นในกระบวนการเผา<br />

Yes<br />

มีพืนปูนชํารุ ด<br />

Yes<br />

No<br />

Yes<br />

ช่องในการเรี ยงลูกถ้วย<br />

บนอุปกรณ์แคบเกินไป<br />

No<br />

No<br />

Yes<br />

ระยะทางในการส่งลูก<br />

ถ้วยเรี ยงเข้าไกลเกินไป<br />

Yes<br />

มีพื นเหล็กทีฐานเตาชํารุด<br />

แตกเรียงเข้า<br />

แตกขนย้าย<br />

ของเสียที เกิดจาก<br />

การขนย้ายลูกถ้วย


แผนการดําเนินการแก้ไข<br />

1.ลดเวลาการเตรียมนํ าเคลือบ<br />

ปัญหา ก่อนปรับปรุง<br />

พนักงานต้อง<br />

ปรับคุณสมบัติ<br />

นํ าเคลือบทุกถัง<br />

ก่อนใช้งาน<br />

ถังนํ าเคลือบที <br />

ใช้งานแล้วและ<br />

ยังไม่ใช้งาน<br />

ปะปนกัน<br />

ปัญหา/การแก้ไข<br />

- กําหนดการวางลูกถ้วยบนรถเข็นให้ชัดเจน<br />

- ควบคุมให้พนักงานเรียงด้วยความระมัดระวังและกําหนดลําดับการ<br />

เรียงลูกถ้วย<br />

- เปลียนให้พนักงานยืนลูกถ้วยส่งเข้าเตาเผา<br />

SLAB<br />

- กําหนดการวางลูกถ้วยบนรถเข็นให้ชัดเจนทําการตรวจสอบล้อ<br />

รถเข็นและปรับปรุงเหล็กพืนฐานเตา<br />

- กําหนดและควบคุมวิธีการเรียงลูกถ้วยบนแผ่น<br />

- จัดกําหนดการเปิ ดลมของท่อ TURBO FAN ทุก 2 เดือนเพือเป็<br />

น<br />

การกําจัดเศษเหล็กทีค้างอยู<br />

่ภายในท่อ<br />

- กําหนดให้ใช้ วิธีการทําความสะอาด โดยการเป่ าลมทีอุปกรณ์<br />

และ<br />

ดูดฝุ ่ นทีอุปกรณ์และพืนเตาให้สะอาดก่อนเรียงลูกถ้วย<br />

- กําหนดมาตรฐานในการยกฝาเตา, การเปิ ด Damperในช่ วงการเผาให้<br />

เหมือนกันเพือช่<br />

วยเพิมประสิทธิภาพในการทํางาน<br />

- ติดตั งกล้อง CCTV ให้จับทีกราฟในตู<br />

้ Recorder และส่งสัญญาณ<br />

ภาพมาที<br />

Monitor หน้างาน เพือให้ดูกราฟอุณหภูมิทีMonitor<br />

และทํา<br />

การปรับการเผาวาล์วให้เหมาะสมแต่ละช่ วง<br />

เดือน<br />

สัปดาห์ 7-12 14-19 21-26 28-31 1-2 4-9 18-23 25-30 3-7 9-14 16-21 23-28 30-31<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

