04.03.2015 Views

คู่มือบริหารงานบุคคลกรม ปภ.

คู่มือบริหารงานบุคคลกรม ปภ.

คู่มือบริหารงานบุคคลกรม ปภ.

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

คำนำ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่<br />

วันที่ 26 มกราคม 2551 ได้ปรับเปลี่ยนบทบาทและแนวทางปฏิบัติราชการเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง<br />

ของสถานการณ์รอบด้านและเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนภารกิจของประเทศ ให้เป็นไปด้วยความ<br />

เหมาะสมสอดคล้องกับแนวทางการบริหารราชการแนวใหม่ โดยมุ่งที่จะเปลี่ยนแปลงมุมมองต่อระบบบริหาร<br />

ข้าราชการจากเดิมที่เน้นการพัฒนาข้าราชการให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ยึดกระบวนการทำางานและ<br />

ประสิทธิภาพเฉพาะส่วน เปลี่ยนเป็นเน้นให้ข้าราชการเป็นผู้รู้รอบ รู้ลึก และเป็นแรงผลักดันที่สำาคัญต่อความ<br />

สำาเร็จขององค์กร ซึ่งการบังคับใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนดังกล่าว ทำาให้มีการปรับเปลี่ยน<br />

ระบบบริหารงานบุคคลครั้งใหญ่ในภาคราชการ รวมทั้งกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ต่าง ๆ อาทิ ระบบจำาแนก<br />

ตำาแหน่งและค่าตอบแทน ระบบวินัยและพิทักษ์คุณธรรม ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เป็นต้น<br />

ซึ่งข้าราชการจำาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องตรงตามเจตนารมณ์<br />

ที่กฎหมายกำาหนด<br />

ดังนั้น เพื่อให้ข้าราชการกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้มีความรู้ความเข้าใจ<br />

เกี่ยวกับกระบวนงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานบุคคล รวมถึงสิทธิประโยชน์และสวัสดิการ<br />

ต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้การบริหารงานบุคคลของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สอดคล้องกับบทบัญญัติ<br />

ของกฎหมายที่กำาหนดขึ้น จึงได้จัดทำาคู่มือการบริหารงานบุคคลของข้าราชการกรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานบุคคลให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัด<br />

รวมทั้งให้ข้าราชการได้รับทราบขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานบุคคล สิทธิประโยชน์และสวัสดิการ<br />

ต่าง ๆ เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้ระบบการบริหารงานบุคคลมีความเข้มแข็งสร้างความพึงพอใจให้กับ<br />

ข้าราชการและบุคลากรในสังกัดนำาไปสู่การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป<br />

(นายอนุชา โมกขะเวส)<br />

อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

30 กันยายน 2553<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

1


2 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

สารบัญ<br />

หน้า<br />

• งานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ<br />

- การจัดทำาบัตรประจำาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ 7<br />

- การขอรับและการจ่ายเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน 10<br />

ผ่านระบบบำาเหน็จบำานาญ<br />

- เงินช่วยพิเศษกรณีข้าราชการหรือข้าราชการบำานาญถึงแก่ความตาย 18<br />

- การขอแก้ไขวัน เดือน ปีเกิด ในทะเบียนประวัติข้าราชการ 20<br />

- การลาของข้าราชการ 21<br />

- การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำาปีให้แก่ข้าราชการ 34<br />

- การออกหนังสือรับรองสถานภาพการเป็นข้าราชการ 37<br />

- การขอพระราชทานเพลิงศพและหีบเพลิง 40<br />

• งานสวัสดิการ<br />

- โครงการสวัสดิการเงินกู้ 45<br />

- การมอบประกาศเกียรติคุณ 49<br />

- การฌาปนกิจสงเคราะห์ 50<br />

- การลาศึกษาต่อในประเทศ 53<br />

- การคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น 56<br />

• งานสรรหาบรรจุแต่งตั้ง<br />

- การย้ายข้าราชการผู้ได้รับวุฒิเพิ่มขึ้น 61<br />

(จากการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้จากส่วนราชการอื่น)<br />

- การส่งตัวข้าราชการ ลูกจ้างประจำาและพนักงานราชการ 63<br />

ไปปฏิบัติราชการตามคำาสั่ง<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

3


หน้า<br />

• งานอัตรากำาลังและระบบงาน<br />

- ประเภทและตำาแหน่งของข้าราชการพลเรือน 69<br />

- มาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำาเป็นสำาหรับตำาแหน่ง 74<br />

ข้าราชการพลเรือน<br />

- สายทางความก้าวหน้าในสายงานของข้าราชการ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 80<br />

• งานวินัย<br />

- วินัยและการดำาเนินการทางวินัย 85<br />

- การดำาเนินการเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด 95<br />

- การร้องเรียน / ร้องทุกข์ 99<br />

- ตัวอย่างการลงโทษทางวินัยข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ 101<br />

4 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

งานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

5


6 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


การจัดทำบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ<br />

คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

กฎหมาย คำสั่งและหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง<br />

• พระราชบัญญัติบัตรประจำาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2542<br />

• คำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ 217/2553 ลงวันที่ 30 มีนาคม 2553<br />

เรื่อง มอบอำานาจให้รองอธิบดีปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

• คำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ 384/2553 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2553<br />

เรื่อง มอบอำานาจหน้าที่ให้ผู้อำานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ปฏิบัติราชการแทน<br />

อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

• หนังสือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ มท 0602/ว 948 และ ว 949 ลงวันที่ 10 สิงหาคม<br />

2552 เรื่อง การซักซ้อมแนวทางปฏิบัติในการขอมีบัตรประจำาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. ขอรับแบบฟอร์มคำาร้อง<br />

1.1 ข้าราชการสังกัดส่วนกลาง (สำานัก กอง และหน่วยงาน) และข้าราชการบำานาญ ขอรับ<br />

แบบฟอร์มคำาร้องได้ที่กลุ่มงานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ กองการเจ้าหน้าที่ หรือ<br />

ดาวน์โหลดแบบฟอร์มคำาร้องได้ที่ www.disaster.go.th : บริหารงานบุคคล/ ดาวน์โหลดแบบฟอร์มต่าง ๆ/<br />

กลุ่มงานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ<br />

1.2 ข้าราชการสังกัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต และข้าราชการบำานาญ ขอรับ<br />

แบบฟอร์มคำาร้องได้ที่ฝ่ายบริหารทั่วไป<br />

1.3 ข้าราชการสังกัดสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดและข้าราชการบำานาญ<br />

ติดต่อขอรับแบบฟอร์มคำาร้องขอมีบัตรได้ที่กลุ่มงานยุทธศาสตร์และการจัดการ<br />

2. การยื่นคำาร้อง<br />

2.1 ให้ทำาคำาขอมีบัตรยื่นต่อหน่วยงานที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการ และหัวหน้าหน่วยงานลงนาม<br />

รับรองความถูกต้อง ทั้งนี้ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบตรวจสอบว่าผู้ทำาคำาขอมีบัตรสังกัดตามกรอบโครงสร้าง<br />

ณ หน่วยงานใด (กรอบตำาแหน่งที่ดำารงอยู่) ก็ให้จัดส่งคำาขอไปยังสังกัดตามตำาแหน่งที่ดำารงอยู่ เพื่อเสนอ<br />

ผู้มีอำานาจออกบัตร ดังนี้<br />

2.1.1 ผู้ขอมีบัตรที่สังกัดส่วนกลาง (สำานัก กอง และหน่วยงาน) ยื่นคำาร้องที่กลุ่มงาน<br />

ทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ กองการเจ้าหน้าที่<br />

2.1.2 ผู้ขอมีบัตรที่สังกัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ยื่นคำาร้องได้ที่<br />

ฝ่ายบริหารทั่วไป<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

7


2.1.3 ผู้ขอมีบัตรที่สังกัดสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ยื่นคำาร้องได้ที่<br />

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และการจัดการ<br />

2.2 กรณีข้าราชการบำานาญให้ทำาคำาขอมีบัตรยื่นที่กองการเจ้าหน้าที่ กรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย หรือจะยื่นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดในจังหวัดที่ตนขอรับบำาเหน็จบำานาญก็ได้ ซึ่งในกรณียื่นต่อ<br />

ผู้ว่าราชการจังหวัดนั้น ให้จังหวัดตรวจสอบว่าผู้ทำาคำาขอเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งออกจากราชการหรือพ้น<br />

จากตำาแหน่งโดยมีสิทธิได้รับบำาเหน็จบำานาญ หากปรากฏว่าเป็นผู้มีสิทธิได้รับบำาเหน็จบำานาญให้ทางจังหวัด<br />

เสนอคำาขอไปยังกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อเสนออธิบดี<br />

อนึ่ง ให้แนบรูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำานวน 2 รูป และตัวบัตรที่ผู้ขอลงลายมือชื่อแล้วพร้อมแบบ<br />

บ.จ. 1 และแบบ บ.จ. 1 ก. ไปยังหน่วยงานสังกัดตามตำาแหน่งที่ดำารงอยู่ สำาหรับรูปถ่ายของข้าราชการ<br />

บำานาญ ที่ปกคอเสื้อด้านซ้ายให้ติดเครื่องหมายแสดงสังกัดเดิม ส่วนปกคอเสื้อด้านขวาติดเครื่องหมายอักษร<br />

นก (อ่านว่า นอ-กอ) ย่อมาจากคำาว่า “นอกราชการ” แล้วเสนอผู้มีอำานาจออกบัตรต่อไป<br />

3. การออกบัตรประจำาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ<br />

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบรับคำาร้อง และดำาเนินการจัดทำาบัตรประจำาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ เสนอ<br />

ผู้มีอำานาจออกบัตร ดังนี้<br />

3.1 ข้าราชการสังกัดส่วนกลาง (สำานัก กอง และหน่วยงาน) เสนออธิบดีเป็นผู้ออกบัตรสำาหรับ<br />

ข้าราชการประเภททั่วไปตั้งแต่ระดับอาวุโสลงมา และประเภทวิชาการตั้งแต่ระดับชำานาญการลงมา อธิบดี<br />

มอบอำานาจให้รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติราชการแทน ตามคำาสั่งกรมป้องกันและ<br />

บรรเทาสาธารณภัย ที่ 217/2553 ลงวันที่ 30 มีนาคม 2553<br />

3.2 ข้าราชการสังกัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตเสนอผู้อำานวยการศูนย์ป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัยเขต (อธิบดีมอบอำานาจหน้าที่ให้ผู้อำานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต<br />

ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามคำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

ที่ 384/2553 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2553)<br />

3.3 ข้าราชการสังกัดสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

เป็นผู้ออกบัตร<br />

3.4 กรณีข้าราชการบำานาญ เสนออธิบดีเป็นผู้ออกบัตร<br />

8 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

แผนผังขั้นตอนการจัดทำาบัตรประจำาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ<br />

แผนผังขั้นตอนการจัดทําบัตรประจําตัวเจาหนาที่ของรัฐ<br />

(1)<br />

ขอรับแบบฟอรมคํารอง<br />

(1.1)<br />

สํานัก/กอง/หนวยงาน<br />

รับแบบฟอรมคํารอง<br />

ที่กลุมงานทะเบียน<br />

ประวัติฯ กจ.<br />

(1.2)<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต 1-18<br />

รับแบบฟอรมคํารอง<br />

ที่ฝายบริหารทั่วไป<br />

(1.3)<br />

สํานักงาน <strong>ปภ</strong>. จังหวัด<br />

รับแบบฟอรมคํารองที่<br />

กลุมงานยุทธศาสตร<br />

และการจัดการ<br />

(2.1)<br />

สํานัก/กอง/หนวยงาน<br />

ยื่นคํารองที่กลุมงาน<br />

ทะเบียนประวัติฯ<br />

กองการเจาหนาที่<br />

(2)<br />

การยื่นคํารอง<br />

(2.2)<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต 1-18<br />

ยื่นคํารองที่<br />

ฝายบริหารทั่วไป<br />

(2.3)<br />

สํานักงาน <strong>ปภ</strong>. จังหวัด<br />

ยื่นคํารองที่<br />

กลุมงานยุทธศาสตร<br />

และการจัดการ<br />

(3.1) สังกัด<br />

สํานัก/กอง/หนวยงาน<br />

เสนอ อ<strong>ปภ</strong>. เปนผูออก<br />

บัตร แตขาราชการประเภท<br />

ทั่วไปตั้งแตระดับอาวุโส<br />

ลงมา และประเภทวิชาการ<br />

ตั้งแตระดับชํานาญการ<br />

ลงมา อธิบดีมอบอํานาจ<br />

ใหรอง อ<strong>ปภ</strong>.ฝายบริหาร<br />

เปนผูออกบัตร<br />

(3)<br />

การออกบัตรขาราชการ<br />

(3.2) สังกัด<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต 1-12<br />

เสนอผูอํานวยการ<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต<br />

เปนผูออกบัตร<br />

(3.3) สังกัด<br />

สํานักงาน <strong>ปภ</strong>. จังหวัด<br />

เสนอ<br />

ผูวาราชการจังหวัด<br />

เปนผูออกบัตร<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

9


การขอรับและการจายเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญ<br />

และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน<br />

ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ<br />

นิยาม<br />

“เบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน” หมายถึง เบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญปกติ<br />

บำเหน็จดำรงชีพ บำนาญพิเศษ บำเหน็จตกทอด บำเหน็จลูกจาง บำเหน็จพิเศษ เงินทำขวัญ เงินทดแทน<br />

ขาราชการวิสามัญ เงินชวยเหลือตามโครงการเกษียณอายุราชการกอนกำหนด เงินทดแทนและเงินชวย<br />

เหลือตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยบำเหน็จความชอบ คาทดแทนและการชวยเหลือเจาหนาที่<br />

และประชาชนผูปฏิบัติหนาที่ราชการหรือชวยเหลือราชการ เนื่องในการปองกันอธิปไตยและรักษาความสงบ<br />

เรียบรอยของประเทศ พ.ศ.2521 (ระเบียบบทช.)<br />

“ระบบบำเหน็จบำนาญ” หมายถึง ระบบงานที่ทำงานแบบ Web Application เปนระบบงาน<br />

ที่ใชงานเกี่ยวกับการขอรับและการจายเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน โดยระบบงาน<br />

สามารถทำงานไดทั้งในสวนของการนำขอมูลเขา แกไขขอมูล คำนวณเงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ ฯ<br />

พิมพรายงานเพื่อตรวจสอบ อนุมัติสั่งจาย พิมพหนังสือสั่งจาย รวมทั้งการเตรียมขอมูลสงธนาคารเพื่อนำ<br />

เงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของผูรับเงิน และสงขอมูลใหกับระบบ GFMIS โดยสามารถทำงานไดทั้งที่<br />

หนวยงานในสวนกลางและสวนภูมิภาค<br />

“ผูมีสิทธิ” หมายความวา ผูมีสิทธิรับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน<br />

รวมทั้งทายาทหรือบุคคลซึ่งผูตายแสดงเจตนาไว ผูอุปการะ หรือผูอยูในอุปการะ ตามพระราชบัญญัติบำเหน็จ<br />

บำนาญขาราชการ พ.ศ. 2494 และพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ. 2539 แล้ว<br />

แตกรณี<br />

“สวนราชการผูขอ” หมายความวา สวนราชการตนสังกัดหรือจังหวัดซึ่งผูขอรับเงินหรือผูตาย<br />

รับราชการครั้งสุดทาย หรือที่ซึ่งผูรับเบี้ยหวัด บำนาญ เบิกเงินสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ตาง ๆ<br />

“สวนราชการผูเบิก” หมายความวา สวนราชการตนสังกัดระดับกรม หรือหนวยเบิกตนสังกัด<br />

ในส่วนภูมิภาคที่ขอเบิกเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน หรือเงินสวัสดิการและสิทธิ<br />

ประโยชนตาง ๆ ของผูรับเบี้ยหวัดบำนาญ หรือที่ซึ่งผูมีสิทธิรับเงินแสดงเจตนาขอรับบำเหน็จตกทอดหรือ<br />

บำนาญพิเศษกรณีขาราชการตาย<br />

“นายทะเบียนผูรับบำเหน็จบำนาญ” หมายความวา ขาราชการ ยกเวน ขาราชการที่ชวยราชการ<br />

ที่ไดรับแตงตั้งจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมในสวนกลาง หรือหัวหนาหนวยงานในสวนภูมิภาค ซึ่งมี<br />

รหัสผูใชังาน (User ID) และรหัสผาน (Password) ที่กำหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง เพื่อทำหนาที่ดูแลประวัติ<br />

ของผูมีสิทธิรับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของผูมี<br />

สิทธิรับเงินดังกลาว<br />

10 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

“นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ” หมายความวา ขาราชการ ยกเวน ขาราชการที่ชวยราชการ<br />

ที่ไดรับแต่งตั้งจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมในสวนกลาง หรือหัวหนาหนวยงานในสวนภูมิภาค ซึ่งมี<br />

รหัสผูใช้งาน (User ID) และรหัสผาน (Password) ที่กำาหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง เพื่อทำาหนาที่ดูแลประวัติ<br />

ของขาราชการ ลูกจางประจำาและบุคคลในครอบครัวของขาราชการและลูกจางประจำา<br />

กฎหมาย ระเบียบ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง<br />

• พระราชบัญญัติบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ. 2494<br />

• พระราชบัญญัติกองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ. 2539<br />

• ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ พ.ศ. 2527<br />

และที่แก้ไขเพิ่มเติม<br />

• คำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่384/2553 ลงวันที่8 กรกฎาคม 2553 เรื่อง มอบอำานาจ<br />

ให้ผู้อำานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตปฏิบัติราชการแทนอธิบดี<br />

• ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและการจ่ายบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ (ฉบับที่ 9)<br />

พ.ศ. 2546<br />

• กฎกระทรวงกำาหนดอัตราและวิธีการรับบำาเหน็จดำารงชีพ พ.ศ. 2546<br />

• กฎกระทรวงกำาหนดอัตราและวิธีการรับบำาเหน็จดำารงชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551<br />

ขั้นตอนดำเนินการ<br />

ก. การขอรับและการจายเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญปกติ ของขาราชการ<br />

ใหผูมีสิทธิรับเงินเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญปกติ ของขาราชการ ซึ่งเกษียณอายุราชการ ขอลา<br />

ออกจากราชการ ทางราชการสั่งใหออกจากราชการ หรือปลดออกจากราชการ หรือทายาทผูมีสิทธิไดรับ<br />

มรดกตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของขาราชการดังกลาว ซึ่งถึงแกความตายกอนไดรับเงิน<br />

ไปติดต่อสวนราชการสังกัดสุดทาย เพื่อยื่นเรื่องขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญปกติ สำาหรับขาราชการที่<br />

จะพนจากราชการเพราะเกษียณอายุราชการ ใหยื่นคำาขอรับเงินลวงหนาไดเปนเวลา 8 เดือนกอนวันครบ<br />

เกษียณอายุ โดยมีขั้นตอนดำาเนินการ ดังนี้<br />

1. การยื่นเรื่องขอรับเงิน<br />

1.1 กรอกรายการในแบบขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จ บำานาญ (แบบ 5300) ใหถูกตอง ครบถวน<br />

แลวลงชื่อแสดงเจตนาขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จปกติ บำานาญปกติ บำาเหน็จดำารงชีพ หรือบำาเหน็จแทนบำานาญ<br />

และระบุชื่อสวนราชการผูเบิกในชอง “ขอรับเงินทาง” เพื่อเปนสถานที่ซึ่งผูมีสิทธิรับเงินจะไปติดตอขอเบิก<br />

เงินและสิทธิประโยชนตาง ๆ<br />

1.2 กรอกรายการในแบบแจงรายการลดหยอนภาษีเงินได สำาหรับผู รับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ<br />

ปกติ (แบบ สรจ.1) พรอมแนบ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

11


(1) สำาเนาทะเบียนบานหนาที่มีชื่อ และเลขประจำาตัวประชาชนของผู รับเบี้ยหวัดบำาเหน็จ<br />

บำานาญปกติ<br />

(2) สำาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารหนาที่มีชื่อและเลขที่บัญชีเงินฝาก ของผูรับเบี้ยหวัด<br />

บำาเหน็จบำานาญปกติ ประเภทออมทรัพย สะสมทรัพย หรือกระแสรายวัน ยกเวน บัญชีเงินฝากประเภท<br />

ประจำา<br />

1.3 กรอกรายการในหนังสือแสดงเจตนา ขอใหโอนเงินเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญเขาบัญชีเงิน<br />

ฝากธนาคารของบุคคลอื่น (แบบ สรจ.2) กรณีมีความจำาเปนตองใชบัญชีรวมหรือใชบัญชีผูอื่น พรอมแนบ<br />

สำาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่จำาเปนตองใชฉบับดังกลาว ยื่นตอหัวหนาสวนราชการ<br />

1.4 กรอกรายการในหนังสือรับรองและขอเบิกบำาเหน็จดำารงชีพ (แบบ สรจ. 3) กรณีประสงค<br />

จะขอรับบำาเหน็จดำารงชีพ<br />

1.5 ยื่นแบบขอรับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญปกติ (แบบ 5300) พรอมหลักฐานที่เกี่ยวของตอ<br />

เจาหนาที่ผูรับผิดชอบเกี่ยวกับการขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญปกติ<br />

2. การรับเรื่อง<br />

ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบเกี่ยวกับการขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญ และเงินอื่นในลักษณะ<br />

เดียวกัน ซึ่งมีรหัสผูใชงาน (User ID) และรหัสผาน (Password) ที่กำาหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง ดำาเนินการ<br />

2.1 ตรวจสอบแบบคำาขอ (แบบ5300) และหลักฐานประกอบการขอรับเงินที่เกี่ยวของ<br />

เบื้องตนกับฐานขอมูลในระบบบำาเหน็จบำานาญในสวนของทะเบียนประวัติ<br />

2.2 กรณีหลักฐานการขอรับเงินและฐานขอมูลในระบบบำาเหน็จบำานาญถูกตอง ครบถวน ใหลง<br />

ทะเบียนรับเรื่องในระบบบำาเหน็จบำานาญ<br />

2.3 ออกใบรับเรื่องใหผูมีสิทธิที่ยื่นเรื่องขอรับเงิน<br />

2.4 กรณีหลักฐานการขอรับเงินไมถูกตอง ไมครบถวน ใหลงทะเบียนรับเรื่องในระบบบำาเหน็จ<br />

บำานาญ และออกใบรับเรื่องใหผูยื่นเรื่องขอรับเงิน พรอมทั้งแจงในใบรับเรื่องวาใหยื่นหลักฐานใด เพิ่มเติม<br />

(ถามี)<br />

2.5 สำาหรับกรณีหลักฐานการขอรับเงินถูกตอง ครบถวน แตฐานขอมูลบุคคลในระบบบำาเหน็จ<br />

บำานาญไมถูกตอง ไมครบถวน ใหสงเรื่องใหนายทะเบียนแกไขเพิ่มเติมฐานขอมูลทันที ดังนี้<br />

(1) นายทะเบียนผูรับบำาเหน็จบำานาญ กรณีเปนผูที่พนจากราชการแลว<br />

(2) นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ กรณีเปนขาราชการซึ่งยังไมพนจากราชการ ยื่นเรื่อง<br />

ขอรับเงินลวงหนา เชน เปนขาราชการที่จะเกษียณอายุซึ่งสามารถยื่นเรื่องขอรับเงินลวงหนาได 8 เดือน<br />

ในปที่จะเกษียณอายุ เปนตน<br />

2.6 ใหนายทะเบียนผู รับบำาเหน็จบำานาญ ซึ่งมีรหัสผู ใชงาน (User ID) และรหัสผาน (Password)<br />

ที่กำาหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง หรือนายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ เมื่อไดรับเรื่องจากเจาหนาที่ผู้รับผิดชอบแลว<br />

ใหนายทะเบียนดังกลาวบันทึก แกไขเพิ่มเติม ฐานขอมูลใหถูกตอง ครบถวน แลวสงเรื่องคืนทันที<br />

12 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

2.7 ใหเสนอแบบคำาขอ และหลักฐานประกอบการขอรับเงินที่เกี่ยวของซึ่งดำาเนินการตาม<br />

ขั้นตอนดังกลาวขางตนแลว ตอผูมีอำานาจลงนามในแบบคำาขอ กอนนำาไปบันทึกขอมูล<br />

3. การหักเงินบำาเหน็จปกติเพื่อชำาระหนี้<br />

กรณีสวนราชการประสงคจะหักหนี้จากผูรับบำาเหน็จปกติ และผูมีสิทธิรับเงินไดทำาหนังสือลง<br />

ลายมือชื่อยินยอมใหหักเงินดังกลาว เพื่อชำาระหนี้ยื่นตอสวนราชการผูขอแลว<br />

3.1 ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบบันทึกขอมูลลงในระบบ และพิมพรายงานในแบบหนังสือแจง<br />

รายการหักเงินบำาเหน็จ เพื่อชำาระหนี้ของสวนราชการผูขอ (แบบ สรจ.9) เสนอตอหัวหนาสวนราชการผูขอ<br />

หรือผูที่ไดรับมอบหมาย ตรวจสอบและลงนาม<br />

3.2 ใหสงขอมูลการหักหนี้ พรอมกับการสงขอมูลการขอรับบำาเหน็จปกติ ใหกรมบัญชีกลาง<br />

(สำานักบริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ หรือสำานักงานคลังเขต 1 - 9) ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ โดยผูที่ไดรับ<br />

มอบหมาย ซึ่งมีรหัสผูใชงาน (User ID) และรหัสผาน (Password) ที่กำาหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง<br />

3.3 ใหสงหนังสือแจงรายการหักเงินบำาเหน็จเพื่อชำาระหนี้ของสวนราชการผูขอ (แบบ สรจ.9)<br />

พรอมกับการสงหลักฐานการขอรับบำาเหน็จปกติ ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ หรือสงทางไปรษณียให้<br />

กรมบัญชีกลาง (สำานักบริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ หรือสำานักงานคลังเขต 1 - 9)<br />

4. การสงเรื่องใหกรมบัญชีกลาง<br />

4.1 ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบบันทึกขอมูลและรายละเอียดในแบบคำาขอรับและหลักฐาน<br />

ที่เกี่ยวของ ซึ่งผูมีอำานาจลงนามแลว ในระบบบำาเหน็จบำานาญ<br />

สำาหรับการขอรับเงินเพิ่มใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบกรอกรายการในแบบขอรับเงินเพิ่ม<br />

(แบบ 5316) ใหถูกตอง ครบถวน แลวเสนอแบบคำาขอและหลักฐานประกอบการขอรับเงินที่เกี่ยวของตอผู มี<br />

อำานาจลงนามในแบบคำาขอ กอนนำาไปบันทึกขอมูล<br />

4.2 ใหผูมีอำานาจตรวจสอบความถูกตอง ครบถวน ของขอมูลที่บันทึก แลวสงขอมูลการขอรับ<br />

เบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญปกติและขอมูลหนี้ที่ใหหักจากบำาเหน็จปกติ (ถามี) ไปยังกรมบัญชีกลาง<br />

(สำานักบริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ หรือสำานักงานคลังเขต 1 - 9) ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ โดยผูที่<br />

ไดรับมอบหมายซึ่งมีรหัสผูใชงาน (User ID) และรหัสผาน (Password) ที่กำาหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง<br />

4.3 ใหสงหลักฐานดังตอไปนี้ ใหกรมบัญชีกลาง (สำานักบริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ<br />

หรือสำานักงานคลังเขต 1 - 9) ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ หรือสงทางไปรษณีย<br />

(1) แบบขอรับเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญปกติ (แบบ 5300)<br />

(2) สมุดประวัติ หรือแฟมประวัติ<br />

(3) หลักฐานการตรวจสอบและรับรองเวลาราชการ ของกรมการเงินกลาโหม กระทรวง<br />

กลาโหม (แบบ 5304) หรือสำานักงานตำารวจแหงชาติ (แบบ 5305) สำาหรับผูซึ่งไดขึ้นทะเบียนทหาร<br />

กองประจำาการหรือตำารวจกองประจำาการ แลวแตกรณี<br />

(4) หลักฐานการมีสิทธิไดนับเวลาทวีคูณ (ยกเวนกฎอัยการศึก)<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

13


(5) สำาเนาประกาศเกษียณอายุ สำาเนาคำาสั่งที่ใหออกจากราชการ อนุญาตใหลาออกจาก<br />

ราชการ หรือปลดออกจากราชการ แลวแตกรณี<br />

(6) คำาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน เพื่อประโยชนในการคำานวณ บำาเหน็จ<br />

บำานาญ กรณีเกษียณอายุ<br />

(7) หนังสือแจงรายการหักเงินบำาเหน็จเพื่อชำาระหนี้ ของสวนราชการผูขอ (แบบ สรจ.9)<br />

4.4 สำาหรับหลักฐานที่เกี่ยวของอื่น ๆ นอกจากที่ระบุ ใหสวนราชการเก็บรักษาไวเพื่อใชใน<br />

การตรวจสอบตอไป<br />

5. การขอเบิกเงิน<br />

สวนราชการผูเบิกจะไดรับหนังสือสั่งจายจากกรมบัญชีกลาง ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ ซึ่ง<br />

สามารถสั่งพิมพออกจากระบบบำาเหน็จบำานาญ เพื่อใชเปนหลักฐานประกอบการเบิกจายได เมื่อไดรับหนังสือ<br />

สั่งจายจากกรมบัญชีกลางทางระบบบำาเหน็จบำานาญแลว<br />

5.1 ใหตรวจสอบการมีชีวิตของผู มีสิทธิรับเงิน จากฐานขอมูลทะเบียนราษฎรกรมการปกครอง<br />

ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ<br />

5.2 กรณีมีเงื่อนไขซึ่งกรมบัญชีกลางระบุมาในหนังสือสั่งจาย ใหเจาหนาที่ผู้รับผิดชอบ<br />

ดำาเนินการตามเงื่อนไขที่ระบุใหเรียบรอยกอนทำาคำาขอเบิก<br />

5.3 ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบซึ่งมีรหัสผูใชงาน (User ID) และรหัสผาน (Password)<br />

ที่กำาหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง บันทึกรายการขอเบิกเขาระบบแลวพิมพรายงานเปนแบบสรุปรายการขอ<br />

เบิกเงินเบี้ยหวัด บำาเหน็จบำานาญและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน (แบบ สรจ. 10) พรอมกับแนบหลักฐานซึ่ง<br />

ดำาเนินการตามเงื่อนไขที่กรมบัญชีกลางระบุในหนังสือสั่งจาย เสนอผูเบิกลงนาม แลวใหผูที่ไดรับมอบหมาย<br />

ซึ่งมีรหัสผูใชงาน (User ID) และรหัสผาน (Password) ที่กำาหนดใหโดยกรมบัญชีกลาง สงขอมูลให<br />

กรมบัญชีกลาง (สำานักบริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ) ผานระบบบำาเหน็จบำานาญ ภายในเวลาที่กำาหนด<br />

5.4 การทำาคำาขอเบิกเงินขางตน หมายความวา สวนราชการผูเบิกไดตรวจสอบ และดำาเนิน<br />

การตามเงื่อนไขที่กรมบัญชีกลางระบุในหนังสือสั่งจายเรียบรอยแลว<br />

สำาหรับผูที่มีรายชื่ออยูในคำาขอเบิกกรณีเปนผูเกษียณอายุ หมายถึง ผูนั้นไดอยูรับราชการ<br />

หรือทำางานโดยไดรับเงินเดือนถึงวันที่ 30 กันยายน ของปที่เกษียณอายุ<br />

ผูอยู ในระหวางการถูกดำาเนินการทางวินัยหรือเปนผูถูกฟองคดีอาญา หรือตองหาวากระทำา<br />

ความผิดอาญากอนออกจากราชการ หมายถึง ผูนั้นไดทำาสัญญาค้ำาประกันตามที่กระทรวงการคลังกำาหนด<br />

เรียบรอยแลว<br />

ข. การขอรับและการจายบำาเหน็จตกทอด (กรณีขาราชการหรือผูรับบำานาญตาย)<br />

1. การยื่นเรื่องขอรับเงิน<br />

ใหทายาทหรือผูมีสิทธิรับเงินบำาเหน็จตกทอดของขาราชการ หรือผูรับบำานาญ ซึ่งถึงแก<br />

ความตาย ไปติดตอสวนราชการตนสังกัดของผู ตาย เพื่อยื่นเรื่องขอรับบำาเหน็จตกทอด โดยดำาเนินการดังนี้<br />

14 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

1.1 กรอกรายการในแบบขอรับบำานาญพิเศษ และหรือบำาเหน็จตกทอดกรณีถึงแกความตาย<br />

(แบบ 5309) และใหผูมีสิทธิรับเงินลงลายมือชื่อในแบบ 5309 ทุกคน<br />

1.2 กรอกรายการในหนังสือแสดงเจตนาขอใหโอนเงินเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ เขาบัญชีเงิน<br />

ฝากธนาคารของบุคคลอื่น (แบบ สรจ.2) กรณีมีความจำาเปนตองใชบัญชีรวมหรือใชบัญชีผูอื่น พรอมแนบ<br />

สำาเนาบัญชีเงินฝากธนาคารที่จำาเปนตองใชฉบับดังกลาว ยื่นตอหัวหนาสวนราชการผูขอ<br />

1.3 กรณีผูมีสิทธิรับเงินรายใด ประสงคจะใหสวนราชการหักเงินที่มีสิทธิไดรับเพื่อชำาระหนี้<br />

ใหทำาเปนหนังสือและลงลายมือชื่อยินยอมใหหักเงินบำาเหน็จตกทอดที่ตนมีสิทธิไดรับ<br />

1.4 ใหแนบหลักฐานที่เกี่ยวของ (หลักฐานการเปนผูมีสิทธิรับเงินบำาเหน็จตกทอด) ไปกับแบบ<br />

คำาขอ (แบบ 5309) ดังนี้<br />

(1) บิดาของผูตาย<br />

- สำาเนาทะเบียนบาน<br />

- สำาเนามรณบัตรหรือหนังสือรับรองการตายของผู ที่ควรเชื่อถือได กรณีบิดาตายไป<br />

กอนแลว<br />

- หลักฐานการสมรส สำาเนาทะเบียนสมรสหรือใบสำาคัญการสมรสหรือหลักฐานการ<br />

หยากับมารดาของผูตาย หรือหนังสือรับรองของผูควรเชื่อถือได ที่รับรองวาบิดามารดาสมรสกอน<br />

วันที่ 1 ตุลาคม 2478 (กรณีไมมีหลักฐานการสมรส) หรือสำาเนาทะเบียนบาน หรือสูติบัตรของบุตรรวมบิดา<br />

มารดาเดียวกันกับผูตาย ซึ่งเกิดภายในป 2478 หรือกอนนั้น<br />

(2) มารดาของผูตาย<br />

- สำาเนาทะเบียนบาน<br />

- สำาเนามรณบัตร หรือหนังสือรับรองการตายของผู ที่ควรเชื่อถือได กรณีมารดาตาย<br />

ไปกอนแลว<br />

(3) คูสมรสของผูตาย<br />

- สำาเนาทะเบียนบาน<br />

- สำาเนาทะเบียนสมรส หรือใบสำาคัญการสมรส<br />

- สำาเนาทะเบียนการหยา หรือใบสำาคัญการหยาหรือคำาสั่งศาล กรณีที่มีการหยา<br />

- สำาเนาคำาพิพากษา หรือคำาสั่งศาลที่แสดงวาคูสมรสคนใด เปนคูสมรสที่ชอบดวย<br />

กฎหมาย กรณีที่มีการสมรสซอน<br />

(4) บุตรของผูตาย<br />

- สำาเนาทะเบียนบาน<br />

- กรณีที่ผู ตายเปนบิดา ใหแนบสำาเนาทะเบียนสมรสหรือใบสำาคัญการสมรส หรือหยา<br />

ของบิดากับมารดา หรือสำาเนาทะเบียนการรับรองบุตรของบิดา หรือสำาเนาคำาพิพากษาของศาลวาเปนบุตร<br />

- สำาเนาทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม กรณีที่เปนบุตรบุญธรรมของผูตาย<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

15


- สำาเนามรณบัตร หรือหนังสือรับรองการตายของผูที่ควรเชื่อถือได กรณีบุตรรายใด<br />

ไดตายไปกอนแลว<br />

(5) บุคคลซึ่งผูตายแสดงเจตนาไว<br />

- สำาเนาทะเบียนบานหรือบัตรประจำาตัวประชาชน<br />

- แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบำาเหน็จตกทอด<br />

- หลักฐานการตายของบิดา มารดา และบุตร ของผูตาย<br />

- หลักฐานการตาย หรือหยา ของคูสมรสของผูตาย<br />

2. การรับเรื่อง<br />

ใหเจาหนาที่ผู รับผิดชอบปฏิบัติเหมือนการรับเรื่องบำาเหน็จบำานาญปกติ สำาหรับการแกไขขอมูล<br />

ในทะเบียนประวัติของผูรับบำาเหน็จบำานาญซึ่งเปนบุคคลที่ผูตายไดแสดงเจตนาไว ใหใชหลักฐานประกอบ<br />

ดังนี้<br />

2.1 แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบำาเหน็จตกทอด<br />

2.2 สำาเนาทะเบียนบานหรือบัตรประจำาตัวประชาชน<br />

สำาหรับกรณีทายาทหรือผู มีสิทธิรับเงินรายใดยังไมสามารถลงนามหรือยื่นหลักฐานยังไมถูกตอง<br />

ไมครบถวน ใหแจงกันสวนไวในแบบคำาขอรับเงิน (แบบ 5309) เมื่อมีหลักฐานพรอมแล้วจึงยื่นแบบคำาขอ<br />

รับเงินพรอมหลักฐานของรายดังกล่าวสงไปใหกรมบัญชีกลางในภายหลัง<br />

3. การหักเงินบำาเหน็จตกทอดเพื่อชำาระหนี้ (เหมือนบำาเหน็จปกติ)<br />

ใหทายาทหรือผูมีสิทธิรับเงินทำาหนังสือ และลงลายมือชื่อยินยอมใหหักเงินบำาเหน็จตกทอด<br />

เพื่อชำาระหนี้ยื่นตอสวนราชการผูขอ กรณีรายใดไมยินยอมสวนราชการจะหักเงินบำาเหน็จตกทอดจากรายนั้น<br />

ไมได<br />

4. การสงเรื่องใหกรมบัญชีกลาง (สำานักบริหารการรับ–จายเงินภาครัฐ)<br />

ใหสงขอมูลแบบคำาขอและหลักฐาน โดยสงไปใหกรมบัญชีกลาง (สำานักบริหารการรับ-จายเงิน<br />

ภาครัฐ ) โดยวิธีการเดียวกันกับบำาเหน็จปกติ<br />

สำาหรับหลักฐานที่กำาหนดใหสงไปใหกรมบัญชีกลาง (สำานักบริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ)<br />

มีดังนี้<br />

กรณีขาราชการถึงแกความตาย<br />

(1) แบบขอรับบำานาญพิเศษและหรือบำาเหน็จตกทอด กรณีขาราชการถึงแกความตาย<br />

(แบบ 5309)<br />

(2) สมุดประวัติ หรือแฟมประวัติ<br />

(3) หลักฐานการตรวจสอบและรับรองเวลาราชการของกรมการเงินกลาโหม กระทรวงกลาโหม<br />

(แบบ 5304) หรือสำานักงานตำารวจแหงชาติ (แบบ 5305) สำาหรับผูซึ่งไดขึ้นทะเบียนทหารกองประจำาการ<br />

หรือตำารวจกองประจำาการ แลวแตกรณี<br />

16 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

(4) หลักฐานการมีสิทธิไดนับเวลาทวีคูณ (ยกเวนกฎอัยการศึก)<br />

(5) สำาเนาคำาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือนเพื่อประโยชนในการคำานวณบำาเหน็จ<br />

ตกทอด กรณีไดรับการเลื่อนขั้นกรณีพิเศษ<br />

(6) สำาเนามรณบัตรของขาราชการซึ่งถึงแกความตาย<br />

(7) สำาเนามรณบัตร สำาเนาหนังสือการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือหนังสือการจดทะเบียน<br />

รับรองบุตร หรือสำาเนาคำาพิพากษาของศาลวาเปนบุตร<br />

กรณีที่ศาลมีคำาพิพากษาวาเปนบุตรภายหลังวันที่บิดาถึงแกความตายเกินกวา 1 ป ให้สงสำาเนา<br />

การยื่นคำารองตอศาลเพื่อเปนหลักฐานวาไดยื่นคำารองภายใน 1 ป นับแตวันที่บิดาถึงแกความตาย หรือวัน<br />

ที่ไดรู หรือควรไดรูถึงความตายของบิดา<br />

(8) สำาเนาคำาพิพากษาหรือคำาสั่งศาลที่แสดงวาคูสมรสคนใดเปนคูสมรสที่ชอบดวยกฎหมาย<br />

กรณีที่มีการสมรสซอน<br />

(9) หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบำาเหน็จตกทอด กรณีไมมีทายาทผูมีสิทธิรับเงินตาม<br />

กฎหมายบำาเหน็จบำานาญ<br />

(10) หนังสือแจงรายการหักเงินบำาเหน็จเพื่อชำาระหนี้ของสวนราชการผูขอ (แบบ สรจ.9)<br />

สำาหรับหลักฐานที่เกี่ยวของอื่น ๆ ใหสวนราชการเก็บรักษาไวเพื่อใชในการตรวจสอบตอไป<br />

กรณีผูรับบำานาญปกติ และหรือบำานาญพิเศษเหตุทุพพลภาพถึงแกความตาย<br />

(1) ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบของสวนราชการตนสังกัด (สวนราชการผูเบิก) ของผูตายจัดทำา<br />

แบบแจงของดเบิกเบี้ยหวัด บำานาญ (แบบ สรจ.12) เสนอผูมีอำานาจใหความเห็นชอบ เพื่องดจายเงิน<br />

ใด ๆ ที่ผูรับบำานาญปกติ หรือบำานาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ มีสิทธิไดรับ แลวแจงกรมบัญชีกลาง (สำานัก<br />

บริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ) เพื่องดเบิกตอไป<br />

(2) สงหลักฐานอื่น ๆ เหมือนกรณีที่ขาราชการถึงแกความตาย ยกเวนตาม (2) (3) (4)<br />

หรือ (5)<br />

5. หลักฐานการสั่งจายบำาเหน็จตกทอด<br />

5.1 สวนราชการผูขอจะไดรับหนังสือสั่งจายจากกรมบัญชีกลางผานระบบบำาเหน็จบำานาญ และ<br />

สามารถสั่งพิมพหนังสือสั่งจายออกจากระบบบำาเหน็จบำานาญเพื่อใชเปนหลักฐานประกอบการเบิกจายได<br />

5.2 กรณีที่กรมบัญชีกลางไมจายรายใด จะไดรับทราบผลจากกรมบัญชีกลางผานระบบบำาเหน็จ<br />

บำานาญ<br />

6. การขอเบิกเงิน<br />

ใหสวนราชการผูเบิก ดำาเนินการเหมือนการขอเบิกเงินบำาเหน็จปกติ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

17


เงินช่วยพิเศษกรณีข้าราชการหรือ<br />

ข้าราชการบำนาญถึงแก่ความตาย<br />

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง<br />

พระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน เงินปี บำาเหน็จบำานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน<br />

พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 23 มาตรา 42<br />

สิทธิในการได้รับเงินช่วยพิเศษ<br />

1. กรณีข้าราชการถึงแก่ความตาย ให้จ่ายเงินช่วยพิเศษจำานวน 3 เท่าของเงินเดือน รวมเงิน<br />

เพิ่มค่าวิชา เงินประจำาตำาแหน่งที่ต้องฝ่าอันตรายเป็นปกติ เงินเพิ่มพิเศษสำาหรับการสู้รบ และเงินเพิ่มพิเศษ<br />

สำาหรับการปราบปรามผู้กระทำาผิด (ถ้ามี) ให้รวมเงินดังกล่าวกับเงินเดือนเพื่อคำานวณเป็นเงินช่วยพิเศษ<br />

จำานวน 3 เท่าด้วย<br />

2. กรณีผู้รับบำานาญปกติ หรือบำานาญพิเศษเหตุทุพพลภาพถึงแก่ความตาย ให้จ่ายเงินช่วย<br />

พิเศษจำานวน 3 เท่าของบำานาญรวมกับเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำาเหน็จบำานาญ (ช.ค.บ.) สำาหรับ<br />

ผู้รับบำานาญพิเศษในฐานะทายาท ผู้อุปการะ หรือผู้อยู่ในอุปการะ ไม่มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ<br />

ผู้มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ ให้จ่ายแก่บุคคลตามลำาดับ ดังนี้<br />

1. ให้จ่ายแก่บุคคลซึ่งข้าราชการหรือผู้รับบำานาญได้แสดงเจตนาระบุให้เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงิน<br />

ช่วยพิเศษไว้เป็นหนังสือยื่นต่อส่วนราชการเจ้าสังกัดตามแบบที่กระทรวงการคลังกำาหนด<br />

2. กรณีข้าราชการหรือผู้รับบำานาญไม่ได้แสดงเจตนาไว้ หรือบุคคลที่ได้แสดงเจตนาไว้ได้ถึงแก่<br />

ความตายไปก่อนผู้แสดงเจตนา หรือถึงแก่ความตายไปก่อนที่จะมีการจ่ายเงินช่วยพิเศษ ให้จ่ายแก่บุคคล<br />

ตามลำาดับ ได้แก่ 1) คู่สมรส 2) บุตร 3) บิดา-มารดา<br />

หากปรากฏว่าบุคคลในลำาดับก่อนมีชีวิตอยู่ บุคคลในลำาดับถัดไปไม่มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ<br />

ถ้าหากผู้มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษในลำาดับเดียวกันมีหลายคน ให้จ่ายแก่ผู้ซึ่งบุคคลในลำาดับนั้นมอบหมาย<br />

เป็นหนังสือหรือบุคคลที่เป็นผู้จัดการงานศพ<br />

18 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การขอรับเงินช่วยพิเศษ<br />

1. การขอรับเงินช่วยพิเศษ ต้องยื่นขอรับภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ข้าราชการผู้รับบำานาญถึงแก่<br />

ความตาย<br />

2. ใช้แบบคำาขอรับเงินช่วยพิเศษกรณีข้าราชการถึงแก่ความตาย สำาหรับผู้รับบำานาญให้ใช้<br />

แบบเดียวกัน<br />

3. ผู้มีสิทธิรับเงินช่วยพิเศษของข้าราชการ ผู้รับบำานาญ กรอกแบบคำาขอรับเงินช่วยพิเศษและ<br />

ยื่นแบบขอรับต่อส่วนราชการผู้เบิกพร้อมหลักฐานที่แสดงความเป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ เช่น สำาเนา<br />

ทะเบียนบ้าน หลักฐานการสมรสของคู่สมรส เป็นต้น<br />

4. เมื่อส่วนราชการผู้เบิกได้รับแบบคำาขอรับเงินช่วยพิเศษพร้อมหลักฐานและตรวจสอบความ<br />

ถูกต้องแล้ว ส่วนราชการผู้เบิกก็จะดำาเนินการขอเบิกเงินช่วยพิเศษผ่านระบบ GFMIS และเมื่อได้รับอนุมัติ<br />

การขอเบิกเงินดังกล่าวจากกรมบัญชีกลางแล้ว ส่วนราชการผู้เบิกก็จะดำาเนินการจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิต่อไป<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

19


การขอแก้ไขวัน เดือน ปีเกิด ในทะเบียนประวัติข้าราชการ<br />

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง<br />

• พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 8 (12)<br />

• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการแก้ไขวันเดือนปีเกิดในทะเบียนประวัติข้าราชการ พ.ศ. 2548<br />

ขั้นตอนดำเนินการ<br />

1. ข้าราชการผู้ใดประสงค์จะขอแก้ไขวันเดือนปีเกิดในทะเบียนประวัติ ให้ยื่นคำาขอแก้ไขพร้อม<br />

หลักฐานต้นฉบับสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิด เพื่อประกอบการพิจารณา ต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับชั้น<br />

ในกรณีที่เป็นการพ้นวิสัยที่จะหาหลักฐานต้นฉบับสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิดได้ ให้ส่งหนังสือ<br />

รับรองจากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่เก็บรักษาสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิดซึ่งแจ้งเหตุขัดข้องที่<br />

ไม่อาจหาสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิดได้ พร้อมด้วยหลักฐานต่าง ๆ ดังต่อไปนี้<br />

(1) ทะเบียนสำามะโนครัวหรือสำาเนาทะเบียนบ้าน<br />

(2) หลักฐานการศึกษาอย่างใดอย่างหนึ่งที่แสดงวันเดือนปีเกิด จากสถานศึกษาทุกแห่งที่ผู้นั้น<br />

เคยศึกษา<br />

(3) หลักฐานทางทหารในกรณีที่ผู้ยื่นคำาขอเป็นข้าราชการชาย ได้แก่ ใบสำาคัญทหารกองเกิน<br />

(แบบ สด.9) หรือใบสำาคัญทหารกองหนุน (แบบ สด.8) หรือทะเบียนทหารกองประจำาการ (แบบ สด.3) หรือ<br />