Plan<br />

Actual<br />

MARCH 2011 APRIL 2011 MAY 2011<br />

การปรับปรุงเพือแก้ไขปัญหา<br />

หลัง<br />

ปรับปรุง การแก้ปัญหา<br />

ปรับนํ าเคลือบ<br />

ให้มีคุณสมบัติ<br />

ตามที ต้องการ<br />

นําระบบ<br />

SUPERMAR<br />

-KET และ<br />

KANBAN<br />

เข้ามาใช้<br />

ผลการแก้ไข<br />

สามารถลดเวลา<br />

การรอคอยและเพิม<br />

ประสิทธิภาพใน<br />

การทํางาน<br />

ก่อนปรับปรุงใช้เวลา 3,134 วินาที<br />

หลังปรับปรุงใช้เวลา 540 วินาที


2.ลดความสูญเสียการขนย้ายไปเผา<br />

ปัญหา ก่อนปรับปรุง<br />

- ลูกถ้วยเคลือบ<br />

ถลอก2.213%<br />

- กระทบในรถ<br />

ขณะขนย้าย<br />

3.ลดของเสียจากกระบวนการเผา<br />

ปัญหา ก่อนปรับปรุง<br />

เศษเหล็กค้าง<br />

อยู ่ เมื อเปิดลม<br />

ทําให้<br />

เหล็กเข้า<br />

เตาเผา<br />

มีการปรับระยะ<br />

ฝาเตา การเปิด<br />

Damper ไม่<br />

เหมือนกันส่งผล<br />

ให้การเผาขาด<br />

ประสิทธิภาพ<br />

หลัง<br />

ปรับปรุง<br />

หลัง<br />

ปรับปรุง<br />

การแก้ปัญหา ผลการแก้ไข<br />

- กําหนดการ<br />

วางลูกถ้วยบน<br />

รถเข็นให้<br />

ชัดเจน<br />

ก่อนปรับปรุงมีของ<br />

เสีย 2.57%<br />

การแก้ปัญหา ผลการแก้ไข<br />

ทําความสะอาด<br />

เตาก่อนเผา<br />

ทํามาตรฐาน<br />

ในการยกฝา<br />

เตา, การเปิด<br />

Damper<br />

ในช่วงการ<br />

เผา ให้<br />

เหมือนกัน<br />

หลังปรับปรุงมีของ<br />

เสีย 0.76%<br />

ก่อนปรับปรุงมีของเสีย 3.117%<br />

หลังปรับปรุงมีของเสีย 1.976%<br />

สามารถยกฝาเตาและ<br />

Damperได้อย่างชัดเจน<br />

ตามมาตรฐานที กําหนด


ผลการแก้ไข<br />

% ข อ งเสี ย<br />

กราฟแสดงข้อมูลอัตราของเสียในกระบวนการเผาลูกถ้วยหลังทํา <strong>LEAN</strong> KAIZEN<br />

6.000%<br />

4.000%<br />

2.000%<br />

0.000%<br />

4. สรุปผลการดําเนินงาน<br />

5.688%<br />

2.736%<br />

ก่อนทํา Lean Kaizen หลังทํา Lean Kaizen<br />

ผลการดําเนินงาน<br />

Saveได้ 2.952 %<br />

Target 4.471 %<br />

4.1 ผลการดําเนินงานในโครงการนี ทําให้ทาง บริษัท เพาว์เวอร์ ยูต้า กรุ ๊ป จํากัด<br />

สามารถลดอัตราของเสียในกระบวนการเผา ให้มีปริมาณน้อยลงจากเดิมและส่งผลให้<br />

สามารถลดเวลาการทํางานที ซํ าซ้อน ลดค่าใช้จ่ายที เกิดขึ นจากค่าวัตถุดิบค่าขนส่ง<br />

การกําจัดของเสียและค่าแรงงานนอกจากนี ยังช่วยลดปริมาณเศษวัตถุดิบใน<br />

กระบวนการผลิต เพิมประสิทธิภาพการปรับตังเครื<br />

องจักร และเพิมประสิทธิภาพการ<br />

เคลื อนย้าย ทําให้ได้อัตราการผลิตที เพิมขึ<br />

น และการดําเนินกิจกรรม <strong>LEAN</strong><br />

KAIZEN ในครังนี คิดเป็นจํานวนเงินทังหมดที สามารถลดค่าใช้จ่ายเกี ยวกับการ<br />

ดําเนินการของบริษัทฯ ได้ 2,154,561.02บาทต่อปี ซึ งได้แสดงรายละเอียดไว้ใน<br />

ตารางที 1


ตารางที<br />

1 Actual &Cost Savingผลทีได้จากการปรับปรุง<br />

No. Project<br />

Unit<br />

Project Performance<br />

Base Line Target Actual Diff (%)<br />

Cost Saving<br />

(บาทต่อปี )<br />

1 1.1 ปรับปรุงประสิทธิภาพในการเคลื อนย้ายถังวัตถุดิบ+เศษดิน (ระยะทาง)<br />

1.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพในการเคลื อนย้ายถังวัตถุดิบ+เศษดิน (เวลา)<br />

เมตร/วัน<br />

นาที/วัน<br />

784<br />

56<br />

358<br />

10.00<br />

426<br />

46.00<br />

-46%<br />

-18%<br />

20,232.95<br />

2 2.1 ลดของเสียนํ าดินและเศษดินในกระบวนการผลิต (นํ าดินรั ว) % 0.065% 0.00% 0.065% 0% 14,948.51<br />