สมุดประจำาตัวทหารกองหนุน<br />

(4) หลักฐานทางราชการแสดงวันเดือนปีเกิดของพี่น้องร่วมมารดา ในกรณีที่มีพี่น้องร่วม<br />

มารดา<br />

(5) หลักฐานอื่นของทางราชการที่ระบุวันเดือนปีเกิดโดยชัดแจ้ง (ถ้ามี)<br />

หลักฐานต่างๆ ให้ใช้ต้นฉบับ หากไม่สามารถส่งต้นฉบับได้ให้ใช้สำาเนาซึ่งผู้มีอำานาจหน้าที่<br />

รับรองความถูกต้องแทน<br />

ในกรณีที่ไม่อาจส่งหลักฐานตาม (2) หรือ (3) ได้ ให้ส่งหนังสือรับรองจากส่วนราชการหรือ<br />

หน่วยงานที่มีหน้าที่เก็บรักษา แจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่อาจหาหลักฐานดังกล่าวได้<br />

2. เมื่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับชั้นได้รับคำาขอแก้ไขให้ตรวจสอบคำาขอแก้ไขและหลักฐานโดยเร็ว<br />

หากเห็นว่าคำาขอแก้ไขหรือหลักฐานไม่ถูกต้องครบถ้วนให้แจ้งผู้ยื่นคำาขอแก้ไขให้จัดทำาให้ถูกต้องครบถ้วน<br />

ให้หัวหน้าส่วนราชการเสนอคำาขอแก้ไขพร้อมหลักฐานต่อเจ้าหน้าที่ควบคุมเกษียณอายุภายในสองเดือน<br />

นับแต่วันที่ได้รับคำาขอแก้ไข โดยให้ทำาความเห็นประกอบการพิจารณาไปด้วย<br />

3. ให้เจ้าหน้าที่ควบคุมเกษียณอายุพิจารณาคำาขอแก้ไขวันเดือนปีเกิดโดยเร็ว และส่งผลการ<br />

พิจารณาให้หัวหน้าส่วนราชการแจ้งให้ข้าราชการผู้ขอแก้ไขวันเดือนปีเกิดทราบโดยพลัน<br />

4. คำาวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ควบคุมเกษียณอายุให้ถือเป็นที่สุด<br />

20 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การลาของข้าราชการ<br />

การลาแบ่งออกเป็น 9 ประเภท ได้แก่ (1) การลาป่วย (2) การลาคลอดบุตร (3) การลากิจ<br />

ส่วนตัว (4) การลาพักผ่อน (5) การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ (6) การลาเข้ารับการตรวจ<br />

เลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล (7) การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย (8) การลาไป<br />

ปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ (9) การลาติดตามคู่สมรส<br />

การนับวันลาให้นับตามปีงบประมาณโดยถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ<br />

พ.ศ. 2535<br />

การเสนอหรือจัดส่งใบลาอนุญาตให้ลาและคำานวณวันลาให้นับต่อเนื่องกัน โดยนับวันหยุดราชการ<br />

ที่อยู่ในระหว่างวันลาประเภทเดียวกันรวมเป็นวันลาด้วย เว้นแต่การนับเพื่อประโยชน์ในการคำานวณวันลา<br />

สำาหรับวันลาป่วยที่มิใช่วันลาป่วยตามกฎหมายว่าด้วยการสงเคราะห์ข้าราชการผู้ได้รับอันตรายหรือการป่วย<br />

เจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ วันลากิจส่วนตัวและวันลาพักผ่อนให้นับเฉพาะวันทำาการ<br />

ข้าราชการซึ่งได้รับอนุญาตให้ลา หากประสงค์จะยกเลิกวันลาที่ยังไม่ได้หยุดราชการ ให้เสนอขอ<br />

ถอนวันลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงผู้มีอำานาจอนุญาตให้ลา และให้ถือว่าการลาหมดเขตเพียงวันที่<br />

ขอถอนวันลานั้น<br />

แบบใบลาให้ใช้ตามแบบท้ายระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2535 เว้นแต่ในกรณีจำาเป็น<br />

หรือรีบด่วน จะใช้ใบลาที่มีข้อความไม่ครบถ้วนตามแบบ หรือจะลาโดยวิธีการอย่างอื่นก็ได้ แต่ทั้งนี้ต้องส่ง<br />

ใบลาตามแบบในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการ<br />

ระเบียบและคำสั่งที่เกี่ยวข้อง<br />

• ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2539<br />

• คำาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 58/2552 ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2552 เรื่อง มอบอำานาจการพิจารณา<br />

อนุญาตการลาของข้าราชการ<br />

• คำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ 419/2551 ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2551 เรื่อง มอบอำานาจ<br />

หน้าที่ของอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้ผู้อำานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัยเขต 1-18 ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีในเรื่องการอนุญาตการลาของข้าราชการ สำาหรับ<br />

การลาป่วย ลากิจส่วนตัว ลาคลอดบุตร และลาพักผ่อน<br />

• คำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ 296/2551 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2551<br />

เรื่อง การมอบอำานาจให้ผู้อำานวยการวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติราชการแทนอธิบดี<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

21


การลาป่วย<br />

นิยาม “การลาป่วย” หมายถึง การลาหยุดราชการเพื่อรักษาตัวเมื่อมีอาการป่วย<br />

หลักเกณฑ์การลาป่วย<br />

1. การลาป่วยตั้งแต่30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์ซึ่งเป็นผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต<br />

เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกับใบลาด้วย ในกรณีจำาเป็นหรือเห็นสมควรผู้มีอำานาจอนุญาตจะสั่ง<br />

ให้ใช้ใบรับรองของแพทย์ซึ่งผู้มีอำานาจอนุญาตเห็นชอบแทนก็ได้<br />

2. การลาป่วยไม่ถึง 30 วัน ไม่ว่าจะเป็นการลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งติดต่อกัน ถ้าผู้มีอำานาจเห็น<br />

สมควรจะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ประกอบใบลาหรือสั่งให้ผู้ลาไปรับการตรวจจากแพทย์ของทางราชการเพื่อ<br />

ประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได้<br />

3. มีสิทธิได้รับเงินเดือนระหว่างลาป่วยปีหนึ่งไม่เกิน 60 วันทำาการ แต่ถ้าผู้บังคับบัญชาตั้งแต่<br />

ตำาแหน่งอธิบดีหรือตำาแหน่งเทียบเท่าขึ้นไปเห็นสมควรจะให้ได้รับเงินเดือนต่อไปอีกก็ได้แต่ไม่เกิน 60<br />

วันทำาการ ตามพระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน เงินปี บำาเหน็จบำานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน<br />

พ.ศ.2535<br />

ขั้นตอนการลาป่วย<br />

1. ให้เสนอหรือส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงผู้มีอำานาจอนุญาต<br />

2. ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาก่อนหรือในวันที่ลาก็ได้ ยกเว้นกรณีจำาเป็นจะเสนอหรือจัดส่งใบลาใน<br />

วันแรกที่มาปฏิบัติราชการก็ได้<br />

3. กรณีป่วยจนไม่สามารถลงชื่อในใบลาได้ จะให้ผู้อื่น(ใครก็ได้) ลาแทนได้ แต่เมื่อสามารถลงชื่อ<br />

ได้แล้ว ต้องเสนอหรือจัดส่งใบลาโดยเร็ว<br />

อำนาจในการพิจารณาอนุญาตให้ลาป่วย<br />

ผู้ลา จำานวนวัน/ครั้ง ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค<br />

ข้าราชการ<br />

ทุกตำาแหน่งในกลุ่ม/ฝ่าย<br />

ข้าราชการทุกตำาแหน่ง<br />

ในสำานัก/กอง<br />

หรือเทียบเท่า<br />

ข้าราชการ<br />

ทุกตำาแหน่งในสังกัด<br />

ข้าราชการ<br />

ทุกตำาแหน่งในสังกัด<br />

ต่อเนื่อง<br />

ไม่เกิน 30 วัน<br />

ต่อเนื่อง<br />

มากกว่า 30 วัน<br />

แต่ไม่เกิน 60 วัน<br />

ผู้อำานวยการส่วน<br />

หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้าฝ่าย<br />

ผู้อำานวยการสำานัก/กอง<br />

ผู้อำานวยการศูนย์ฯ/<br />

เลขานุการกรม/<br />

หัวหน้าหน่วยงาน<br />

22 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.<br />

หัวหน้ากลุ่ม/<br />

หัวหน้าฝ่าย<br />

หัวหน้าสำานักงาน<br />

ป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัยจังหวัด<br />

ต่อเนื่อง<br />

มากกว่า 60 วัน<br />

แต่ไม่เกิน 120 วัน<br />

อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

ต่อเนื่อง<br />

มากกว่า 120 วัน ปลัดกระทรวง ปลัดกระทรวง


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การลาคลอด<br />

นิยาม “การลาคลอดบุตร” หมายถึง การลาหยุดราชการของสตรีซึ่งมีครรภ์ในช่วงก่อนคลอด วันคลอด<br />

และหลังคลอด<br />

หลักเกณฑ์การลาคลอดบุตร<br />

1. มีสิทธิลาคลอดบุตรครั้งหนึ่งได้ 90 วัน (นับวันหยุดราชการรวมด้วย)<br />

2. ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์<br />

3. มีสิทธิได้รับเงินเดือนระหว่างลาคลอดบุตร 90 วัน<br />

4. ข้าราชการที่ได้รับอนุญาตให้ลาคลอดบุตร และได้หยุดราชการไปแล้วแต่ไม่ได้คลอดบุตรตาม<br />

กำาหนด หากประสงค์จะขอถอนวันลาคลอดบุตรที่หยุดไป ให้ผู้มีอำานาจอนุญาตให้ถอน โดยให้ถือว่าวันที่ได้<br />

หยุดราชการไปแล้วเป็นวันลากิจส่วนตัว<br />

5. การลาคลอดบุตรคาบเกี่ยวกับการลาประเภทใดซึ่งยังไม่ครบกำาหนดวันลาของการลาประเภทนั้น<br />

ให้ถือว่าการลาประเภทนั้นสิ้นสุดลงและให้นับเป็นการลาคลอดบุตรตั้งแต่วันเริ่มวันลาคลอดบุตร<br />

ขั้นตอนการลาคลอดบุตร<br />

1. ให้เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงผู้มีอำานาจอนุญาต<br />

2. จะเสนอใบลาก่อนหรือในวันลาก็ได้<br />

3. ในกรณีที่ไม่สามารถลงชื่อในใบลาได้ สามารถให้ผู้อื่น(ใครก็ได้) ลาแทนได้ และเมื่อสามารถ<br />

ลงชื่อเองได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่งใบลาโดยเร็ว<br />

อำนาจในการพิจารณาอนุญาตให้ลาคลอดบุตร<br />

ผู้ลา ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค<br />

ข้าราชการทุกตำาแหน่ง<br />

ในสำานัก/กอง หรือเทียบเท่า<br />

ผู้อำานวยการสำานัก/ผู้อำานวยการศูนย์ฯ/<br />

ผู้อำานวยการกอง/เลขานุการกรม/<br />

หัวหน้าหน่วยงาน<br />

หัวหน้าสำานักงานป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัย<br />

จังหวัด<br />

ข้าราชการทุกตำาแหน่งในสังกัด อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

23


การลากิจส่วนตัว<br />

นิยาม “การลากิจส่วนตัว” หมายถึง การลาหยุดราชการเพื่อทำากิจธุระ เช่น ลาหยุดราชการเพื่อดูแลรักษา<br />

ผู้ป่วย เป็นต้น<br />

การลากิจส่วนตัวแยกได้ดังนี้<br />

1. การลากิจส่วนตัว (ด้วยเหตุอื่นๆ)<br />

2. การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร<br />

หลักเกณฑ์การลากิจส่วนตัว<br />

1. การลากิจส่วนตัว (ด้วยเหตุอื่นๆ)<br />

(1) มีสิทธิได้รับเงินเดือนระหว่างลากิจส่วนตัว ปีหนึ่งได้ไม่เกิน 45 วันทำาการ แต่ในปีที่เริ่มรับ<br />

ราชการ ให้ได้รับเงินเดือนระหว่างลาได้ไม่เกิน 15 วันทำาการ<br />

(2) เมื่อมีราชการจำาเป็นเกิดขึ้นระหว่างลากิจส่วนตัว ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอำานาจอนุญาตจะ<br />

เรียกตัวมาปฏิบัติราชการก็ได้<br />

2. การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร<br />

(1) ข้าราชการที่ได้ลาคลอดบุตร 90 วัน (นับวันหยุดราชการด้วย) โดยได้รับเงินเดือนแล้ว มี<br />

สิทธิลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกิน 150 วันทำาการ โดยไม่มีสิทธิได้รับ<br />

เงินเดือนระหว่างการลา<br />

(2) ระหว่างลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร แม้จะมีราชการจำาเป็นเกิดขึ้น ก็จะเรียกตัวมาปฏิบัติ<br />

ราชการในระหว่างการลานั้นไม่ได้<br />

ขั้นตอนการลากิจส่วนตัว<br />

1. เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงผู้มีอำานาจอนุญาต<br />

2. ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงหยุดราชการได้ เว้นแต่กรณีมีเหตุจำาเป็นไม่สามารถรอรับอนุญาตได้<br />

ก็สามารถหยุดราชการไปก่อนได้ แต่จะต้องชี้แจงเหตุผลให้ผู้มีอำานาจอนุญาตทราบโดยเร็ว<br />

24 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

อำนาจในการพิจารณาอนุญาตให้ลากิจส่วนตัว<br />

ผู้ลา จำานวนวัน/ครั้ง ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค<br />

ข้าราชการ<br />

ทุกตำาแหน่งในกลุ่ม/ฝ่าย<br />

ต่อเนื่องไม่เกิน<br />

15 วัน<br />

ผู้อำานวยการส่วน/<br />

หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้าฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้าฝ่าย<br />

ข้าราชการ<br />

ทุกตำาแหน่งในสำานัก/กอง<br />

หรือเทียบเท่า<br />

ต่อเนื่องไม่เกิน<br />

30 วัน<br />

ผู้อำานวยการสำานัก/<br />

ผู้อำานวยการศูนย์ฯ/<br />

ผู้อำานวยการกอง/<br />

เลขานุการกรม/<br />

หัวหน้าหน่วยงาน<br />

หัวหน้าสำานักงาน<br />

ป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัยจังหวัด<br />

ข้าราชการ<br />

ทุกตำาแหน่งในสังกัด<br />

ต่อเนื่องไม่เกิน<br />

45 วัน<br />

อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

ข้าราชการ<br />

ทุกตำาแหน่งในสังกัด<br />

ตามที่เห็นสมควร ปลัดกระทรวง ปลัดกระทรวง<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

25


การลาพักผ่อน<br />

นิยาม “การลาพักผ่อน” หมายถึง การลาหยุดราชการเพื่อพักผ่อนประจำาปี<br />

หลักเกณฑ์การลาพักผ่อน<br />

1. มีสิทธิลาพักผ่อนในปีหนึ่งได้ 10 วันทำาการ<br />

2. ผู้ที่ได้รับการบรรจุครั้งแรก หรือบรรจุกลับเข้ารับราชการในปีงบประมาณใดไม่ถึง 6 เดือน ไม่มี<br />

สิทธิลาพักผ่อนในปีงบประมาณนั้น<br />

3. ผู้ซึ่งลาออกจากราชการเพื่อดำารงตำาแหน่งทางการเมืองหรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้ง แล้วต่อมา<br />

ได้รับบรรจุเข้ารับราชการอีกหลัง 6 เดือนนับแต่วันออกจากราชการไม่มีสิทธิลาพักผ่อนประจำาปีที่ได้รับการ<br />

บรรจุเข้ารับราชการ<br />

4. ผู้ซึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร<br />

และกรณีไปปฏิบัติงานใดๆตามความประสงค์ของทางราชการ แล้วต่อมาได้รับบรรจุเข้ารับราชการอีก มีสิทธิ<br />

ลาพักผ่อนประจำาปีในงบประมาณที่ได้รับการบรรจุกลับเข้ารับราชการตั้งแต่วันแรกที่บรรจุกลับ<br />

5. ผู้ที่รับราชการติดต่อกันมาไม่ถึง 10 ปี สะสมวันลาได้ โดยวันลาพักผ่อนสะสมรวมกับวัน<br />

ลาพักผ่อนในปีปัจจุบันแล้วต้องไม่เกิน 20 วันทำาการ<br />

6. ผู้ที่รับราชการติดต่อกันมาตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป สะสมวันลาได้ โดยวันลาพักผ่อนสะสมรวมกับ<br />

วันลาพักผ่อนในปีปัจจุบันแล้วต้องไม่เกิน 30 วันทำาการ<br />

7. ในระหว่างลาพักผ่อนถ้ามีราชการจำาเป็น ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอำานาจอนุญาตสามารถเรียก<br />

ตัวกลับมาปฏิบัติราชการได้ โดยให้ถือว่าการลาเป็นอันหมดเขตเพียงวันก่อนวันเดินทางกลับ<br />

8. ข้าราชการในสถานศึกษาที่ได้หยุดราชการตามวันหยุดภาคการศึกษาเกินกว่าวันลาพักผ่อนแล้ว<br />

ไม่มีสิทธิลาพักผ่อน<br />

ขั้นตอนการลาพักผ่อน<br />

1. ให้เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมวันลาตรวจสอบจำานวนวันลา<br />

2. ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงผู้มีอำานาจอนุญาต<br />

3. ต้องได้รับอนุญาตก่อนถึงจะหยุดราชการได้<br />

4. ผู้มีอำานาจอนุญาตจะอนุญาตให้ลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ โดยมิให้เสียหายแก่ราชการ<br />

อำนาจในการพิจารณาอนุญาตให้ลาพักผ่อน<br />

ผู้ลา ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค<br />

ข้าราชการทุกตำาแหน่ง<br />

ในสำานัก/กอง หรือเทียบเท่า<br />

ผู้อำานวยการสำานัก/กอง<br />

ผู้อำานวยการศูนย์ ฯ/เลขานุการกรม/<br />

หัวหน้าหน่วยงาน<br />

26 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.<br />

หัวหน้าสำานักงานป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด<br />

ข้าราชการทุกตำาแหน่งในสังกัด อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด


การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์<br />

คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

นิยาม<br />

“การลาอุปสมบท” หมายถึง การลาหยุดราชการของข้าราชการผู้ได้รับพระราชทานพระบรม<br />

ราชานุญาตให้ลาอุปสมบทได้แล้ว<br />

“การลาไปประกอบพิธีฮัจย์” หมายถึง การลาหยุดราชการของข้าราชการที่นับถือศาสนาอิสลาม<br />

ซึ่งประสงค์จะไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย<br />

หลักเกณฑ์การลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์<br />

1. การเสนอหรือจัดส่งใบลา ต้องเสนอหรือจัดส่งใบลาก่อนวันลาไม่น้อยกว่า 60 วัน<br />

2. กรณีมีเหตุไม่อาจเสนอหรือจัดส่งใบลาก่อนวันลาไม่น้อยกว่า 60 วันได้ ให้ชี้แจงเหตุผลความ<br />

จำาเป็นประกอบการลา โดยการอนุญาตขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้มีอำานาจที่จะพิจารณาให้ลาหรือไม่ก็ได้<br />

3. การลาอุปสมบทจะต้องอุปสมบทภายใน 10 วัน นับแต่วันเริ่มลา และเมื่อลาสิกขาแล้วต้องกลับ<br />

มารายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการภายใน 5 วัน นับแต่วันที่ลาสิกขา<br />

4. จะต้องออกเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ภายใน 10 วันนับแต่วันเริ่มลา และต้องกลับมารายงาน<br />

ตัวเข้าปฏิบัติราชการภายใน 5 วัน นับแต่วันที่เดินทางกลับถึงประเทศไทยหลังจากการเดินทางไป<br />

ประกอบพิธีฮัจย์<br />

5. กรณีได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาและได้หยุดราชการไปแล้ว แต่มีเหตุทำาให้<br />

ไม่สามารถอุปสมบทหรือเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ได้ตามที่ขอลาไว้ ให้กลับมารายงานตัวกลับเข้ารับ<br />

ราชการตามปกติ และขอถอนวันลาและให้ถือว่าวันที่ได้หยุดราชการไปแล้วเป็นวันลากิจส่วนตัว<br />

ขั้นตอนการลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์<br />

1. ให้ข้าราชการผู้ที่ประสงค์จะลากรอกรายละเอียดลงในแบบใบลา และเสนอต่อผู้บังคับบัญชา<br />

ตามลำาดับจนถึงผู้มีอำานาจอนุญาต<br />

2. เมื่อได้รับหนังสือและแบบใบลาจากข้าราชการแล้ว เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำาเนินการตรวจสอบ<br />

สิทธิในการลาของข้าราชการผู้นั้นจาก กพ.7 ว่ายังไม่เคยลามาก่อน<br />

3. ตรวจสอบจำานวนวันลาในแบบใบลาของข้าราชการที่ลาให้ถูกต้องตามสิทธิ คือไม่เกิน 120 วัน<br />

4. ดำาเนินการจัดทำาหนังสือขออนุญาตลา และหนังสือแสดงการได้รับพระราชทานพระบรม<br />

ราชานุญาตเสนอต่อผู้มีอำานาจอนุญาต<br />

5. ส่งหนังสือแจ้งไปยังต้นสังกัดของข้าราชการผู้ขออนุญาตโดยแนบสำาเนาหนังสือที่ได้รับอนุญาต<br />

ลาและหนังสือแสดงการได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตฉบับจริง เพื่อแจ้งให้ข้าราชการผู้ขอลาทราบ<br />

ต่อไป<br />

6. บันทึกประวัติการลาของข้าราชการลงใน กพ.7<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

27


อำนาจในการพิจารณาอนุญาตให้ลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์<br />

ตามคำาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 58/2552 ลงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2552 ปลัดกระทรวงมหาดไทย<br />

ได้มอบอำานาจให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมเป็นผู้มีอำานาจในการพิจารณาหรืออนุญาตให้ข้าราชการทุก<br />

ระดับและตำาแหน่งในสังกัดราชการบริหารส่วนกลางลาอุปสมบท และมอบอำานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น<br />

ผู้มีอำานาจในการพิจารณาหรืออนุญาตให้ข้าราชการทุกระดับและตำาแหน่งในสังกัดในราชการบริหารส่วน<br />

ภูมิภาค ลาอุปสมบท<br />

อำนาจในการพิจารณาอนุญาตให้ลาพักผ่อน<br />

ผู้ลา ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค<br />

ข้าราชการทุกระดับ<br />

และตำาแหน่ง ในสังกัด<br />

อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล<br />

นิยาม<br />

“การลาเข้ารับการตรวจเลือก” หมายถึง การลาหยุดราชการของข้าราชการที่ได้รับหมายเรียกให้<br />

ไปรับการตรวจเลือก เพื่อเข้ารับราชการเป็นทหารกองประจำาการ<br />

“การลาเข้ารับการเตรียมพล” หมายถึง การลาหยุดราชการของข้าราชการที่ได้รับหมายเรียกให้<br />

เข้าไปรับการระดมพล เข้ารับการตรวจสอบพล เข้ารับการฝึกวิชาทหาร หรือเข้ารับการทดลองความ<br />

พรั่งพร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร<br />

หลักเกณฑ์การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล<br />

1. ต้องเป็นผู้ได้รับหมายเรียกการตรวจเลือก<br />

2. เมื่อพ้นจากการเข้ารับการตรวจเลือกแล้ว ให้มารายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติราชการตามปกติต่อ<br />

ผู้บังคับบัญชาตามปกติภายใน 7 วัน ยกเว้นมีเหตุจำาเป็น หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง<br />

ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัด อาจขยายเวลาให้ได้ แต่รวมแล้วไม่เกิน<br />

15 วัน<br />

ขั้นตอนการลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล<br />

1. ให้รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนวันเข้ารับการตรวจเลือกไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมง (กรณีลาเข้า<br />

รับการตรวจเลือก) หรือให้รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่เวลารับหมายเรียกเป็นต้นไป<br />

(กรณีลาเข้ารับการเตรียมพล)<br />

28 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

หัวหน้าส่วนราชการ ให้รายงานลาต่อปลัดกระทรวง<br />

หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง ให้รายงานลาต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัด<br />

ปลัดกรุงเทพมหานคร ให้รายงานลาต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร<br />

2. รายงานลาแล้วให้ไปเข้ารับการตรวจเลือก หรือเข้ารับการเตรียมพล ตามวันเวลาในหมายเรียกนั้น<br />

ได้เลย โดยไม่ต้องรอคำาสั่งอนุญาต<br />

3. ผู้บังคับบัญชาที่ได้รับรายงานลา มีหน้าที่ต้องรายงานลาไปตามลำาดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ<br />

หรือหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง<br />

อำนาจในการพิจารณาอนุญาตให้ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล<br />

ผู้ลา ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค<br />

ข้าราชการทุกระดับ<br />

และตำาแหน่ง ในสังกัด<br />

อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย<br />

นิยาม “การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย” หมายถึง การลาหยุดราชการเพื่อไปศึกษา<br />

ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย<br />

หลักเกณฑ์การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย<br />

หลักเกณฑ์ตามระเบียบการลา ฯ ข้อ 34 กำาหนดไว้สรุปว่า ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาไปศึกษา<br />

ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ณ ต่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับ<br />

จนถึงปลัดกระทรวง หรือหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง เพื่อพิจารณาอนุญาต<br />

การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัยในประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับ<br />

บัญชาตามลำาดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง เพื่อพิจารณาอนุญาต เว้นแต่<br />

ข้าราชการกรุงเทพมหานครให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อปลัดกรุงเทพมหานคร<br />

สำาหรับหัวหน้าส่วนราชการให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อปลัดกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง<br />

และข้าราชการในราชบัณฑิตยสถานให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ส่วนปลัดกรุงเทพมหานคร<br />

ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อพิจารณาอนุญาต<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

29


การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ<br />

นิยาม “การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ” หมายถึง การลาหยุดราชการของข้าราชการ<br />

ซึ่งประสงค์จะไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ<br />

หลักเกณฑ์การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ<br />

การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศต้องถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำ าหนดไว้ในระเบียบ<br />

ว่าด้วยการลา ฯ ข้อ 35 , 36 , 37 , 38 , 39 , 40 , 41 และ 42 ดังนี้<br />

ข้อ 35 ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่ง<br />

ใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัด เพื่อพิจารณา โดยถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำ าหนด<br />

ไว้ในส่วนนี้<br />

ข้อ 36 การไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ มี 2 ประเภท คือ<br />

“ประเภทที่ 1” ได้แก่ การปฏิบัติงานในกรณีหนึ่งกรณีใดดังต่อไปนี้<br />

(1) การไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศซึ่งประเทศไทยเป็นสมาชิกและเป็นวาระ<br />

ที่จะต้องส่งไปปฏิบัติงานในองค์การนั้น<br />

(2) รัฐบาลไทยมีข้อผูกพันที่จะต้องส่งไปปฏิบัติงานตามความตกลงระหว่างประเทศ<br />

(3) ประเทศไทยต้องส่งไปปฏิบัติงานเพื่อพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของประเทศตามความ<br />

ต้องการของรัฐบาลไทย<br />

“ประเภทที่ 2” ได้แก่ การปฏิบัติงานนอกเหนือจากประเภทที่ 1<br />

ข้อ 37 ข้าราชการที่ไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้<br />

(1) เป็นข้าราชการประจำาตลอดมาเป็นระยะเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าห้าปี ก่อนถึงวันที่<br />

ได้รับอนุญาตให้ไปปฏิบัติงาน เว้นแต่ผู้ที่ไปปฏิบัติงานในองค์การสหประชาชาติ กำาหนดเวลาห้าปีให้ลดเป็น<br />

สองปี<br />

สำาหรับผู้ที่เคยไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศประเภทที่2 มาแล้ว จะต้องมีเวลา<br />

ปฏิบัติราชการในส่วนราชการไม่น้อยกว่าสองปีนับแต่วันเริ่มกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ หลังจากที่เดินทาง<br />

กลับจากการไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศประเภทที่ 2 ครั้งสุดท้าย<br />

(2) ผู้ที่ไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศประเภทที่ 2 ต้องมีอายุไม่เกินห้าสิบสอง<br />

ปีบริบูรณ์นับถึงวันที่ได้รับอนุญาตให้ไปปฏิบัติงาน<br />

(3) เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ราชการมีความรู้ความสามารถเหมาะสมมีความประพฤติเรียบร้อย<br />

และไม่อยู่ในระหว่างถูกสอบสวนว่ากระทำาผิดวินัย<br />

การขอยกเว้นหรือผ่อนผันคุณสมบัติตาม(1) วรรคสองและ(2) ให้เสนอเหตุผลความจำาเป็น<br />

ต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อพิจารณาเป็นรายๆไป<br />

30 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ข้อ 38 ให้ข้าราชการที่ได้รับการคัดเลือกให้ไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ ยื่นใบลาต่อ<br />

ผู้บังคับบัญชาไปตามลำาดับจนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัด เพื่อพิจารณาอนุญาต และมีคำาสั่งให้ข้าราชการผู้นั้นลา<br />

ไปปฏิบัติงานได้โดยถือว่าเป็นการไปทำาการใด ๆ อันจะนับเวลาระหว่างนั้น เหมือนเต็มเวลาราชการ มีกำาหนด<br />

เวลาไม่เกินสี่ปีสำาหรับการไปปฏิบัติงานประเภทที่ 1 หรือมีกำาหนดเวลาไม่เกินหนึ่งปีสำาหรับการไป<br />

ปฏิบัติงานประเภทที่2 โดยไม่รับเงินเดือน เว้นแต่อัตราเงินเดือนที่ได้รับจากองค์การระหว่างประเทศต่ำากว่า<br />

อัตราเงินเดือนของทางราชการที่ผู้นั้นได้รับอยู่ในขณะนั้น ให้มีสิทธิได้รับเงินเดือนจากทางราชการสมทบ<br />

ซึ่งเมื่อรวมกับเงินเดือนจากองค์การระหว่างประเทศแล้ว ไม่เกินอัตราเงินเดือนของทางราชการที่ข้าราชการ<br />

ผู้นั้นได้รับอยู่ในขณะนั้น<br />

ข้อ 39 ข้าราชการที่ได้รับอนุญาตให้ไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ หากประสงค์จะอยู่<br />

ปฏิบัติงานต่อให้ยื่นเรื่องราวพร้อมทั้งเหตุผลความจำ าเป็นและประโยชน์ที่ทางราชการจะได้รับต่อผู้บังคับบัญชา<br />

ตามลำาดับชั้น จนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัด เพื่อพิจารณาอนุญาตและมีคำาสั่งให้ข้าราชการผู้นั้นไปปฏิบัติงานได้<br />

โดยถือว่าเป็นการไปทำาการใดๆอันจะนับเวลาระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลาราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยกำาหนด<br />

หลักเกณฑ์การสั่งให้ข้าราชการไปทำาการซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลาราชการได้อีกแต่เมื่อรวม<br />

แล้วต้องไม่เกินสี่ปี<br />

การอนุญาตให้ข้าราชการผู้ใดไปปฏิบัติงานประเภทที่ 2 เกินกว่าหนึ่งปี ให้ผู้บังคับบัญชา<br />

สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการในช่วงเวลาที่ไปปฏิบัติงานเกินกว่าหนึ่งปีด้วย<br />

ข้อ 40 เมื่อกระทรวงทบวงกรมเจ้าสังกัดได้มีคำาสั่งให้ข้าราชการไปปฏิบัติงาน ตามข้อ 38 หรือให้<br />

ไปปฏิบัติงานต่อหรือให้ออกจากราชการ ตามข้อ 39 แล้ว ให้ส่วนราชการส่งสำาเนาคำาสั่งดังกล่าวให้กระทรวง<br />

การคลังและองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่เกี่ยวข้องทราบด้วย<br />

ข้อ 41 ให้กระทรวง ทบวง กรมเจ้าสังกัด จัดทำาสัญญาผูกมัดข้าราชการที่ไปปฏิบัติงานในองค์การ<br />

ระหว่างประเทศประเภทที่ 2 ให้กลับมารับราชการในส่วนราชการเป็นเวลาหนึ่งเท่าของระยะเวลาที่ไป<br />

ปฏิบัติงาน ข้าราชการผู้ใดไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศแล้วไม่กลับมารับราชการหรือกลับมา<br />

รับราชการไม่ครบกำาหนดตามสัญญาให้ชดใช้เงินเบี้ยปรับแก่ทางราชการดังนี้<br />

(1) ไม่กลับเข้ารับราชการเลยให้ชดใช้เป็นจำานวนเท่ากับเงินเดือนเดือนสุดท้ายที่ได้รับ<br />

คูณด้วยระยะเวลาที่ลาไปปฏิบัติงานที่คิดเป็นเดือน เศษของเดือนถ้าเกินสิบห้าวันให้คิดเป็นหนึ่งเดือน<br />

(2) กลับมารับราชการไม่ครบกำาหนดตามสัญญาให้ชดใช้เบี้ยปรับตาม (1) ลดลงตามส่วน<br />

การทำาสัญญาตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำาหนด<br />

เมื่อจัดทำาแล้วให้ส่งให้กระทรวงการคลังและสำานักงานตรวจเงินแผ่นดินแห่งละ 1 ชุดด้วย<br />

ข้อ 42 ข้าราชการที่ไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ เมื่อปฏิบัติงานแล้วเสร็จให้รายงานตัว<br />

เข้าปฏิบัติหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานและให้รายงานผลการไปปฏิบัติงาน<br />

ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่กลับมาปฏิบัติหน้าที่ราชการ<br />

การรายงานผลการปฏิบัติงานตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้แบบรายงานการไปปฏิบัติงานในองค์การ<br />

ระหว่างประเทศตามที่กำาหนดไว้ท้ายระเบียบนี้<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

31


ขั้นตอนในการลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ<br />

1. ให้ยื่นใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อพิจารณาอนุญาต และ<br />

มีคำาสั่งให้ข้าราชการผู้นั้นลาไปปฏิบัติงานได้<br />

2. การขออยู่ปฏิบัติงานต่อ ให้ยื่นเรื่องราวพร้อมด้วยเหตุผลความจำาเป็นและประโยชน์ที่ทาง<br />

ราชการจะได้รับตามแบบท้ายระเบียบต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับชั้น จนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อพิจารณา<br />

อนุญาต<br />

3. ให้ส่วนราชการส่งสำาเนาคำาสั่งที่สั่งให้ข้าราชการไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศให้<br />

กระทรวงการคลัง และองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่เกี่ยวข้องทราบ<br />

การลาติดตามคู่สมรส<br />

นิยาม “การลาติดตามคู่สมรส” หมายถึง การลาหยุดราชการของข้าราชการเพื่อติดตามสามีหรือภริยา<br />

โดยชอบด้วยกฎหมายที่เป็นข้าราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือไปปฏิบัติงาน<br />

ในต่างประเทศ หรือทางราชการสั่งให้ไปปฏิบัติงานในต่างประเทศตามความต้องการของทางราชการ<br />

ตามกฎหมายว่าด้วยการกำาหนดหลักเกณฑ์การสั่งให้ไปทำาการ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลา<br />

ราชการ หรือเต็มเวลาทำางานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป แต่ไม่รวมถึงกรณีที่คู่สมรสลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือ<br />

ปฏิบัติการวิจัย ณ ต่างประเทศ<br />

หลักเกณฑ์การลาติดตามคู่สมรส<br />

การลาติดตามคู่สมรสต้องถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนดไว้ในระเบียบการลาฯ ข้อ 43, 44 และ<br />

45 ดังนี้<br />

ข้อ 43 ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาติดตามคู่สมรสให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตาม<br />

ลำาดับจนถึงปลัดกระทรวงหรือหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงแล้วแต่กรณีเพื่อพิจารณาอนุญาตให้ลาได้ไม่เกิน<br />

สองปีและในกรณีจำาเป็นอาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีกสองปีแต่เมื่อรวมแล้วต้องไม่เกินสี่ปีถ้าเกินสี่ปีให้ลาออก<br />

จากราชการ<br />

สำาหรับปลัดกระทรวงหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงและข้าราชการในราชบัณฑิตยสถาน<br />

คู่สมรสให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัดส่วนปลัดกรุงเทพมหานครให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อ<br />

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อพิจารณาอนุญาต<br />

ข้อ 44 การพิจารณาอนุญาตให้ข้าราชการลาติดตามคู่สมรสผู้มีอำานาจอนุญาตจะอนุญาตให้ลาครั้ง<br />

เดียวหรือหลายครั้งก็ได้โดยมิให้เสียหายแก่ราชการแต่เมื่อรวมแล้วจะต้องไม่เกินระยะเวลาตามที่กำาหนดใน<br />

ข้อ 43 และจะต้องเป็นกรณีที่คู่สมรสอยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานในต่างประเทศเป็นระยะเวลา<br />

ติดต่อกันไม่ว่าจะอยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานในประเทศเดียวกันหรือไม่<br />

32 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ข้อ 45 ข้าราชการที่ได้ลาติดตามคู่สมรสครบกำาหนดระยะเวลาตามข้อ 43 ในช่วงเวลาที่คู่สมรส<br />

อยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานในต่างประเทศติดต่อกันคราวหนึ่งแล้ว ไม่มีสิทธิขอลาติดตาม<br />

คู่สมรสอีกเว้นแต่คู่สมรสจะได้กลับมาปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานประจำาในประเทศไทยแล้ว ต่อมา<br />

ได้รับ คำาสั่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือไปปฏิบัติงานในต่างประเทศอีกในช่วงเวลาใหม่จึงจะมีสิทธิขอลา<br />

ติดตามคู่สมรสตามข้อ 43 ได้ใหม่<br />

ขั้นตอนในการลาติดตามคู่สมรส<br />

1. ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำาดับจนถึงปลัดกระทรวงหรือหัวหน้าส่วนราชการ<br />

ขึ้นตรงแล้วแต่กรณีเพื่อพิจารณาอนุญาต<br />

2. การลาติดตามคู่สมรสของปลัดกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรง และข้าราชการใน<br />

ราชบัณฑิตยสถาน ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อรัฐมนตรีเจ้าสังกัด ส่วนปลัดกรุงเทพมหานครให้เสนอหรือ<br />

จัดส่งใบลาต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อพิจารณาอนุญาต<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

33


การเสนอขอพระราชทาน<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำปีให้แก่ข้าราชการ<br />

นิยาม<br />

“เครื่องราชอิสริยาภรณ์(Royal Decoration)” หมายถึง เครื่องประดับสำาหรับพระมหากษัตริย์และ<br />

เป็นเครื่องหมายแห่งเกียรติยศหรือบำาเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด<br />

กระหม่อมพระราชทานแก่บุคคลที่สมควรได้รับพระราชทาน<br />

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง<br />

• พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก พ.ศ. 2484<br />

• พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2484<br />

• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชู<br />

ยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536<br />

• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชู<br />

ยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชฯ อันมีเกียรติยิ่งมงกุฎไทย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553<br />

• หนังสือสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0507/ว 150 ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2546 เรื่อง การนับ<br />

ระยะเวลาสำาหรับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำาปีให้แก่ข้าราชการที่ได้รับการ<br />

บรรจุกลับเข้ารับราชการ<br />

• หนังสือสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0508/ว (ท) 4079 ลงวันที่ 9 กรกฎาคม 2553 เรื่อง<br />

การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้แก่ข้าราชการตามระบบจำาแนกประเภทตำาแหน่ง<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. การดำาเนินงานของกรม<br />

(1) แจ้งหน่วยงานในสังกัดกรม (ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต และสำานักงานป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด) ให้ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการในสังกัดว่าเป็นผู้สมควรเสนอขอ<br />

พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี และให้รวบรวมเอกสารทั้งหมดนำา<br />

เข้าที่ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ในระดับศูนย์ป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัยเขต และสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และให้แจ้งมติที่ประชุม<br />

คณะอนุกรรมการ ฯ ไปยังกรมเพื่อดำาเนินการ<br />

(2) ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการในสังกัดกรมผู้สมควรเสนอขอพระราชทานเครื่องราช<br />

อิสริยาภรณ์ฯ ตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี โดยสำารวจจากทะเบียนประวัติใน ก.พ. 7 เป็นรายบุคคล<br />

และพิจารณาว่าผู้ใดมีคุณสมบัติสมควรจะเสนอขอในปีนั้นๆ<br />

(3) จำาแนกว่าบุคคลผู้มีสิทธิเสนอขอในปีนั้นๆ สมควรขอในกรณีใด ประเภทและชั้นตราใด<br />

34 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

(4) นำาข้อมูลที่ได้ตรวจสอบแล้วว่ามีคุณสมบัติครบถ้วนของแต่ละบุคคลบันทึกลงในโปรแกรม<br />

คอมพิวเตอร์และแบบฟอร์มที่ทางสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีกำาหนดให้<br />

(5) รวบรวมเอกสารทั้งหมดเพื่อนำาเข้าที่ประชุมในคณะกรรมการพิจารณาการเสนอขอ<br />

พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ เพื่อทำาหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร หลักฐานต่างๆ พิจารณาคุณสมบัติ<br />

กลั่นกรองความดีความชอบ ตามระเบียบที่กำาหนด พร้อมทั้งรับรองว่าเป็นบุคคลที่สมควรเสนอขอ<br />

พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ได้<br />

(6) จัดประชุมในคณะกรรมการฯ และนำามติที่ประชุมมาดำาเนินการ<br />

(7) จัดทำาเอกสาร และตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารก่อนนำาเสนอให้อธิบดีลงนามถึง<br />

ปลัดกระทรวง ในฐานะผู้เสนอขอพระราชทานของหน่วยงาน ในแบบบัญชีแสดงคุณสมบัติ และแบบรายงาน<br />

ความดีความชอบสำาหรับผู้เสนอขอพระราชทานฯ กรณีพิเศษ พร้อมนี้กรมได้จัดทำาบัญชีรายชื่อข้าราชการ<br />

และข้อมูลประกอบตามแบบบัญชีรายชื่อและเอกสารประกอบการขอพระราชทาน ตามแบบที่สำานักเลขาธิการ<br />

คณะรัฐมนตรีกำาหนด เสนอกระทรวงเพื่อพิจารณา<br />

(8) เมื่อผ่านกระบวนการขั้นตอนต่างๆ ทั้งในระดับกระทรวง และสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแล้ว<br />

กรมจะได้สำาเนาราชกิจจานุเบกษาฉบับที่มีรายชื่อของข้าราชการในสังกัดมาเก็บไว้เป็นหลักฐาน<br />

(9) เจ้าหน้าที่ดำาเนินการบันทึกการได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ตามที่ประกาศ<br />

ในราชกิจจานุเบกษา ลงในสมุดประวัติ ก.พ. 7 ของผู้ได้รับพระราชทานแต่ละคน และบันทึกลงในฐานข้อมูล<br />

บุคคลในระบบ Excel<br />

2. การดำาเนินงานของกระทรวงมหาดไทย และสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี<br />

(1) กระทรวงดำาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่ง เพื่อพิจารณากลั่นกรองและ<br />

รับรองอีกชั้นหนึ่ง ก่อนนำาเสนอปลัดกระทรวง<br />

(2) กระทรวงจัดให้มีการประชุมในคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณาในภาพรวมของแต่ละหน่วยงาน<br />

ภายใต้กระทรวง และกระทรวงจะรวบรวมเอกสารทั้งหมดจัดส่งให้สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีดำาเนินการ<br />

ต่อไป<br />

(3) สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีตรวจสอบ กลั่นกรองความถูกต้องและนำาเสนอต่อ<br />

คณะกรรมการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ชั้นสายสะพาย และชั้นต่ำากว่าสาย<br />

สะพาย<br />

(4) สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเสนอรายชื่อบุคคลพร้อมทั้งชั้นตราเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ<br />

ที่สมควรขอพระราชทาน ให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ<br />

(5) สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเสนอรายชื่อให้สำานักราชเลขาธิการเพื่อนำาความกราบ<br />

บังคมทูลพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ<br />

(6) นายกรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ<br />

(7) สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับพระราชทานเครื่องราช<br />

อิสริยาภรณ์ฯ ประจำาปีนั้นๆ ในราชกิจจานุเบกษา และจัดพิมพ์ราชกิจจานุเบกษา ฉบับดังกล่าว<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

35


แผนผังขั้นตอน (Flow Chart)<br />

การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำปีให้แก่ข้าราชการ<br />

การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ<br />

สวนกลาง<br />

(1)<br />

กรม <strong>ปภ</strong>.<br />

(2)<br />

ตั้งคณะกรรมการพิจารณา<br />

ตามระเบียบ<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต<br />

และสํานักงาน<br />

<strong>ปภ</strong>. จังหวัด<br />

ตั้งคณะอนุกรรมการ<br />

พิจารณาตามระเบียบ<br />

(3)<br />

กระทรวงมหาดไทย<br />

(4)<br />

ตั้งคณะกรรมการพิจารณา<br />

ตามระเบียบ<br />

(5)<br />

สํานักงานเลขาธิการ<br />

คณะรัฐมนตรี<br />

(ตรวจสอบ กลั่นกรอง) (6)<br />

คณะกรรมการพิจารณา<br />

ชั้นต่ํากวาสายสะพาย<br />

(8)<br />

สํานักราชเลขาธิการ<br />

(นําความกราบบังคมทูล)<br />

(6)<br />

คณะกรรมการพิจารณา<br />

ชั้นต่ํากวาสายสะพาย<br />

(7)<br />

นายกรัฐมนตรี<br />

ใหความเห็นชอบ<br />

(9)<br />

สํานักเลขาธิการ<br />

คณะรัฐมนตรี<br />

(11)<br />

ประกาศราชกิจจานุเบกษา<br />

(10)<br />

นายกรัฐมนตรีลงนาม<br />

รับสนอง<br />

พระบรมราชโองการ<br />

36 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การออกหนังสือรับรองสถานภาพการเป็นข้าราชการ<br />

นิยาม<br />

“หนังสือรับรอง” หมายถึง หนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่ บุคคล นิติบุคคล หรือ<br />

หน่วยงาน เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดให้ปรากฎแก่บุคคลโดยทั่วไปไม่จำาเพาะเจาะจง<br />

กฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง<br />

• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ในหัวข้อหนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำาขึ้นหรือ<br />

รับไว้เป็นหลักฐานในราชการ<br />

• พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534<br />

• คำาสั่งกรม <strong>ปภ</strong>. ที่ 294/2551 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2551 เรื่อง มอบอำานาจให้รองอธิบดี<br />

ผู้อำานวยการสำานัก ผู้อำานวยการกอง เลขานุการกรม และหัวหน้ากลุ่ม ปฏิบัติราชการแทนอธิบดี<br />

• คำาสั่งกรม <strong>ปภ</strong>. ที่ 384/2553 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2553 เรื่อง มอบอำานาจหน้าที่ของอธิบดีกรม<br />

ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้ผู้อำานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1- 8 ปฏิบัติ<br />

ราชการแทน<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. ขอรับแบบฟอร์มคำาร้อง<br />

1.1 ข้าราชการสังกัดส่วนกลาง (สำานัก กอง และหน่วยงาน) และข้าราชการบำานาญ ขอรับ<br />

แบบฟอร์มคำาร้องได้ที่กลุ่มงานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ กองการเจ้าหน้าที่ หรือ<br />

ดาวน์โหลดแบบฟอร์มคำาร้องได้ที่ www.disaster.go.th : บริหารงานบุคคล/ ดาวน์โหลดแบบฟอร์มต่าง ๆ/<br />

กลุ่มงานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ<br />

1.2 ข้าราชการสังกัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1-18 และข้าราชการบำานาญ<br />

ขอรับแบบฟอร์มคำาร้องได้ที่ฝ่ายบริหารทั่วไป<br />

1.3 ข้าราชการสังกัดสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และข้าราชการบำานาญ<br />

ขอรับแบบฟอร์มคำาร้องได้ที่กลุ่มงานยุทธศาสตร์และการจัดการ<br />

2. การยื่นคำาร้อง<br />

2.1 ผู้ขอที่สังกัดส่วนกลาง (สำานัก กอง และหน่วยงาน) กรอกรายละเอียดครบถ้วนและเสนอ<br />

ผู้บังคับบัญชาของผู้ขอลงนาม แล้วยื่นคำาร้องที่กลุ่มงานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ กอง<br />

การเจ้าหน้าที่<br />

2.2 ผู้ขอที่สังกัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1 - 18 ยื่นคำาร้องได้ที่ฝ่ายบริหาร<br />

ทั่วไป<br />

2.3 ผู้ขอที่สังกัดสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ยื่นคำาร้องได้ที่กลุ่มงาน<br />

ยุทธศาสตร์และการจัดการ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

37


3. การออกหนังสือรับรอง<br />

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบรับคำาร้อง และดำาเนินการจัดทำาหนังสือรับรอง เสนอผู้มีอำานาจลงนาม<br />

ดังนี้<br />

3.1 ข้าราชการประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และระดับ<br />

ชำานาญงาน ที่สังกัดส่วนกลาง (สำานัก/กอง/หน่วยงาน) เสนอผู้อำานวยการกองการเจ้าหน้าที่ลงนาม (อธิบดี<br />

มอบอำานาจให้ผู้อำานวยการกองการเจ้าหน้าที่ปฏิบัติราชการแทน ตามคำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย ที่ 294/51 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2551) นอกเหนือจากนี้อยู่ในอำานาจของอธิบดี<br />

3.2 ข้าราชการสังกัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1-18 และข้าราชการบำานาญ<br />

เสนอผู้อำานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยลงนาม (อธิบดีมอบอำานาจหน้าที่ให้ผู้อำานวยการ<br />

ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1-18 ปฏิบัติราชการแทน ตามคำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย ที่ 384/53 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2553)<br />

3.3 ข้าราชการสังกัดสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และข้าราชการบำานาญ<br />

เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดลงนาม (เว้นแต่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบอำานาจให้หัวหน้าสำานักงานป้องกันและ<br />

บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เป็นผู้ลงนาม)<br />

38 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

แผนผังขั้นตอน (Flow Chart)<br />

การออกหนังสือรับรองสถานภาพการเป็นข้าราชการ<br />

แผนผังขั้นตอนการออกหนังสือรับรองสถานภาพการเปนขาราชการ<br />

(1)<br />

ขอรับแบบฟอรมคํารอง<br />

(1.1)<br />

สํานัก/กอง/หนวยงาน<br />

รับแบบฟอรมคํารอง<br />

ที่กองการเจาหนาที่<br />

(1.2)<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต 1-18<br />

รับแบบฟอรมคํารอง<br />

ที่ฝายบริหารทั่วไป<br />

(1.3)<br />

สํานักงาน <strong>ปภ</strong>. จังหวัด<br />

รับแบบฟอรมคํารองที่<br />

กลุมงานยุทธศาสตร<br />

และการจัดการ<br />

(2.1)<br />

สํานัก/กอง/หนวยงาน<br />

ยื่นคํารองที่กลุมงาน<br />

ทะเบียนประวัติฯ<br />

กองการเจาหนาที่<br />

(2)<br />

การยื่นคํารอง<br />

(2.2)<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต 1-18<br />

ยื่นคํารองที่<br />

ฝายบริหารทั่วไป<br />

(2.3)<br />

สํานักงาน <strong>ปภ</strong>. จังหวัด<br />

ยื่นคํารองที่<br />

กลุมงานยุทธศาสตร<br />

และการจัดการ<br />

(3.1)<br />

สํานัก/กอง/หนวยงาน<br />

ขาราชการเสนอ<br />

ผูอํานวยการกองการ<br />

เจาหนาที่ลงนามนอก<br />

เหนือจากนี้เสนอ อ<strong>ปภ</strong>.<br />

(3)<br />

การออกหนังสือรับรอง<br />

(3.2)<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต 1-18<br />

เสนอผูอํานวยการ<br />

ศูนย <strong>ปภ</strong>. เขต<br />

ลงนาม<br />

(3.3)<br />

สํานักงาน <strong>ปภ</strong>. จังหวัด<br />

เสนอ<br />

ผูวาราชการจังหวัด<br />

ลงนาม<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

39


การขอพระราชทานเพลิงศพและหีบเพลิง<br />

หลักเกณฑ์ผู้ได้รับการขอพระราชทานเพลิงศพ ในกรณีเป็นข้าราชการพลเร ือนสามัญ<br />

กรณีปกติ<br />

กรณีพิเศษ<br />

1. ข้าราชการพลเรือนสามัญตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป<br />

2. ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์<br />

ตั้งแต่ “เบญจมดิเรกคุณาภรณ์” (บ.ภ.)<br />

“เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย” (บ.ม.) ขึ้นไป<br />

1. บิดามารดาของข้าราชการระดับ 6 ขึ้นไป<br />

2. บิดามารดาของผู้ได้รับพระราชทาน เครื่องราช<br />

อิสริยาภรณ์ “ตริตาภรณ์ช้างเผือก” (ต.ช.)<br />

ขึ้นไป<br />

หมายเหตุ ผู้ที่ทำาอัตวินิบาตกรรม (ฆ่าตัวตาย) ไม่พระราชทานเพลิงศพและเครื่องประกอบเครื่องเกียรติยศ<br />

ขั้นตอนดำาเนินการ<br />

กรณีที่ 1 : การขอพระราชทานเพลิงศพ : เจ้าภาพหรือทายาทนำาหลักฐานประกอบการ<br />

ขอพระราชทานไปติดต่อที่สำานัก/ศูนย์/กอง/หน่วยงานยังหน่วยงานต้นสังกัดของผู้ถึงแก่กรรม และหน่วยงาน<br />

ต้นสังกัดจะมีหนังสือแจ้งไปยังกองการเจ้าหน้าที่ เพื่อดำาเนินการขอพระราชทานเพลิงศพไปยังกองพระราช<br />

พิธี สำานักพระราชวังต่อไป โดยให้ระบุ ดังนี้<br />

1) ชื่อ ตำาแหน่ง ชั้น ยศ ของผู้ถึงแก่กรรม<br />

2) ถึงแก่กรรมด้วยโรคอะไร ที่ไหน เมื่อใด<br />

3) ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อะไรบ้าง<br />

4) มีความประสงค์จะขอรับพระราชทานเครื่องราชเกียรติยศประกอบศพอย่างใดบ้าง<br />

5) ประกอบการฌาปนกิจศพที่วัดไหน จังหวัดไหน เวลาใด<br />

สำาหรับในกรณีของส่วนภูมิภาค สามารถดำาเนินการได้ใน 2 แนวทาง คือ เจ้าภาพหรือทายาทนำา<br />

หลักฐานประกอบการขอพระราชทานไปติดต่อได้ที่สำ านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดยังหน่วยงาน<br />

ต้นสังกัด หรือได้ที่กองการเจ้าหน้าที่ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อดำาเนินการขอพระราชทาน<br />

เพลิงศพไปยังกองพระราชพิธี สำ านักพระราชวังต่อไป หากเสนอขอทางจังหวัดจะอยู่ในอำ านาจของผู้ว่าราชการจังหวัด<br />

เป็นผู้ลงนามหนังสือถึงสำานักพระราชวัง และหากเสนอผ่านกรมจะอยู่ในอำานาจของอธิบดีเป็นผู้ลงนามหนังสือ<br />

ถึงสำานักพระราชวัง<br />

กรณีที่ 2 : การขอพระราชทานเพลิงศพกรณีพิเศษ : เจ้าภาพหรือทายาทนำาผู้ประสงค์ขอ<br />

พระราชทานเพลิงศพกรณีพิเศษ ให้ทำาหนังสือถึงเลขาธิการพระราชวังและนำาหลักฐานประกอบการขอ<br />

พระราชทานไปติดต่อที่กองพระราชพิธี สำานักพระราชวัง โดยให้ระบุ ดังนี้<br />

40 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

1) ชื่อ - สกุล และประวัติโดยย่อของผู้ถึงแก่กรรม<br />

2) ถึงแก่กรรมด้วยโรคอะไร ที่ไหน เมื่อใด<br />

3) ระบุคุณงามความดีที่เป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ หรือคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์การพิจารณา<br />

การขอพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ<br />

4) ระบุวัน เวลา สถานที่ที่จะประกอบการฌาปนกิจ<br />

หลักฐานที่ต้องใช้ในการขอพระราชทานเพลิงศพในกรณีพิเศษ มีดังนี้<br />

1. ใบมรณบัตรของผู้ถึงแก่กรรม<br />

2. ทะเบียนบ้านของทายาทของผู้ถึงแก่กรรม<br />

3. บัตรประจำาตัวประชาชน หรือบัตรประจำาตัวข้าราชการของทายาทของผู้ถึงแก่กรรม<br />

ทั้งนี้ ทายาทต้องนำาเอกสารต้นฉบับและลงนามรับรองสำาเนาถูกต้องของเอกสารข้างต้น จำานวน<br />

2 ชุด แนบมาพร้อมกับหนังสือจากหน่วยงานด้วย<br />

ข้อกำหนดของกองพระราชพิธี<br />

1. ติดต่อวัดเพื่อเตรียมการพระราชทานเพลิงศพ ซึ่งในการขอพระราชทานเพลิงศพจะต้องไม่ตรง<br />

กับวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติ พระราชพิธี<br />

ฉัตรมงคล (และตามประเพณีนิยมไม่มีการเผาศพในวันศุกร์) โดยกรณีพระราชทานเพลิงในกรุงเทพฯ และ<br />

ปริมณฑลใกล้กรุงเทพฯ ในระยะไม่เกิน 50 กิโลเมตร สำานักพระราชวังจะจัดเจ้าพนักงานเพลิงหลวงไป<br />

พระราชทานโดยรถยนต์หลวง ซึ่งเจ้าภาพจะไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ในการพระราชทานเพลิงศพ<br />

สำาหรับเครื่องประกอบเกียรติ(ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ปม.)<br />

ได้แก่ หีบ โกศ ฉัตร นั้น ทางสำานักพระราชวังจะได้เชิญไปประกอบและแต่งตั้งไว้มีกำาหนดเพียง 7 วัน<br />

เมื่อพ้นไปแล้วเจ้าภาพหรือทายาทยังไม่กำาหนดพระราชทานเพลิง ถ้าทางราชการมีความจำาเป็นก็จะถอน<br />

ส่วนประกอบรองนอกหีบโกศไปใช้ในราชการต่อไป<br />

2. ในการพระราชทานเพลิงศพนั้น เมื่อเจ้าหน้าที่เชิญเพลิงพระราชทานหรือเจ้าภาพเชิญหีบเพลิง<br />

ไปถึงมณฑลพิธี ห้ามเปิดหรือบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เนื่องจากเป็นการไม่สมควร<br />

3. เจ้าภาพงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงศพ เมื่อจะขอรับหมายรับสั่งให้ติดต่อขอรับได้ที่<br />

เจ้าหน้าที่กองพระราชพิธี สำานักพระราชวัง<br />

4. ก่อนงานพระราชทานเพลิงศพ 1 วัน ให้เจ้าภาพติดต่อยืนยันความถูกต้องกับเจ้าหน้าที่<br />

กองพระราชพิธี<br />

5. การพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณให้รับศพใดไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ เป็นกรณีที่ทรง<br />

พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตามพระราชอัธยาศัย ดังนั้น การที่จะกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรม<br />

ราชานุญาตในเรื่องดังกล่าว จึงไม่เป็นการเหมาะสมและไม่บังควรอย่างยิ่ง<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

41


แผนผังขั้นตอน (Flow Chart)<br />

แผนผังขั้นตอน (Flow Chart)<br />

การขอพระราชทานเพลิงศพและหีบเพลิง<br />

การขอพระราชทานเพลิงศพและหีบเพลิง<br />

(1)<br />

เจาภาพที่จัดการศพ<br />

ยื่นคํารองพรอมหลักฐาน<br />

(2)<br />

สํานัก/ศูนย/กอง/หนวยงาน<br />

มีหนังสือแจง<br />

(3)<br />

กองการเจาหนาที่<br />

ตรวจหลักฐาน นําเสนอ<br />

(4)<br />

กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

อธิบดีลงนามในหนังสือ<br />

(5)<br />

สํานักพระราชวัง<br />

ดําเนินการขอพระราชทานเพลิงศพ<br />

สวนภูมิภาค<br />

2 แนวทาง<br />

(1)<br />

เจาภาพที่จัดการศพ<br />

ยื่นคํารองพรอมหลักฐาน<br />

(2)<br />

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด<br />

ตรวจหลักฐาน นําเสนอ<br />

(3)<br />

จังหวัด<br />

ผูวาราชการจังหวัดลงนามในหนังสือ<br />

(4)<br />

สํานักพระราชวัง<br />

ดําเนินการขอพระราชทานเพลิงศพ<br />

42 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

งานสวัสดิการ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

43


44 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


โครงการสวัสดิการเงินกู้<br />

คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ไดจัดสวัสดิการดานเงินกูโดยการจัดทําบันทึกขอตกลงกับ<br />

ธนาคารในการใหบริการสินเชื่อแกขาราชการและลูกจางประจํากรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในเงื่อนไข<br />

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้จัดสวัสดิการด้านเงินกู้โดยการจัดทำาบันทึกข้อตกลงกับ<br />

พิเศษกวาบุคคลทั่วไป ธนาคารในการให้บริการสินเชื่อแก่ข้าราชการและลูกจ้างประจำากรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเงื่อนไข<br />

ไดแก อัตราดอกเบี้ยพิเศษต่ํากวา, ไดรับวงเงินกูสูงกวา, ระยะเวลาการผอนชําระคืน<br />

ยาวกวา พิเศษกว่าบุคคลทั่วไป เพื่อใหขาราชการและลูกจางประจําสามารถจัดหาที่อยูอาศัยเปนของตนเองไดสะดวกขึ้น ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยพิเศษต่ำากว่า, ได้รับวงเงินกู้สูงกว่า, ระยะเวลาการผ่อนชำาระ และชวย<br />

แกไขปญหาภาระหนี้สิน คืนยาวกว่า เพื่อให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำาสามารถจัดหาที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองได้สะดวกขึ้น อันจะเปนการเสริมสรางขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน และพัฒนาคุณภาพชีวิตของ<br />

ขาราชการและลูกจางประจําใหดีขึ้นอยางแทจริงและยั่งยืน ช่วยแก้ไขปัญหาภาระหนี้สิน อันจะเป็นการเสริมสร้างขวัญกำาลังใจในการปฏิบัติงาน ปจจุบันกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยได<br />

และพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

ของข้าราชการและลูกจ้างประจำาให้ดีขึ้นอย่างแท้จริงและยั่งยืน ปัจจุบันกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

จัดทําบันทึกขอตกลงกับธนาคารจํานวน 3 แหง ไดแก ธนาคารอาคารสงเคราะห, ธนาคารออมสิน และ<br />

ได้จัดทำาบันทึกข้อตกลงกับธนาคารจำานวน 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารอาคารสงเคราะห์, ธนาคารออมสิน และ<br />

ธนาคารกรุงไทย<br />

คุณสมบัติ/หลักเกณฑที่เกี่ยวของ<br />

คุณสมบัติ/หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง<br />

ที่ ธนาคาร วัตถุประสงค<br />

ในการกู<br />

1 อาคาร ซื้อ ซอมแซม<br />

สงเคราะห สราง ไถถอน<br />

บาน/ หองชุด<br />

2 ออมสิน<br />

- สวัสดิการ<br />

ใชจายตามความ<br />

จําเปน<br />

โครงการสวัสดิการเงินกู<br />

คุณสมบัติ<br />

ผูกู<br />

ขาราชการ/<br />

ลูกจางประจํา<br />

ขาราชการ/<br />

ลูกจางประจํา<br />

วงเงินใหกู ระยะเวลา<br />

การกู<br />

ไมเกิน 100% ของ<br />

ราคาประเมินที่ดิน<br />

พรอมอาคาร หรือ<br />

หองชุด<br />

ไมเกิน 1,500,000 บาท<br />

ไมเกิน 30 ป และอายุ<br />

ผูกูรวมกับจํานวนปที่<br />

ขอกูตองไมเกิน 70 ป<br />

ไมเกิน 15 ป<br />

อัตรา<br />

ดอกเบี้ย<br />

MRR - 1%<br />

MLR + 1%<br />

- เคหะ<br />

ซื้อ ซอมแซม<br />

สราง ไถถอน<br />

บาน/ หองชุด<br />

ขาราชการ/<br />

ลูกจางประจํา<br />

ไมเกิน 100% ของ<br />

ราคาประเมินที่ดิน<br />

พรอมอาคาร ไมเกิน<br />

90%ของหองชุด<br />

ไมเกิน 30 ป และอายุ<br />

ผูกูรวมกับจํานวนปที่<br />

ขอกูตองไมเกิน 65 ป<br />

ปที่ 1 = 1.25<br />

ปที่ 2 MLR -2<br />

ปที่ 3 เปนตนไป<br />

MLR -1<br />

-ไทรทอง<br />

กูเพื่อใชจายโดย<br />

ใชหลักทรัพย<br />

ค้ําประกัน<br />

ขาราชการ/<br />

ลูกจางประจํา<br />

ไมเกิน 85% ของ<br />

ราคาประเมินที่ดิน<br />

พรอมอาคาร ไมเกิน<br />

70%ของหองชุด<br />

ไมเกิน 15 ป และอายุ<br />

ผูกูรวมกับจํานวนปที่<br />

ขอกูตองไมเกิน 60 ป<br />

MLR + 1%<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

45


ที่ ธนาคาร วัตถุประสงค<br />

ในการกู<br />

-พัฒนา ชําระหนี้<br />

คุณภาพชีวิต<br />

3<br />

กรุงไทย<br />

- สินเชื่อ<br />

อเนกประสงค<br />

ใชจายตามความ<br />

จําเปน<br />

คุณสมบัติ ผูกู วงเงินใหกู ระยะเวลาการกู อัตราดอกเบี้ย<br />

ขาราชการ/<br />

ลูกจางประจํา<br />

รวมกลุมกัน<br />

5 – 10 คน<br />

ขาราชการ/<br />

ลูกจางประจํา<br />

ไมเกิน<br />

1,500,000บาท<br />

ไมเกิน<br />

2,000,000บาท<br />

ไมเกิน 15 ป<br />

ไมเกิน 15 ป<br />

MLR<br />

MRR + 0.75%<br />

- สินเชื่อ<br />

เพื่อที่อยูอาศัย<br />

ซื้อ ซอมแซม สราง<br />

ไถถอนบาน/ หองชุด<br />

ขาราชการ/<br />

ลูกจางประจํา<br />

ไมเกิน 100%<br />

ของราคา<br />

ประเมินที่ดิน<br />

พรอมอาคาร<br />

ไมเกิน 90%<br />

ของหองชุด<br />

ไมเกิน 30 ป<br />

และอายุผูกูรวม<br />

กับจํานวนปที่<br />

ขอกูตองไมเกิน<br />

65 ป<br />

ปที่ 1 = 1.25<br />

ปที่ 2 MLR -1.5<br />

ปที่ 3 เปนตน<br />

ไป MLR -0.5<br />

- บานกรุงไทย<br />

กบข. เพื่อ<br />

สมาชิก กบข.<br />

ซื้อ ซอมแซม สราง<br />

ไถถอนบาน/ หองชุด<br />

ขาราชการที่เปน<br />

สมาชิก กบข.<br />

ไมเกิน 100%<br />

ของราคา<br />

ประเมินที่ดิน<br />

พรอมอาคาร<br />

ไมเกิน 30 ป<br />

และอายุผูกูรวม<br />

กับจํานวนปที่<br />

ขอกูตองไมเกิน<br />

65 ป<br />

เดือนที่ 1-3 =<br />

0%เดือนที่ 4-12<br />

= MLR -4.20<br />

ปที่ 2 MLR -2<br />

ปที่ 3 เปนตนไป<br />

MLR -0.5<br />

- การศึกษา<br />

เพื่อสมาชิก<br />

กบข.<br />

การศึกษาของสมาชิก<br />

และบุตร<br />

ขาราชการที่เปน<br />

สมาชิก กบข.<br />

ตามระดับ<br />

การศึกษา,<br />

ไมเกิน 500,000<br />

บาท<br />

ไมเกิน 8 ป<br />

ปที่ 1 MRR -1.5<br />

ปที่ 2 เปนตนไป<br />

MRR + 0.75<br />

หมายเหตุ MLR = Minimum loan rate ดอกเบี้ยเงินกูธรรมดาขั้นต่ํา<br />

MRR = Minimum retail rate ดอกเบี้ยลูกคารายยอยขั้นต่ํา<br />

46 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. แจ้งเวียนโครงการและหลักเกณฑ์การกู้เงินให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำาทราบ<br />

2. ข้าราชการและลูกจ้างประจำาผู้ประสงค์ขอกู้เงินจัดทำาบันทึกขอหนังสือผ่านสิทธิและหนังสือ<br />

ยินยอมให้หักเงินเดือนส่งให้กองการเจ้าหน้าที่ (บันทึกขอหนังสือผ่านสิทธิ และหนังสือยินยอมให้หักเงิน<br />

เดือน สามารถดาวน์โหลดได้จาก www.disaster.go.th : เกี่ยวกับกรม/ บริหารงานบุคคล/ ดาวน์โหลดแบบ<br />

ฟอร์มต่างๆ/ ฝ่ายสวัสดิการ)<br />

3. ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ขอกู้ และผู้ค้ำาประกัน (กรณีมีผู้ค้ำาประกัน)และจัดทำาหนังสือผ่าน<br />

สิทธิให้ผู้ขอกู้<br />

4. ส่งหนังสือผ่านสิทธิให้ผู้ขอกู้นำาไปติดต่อยื่นคำาขอกู้กับธนาคารพร้อมหลักฐานอื่นๆ<br />

5. ธนาคารพิจารณาการให้กู้ เมื่อได้รับอนุมัติธนาคารจะแจ้งให้กรมหักเงินเดือน/ค่าจ้าง<br />

นำาส่งธนาคารชำาระหนี้ทุกเดือนจนกว่าจะชำาระหนี้เสร็จสิ้น<br />

6. กองการเจ้าหน้าที่แจ้งกองคลังหักเงินเดือน/ค่าจ้างของผู้กู้นำาส่งธนาคาร<br />

7. เมื่อผู้กู้ชำาระหนี้เสร็จสิ้น ธนาคารจะมีหนังสือแจ้งให้กรมงดหักเงินเดือน/ค่าจ้าง<br />

8. หากผู้กู้ต้องการกู้เงินเพิ่ม ต้องแจ้งความประสงค์โดยการจัดทำาหนังสือผ่านสิทธิ(ตามข้อ 3)<br />

9. จัดทำาทะเบียนผู้กู้<br />

10. กรณีผู้กู้พ้นสภาพการเป็นข้าราชการ/ลูกจ้างประจำา กองการเจ้าหน้าที่จะแจ้งให้ธนาคาร<br />

ทราบ และกรมจะพ้นจากหน้าที่ในการหักเงินเดือนของผู้กู้รายนั้น<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

47


แผนผังขั้นตอน (Flow Chart)<br />

แผนผังขั้นตอนการเขารวมโครงการสวัสดิการเงินกู (Work Flow)<br />

แผนผังขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการสวัสดิการเงินกู้<br />

ธนาคาร ทําขอตกลง (MOU) กับกรม<br />

ธนาคารแจงโครงการฯ พรอมหลักเกณฑการใหกู<br />

เขาสูกระบวนการเดิม<br />

เวียนแจงขาราชการ/ลูกจางในสังกัด<br />

- website<br />

- หนังสือเวียน<br />

ผูมีความประสงคขอกูเงินแจงความประสงคขอหนังสือ<br />

ผานสิทธิจากกรมตามแบบที่กําหนด<br />

ตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตน<br />

- ดูจาก slip เงินเดือน<br />

สวัสดิการทําหนังสือผานสิทธิใหผูขอกูถือไป ธนาคาร ยื่นกู<br />

ธนาคาร พิจารณาอนุมัติ<br />

ธนาคาร ไมอนุมัติ ระงับเรื่อง (ธนาคารแจงผูกูเอง)<br />

ธนาคาร แจง <strong>ปภ</strong>. ใหหัก<br />

เงินเดือนสงทุกเดือน<br />

รวบรวมขอมูล ฐานขอมูล<br />

ลงทะเบียนไวอยางเปนระบบ<br />

นําเรียนในที่ประชุม<br />

คณะกรรมการสวัสดิการกรม<br />

อยางนอยปละ 1 ครั้ง<br />

กรณีกูเพิ่ม<br />

กรมโดยฝายสวัสดิการ<br />

แจงกองคลัง<br />

กองคลังแจงกรมบัญชีกลางหัก<br />

เงินเดือน สงธนาคารโดยตรง<br />

กรณีสงครบวงเงิน<br />

กรณีผูกูขาดสง<br />

ธนาคารแจงใหกรมระงับการ<br />

หักเงินเดือนสง<br />

ธนาคารแจงหนวยงาน<br />

ใหดําเนินการแกไข<br />

48 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การมอบประกาศเกียรติคุณ<br />

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้จัดสวัสดิการด้านการมอบประกาศเกียรติคุณให้แก่<br />

ข้าราชการและลูกจ้างประจำา เพื่อเป็นขวัญ กำาลังใจ และเป็นการระลึกถึงคุณความดีและผลงานของผู้ที่<br />

ได้อุทิศกำาลังกาย กำาลังใจ ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความรู้ความสามารถ ความอุตสาหะพยายาม ความ<br />

เสียสละ โดยจัดให้มีการมอบประกาศเกียรติคุณ จำานวน 2 ประเภท คือ<br />

1. ประกาศเกียรติคุณชั้น 1 มอบให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำาที่ออกจากราชการเนื่องจาก<br />