2.2 ลดของเสียนํ าดินและเศษดินในกระบวนการผลิต (กรองแยกเหล็ก) % 0.75% 0.00% 0.75% 0% 235,481.13<br />

2.3 ลดของเสียนํ าดินและเศษดินในกระบวนการผลิต (ดินแผ่น) % 0.80% 0.00% 0.80% 0% 659,352.89<br />

3 ปรับปรุงเพื อลดเวลาในการปรับตั งเครืองรีดดินแท่ง<br />

(Set up Time) นาที/เดือน 75 25 50 -33% 11,904.00<br />

4 เพิมอัตราการผลิตจากการลดเวลาที สูญเสีย(การเตรียมนํ าเคลือบ) นาที/ครั ง 50 25 9 -82% 23,074.80<br />

5 ลดปริมาณของเสียในกระบวนการขนย้ายลูกถ้วยไปเผา % 0.358% 0.239% 0.249% -30% 21,008.52<br />

6 ลดปริมาณของเสียจากกระบวนการขนย้ายที พบหลังกระบวนการเผา % 2.213% 1.770% 0.568% -74% 695,346.39<br />

7 7.1 ลดปริมาณของเสียในกระบวนการเผา<br />

7.2 ลดอัตราการขนย้ายของเสียทิ งไปกําจัด<br />

% 3.117% 2.462% 2.034% -35%<br />

457,837.84<br />

15,374.00<br />

8 KAIZEN เรือง<br />

29 29 21 -28%<br />

Total - - - - - 2,154,561.02<br />

4.2 การใช้ Visual Control ในพื นที การทํางาน<br />

รูปที 5Visual Control (Kanban Board การเตรียมนํ าเคลือบ)<br />

4.3จัดทําวิธีการทํางานให้เป็นมาตรฐาน และทําการอบรมให้พนักงานมีความรู้ในการ<br />

แก้ไขปัญหา<br />

รูปที 6เอกสารวิธีการทํางาน รูปที 7 ทีมงาน Lean Kaizen


ผลทีได้รับจากการทํา<br />

<strong>LEAN</strong> KAIZEN<br />

ผลทางตรง:<br />

1) ยกระดับให้เกิดการไหลอย่างต่อเนื อง(Smooth Flow)ของกระบวนการผลิต<br />

2) อัตราการเกิดของเสียในกระบวนการผลิตมีปริมาณที ลดลง<br />

3) ลดเวลาที สูญเสียจากการรอคอยในกระบวนการผลิต<br />

4) ลดความเมื อยล้าของพนักงานในขันตอนการปฏิบัติงานที มีการเคลื อนไหว<br />

มากเกินไป<br />

ผลทางอ้อม:<br />

1) พนักงานมีความรู้ความเข้าใจ ในการวิเคราะห์และร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่าง<br />

เป็นระบบ<br />

2) พนักงานมีความรู้ความเข้าใจ ในขันตอนการปฏิบัติงาน และมีมาตรฐาน<br />

การปฏิบัติงานที เป็นไปตามขันตอน<br />

3) การสื อสารกันระหว่างหน่วยงานเป็นไปอย่างมีระบบมากขึ น<br />

4) เครื องจักรและอุปกรณ์มีระบบการทํางานที มีประสิทธิภาพยิ งขึ น ตลอดจน<br />

พื นที การปฏิบัติงานมีการใช้งานอย่างเต็มประสิทธิภาพ<br />

แผนการดําเนินงานในอนาคต<br />

• ปรับปรุงระบบสินค้าคงคลังเพื อรองรับความต้องการของลูกค้า สําหรับลูกค้า<br />

รายที มีความต้องการเร่งด่วนแต่ในปริมาณการผลิตที ไม่มาก สามารถจัดส่ง<br />

สินค้าให้ลูกค้าได้ภายในระยะเวลา 15 วัน<br />

• ปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื อตอบสนองความต้องการของกระบวนการ<br />