เกษียณอายุ<br />

2. ประกาศเกียรติคุณชั้น 2 มอบให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำาที่รับราชการครบยี่สิบปีบริบูรณ์<br />

นับถึงวันที่ 3 ตุลาคม ซึ่งเป็นวันก่อตั้งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

คุณสมบัติ/หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง<br />

1. คุณสมบัติของผู้สมควรได้รับประกาศเกียรติคุณชั้น 1<br />

1) อายุครบหกสิบปีและออกจากราชการ เนื่องจากเกษียณอายุ<br />

2) มีความประพฤติเรียบร้อยและปฏิบัติราชการด้วยความวิริยะ อุตสาหะ เสียสละ และ<br />

เอาใจใส่ต่อหน้าที่เป็นอย่างดีเสมอมา<br />

2. คุณสมบัติของผู้สมควรได้รับประกาศเกียรติคุณชั้น 2<br />

1) รับราชการครบยี่สิบปีบริบูรณ์นับถึงวันที่ 3 ตุลาคม ซึ่งเป็นวันก่อตั้งกรม<br />

2) มีความประพฤติเรียบร้อยและปฏิบัติราชการด้วยความวิริยะ อุตสาหะ เสียสละ และเอาใจใส่<br />

ต่อหน้าที่เป็นอย่างดีเสมอมา<br />

3) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย เว้นแต่ กรณีความผิดที่ถูกลงโทษนั้นไม่สูงกว่าโทษภาคทัณฑ์และ<br />

คณะอนุกรรมการพิจารณาเห็นว่าสมควรได้รับการยกเว้นเป็นกรณีพิเศษ<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. สำารวจรายชื่อข้าราชการและลูกจ้างประจำาที่มีคุณสมบัติสมควรได้รับประกาศเกียรติคุณ<br />

2. ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้สมควรได้รับประกาศเกียรติคุณ<br />

3. จัดทำาบัญชีรายชื่อของผู้สมควรได้รับประกาศเกียรติคุณ<br />

4. จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกข้าราชการเพื่อมอบประกาศเกียรติคุณ<br />

5. จัดทำาใบประกาศเกียรติคุณ<br />

6. เสนออธิบดีขออนุมัติมอบประกาศเกียรติคุณ<br />

7. อัดกรอบวิทยาศาสตร์ใบประกาศเกียรติคุณ<br />

8. จัดพิธีมอบประกาศเกียรติคุณ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

49


การฌาปนกิจสงเคราะห์<br />

การฌาปนกิจสงเคราะห์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้จัดตั้งขึ้นปี พ.ศ. 2525 เมื่อครั้ง<br />

มีสถานะเป็นสำานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท ต่อมาได้ปรับเปลี่ยนบทบาทและภารกิจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ<br />

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545 จึงเปลี่ยนชื่อการฌาปนกิจสงเคราะห์ตามชื่อใหม่ของกรม<br />

คือ การฌาปนกิจสงเคราะห์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

การฌาปนกิจสงเคราะห์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิก<br />

ทำาการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันในการจัดการศพ หรือจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชิกที่ถึงแก่<br />

ความตายด้วยเงินสงเคราะห์ โดยไม่ประสงค์จะนำาผลกำาไรมาแบ่งปันกัน<br />

การฌาปนกิจสงเคราะห์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ดำาเนินการบริหารงานในรูป<br />

คณะกรรมการ โดยมีคณะกรรมการดำาเนินกิจการการฌาปนกิจสงเคราะห์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

จำานวน 15 คน (อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นประธานกรรมการ)<br />

สมาชิกของการฌาปนกิจสงเคราะห์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มี 2 ประเภท คือ<br />

1. ประเภทสามัญ<br />

2. ประเภทวิสามัญ<br />

คุณสมบัติ<br />

ผู้สมัครเป็นสมาชิกของการฌาปนกิจสงเคราะห์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จะต้องมี<br />

คุณสมบัติ ดังนี้<br />

1. เป็นผู้มีความประพฤติดี และยินยอมปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของการฌาปนกิจสงเคราะห์<br />

2. มีอายุในวันสมัครไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์<br />

3. ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง<br />

4. คุณสมบัติเฉพาะผู้สมัครสมาชิกประเภทสามัญ คือ เป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำา พนักงาน<br />

ราชการ ในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือกรมทรัพยากรน้ำา หรือกรมทางหลวงชนบท หรือ<br />

พนักงานของการฌาปนกิจสงเคราะห์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือเจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์<br />

รพช. จำากัด<br />

5. คุณสมบัติเฉพาะผู้สมัครสมาชิกประเภทวิสามัญ คือ เป็น สามี หรือ ภริยา ของผู้เป็นสมาชิก<br />

สามัญ<br />

50 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ขั้นตอนดำเนินการ<br />

1. สมัครเข้าเป็นสมาชิก<br />

1.1 กรณีสมัครเข้าเป็นสมาชิกประเภทวิสามัญ ให้ดำาเนินการดังนี้<br />

- ยื่นใบสมัครพร้อมสามี หรือภริยาผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกประเภทสามัญ<br />

- ยื่นใบสมัครภายในหนึ่งปีนับแต่สามี หรือภริยาเข้าเป็นสมาชิกสามัญแล้ว<br />

- หากจดทะเบียนสมรสภายหลังจะสมัครได้ภายในหนึ่งปีนับแต่วันจดทะเบียนสมรส<br />

1.2 การชำาระเงินแรกเข้า ผู้สมัครต้องยื่นใบสมัครพร้อมชำาระเงิน จำานวน 150 บาท ประกอบด้วย<br />

- ค่าสมัคร จำานวน 50 บาท<br />

- เงินสงเคราะห์ล่วงหน้า จำานวน 100 บาท<br />

1.3 สมาชิกภาพของสมาชิกจะสมบูรณ์ ต่อเมื่อ<br />

1) ผู้สมัครได้ชำาระเงินค่าสมัคร<br />

2) คณะกรรมการมีมติให้รับเข้าเป็นสมาชิก โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่คณะกรรมการดำาเนิน<br />

กิจการการฌาปนกิจสงเคราะห์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีมติรับ<br />

1.4 ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกจะต้องระบุชื่อ และชื่อสกุล ของผู้ที่ให้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์<br />

ให้ชัดแจ้งในใบสมัคร<br />

2. หน้าที่ของสมาชิก<br />

2.1 ปฏิบัติตามระเบียบ คำาสั่ง ข้อบังคับของการฌาปนกิจสงเคราะห์ และมติคณะกรรมการ<br />

2.2 ต้องชำาระเงินสงเคราะห์ภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการตายของสมาชิกจาก<br />

การฌาปนกิจสงเคราะห์<br />

2.3 เก็บรักษาหนังสือสำาคัญแสดงการเป็นสมาชิกของการฌาปนกิจสงเคราะห์ไว้หากหาย ชำารุด<br />

ให้แจ้งการฌาปนกิจสงเคราะห์เพื่อออกใบแทนใหม่<br />

2.4 การย้ายที่อยู่ เปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนชื่อสกุล แก้วันเดือนปีเกิด ของสมาชิก ให้ยื่นคำาร้อง<br />

ตามแบบ ฌ.<strong>ปภ</strong>. 4 ต่อการฌาปนกิจสงเคราะห์ ภายในสิบห้าวัน นับแต่วันย้าย เปลี่ยน หรือแก้ไข เพื่อ<br />

การฌาปนกิจสงเคราะห์จะได้แก้ไขหลักฐานต่างๆ ในทะเบียนให้ถูกต้อง<br />

2.5 เมื่อต้องการเปลี่ยนตัวบุคคลตามที่แสดงความจำานงไว้ในใบสมัคร ให้แจ้งความประสงค์เป็น<br />

หนังสือตามแบบ ฌ.<strong>ปภ</strong>. 3 ต่อการฌาปนกิจสงเคราะห์ เพื่อดำาเนินการแก้ไขในทะเบียนให้ถูกต้อง<br />

3. การจัดเก็บเงินสงเคราะห์ จะจัดเก็บจากสมาชิกเป็นรายเดือนศพละ 10 บาท ซึ่งส่วนมากจะ<br />

มีผู้เสียชีวิตเฉลี่ยเดือนละ 10 ศพ เป็นเงิน 100 บาท โดยขอความอนุเคราะห์กองคลังของกรมป้องกันและ<br />

บรรเทาสาธารณภัย กรมทรัพยากรน้ำา และกรมทางหลวงชนบท เป็นผู้หักจากเงินเดือนของสมาชิกที่<br />

ปฏิบัติงานในสังกัดนั้น ๆ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

51


4. การสิ้นสุดสมาชิกภาพ<br />

4.1 ตาย<br />

4.2 ลาออก โดยยื่นหนังสือขอลาออกตามแบบ ฌ.<strong>ปภ</strong>. 7 ต่อคณะกรรมการ<br />

4.3 คณะกรรมการมีมติให้พ้นสมาชิกภาพ เนื่องจากค้างชำาระเงินสงเคราะห์ หรือการฌาปนกิจ<br />

สงเคราะห์ไม่สามารถหาหลักแหล่งที่อยู่ของสมาชิกผู้นั้นได้ ไม่ติดต่อการชำาระเงินสงเคราะห์จนครบกำาหนด<br />

เก้าสิบวัน<br />

ผู้ที่คณะกรรมการมีมติให้พ้นสมาชิกภาพเนื่องจากค้างชำาระเงินสงเคราะห์ สามารถยื่นหนังสือ<br />

ขออุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งการพ้นจากสมาชิกภาพ เพื่อ<br />

ขอคืนสมาชิกภาพกลับเป็นสมาชิกดังเดิม<br />

5. การจ่ายเงินสงเคราะห์ให้ผู้ที่สมาชิกแจ้งไว้ในใบสมัคร<br />

เมื่อสมาชิกถึงแก่ความตายผู้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์จะได้รับเงินสงเคราะห์ตามจำานวนสมาชิก<br />

การฌาปนกิจสงเคราะห์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่มีอยู่จริง ณ วันที่แจ้งการขอรับเงินสงเคราะห์<br />

ของสมาชิกที่ถึงแก่ความตาย พร้อมเอกสารหลักฐานครบถ้วนตามที่กำาหนดไว้ในแบบ ฌ.<strong>ปภ</strong>. 5 ดังนี้<br />

(1) สำาเนาบัตรประจำาตัวข้าราชการของผู้รับรองและค้ำาประกัน<br />

(2) สำาเนาบัตรประจำาตัวข้าราชการ หรือ บัตรประจำาตัวประชาชนของผู้ยื่นคำาร้อง<br />

(3) สำาเนาทะเบียนบ้านของผู้ยื่นคำาร้อง<br />

(4) สำาเนาทะเบียนบ้านผู้ตาย<br />

(5) สำาเนาใบมรณบัตร<br />

(6) หนังสือสำาคัญแสดงการเป็นสมาชิก<br />

(7) ใบเสร็จรับเงินครั้งสุดท้าย<br />

6. การฌาปนกิจสงเคราะห์จะหักค่าใช้จ่ายในการดำาเนินงาน 4% จากเงินสงเคราะห์<br />

โดยแบ่งจ่ายเป็น 3 งวด<br />

- งวดที่ 1 ไม่เกิน 15 วัน นับจากวันที่ยื่นเอกสารครบถ้วน<br />

- งวดที่ 2 ไม่เกิน 45 วัน นับจากวันที่ได้รับเงินสงเคราะห์ในงวดที่ 1<br />

- งวดที่ 3 ไม่เกิน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับเงินสงเคราะห์ในงวดที่ 2<br />

52 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การลาศึกษาต่อในประเทศ<br />

ก.พ. ได้กำาหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญไปศึกษา<br />

เพิ่มเติม ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัยในประเทศ ตามหนังสือสำานักงาน ก.พ. ที่ นร 1013.8.5/ว 22<br />

ลงวันที่ 15 กันยายน 2552 เพื่อให้ส่วนราชการใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาข้าราชการในประเทศโดย<br />

วิธีการต่าง ๆ<br />

นิยาม<br />

“ผู้มีอำานาจอนุมัติ” หมายถึง (1) นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี สำาหรับปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี<br />

ปลัดกระทรวง หรือหัวหน้าส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี (2) ปลัดกระทรวงรองปลัด<br />

กระทรวง ผู้ทำาหน้าที่หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเท่า หรือหัวหน้าส่วนราชการที่ขึ้น<br />

ตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี หรืออธิบดี สำาหรับข้าราชการในสังกัด (3) หัวหน้าส่วนราชการซึ่งมี<br />

ฐานะเป็นกรม สำาหรับข้าราชการในส่วนราชการนั้น<br />

“ส่วนราชการ” หมายถึง กระทรวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ<br />

เป็นกรม หรือส่วนราชการที่ไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีหัวหน้าส่วนราชการเป็นอธิบดีหรือเทียบเท่า ทั้งนี้<br />

ที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือในกำากับดูแลของฝ่ายบริหาร<br />

“ข้าราชการ” หมายความว่า ข้าราชการพลเรือนสามัญ<br />

“ศึกษาเพิ่มเติม” หมายความว่า การเพิ่มพูนความรู้ด้วยการเรียนหรือการวิจัยตามหลักสูตร<br />

ของสถาบันการศึกษาในประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ และเป็นการเรียน<br />

หรือการวิจัยในเวลาราชการ<br />

การให้ข้าราชการไปศึกษาเพิ่มเติม ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ให้ผู้มีอำานาจอนุมัติ<br />

พิจารณาถึงอัตรากำาลังที่มีอยู่โดยให้มีผู้ปฏิบัติงานเพียงพอไม่ให้เสียหายแก่ราชการและไม่ต้องตั้งอัตรากำ าลัง<br />

เพิ่ม ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขนี้ ให้ผู้มีอำานาจอนุมัติเป็นผู้<br />

วินิจฉัยชี้ขาด คำาวินิจฉัยนั้นเป็นที่สุด<br />

หลักเกณฑ์การไปศึกษาเพิ่มเติมของข้าราชการ<br />

1. สาขาวิชาและระดับความรู้ที่ไปศึกษาเพิ่มเติมต้องสอดคล้องหรือเป็นประโยชน์กับงานหรือ<br />

ตำาแหน่งที่ดำารงอยู่ เว้นแต่เป็นการไปศึกษาเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาตนเองและได้รับความเห็นชอบจากผู้มีอำ านาจ<br />

อนุมัติ<br />

2. ต้องเป็นการไปศึกษาเพิ่มเติมในสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการให้การรับรอง<br />

มาตรฐานหลักสูตร<br />

3. การศึกษาเพิ่มเติมตามคำาสั่งหรือการมอบหมายของทางราชการในหลักสูตรที่ อ.ก.พ. กรม<br />

หรือ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาเห็นว่าเป็นความจำาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในส่วน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

53


ราชการ ให้ถือเสมือนว่าข้าราชการที่ไปศึกษาในหลักสูตรนั้นๆ ไปปฏิบัติราชการ ซึ่งอาจจะนำาผลงานจาก<br />

การศึกษามาประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนได้<br />

คุณสมบัติของข้าราชการที่ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ<br />

1. พ้นจากการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว ในกรณีที่มีความจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้<br />

ข้าราชการที่ยังอยู่ในระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการไปศึกษาเพิ่มเติม ให้กระทำาได้ต่อเมื่อได้รับ<br />

อนุมัติเป็นการเฉพาะรายจากผู้มีอำานาจอนุมัติ<br />

2. มีเวลากลับมาปฏิบัติราชการหลังจากศึกษาเสร็จแล้ว เพียงพอที่จะชดใช้ได้ครบก่อนเกษียณ<br />

อายุราชการ ทั้งนี้ ให้รวมระยะเวลาที่ต้องชดใช้สำาหรับการลาศึกษา ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัย เดิมที่<br />

ชดใช้ไม่แล้วเสร็จด้วย<br />

3. ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ผู้อำานวยการกองหรือเทียบเท่าขึ้นไปรับรองว่าเป็นผู้ที่มีความประพฤติดี<br />

และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการ<br />

4. ในกรณีที่เคยได้รับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติม หรือปฏิบัติการวิจัยในประเทศตามหลักเกณฑ์<br />

วิธีการ และเงื่อนไขนี้ หรือตามระเบียบอื่น จะต้องกลับมาปฏิบัติราชการแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี<br />

หลักฐานประกอบการไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ<br />

1. หลักสูตรหรือแนวทางการศึกษาเพิ่มเติมของสถาบันการศึกษาที่จะไปศึกษา พร้อมหนังสือ<br />

ตอบรับจากสถาบันการศึกษาที่จะไปศึกษาเพิ่มเติม<br />

2. บันทึกแสดงเหตุผล ความจำาเป็น และความต้องการของทางราชการที่จะต้องให้ข้าราชการ<br />

ผู้นั้นไปศึกษาเพิ่มเติม ตลอดจนแผนงานหรือโครงการที่จะให้ข้าราชการผู้นั้นกลับมา<br />

3. คำารับรองของผู้บังคับบัญชาตามคุณสมบัติของข้าราชการที่ไปศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ<br />

4. หลักฐานการศึกษาของข้าราชการที่จะไปศึกษา<br />

5. หลักฐานการได้รับทุน (ถ้ามี)<br />

การทำสัญญา<br />

ข้าราชการที่ได้รับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมหรือปฏิบัติการวิจัยต้องทำาสัญญาตามระเบียบ<br />

หลักเกณฑ์ วิธีการ และแบบที่กระทรวงการคลังกำาหนด ให้ส่วนราชการทำาสัญญาให้ข้าราชการที่ไปศึกษา<br />

เพิ่มเติมหรือปฏิบัติการวิจัยกลับมาปฏิบัติราชการเป็นเวลาไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาเพิ่มเติม<br />

หรือปฏิบัติการวิจัยแล้วแต่กรณีหากข้าราชการผู้ใดไม่กลับมาปฏิบัติราชการตามสัญญา ต้องชดใช้เงินเดือน<br />

ทุนที่ได้รับระหว่างศึกษา และเงินที่ทางราชการจ่ายช่วยเหลือ กับให้ใช้เงินอีกจำานวนหนึ่งเท่ากับจำานวน<br />

เงินเดือน ทุน และเงินทางราชการจ่ายช่วยเหลือดังกล่าวให้เป็นเบี้ยปรับแก่ทางราชการอีกด้วย และใน<br />

กรณีที่กลับมาปฏิบัติราชการไม่ครบกำาหนดตามสัญญา ก็ให้ลดจำานวนเงินที่จะต้องชดใช้ลงตามส่วน<br />

54 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ข้าราชการผู้ใดอยู่ในระหว่างปฏิบัติราชการชดใช้แต่โอนไปรับราชการที่ส่วนราชการหรือหน่วยงาน<br />

ของรัฐแห่งใหม่ ถ้าได้รับอนุมัติให้ผ่อนผันเรื่องนับเวลาที่โอนไปปฏิบัติราชการดังกล่าวเป็นเวลารับราชการ<br />

ชดใช้ต่อเนื่อง ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐแห่งใหม่นั้นรับโอนทั้งสิทธิและหน้าที่ตามสัญญานั้นด้วย<br />

การทำาสัญญาอนุญาตให้ข้าราชการไปศึกษาภายในประเทศ ผู้ค้ำาประกัน ได้แก่ บิดาหรือมารดา<br />

ของผู้ทำาสัญญา ถ้าไม่มีต้องให้พี่ หรือน้องร่วมบิดาหรือมารดาของผู้ทำาสัญญาเป็นผู้ค้ำาประกัน<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. หน่วยงานของข้าราชการที่ลาศึกษาเพิ่มเติมจัดทำาหนังสือขออนุญาตลาศึกษาต่อถึงอธิบดี<br />

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยพร้อมด้วยหลักฐานในการศึกษาเพิ่มเติม<br />

2. กองการเจ้าหน้าที่จัดทำาหนังสือถึงอธิบดีเพื่อขออนุญาตให้ข้าราชการลาศึกษาต่อ และเมื่อ<br />

อธิบดีอนุมัติแล้วให้ข้าราชการดังกล่าวทำาสัญญาอนุญาตให้ข้าราชการไปศึกษาภายในประเทศและสัญญา<br />

ค้ำาประกัน โดยกองการเจ้าหน้าที่จะทำาคำาสั่งให้ข้าราชการลาศึกษาภายในประเทศ และทำาหนังสือถึงสถาบัน<br />

การศึกษาเพื่อแจ้งว่าทางกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้อนุมัติให้ข้าราชการดังกล่าวไปศึกษาเพิ่มเติม<br />

3. ข้าราชการที่ลาศึกษาเพิ่มเติมต้องเขียนใบลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย<br />

โดยให้ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ลงชื่อเห็นควรอนุญาตให้ลาศึกษาเพิ่มเติมได้<br />

4. เมื่อเสร็จสิ้นระยะเวลาที่ลาศึกษาต่อให้จัดทำ าหนังสือแจ้งการรายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติราชการ<br />

ให้กองการเจ้าหน้าที่ เพื่อจักได้จัดทำาคำาสั่งให้ข้าราชการกลับเข้าปฏิบัติราชการต่อไป<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

55


การคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น<br />

คณะกรรมการจัดงานวันข้าราชการพลเรือน ที่มีปลัดสำานักนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และ<br />

เห็นชอบมอบหมายปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นเจ้าภาพรับผิดชอบดำาเนินงานในฐานะประธานอนุกรรมการ<br />

คัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น มีหน้าที่รับผิดชอบในกระบวนการทั้งปวงอันเกี่ยวเนื่องกับการคัดเลือก<br />

ข้าราชการพลเรือนดีเด่น มีผลการทำางานเริ่มนับแต่การคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำาปี 2526<br />

จัดพิธีเชิดชูเกียรติในวันข้าราชการพลเรือน 1 เมษายน 2527 เป็นต้นมา โดยมีกรอบความคิดของการทำางาน<br />

เพื่อมุ่งส่งเสริมและยกย่องข้าราชการและลูกจ้างประจำาฝ่ายพลเรือนที่ประพฤติปฏิบัติงานเป็นแบบอย่างให้<br />

ข้าราชการอื่นได้ประพฤติปฏิบัติตามและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ทั้งในด้านการดำาเนินงาน การปฏิบัติตนให้เป็นที่<br />

ยอมรับกับบุคคลผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในหน้าที่ราชการและสังคม กับการปฏิบัติงานที่เพียบพร้อมด้วยจรรยาบรรณ<br />

ข้าราชการปรากฏชัดเจนเป็นที่ยอมรับและมีผลงานโดดเด่นเป็นประโยชน์ยิ่งกับภารกิจราชการที่รับมอบหมาย<br />

รวมถึงผลการปฏิบัติตน งาน ส่งผลกับประชาชนที่เป็นผู้รับบริการเป็นสำาคัญ<br />

คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการคัดเลือก<br />

1. เป็นข้าราชการพลเรือนหรือลูกจ้างประจำาในส่วนกลาง<br />

2. มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานติดต่อกันต่อเนื่องจากสังกัดไม่น้อยกว่า 5 ปี<br />

3. เป็นผู้ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างสอบสวนทางวินัย<br />

4. ไม่อยู่ระหว่างการสอบสวนของพนักงานสอบสวนในคดีอาญา หรืออยู่ระหว่างการดำาเนินคดี<br />

อาญาในศาล เว้นแต่เป็นคดีที่ได้กระทำาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ<br />

5. ไม่เคยได้รับการคัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่นมาก่อน<br />

6. เป็นผู้มีความประพฤติปฏิบัติตนชอบด้วยคุณธรรม ศีลธรรม จรรยาบรรณข้าราชการ เป็น<br />

ที่ยอมรับของบุคคลในส่วนราชการและสังคม<br />

7. เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับ ยกย่องในเพื่อน ในสังคมร่วมงานอย่างเปิดเผยทั้งต่อหน้า<br />

และลับหลัง<br />

8. ประพฤติปฏิบัติงานในหน้าที่และนอกเหนือหน้าที่ สม่ำาเสมอ เต็มใจ มีจิตมุ่งผลสัมฤทธิ์ของ<br />

งานที่รับผิดชอบ จนมีผลงานปรากฏที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนราชการ ประชาชนมากกว่าผู้อื่นอย่างเด่นชัด<br />

9. มีผลงานเชิงประจักษ์ดีเด่นเป็นที่ยอมรับสมควรได้รับการยกย่อง ให้หมายรวมถึงผลการปฏิบัติงาน<br />

ในหน้าที่เป็นอันดับแรก ผลงานจากการอุทิศทุ่มเท เสียสละ เกิดประโยชน์ยิ่งกับส่วนราชการและประชาชน<br />

ทั้งนี้อาจปรากฏเป็นผลงานด้านเอกสารที่สืบค้นได้เชิงประจักษ์และ/หรือผลการปฏิบัติที่ไม่ปรากฏเป็นเอกสาร<br />