ถัดไป เพื อประสิทธิผลที สมํ าเสมอและงานมีความต่อเนื อง<br />

• จัดทํา Lean Manufacturing Standard เพื อเพิมประสิทธิผลทางการผลิต<br />

ลดต้นทุน งานเป็นระบบมากยิงขึ<br />


<strong>LEAN</strong> ASSESSMENT (RADAR CHART BEFORE - AFTER)<br />

ก่อน<br />

ปรับปรุง<br />

25<br />

คะแนน<br />

รูปที 8แสดงการประเมินก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ<br />

ภาพรวมจากการประเมินก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการที ได้แสดงในรูปที <br />

8 พบว่า องค์กรมีการพัฒนาการอยู ่ในระดับดีในหลายๆ ด้านโดยปัจจุบันอยู ่ในสภาวะ<br />

ของการเปลี ยนผ่านองค์กรเป็นองค์กรแบบลีน (Lean Transition) โดยมีพัฒนาการ<br />

ด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนือง (Continuous Improvement or Kaizen) และ 5S การ<br />

ควบคุมด้วยสายตาและการจัดการ (Visual System & Workplace<br />

Organization)(Visual Control, 5S) และการสือสารและการรับรู้วัฒนธรรมองค์กร<br />

(Communication & Cultural Awareness) สูงที สุด 3 อันดับแรกถือเป็นเครื องมือ<br />

สําคัญที จะช่วยส่งเสริมการปรับปรุงองค์กรให้เป็นลีนอย่างสมบูรณ์แบบในอนาคต<br />

หลัง<br />

ปรับปรุง<br />

37<br />

คะแนน


ความคิดเห็น<br />

นายคมภัค คุปติธรรม<br />

กรรรมการผู ้จัดการ<br />

ท่ามกลางความเปลี ยนแปลงของตลาดที มีการแข่งขันสูง เรื องต้นทุนเป็น<br />

ปัจจัยที องค์กรให้ความสําคัญและมีความจําเป็นต้องปรับตัวเพื อให้ทันต่อสภาวการณ์<br />

โดยยังคงต้งเน้นการรักษาคุณภาพให้ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคและมีมาตรฐาน<br />

ตามที กําหนด บริษัท เพาวเวอร์ ยูต้า กรุ๊ป<br />

จํากัดได้ศึกษาค้นคว้าหาเครื องมือและ<br />

เทคนิคต่างๆ ที เป็นสากลเข้ามาประยุกต์ใช้กับองค์กร เพื อลดต้นทุนและให้ได้<br />

ประสิทธิภาพสูงสุด<br />

“<strong>LEAN</strong> MANUFACTURING KAIZEN”จัดเป็นเครื องมือที นํามาใช้ในการ<br />

ปรับปรุงองค์กร เพื อลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิต เน้นการมีส่วนร่วมของ<br />

พนักงานในองค์กร ทุกคนมีความมุ่งมัน<br />

และทุ่มเทอย่างจริงจังถึงแม้จะมีงานการ<br />

ผลิตที เร่งด่วน<br />

สุดท้ายนี บริษัท เพาว์เวอร์ ยูต้า กรุ๊ป<br />

จํากัด ต้องขอขอบพระคุณกรม<br />

ส่งเสริมอุตสาหกรรม และสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี ปุ่น)ที ให้โอกาสในการ<br />

เข้าร่วมโครงการ “การเพิ มประสิทธิภาพการผลิตด้วยเทคนิคลีน (<strong>LEAN</strong><br />

MANUFACTURING KAIZEN)” รวมถึง อาจารย์วุฒิพงษ์ ปะวะสาร อาจารย์ที <br />

ปรึกษา พร้อมด้วยคณะที ปรึกษา อาจารย์ภาวัต อุปถัมภ์เชือ อาจารย์วิมลรัตน์<br />

โพธิ เตีย ที ได้ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และความคิดเห็นให้กับทีมงานของ<br />

บริษัทฯ มา ณ โอกาสนี โดยหวังเป็นอย่างยิ งว่าบริษัทฯ คงมีโอกาสได้เข้าร่วม<br />

โครงการที ดีและมีประโยชน์เช่นนี ต่อไปในอนาคต ที ขาดมิได้คือ “คณะทีมงาน<br />

ผู้เข้าร่วมโครงการ” ตลอดจนพนักงานทุกท่านที ร่วมกันดําเนินงานโครงการมาจน<br />

ประสบความสําเร็จเป็นอย่างดี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!