แต่เป็นรูปธรรมที่ยอมรับอย่างกว้างขวางของผู้เกี่ยวข้องสำาหรับการปฏิบัติหน้าที่ของลูกจ้างประจำา เป็นต้น<br />

10. กรณีที่ไม่มีผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนถึงระดับได้รับการพิจารณา ส่วนราชการจะงดส่งผล<br />

การคัดเลือกได้ ทั้งนี้จะไม่ส่งผลถึงปีต่อไปแต่ประการใด<br />

56 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

หลักเกณฑ์การคัดเลือก<br />

1. ส่วนราชการต้องคัดเลือกไม่เกินจำานวนที่คณะอนุกรรมการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น<br />

กำาหนด โดยพิจารณาจากข้อมูลบุคลากรตามกรอบอัตรากำาลังที่มีอยู่จริง ณ วันที่ 30 กันยายน<br />

ของปีงบประมาณที่แล้ว<br />

รายละเอียด จำานวน (คน) คัดเลือกได้ (คน) หมายเหตุ<br />

ข้าราชการ+ลูกจ้างประจำา 1 – 300 ไม่เกิน 1 ไม่จำากัดกลุ่ม<br />

ข้าราชการ+ลูกจ้างประจำา 301 – 3,000 ไม่เกิน 2 ไม่จำากัดกลุ่ม<br />

ข้าราชการ+ลูกจ้างประจำา 3,001 – 10,000 ไม่เกิน 3 ไม่จำากัดกลุ่ม<br />

ข้าราชการ+ลูกจ้างประจำา 10,001 ขึ้นไป ไม่เกิน 4 ไม่จำากัดกลุ่ม<br />

2. กลุ่มของผู้รับการคัดเลือก ส่วนราชการจำาแนกกลุ่มได้ 3 กลุ่ม<br />

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3<br />

ตำาแหน่งประเภทอำานวยการ<br />

- ระดับต้น<br />

ตำาแหน่งประเภทวิชาการ<br />

- ระดับชำานาญการ<br />

- ระดับชำานาญการพิเศษ<br />

ตำาแหน่งประเภททั่วไป<br />

- ระดับอาวุโส<br />

ตำาแหน่งประเภทวิชาการ<br />

- ระดับปฏิบัติการ<br />

ตำาแหน่งประเภททั่วไป<br />

- ระดับปฏิบัติงาน<br />

- ระดับชำานาญงาน<br />

ลูกจ้างประจำา<br />

ผลการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ตามข้อ 1 ให้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการคัด<br />

เลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นของกรม ไม่จำาเป็นว่าต้องมีทุกกลุ่ม แต่หากกลุ่มที่ 2 และ กลุ่มที่ 3 มีค่า<br />

คุณภาพงาน คน พฤติกรรม เท่าเทียมหรือใกล้เคียง แต่เลือกได้เพียงคนเดียว ขอให้ ส่วนราชการพิจารณา<br />

กลุ่มที่ 3 เป็นอันดับแรก<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

57


วิธีการคัดเลือก<br />

1. ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นของผู้สมควรได้รับการคัดเลือก ประเมินประวัติและผลงานโดย<br />

พิจารณาจากความสามารถเฉพาะตัว ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การเสียสละ วิริยะ อุตสาหะ รวมถึงการ<br />

ครองตน ครองคน ครองงาน และมีผลงานดีเด่น เป็นที่ยอมรับของบุคลากรในหน่วยงาน<br />

2. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นของกรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย<br />

ขั้นตอนการดำเนินการ<br />

1. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แจ้งเวียนหน่วยงานในสังกัดกอง หน่วยงานในส่วนกลาง<br />

ศูนย์ฯ เขต และวิทยาเขต พิจารณาคัดเลือกข้าราชการและลูกจ้างประจำาที่มีคุณสมบัติสมัครเข้ารับการ<br />

คัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น<br />

2. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นของกรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย กำาหนดหลักเกณฑ์และคัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอชื่อเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น<br />

3. อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เห็นชอบลงนามในหนังสือถึงปลัดกระทรวง<br />

ศึกษาธิการ เรื่องการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น<br />

4. กระทรวงศึกษาธิการตรวจสอบพิจารณาคัดเลือกและแจ้งชื่อให้กรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย เพื่อไปรับเข็มเชิดชูเกียรติ (ครุฑทองคำา) ในวันที่ 1 เมษายน ของทุกปี<br />

สำาหรับสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ซึ่งเป็นราชการส่วนภูมิภาค<br />

การคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น ให้ดำาเนินการคัดเลือกข้าราชการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กระทรวง<br />

ศึกษาธิการกำาหนด และให้ส่งแบบกรอกประวัติและแบบประเมินให้สำานักงานจังหวัดเพื่อพิจารณาในสัดส่วน<br />

ของจังหวัด ซึ่งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่นของจังหวัดจะพิจารณาคัดเลือก<br />

และรายงานผลการคัดเลือกให้ผู้ว่าราชการจังหวัดลงนามถึงปลัดกระทรวงศึกษาธิการ<br />

58 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

งานสรรหาบรรจุแต่งตั้ง<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

59


60 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การย้ายข้าราชการผู้ได้รับวุฒิเพิ่มขึ้น<br />

(จากการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้จากส่วนราชการอื่น)<br />

การย้ายข้าราชการผู้ได้รับวุฒิเพิ่มขึ้น หมายถึง การย้ายข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดำารง<br />

ตำาแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากประเภททั่วไป ซึ่งเดิมดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป ของสายงานที่เริ่มต้น<br />

จากระดับ 1 หรือ ระดับ 2 ที่ได้รับวุฒิปริญญาเพิ่มขึ้นตรงตามที่กำาหนดไว้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำาหรับ<br />

ตำาแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ (ระดับ 3 เดิม) ของสายงานที่จะแต่งตั้ง และไม่เคยดำารงตำาแหน่ง<br />

ในสายงานที่เริ่มต้นจากประเภทวิชาการ (ระดับ 3 เดิม) มาก่อน ซึ่งเป็นการแต่งตั้งจากผู้ที่สอบแข่งขันได้<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีหนังสือแจ้งหน่วยงานในสังกัดให้ทราบว่า กรณี<br />

หน่วยงานมีข้าราชการประเภททั่วไปได้รับวุฒิปริญญาตรีเพิ่มขึ้น และได้รับการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้<br />

ในการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการ<br />

ปฏิบัติการในส่วนราชการอื่น หากประสงค์ขอย้ายเปลี่ยนสายงาน ให้ทำาหนังสือแจ้งกองการเจ้าหน้าที่<br />

2. หน่วยงานต้นสังกัดมีหนังสือถึงกองการเจ้าหน้าที่ กรณีข้าราชการประเภททั่วไปผู้ได้รับ<br />

วุฒิปริญญาตรีเพิ่มขึ้น และได้รับการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้จากส่วนราชการอื่น แจ้งความประสงค์ขอย้าย<br />

ปรับเปลี่ยนสายงานเป็นประเภทวิชาการปฏิบัติการ<br />

3. กองการเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบอัตราว่างในสังกัดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประเภท<br />

วิชาการปฏิบัติการ ซึ่งมีชื่อตำาแหน่งตรงกับตำาแหน่งที่ข้าราชการได้ขึ้นบัญชีการสอบแข่งขัน และดำาเนินการ<br />

ตามขั้นตอนที่ 5 กรณีที่ 1 หรือหากไม่มีตำาแหน่งดังกล่าวว่าง จะตรวจสอบตำาแหน่งอื่นประเภทวิชาการ<br />

ปฏิบัติการ โดยข้าราชการจะต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำาหรับตำาแหน่งที่จะแต่งตั้ง เพื่อนำา<br />

มาใช้เป็นตำาแหน่งในการย้ายข้าราชการ และดำาเนินการตามขั้นตอนที่ 5 กรณีที่ 2<br />

4. กองการเจ้าหน้าที่ประสานข้าราชการผู้สอบขึ้นบัญชี ฯ เพื่อชี้แจงทำาความเข้าใจหลักเกณฑ์<br />

และสายทางความก้าวหน้าเพื่อประกอบการพิจารณาย้ายข้าราชการ หากเงินเดือนข้าราชการเกินขั้นสูงของ<br />

ประเภทวิชาการปฏิบัติการ ต้องทำาข้อตกลงยินยอมปรับลดเงินเดือนลงมาเท่ากับขั้นสูงของประเภทวิชาการ<br />

ปฏิบัติการ<br />

5. การจัดทำาคำาสั่ง แยกการดำาเนินการเป็น 2 กรณี คือ<br />

กรณีที่ 1 ชื่อตำาแหน่งสายงานที่ว่างตรงกับบัญชีสอบ ดำาเนินการดังนี้<br />

1) ประสานส่วนราชการเจ้าของบัญชีผู้สอบแข่งขันได้เพื่อตรวจสอบสถานภาพของประกาศ<br />

การขึ้นบัญชีว่าได้มีการนำาบัญชีไปใช้แล้ว บัญชียังไม่ถูกยกเลิก และขอนำารายชื่อข้าราชการในสังกัด<br />

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยผู้ได้รับการขึ้นบัญชีมาดำาเนินการจัดทำาคำาสั่งย้ายข้าราชการผู้ได้รับการ<br />

ขึ้นบัญชี ฯ ตามแนวทางหนังสือสำานักงาน ก.พ. ที่ นร 0711/ ว 12 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2533<br />

2) จัดทำาคำาสั่งย้ายข้าราชการผู้ได้รับวุฒิเพิ่มขึ้นเพื่อแต่งตั้งให้ดำ ารงตำาแหน่งประเภทวิชาการ<br />

ปฏิบัติการ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

61


กรณีที่ 2 ชื่อตำาแหน่งสายงานที่ว่างไม่ตรงกับบัญชีสอบ ดำาเนินการดังนี้<br />

1) ประสานส่วนราชการเจ้าของบัญชีผู้สอบแข่งขันได้เพื่อตรวจสอบสถานภาพของประกาศ<br />

การขึ้นบัญชีว่าได้มีการนำาบัญชีไปใช้แล้ว บัญชียังไม่ถูกยกเลิก และขอนำารายชื่อข้าราชการในสังกัดกรม<br />

ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยผู้ได้รับการขึ้นบัญชีมาดำาเนินการจัดทำาคำาสั่งย้ายข้าราชการผู้ได้รับการขึ้น<br />

บัญชี ฯ ตามแนวทางหนังสือสำานักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ ว 15 ลงวันที่ 28 มิถุนายน 2547<br />

2) จัดทำาคำาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกข้าราชการผู้สอบแข่งขันได้ในตำาแหน่งหนึ่งไป<br />

ขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ในตำาแหน่งอื่น หลักเกณฑ์และวิธีการ ฯ ตามแนวทางหนังสือสำานักงาน ก.พ.<br />

ที่ นร 0708.4/ว 15 ลงวันที่ 9 กันยายน 2535 คณะกรรมการประกอบด้วยข้าราชการพลเรือนจำานวน<br />

ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นประธาน<br />

3) ประชุมคณะกรรมการคัดเลือก ฯ เพื่อกำาหนดแนวทางการคัดเลือก วัน เวลา การ<br />

คัดเลือกพร้อมทั้งกำาหนดระยะเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการในตำาแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง<br />

4) แจ้งให้ข้าราชการผู้สอบขึ้นบัญชีฯ สมัครเข้ารับการประเมินความเหมาะสมกับตำาแหน่ง<br />

โดยแจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนก่อนวันเริ่มรับสมัครไม่น้อยกว่า 10 วัน และกำาหนดระยะ<br />

เวลารับสมัครไม่น้อยกว่า 3 วันทำาการ<br />

5) จัดเตรียมสถานที่สอบคัดเลือก จัดทำาข้อมูลข้าราชการให้คณะกรรมการคัดเลือกเพื่อ<br />

ประกอบ การพิจารณาคัดเลือก<br />

6) ดำาเนินการคัดเลือก<br />

7) ประมวลผลการสอบสรุปเสนออธิบดี พร้อมประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก โดยผู้ผ่าน<br />

การคัดเลือกต้องเป็นผู้ได้รับคะแนนไม่ต่ำากว่าร้อยละ 60<br />

8) จัดทำาคำาสั่งย้ายข้าราชการผู้ได้รับวุฒิเพิ่มขึ้นเพื่อแต่งตั้งให้ดำ ารงตำาแหน่งประเภทวิชาการ<br />

ปฏิบัติการ<br />

หมายเหตุ : การดำาเนินการกรณีที่ 2 เมื่อได้จัดทำาคำาสั่งย้ายข้าราชการผู้ได้รับวุฒิเพิ่มขึ้น ให้ปฏิบัติงานใน<br />

ตำาแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งไม่น้อยกว่า 1 ปี จึงจะย้ายหรือโอนได้<br />

6. แจ้งสังกัดที่ข้าราชการไปปฏิบัติงาน พร้อมแบบประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ<br />

7. เมื่อครบระยะเวลาที่กำาหนดให้ประเมินผลการปฏิบัติราชการตามตำาแหน่งที่ได้รับการ<br />

แต่งตั้งให้สังกัดที่ข้าราชการไปปฏิบัติงานแจ้งผลการประเมินส่งให้กองการเจ้าหน้าที่ โดยคะแนนผลการ<br />

ประเมินต้องไม่ต่ำากว่าร้อยละ 60 จึงจะถือว่าผ่านการประเมิน หากคะแนนไม่ถึงร้อยละ 60 ต้องให้ข้าราชการ<br />

ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ เป็นระยะเวลาอีก 1 เดือนจึงจัดทำาการประเมินผลการปฏิบัติงานอีกครั้ง<br />

62 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การส่งตัวข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ<br />

ไปปฏิบัติราชการตามคำสั่ง<br />

ข้าราชการ ลูกจ้างประจำา และพนักงานราชการ ที่ได้รับคำาสั่งเลื่อน / ย้าย / ปฏิบัติราชการ<br />

ต้องส่งมอบงานและเดินทางไปปฏิบัติราชการตามสังกัดที่มีคำาสั่งภายในเวลาที่กำาหนด โดยการเจ้าหน้าที่<br />

ของสังกัดที่ปฏิบัติราชการอยู่ต้องดำาเนินการส่งตัวข้าราชการ ลูกจ้างประจำา และพนักงานราชการ ไปปฏิบัติ<br />

ราชการตามคำาสั่ง พร้อมทั้งรายงานผลการส่งตัวมายังกองการเจ้าหน้าที่<br />

นิยาม<br />

“ส่วนกลาง” หมายถึง สำานัก / กอง / ว<strong>ปภ</strong>. / ว<strong>ปภ</strong>.เขต / ศูนย์ฯ เขต 1-18<br />

“ส่วนภูมิภาค”<br />

หมายถึง สำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด<br />

“สังกัดเดิม” หมายถึง สังกัดที่ปฏิบัติราชการ<br />

“สังกัดใหม่” หมายถึง สังกัดที่มีคำาสั่งให้ไปปฏิบัติ<br />

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง<br />

• พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 32 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดย<br />

มาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545<br />

• พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 49<br />

• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547 ข้อ 4 ข้อ 22 ข้อ 31<br />

• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับส่งงานในหน้าที่ราชการ พ.ศ.2524<br />

ขั้นตอนการดำเนินงาน<br />

1. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีคำาสั่งให้ข้าราชการ ลูกจ้างประจำา และพนักงานราชการ<br />

เลื่อน/ย้าย/ปฏิบัติราชการ<br />

2. กองการเจ้าหน้าที่จัดทำาหนังสือภายนอก/หนังสือภายใน แจ้งให้สังกัดเดิม (สังกัดปฏิบัติ)<br />

จัดทำาหนังสือภายนอก / หนังสือภายใน ส่งตัวข้าราชการ ลูกจ้างประจำา และพนักงานราชการ ไปปฏิบัติ<br />

ราชการในสังกัดใหม่ตามคำาสั่งที่ได้รับ พร้อมทั้งแนบแบบประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ<br />

รายละเอียดวันลากิจ ลาป่วย และลาพักผ่อน (ถ้ามี)<br />

3. กองการเจ้าหน้าที่เป็นผู้จัดทำาหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดกรณีมีข้าราชการได้รับคำาสั่ง<br />

เลื่อน/ย้าย/ปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

63


การจัดทำาหนังสือส่งตัวให้สังกัดเดิมปฏิบัติแล้วแต่กรณี ดังนี้<br />

การจัดทําหนังสือสงตัวใหสังกัดเดิมปฏิบัติแลวแตกรณี ดังนี้<br />

สังกัดเดิม สังกัดใหม ผูลงนามในหนังสือ ลงนามถึง การแจงผล หมายเหตุ<br />

สงตัว<br />

สวนกลาง สวนกลาง ผูอํานวยการกอง ผูอํานวยการ สังกัดเดิมแจงผล<br />

-<br />

ผูอํานวยการสํานัก<br />

ผูอํานวยการวิทยาลัย ฯ<br />

หัวหนาหนวยงาน<br />

(สังกัดใหม) การสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

สวนกลาง ศูนย ฯ เขต ผูอํานวยการกอง ผูอํานวยการศูนย ฯ สังกัดเดิมแจงผล<br />

-<br />

ผูอํานวยการสํานัก<br />

ผูอํานวยการวิทยาลัย ฯ<br />

หัวหนาหนวยงาน<br />

(สังกัดใหม) การสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

สวนกลาง <strong>ปภ</strong>.จังหวัด อธิบดี ผูวาราชการจังหวัด<br />

(สังกัดใหม)<br />

สังกัดเดิมแจงผล<br />

การสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

ผูที่ไดรับคําสั่งใหไป<br />

รับหนังสือสงตัวที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

ศูนย ฯ เขต สวนกลาง ผูอํานวยการศูนย ฯ ผูอํานวยการ สังกัดเดิมแจงผล<br />

-<br />

(สังกัดใหม) การสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

ศูนย ฯ เขต ศูนย ฯ เขต ผูอํานวยการศูนย ฯ ผูอํานวยการศูนย ฯ<br />

(สังกัดใหม)<br />

สังกัดเดิม (ศูนยฯ เขต)<br />

แจงผลการสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

-<br />

ศูนย ฯ เขต <strong>ปภ</strong>.จังหวัด ผูอํานวยการศูนย ฯ ผูวาราชการจังหวัด<br />

<strong>ปภ</strong>.จังหวัด สวนกลาง ผูวาราชการจังหวัด<br />

(สังกัดเดิม)<br />

<strong>ปภ</strong>.จังหวัด ศูนย ฯ เขต ผูวาราชการจังหวัด<br />

(สังกัดเดิม)<br />

(สังกัดใหม)<br />

อธิบดี<br />

สังกัดเดิม (ศูนยฯ เขต)<br />

แจงผลการสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

สังกัดเดิม (<strong>ปภ</strong>.จังหวัด)<br />

แจงผลการสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

ผูอํานวยการศูนย ฯ สังกัดเดิม (<strong>ปภ</strong>.จังหวัด)<br />

แจงผลการสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

แนบหนังสือถึงผูวา<br />

ราชการจังหวัด<br />

มาใหสังกัดเดิม<br />

กองการเจาหนาที่<br />

แนบหนังสือถึงผูวา<br />

ราชการจังหวัด<br />

มาใหสังกัดเดิม<br />

กองการเจาหนาที่<br />

แนบหนังสือถึงผูวา<br />

ราชการจังหวัด<br />

มาใหสังกัดเดิม<br />

64 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

สังกัดเดิม สังกัดใหม ผูลงนามในหนังสือ<br />

สงตัว<br />

<strong>ปภ</strong>.จังหวัด <strong>ปภ</strong>.จังหวัด ผูวาราชการจังหวัด<br />

(สังกัดเดิม)<br />

ลงนามถึง การแจงผล หมายเหตุ<br />

ผูวาราชการจังหวัด<br />

(สังกัดใหม)<br />

กรม <strong>ปภ</strong>. ตางกรม อธิบดี ผูบังคับบัญชา<br />

(สังกัดใหม)<br />

สังกัดเดิม (<strong>ปภ</strong>.จังหวัด)<br />

แจงผลการสงตัวมาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

แนบหนังสือถึงผูวา<br />

ราชการจังหวัด<br />

มาใหสังกัดเดิม<br />

- ผูที่ไดรับคําสั่งใหไป<br />

รับหนังสือสงตัวที่<br />

กองการเจาหนาที่<br />

หมายเหตุ หมายเหตุ กองการเจาหนาที่จะแจงคําสั่งกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยใหผูไดรับคําสั่งทราบ<br />

กองการเจ้าหน้าที่จะแจ้งคำาสั่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้ผู้ได้รับคำ าสั่งทราบ<br />

ภายใน 10 วัน นับจากวันที่มีคำาสั่ง<br />

ภายใน 10 วัน นับจากวันที่มีคําสั่ง<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

65


66 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

งานอัตรากำลังและระบบงาน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

67


68 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ประเภทและตำแหน่งของข้าราชการพลเรือน<br />

การประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 เมื่อวันที่ 26 มกราคม<br />

2551 ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในระบบราชการ โดยมีการยกเลิกระบบจำาแนกตำาแหน่งและ<br />

ค่าตอบแทน จากระบบที่เรียกว่า Single Classification Scheme มาเป็นระบบ Multi Classification Scheme<br />

คือ จากกลุ่มเดียวที่มีระดับมาตรฐานกลาง (Common Level) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า”ซี” ที่ใช้กันมา<br />

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ด้วยเหตุผลที่ว่า มาตรฐานกลางเพียงมาตรฐานเดียวไม่สามารถบริหารกำาลังคนที่มีความ<br />

แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ มาเป็นระบบจำาแนกตำาแหน่งใหม่ เพื่อช่วยให้การบริหารเป็นไปอย่าง<br />

คล่องตัว มีประสิทธิภาพ โดยมาตรา 45 และมาตรา 46 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ได้บัญญัติให้จัดระบบ<br />

โครงสร้างตำาแหน่งข้าราชการใหม่ เป็น 4 ประเภท ตามลักษณะงานที่อยู่ในราชการ คือ ตำาแหน่งประเภท<br />

บริหาร (S) อำานวยการ (M) วิชาการ (K) และทั่วไป (O) และในแต่ละประเภทจะประกอบด้วยกลุ่มสายงาน<br />

ที่มีลักษณะสอดคล้องกับความหมายของประเภทตำาแหน่งนั้นๆ ดังนี้<br />

1. ตำาแหน่งประเภทบริหาร หมายถึง ตำาแหน่งที่มีอำานาจและหน้าที่ในการบริหารงานในฐานะ<br />

ที่เป็นหัวหน้าส่วนราชการและรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงหรือกรมตำาแหน่งที่มีฐานะเป็นปฏิบัติงาน<br />

ตรวจและแนะนำาการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกระทรวง และตำาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กำาหนดเป็น<br />

ตำาแหน่งประเภทบริหาร ประกอบด้วย 4 สายงาน คือ สายงานนักบริหาร นักการทูต นักปกครอง และ<br />

ตำาแหน่งในสายงานตรวจราชการ (ระดับกระทรวง) จำาแนกเป็น 2 ระดับ ได้แก่<br />

1.1 บริหารระดับต้น : ตำาแหน่งรองอธิบดี รองผู้ว่าราชการจังหวัด อัครราชทูต กงสุลใหญ่<br />

และตำาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กำาหนด<br />

1.2 บริหารระดับสูง : ตำาแหน่งปลัดกระทรวง รองปลัดกระทรวง ผู้ตรวจราชการกระทรวง<br />

อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด เอกอัครราชทูต และตำาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กำาหนด<br />

2. ตำาแหน่งประเภทอำานวยการ หมายถึง ตำาแหน่งที่มีอำานาจและหน้าที่ในการบริหารงาน<br />

ในฐานะหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำากว่าระดับกรมซึ่งมีการแบ่งส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร<br />

ราชการแผ่นดิน และตำาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กำาหนด จำาแนกเป็น 2 ระดับ ได้แก่<br />

2.1 อำานวยการระดับต้น : ตำาแหน่งผู้อำานวยการกอง ผู้อำานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัยเขต หัวหน้าส่วนราชการประจำาจังหวัด หัวหน้าสำานักงานจังหวัด นายอำาเภอ และตำาแหน่งอื่น<br />

ที่ ก.พ. กำาหนด<br />

2.2 อำานวยการระดับสูง : ตำาแหน่ง ผู้อำานวยการสำานัก ผู้ตรวจราชการกรม หัวหน้าส่วน<br />

ราชการประจำาจังหวัดที่ผ่านการประเมินคุณภาพงานตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กำาหนด หัวหน้าสำานักงาน<br />

จังหวัดที่ผ่านการประเมินคุณภาพงานตามหลักเกณฑ์ที่ก.พ. กำาหนด นายอำาเภอที่ผ่านการประเมินคุณภาพงาน<br />

ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กำาหนด กงสุล และตำาแหน่งอื่นที่ ก.พ. กำาหนด<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

69


3. ตำาแหน่งประเภทวิชาการ หมายถึง ตำาแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ความรู้ในทางวิชาการ<br />

ซึ่งจำาเป็นต้องใช้ผู้สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ก.พ. กำาหนด หรือปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำาแหน่งนั้น<br />

จำาแนกเป็น 5 ระดับ ได้แก่<br />

3.1 ระดับปฏิบัติการ : ตำาแหน่งแรกบรรจุ<br />

3.2 ระดับชำานาญการ : ตำาแหน่งที่ต้องอาศัยประสบการณ์ สามารถปฏิบัติงานด้านวิชาการ<br />

ที่จำาเป็นต้องมีประสบการณ์ หรือตำาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานด้านวิชาการ<br />

3.3 ระดับชำานาญการพิเศษ : ตำาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานด้านวิชาการในงานสูงมากสามารถ<br />

ปฏิบัติงานวิชาการที่ต้องอาศัยความรู้ชำานาญงานในงานที่ยุ่งยากซับซ้อน หรือเป็นหัวหน้าหน่วยงานด้าน<br />

วิชาการหรือหัวหน้าหน่วยงานปฏิบัติการกึ่งวิชาการขนาดใหญ่<br />

3.4 ระดับเชี่ยวชาญ : ตำาแหน่งที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญในงานสูงหรือตำาแหน่งที่ต้องใช้<br />

ความเชี่ยวชาญด้านวิชาการระดับกรม<br />

3.5 ระดับทรงคุณวุฒิ : ตำาแหน่งที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญในงานสูงมากเป็นพิเศษในฐานะ<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิในงานด้านนั้น หรือให้คำาปรึกษาระดับกระทรวงโดยเน้นตำาแหน่งที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญด้าน<br />

วิชาการระดับกระทรวง<br />

4. ตำาแหน่งประเภททั่วไป หมายถึง ตำาแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานซึ่งเน้นการใช้ทักษะฝีมือ<br />

หรือผู้ที่มีประสบการณ์ในงาน โดยไม่จำาเป็นต้องใช้ผู้สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.พ. กำาหนด<br />

จำาแนกเป็น 4 ระดับ ได้แก่<br />

4.1 ระดับปฏิบัติงาน : ตำาแหน่งแรกบรรจุ<br />

4.2 ระดับชำานาญงาน : หัวหน้าหน่วยงานระดับต้น หรือตำาแหน่งที่ใช้ทักษะ<br />

ความสามารถเฉพาะที่จำาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ ตำาแหน่งเทคนิคเฉพาะด้านที่จำาเป็นต้องมีประสบการณ์<br />

หรือตำาแหน่งปฏิบัติการในสายงานหลักที่ต้องมีประสบการณ์ หรือตำาแหน่งบริการสนับสนุนที่ต้องมี<br />

ประสบการณ์<br />

4.3 ระดับอาวุโส : ตำาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานขนาดใหญ่ หรือตำาแหน่งที่ใช้ทักษะความ<br />

สามารถเฉพาะในระดับสูงมาก หรือตำาแหน่งที่ใช้เทคนิคเฉพาะด้านสูงมาก<br />

4.4 ระดับทักษะพิเศษ : ตำาแหน่งสำาหรับสายงานที่ใช้ทักษะความสามารถเฉพาะสูงมาก<br />

เป็นพิเศษ (เฉพาะตัวบุคคล)<br />

ก.พ. ได้จัดทำามาตรฐานกำาหนดตำาแหน่งโดยจำาแนกตำาแหน่งเป็นประเภทและสายงานตาม<br />

ลักษณะงาน เพื่อให้ยึดถือเป็นหลักในการกำาหนดตำาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการ จำานวน<br />

รวม 245 สายงาน ในกลุ่มอาชีพ 8 กลุ่ม ประกอบด้วย<br />

กลุ่มอาชีพ 1 หมายถึง กลุ่มอาชีพบริหาร อำานวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ<br />

งานการทูตและต่างประเทศ<br />

กลุ่มอาชีพ 2 หมายถึง กลุ่มอาชีพการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม<br />

70 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

กลุมอาชีพ 2 หมายถึง กลุมอาชีพการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชยและอุตสาหกรรม<br />

กลุมอาชีพ<br />

กลุ่มอาชีพ<br />

3 หมายถึง<br />

3 หมายถึง<br />

กลุมอาชีพคมนาคม<br />

กลุ่มอาชีพคมนาคม<br />

ขนสง และติดตอสื่อสาร<br />

ขนส่ง และติดต่อสื่อสาร<br />

กลุมอาชีพ<br />

กลุ่มอาชีพ<br />

4 หมายถึง<br />

4 หมายถึง<br />

กลุมอาชีพเกษตรกรรม<br />

กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม<br />

กลุ่มอาชีพ 5 หมายถึง กลุ่มอาชีพวิทยาศาสตร์<br />

กลุมอาชีพ 5 หมายถึง กลุมอาชีพวิทยาศาสตร<br />

กลุ่มอาชีพ 6 หมายถึง กลุ่มอาชีพแพทย์ พยาบาลและสาธารณสุข<br />

กลุมอาชีพ 6 หมายถึง กลุมอาชีพแพทย พยาบาลและสาธารณสุข<br />

กลุ่มอาชีพ 7 หมายถึง กลุ่มอาชีพวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และช่างเทคนิคต่างๆ<br />

กลุมอาชีพ 7 หมายถึง กลุมอาชีพวิศวกรรม สถาปตยกรรม และชางเทคนิคตางๆ<br />

กลุ่มอาชีพ 8 หมายถึง กลุ่มอาชีพการศึกษา ศิลปะ สังคม และการพัฒนาชุมชน<br />

กลุมอาชีพ 8 หมายถึง กลุมอาชีพการศึกษา ศิลปะ สังคม และการพัฒนาชุมชน<br />

สำาหรับรายชื่อตำาแหน่งตามพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ไทย-อังกฤษ)<br />

ตามสายงาน สําหรับรายชื่อตําแหนงตามพระราชบัญญัติขาราชการพลเรือน ประเภทและระดับตำาแหน่ง ที่เกี่ยวข้องกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2551 (ไทย-อังกฤษ) ประกอบด้วย ตาม<br />

สายงาน 29 สายงาน ประเภทและระดับตําแหนง ในกลุ่มอาชีพ 6 กลุ่ม ที่เกี่ยวของกับกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (ยกเว้นกลุ่มอาชีพที่ 4 และกลุ่มอาชีพที่ 6) สรุปได้ดังนี้ ประกอบดวย 29 สาย<br />

งาน ในกลุมอาชีพ 6 กลุม (ยกเวนกลุมอาชีพที่ 4 และกลุมอาชีพที่ 6) สรุปไดดังนี้<br />

ลําดับ ชื่อสายงาน<br />

(Classification Name)<br />

ชื่อตําแหนงในสายงาน<br />

(Classification Title)<br />

ประเภท<br />

Category<br />

ระดับ<br />

ตําแหนง<br />

Level<br />

ตําแหนงประเภทบริหาร : กลุมอาชีพ 1กลุมอาชีพบริหาร อํานวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ งานการทูตและ<br />

ตางประเทศ<br />

1 บริหาร<br />

นักบริหาร<br />

บริหาร S1-S2<br />

Executive<br />

Executive<br />

ตําแหนงประเภทอํานวยการ : กลุมอาชีพ 1กลุมอาชีพบริหาร อํานวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ งานการทูต<br />

และตางประเทศ<br />

2 อํานวยการ<br />

Management<br />

ผูอํานวยการ<br />

Director<br />

อํานวยการ M1-M2<br />

3 อํานวยการเฉพาะดาน<br />

Management in Specific<br />

Field<br />

ผูอํานวยการเฉพาะดาน (ระบุชื่อสายงาน)<br />

เชนผูอํานวยการเฉพาะดาน (แพทย)<br />

Director (Classification Name)<br />

e.g. Director (physician)<br />

อํานวยการ<br />

ตําแหนงประเภทวิชาการ<br />

กลุมอาชีพ 1กลุมอาชีพบริหาร อํานวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ งานการทูตและตางประเทศ<br />

4 จัดการงานทั่วไป<br />

General Administration<br />

นักจัดการงานทั่วไป<br />

General Administration Officer<br />

วิชาการ<br />

5 ทรัพยากรบุคคล<br />

Human Resource<br />

นักทรัพยากรบุคคล<br />

Human Resource Officer<br />

วิชาการ<br />

M1-M2<br />

K1-K3<br />

K1-K5<br />

6 นิติการ Legal Affairs นิติกร Legal Officer วิชาการ K1-K5<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

71


ลําดับ ชื่อสายงาน<br />

(Classification Name)<br />

7 วิเคราะหนโยบายและแผน<br />

Plan and Policy Analysis<br />

8 วิชาการคอมพิวเตอร<br />

Computer Science<br />

9 วิชาการพัสดุ<br />

Supply<br />

10 วิเทศสัมพันธ<br />

International Cooperation<br />

ชื่อตําแหนงในสายงาน<br />

(Classification Title)<br />

นักวิเคราะหนโยบายและแผน<br />

Plan and Policy Analyst<br />

นักวิชาการคอมพิวเตอร<br />

Computer Technical Officer<br />

นักวิชาการพัสดุ<br />

Supply Analyst<br />

นักวิเทศสัมพันธ<br />

Foreign Relations Officer<br />

กลุมอาชีพ 2 กลุมอาชีพการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชย และอุตสาหกรรม<br />

11 วิชาการเงินและบัญชี<br />

Finance and Accounting<br />

นักวิชาการเงินและบัญชี<br />

Finance and Accounting Analyst<br />

12 วิชาการตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายใน<br />

Internal Audit<br />

Internal Auditor<br />

กลุมอาชีพ 3 กลุมอาชีพคมนาคม ขนสง และติดตอสื่อสาร<br />

13 วิชาการเผยแพร<br />

Dissemination<br />

14 วิชาการโสตทัศนศึกษา<br />

Audio-Visual Technic<br />

นักวิชาการเผยแพร<br />

Dissemination Technical Officer<br />

นักวิชาการโสตทัศนศึกษา<br />

Audio-Visual Technical Officer<br />

ประเภท<br />

Category<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

ระดับ<br />

ตําแหนง<br />

Level<br />

K1-K5<br />

K1-K5<br />

K1-K3<br />

K1-K4<br />

K1-K4<br />

K1-K4<br />

K1-K3<br />

K1-K3<br />

กลุมอาชีพ 5 กลุมอาชีพวิทยาศาสตร<br />

15 วิทยาศาสตร<br />

Science<br />

นักวิทยาศาสตร<br />

Scientist<br />

กลุมอาชีพ 7 กลุมอาชีพวิศวกรรม สถาปตยกรรม และชางเทคนิคตางๆ<br />

16 วิศวกรรมเครื่องกล<br />

Mechanical Engineering<br />

17 วิศวกรรมไฟฟา<br />

Electrical Engineering<br />

18 วิศวกรรมโยธา<br />

Civil Engineering<br />

วิศวกรเครื่องกล<br />

Mechanical Engineer<br />

วิศวกรไฟฟา<br />

Electrical Engineer<br />

วิศวกรโยธา<br />

Civil Engineer<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

วิชาการ<br />

K1-K5<br />

K1-K4<br />

K1-K4<br />

K1-K5<br />

72 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ลําดับ ชื่อสายงาน<br />

(Classification Name)<br />

ชื่อตําแหนงในสายงาน<br />

(Classification Title)<br />

ประเภท<br />

Category<br />

ระดับ<br />

ตําแหนง<br />

Level<br />

กลุมอาชีพ 8 กลุมอาชีพการศึกษา ศิลปะ สังคม และการพัฒนา<br />

19 สังคมสงเคราะห นักสังคมสงเคราะห<br />

วิชาการ K1-K4<br />

Social Work<br />

Social Worker<br />

ตําแหนงประเภททั่วไป<br />

กลุมอาชีพ 1 กลุมอาชีพบริหาร อํานวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ งานการทูต และตางประเทศ<br />

20 ปฏิบัติงานธุรการ<br />

General Service Operation<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

เจาพนักงานธุรการ<br />

General Service Officer หรือ<br />

Office Clerk<br />

21 ปฏิบัติงานพัสดุ<br />

Supply Operation<br />

เจาพนักงานพัสดุ<br />

Supply Officer<br />

กลุมอาชีพ 2 กลุมอาชีพการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชย และอุตสาหกรรม<br />

22 ปฏิบัติงานการเงินและบัญชี เจาพนักงานการเงินและบัญชี<br />

Finance and Accounting Finance and Accounting Officer<br />

กลุมอาชีพ 3 กลุมอาชีพคมนาคม ขนสง และติดตอสื่อสาร<br />

23 ปฏิบัติงานสื่อสาร เจาพนักงานสื่อสาร<br />

Telecommunications Telecommunications Officer<br />

Operation<br />

24 ปฏิบัติงานโสตทัศนศึกษา เจาพนักงานโสตทัศนศึกษา<br />

Audio-Visual Operation Audio-Visual Officer<br />

กลุมอาชีพ 7 กลุมอาชีพวิศวกรรม สถาปตยกรรม และชางเทคนิคตางๆ<br />

25 ปฏิบัติงานชางพิมพ<br />

Printing Operation<br />

26 ปฏิบัติงานเครื่องคอมพิวเตอร<br />

Computer Operation<br />

27 ปฏิบัติงานชางเครื่องกล<br />

Mechanical Operation<br />

28 ปฏิบัติงานชางไฟฟา<br />

Electrical Operation<br />

29 ปฏิบัติงานชางโยธา<br />

Civil Works Operation<br />

นายชางพิมพ<br />

Printer<br />

เจาพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร<br />

Computer Operator<br />

นายชางเครื่องกล<br />

Mechanic<br />

นายชางไฟฟา<br />

Electrician<br />

นายชางโยธา<br />

Civil Works Technician<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

ทั่วไป O1-O3<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

73


มาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็น<br />

สำหรับตำแหน่งข้าราชการพลเรือน<br />

นิยาม<br />

“ความรู้ความสามารถ” หมายถึง องค์ความรู้ต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน<br />

“ทักษะ” หมายถึง การนำาความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงานจนเกิดความชำานาญ<br />

และคล่องแคล่ว<br />

“สมรรถนะ” หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ความ<br />

สามารถทักษะ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทำาให้บุคคลสร้าง<br />

ผลงานได้โดดเด่นในองค์การ<br />

ก.พ. ได้กำาหนดมาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำาเป็นสำาหรับตำาแหน่ง<br />

ตามมาตรฐานกำาหนดตำาแหน่ง โดยกำาหนดเป็นระดับต่างๆ ในแต่ละประเภทตำาแหน่ง ดังนี้<br />

ก. ความรู้ความสามารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง ประกอบด้วย ความรู้<br />

ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ<br />

1. ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน<br />

1.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป<br />

(1) ระดับปฏิบัติงาน ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 1 คือ มีความรู้พื้นฐาน<br />

ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ<br />

(2) ระดับชำานาญงาน ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 2 คือ มีความรู้ความ<br />

สามารถที่กำาหนดในระดับที่ 1 และ มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำานาญหรือทักษะ<br />

เฉพาะทาง<br />

(3) ระดับอาวุโส ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่3 คือ มีความรู้ความสามารถ<br />

ที่กำาหนดในระดับที่ 2 และ มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำานาญหรือทักษะในงานเชิง<br />

เทคนิคหรืองานฝีมือเฉพาะทางระดับสูง<br />

(4) ระดับทักษะพิเศษ ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 4 คือ มีความรู้ความ<br />

สามารถที่กำาหนดในระดับที่ 3 และ มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำานาญหรือทักษะใน<br />

งานเชิงเทคนิคหรืองานฝีมือเฉพาะทางระดับสูงมาก จนได้รับการยอมรับในระดับชาติ<br />

1.2 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ<br />

(1) ระดับปฏิบัติการ ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 1 คือ มีวุฒิการศึกษา<br />

ระดับปริญญาและสามารถนำาองค์ความรู้ที่ศึกษามาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการได้<br />

74 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

(2) ระดับชำานาญการ ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 2 คือ มีความรู้ความ<br />

สามารถที่กำาหนดในระดับที่ 1 และ มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎีของงานในสายอาชีพที่<br />

ปฏิบัติอยู่ รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้<br />

(3) ระดับชำานาญการพิเศษ ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 3 คือ มีความรู้<br />

ความสามารถที่กำาหนดในระดับที่ 2 และ มีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับลักษณะงาน หลักการ<br />

แนวคิด ทฤษฎีของงานในสายอาชีพที่ปฏิบัติอยู่ จนสามารถนำามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้<br />

(4) ระดับเชี่ยวชาญ ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 4 คือ มีความรู้ความ<br />

สามารถที่กำาหนดในระดับที่ 3 และ มีความเชี่ยวชาญในสายอาชีพที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการอยู่และสามารถ<br />

แก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คำาปรึกษาแนะนำาได้<br />

(5) ระดับทรงคุณวุฒิ ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 5 คือ มีความรู้ความ<br />

สามารถที่กำาหนดในระดับที่4 และ เป็นผู้เชี่ยวชาญในสายอาชีพที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการอยู่เนื่องจากการสั่งสม<br />

ประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหารหรือปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไข<br />

ปัญหาทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ<br />

1.3 ตำาแหน่งประเภทอำานวยการ<br />

(1) ระดับต้น ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 1 คือ มีความรู้ความสามารถที่<br />

กำาหนดในระดับที่ 3 ของตำาแหน่งประเภทวิชาการหรือของตำาแหน่งประเภททั่วไป<br />

(2) ระดับสูง ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 2 คือ มีความรู้ความสามารถที่<br />

กำาหนดในระดับที่ 4 ของตำาแหน่งประเภทวิชาการหรือของตำาแหน่งประเภททั่วไป<br />

1.4 ตำาแหน่งประเภทบริหาร<br />

ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานของตำาแหน่งประเภทบริหารกำาหนดให้<br />

ต้องมีความรู้ความสามารถระดับที่ 2 คือ มีความรู้ความสามารถที่กำาหนดในระดับที่ 4 ของตำาแหน่งประเภท<br />

วิชาการหรือของตำาแหน่งประเภททั่วไป<br />

2. ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ<br />

2.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป<br />

(1) ระดับปฏิบัติงาน และระดับชำานาญงาน ต้องมีความรู้เรื่องกฎหมายและ<br />

กฎระเบียบราชการระดับที่ 1 คือ มีความรู้ความเข้าใจกฎหมาย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่<br />

ราชการงานประจำาที่ปฏิบัติอยู่<br />

(2) ระดับอาวุโสขึ้นไป ต้องมีความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการระดับ<br />

ที่ 2 คือ มีความรู้ความเข้าใจตามที่กำาหนดในระดับที่ 1 และ สามารถหาคำาตอบในทางกฎหมายได้เมื่อมี<br />

ข้อสงสัยในการ ปฏิบัติหน้าที่ราชการ<br />

2.2 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ<br />

(1) ระดับปฏิบัติการ และระดับชำานาญการ ต้องมีความรู้เรื่องกฎหมายและ<br />

กฎระเบียบราชการระดับที่ 2 คือ มีความรู้ความเข้าใจตามที่กำาหนดในระดับที่ 1 และ สามารถหาคำาตอบ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

75


ในทางกฎหมายได้เมื่อมีข้อสงสัยในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ<br />

(2) ระดับชำานาญการพิเศษขึ้นไป ต้องมีความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบ<br />

ราชการระดับที่ 3 คือ มีความรู้ความเข้าใจตามที่กำาหนดในระดับที่ 2 และ สามารถนำาไปประยุกต์เพื่อ<br />

แก้ปัญหาหาในทางกฎหมายหรือตอบคำาถามข้อสงสัยในการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้แก่หน่วยงานหรือบุคคล<br />

ที่เกี่ยวข้องได้<br />

2.3 ตำาแหน่งประเภทอำานวยการ ต้องมีความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ<br />

ระดับที่3 คือ มีความรู้ความเข้าใจตามที่กำาหนดในระดับที่2 และ สามารถนำาไปประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาในทาง<br />

กฎหมายหรือตอบคำาถามข้อสงสัยในการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้แก่หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องได้<br />

2.4 ตำาแหน่งประเภทบริหาร ต้องมีความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการระดับ<br />

ที่ 4 คือ มีความรู้ความเข้าใจตามที่กำาหนดในระดับที่ 3 และ มีความรู้ความเข้าใจกฎหมายหรือระเบียบอื่น<br />

ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายหรือระเบียบในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ รวมทั้งสามารถแนะนำาหรือให้คำาปรึกษา<br />

ในภาพรวมได้<br />

ข. ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง ประกอบด้วย การใช้คอมพิวเตอร์ การใช้<br />

ภาษาอังกฤษ การคำานวณ การจัดการข้อมูล<br />

1. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์<br />

1.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานและระดับชำานาญงาน ต้องมีทักษะระดับ<br />

ที่ 1 คือ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับเบื้องต้นได้<br />

1.2 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ<br />

ขึ้นไป ประเภทอำานวยการ และประเภทบริหาร ต้องมีทักษะระดับที่ 2 คือ มีทักษะตามที่กำาหนดในระดับ<br />

ที่ 1 และ สามารถใช้โปรแกรมขั้นพื้นฐานได้อย่างคล่องแคล่ว<br />

2. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ<br />

2.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานและระดับชำานาญงาน ต้องมีทักษะระดับ<br />

ที่ 1 คือ สามารถพูด เขียน อ่าน และฟังภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้น และสื่อสารให้เข้าใจได้<br />

2.2 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป<br />

ประเภทอำานวยการ และประเภทบริหาร ต้องมีทักษะระดับที่ 2 คือ มีทักษะตามที่กำาหนดในระดับที่ 1 และ<br />

สามารถพูด เขียน อ่าน และฟังภาษาอังกฤษ และทำาความเข้าใจสาระสำาคัญของเนื้อหาต่างๆ ได้<br />

3. ทักษะการคำานวณ<br />

3.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานและระดับชำานาญงาน ต้องมีทักษะระดับ<br />

ที่ 1 คือ มีทักษะในการคิดคำานวณขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว<br />

3.2 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ<br />

ขึ้นไป ประเภทอำานวยการ และประเภทบริหาร ต้องมีทักษะระดับที่ 2 คือ มีทักษะตามที่กำาหนดในระดับ<br />

ที่ 1 และ สามารถทำาความเข้าใจข้อมูลด้านตัวเลขได้อย่างถูกต้อง<br />

76 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

4. ทักษะการจัดการข้อมูล<br />

4.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานและระดับชำานาญงาน ต้องมีทักษะระดับ<br />

ที่1 คือ สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างเป็นระบบและพร้อมใช้ รวมถึงสามารถแสดงผลข้อมูลในรูปแบบ<br />

ต่างๆ เช่น กราฟ รายงาน เป็นต้น<br />

4.2 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป<br />

ประเภทอำานวยการ และประเภทบริหาร ต้องมีทักษะระดับที่ 2 คือ มีทักษะตามที่กำาหนดในระดับที่ 1 และ<br />

สามารถวิเคราะห์และประเมินผลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง<br />

ค. สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 5 ด้าน<br />

สมรรถนะทางการบริหาร 6 ด้าน สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติอย่างน้อย 3 ด้าน<br />

1. สมรรถนะหลัก มี 5 ด้าน ได้แก่ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความ<br />

เชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม และการทำางานเป็นทีม<br />

1.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานและชำานาญงาน และประเภทวิชาการ<br />

ระดับปฏิบัติการ ต้องมีสมรรถนะหลักระดับที่ 1 คือ แสดงความพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ให้ดี สามารถ<br />

ให้บริการที่ผู้รับบริการต้องการได้ด้วยความเต็มใจ แสดงความสนใจและติดตามความรู้ใหม่ๆในสาขาอาชีพ<br />

ของตนหรือที่เกี่ยวข้อง มีความสุจริต ทำาหน้าที่ของตนในทีมให้สำาเร็จ<br />

1.2 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป และประเภทวิชาการ ระดับชำานาญการ<br />

ต้องมีสมรรถนะหลักระดับที่ 2 คือ แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และ สามารถทำางานได้ผลงานตามเป้าหมาย<br />

ที่วางไว้ช่วยแก้ปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ มีความรู้ในวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆในสาขาอาชีพของตน มีสัจจะ<br />

เชื่อถือได้ ให้ความร่วมมือในการทำางานกับเพื่อนร่วมงาน<br />

1.3 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำานาญการพิเศษ และประเภทอำานวยการ ระดับ<br />

ต้น ต้องมีสมรรถนะหลักระดับที่ 3 คือ แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และ สามารถปรับปรุงวิธีการทำางาน<br />

เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ให้บริการที่เกินความคาดหวังแม้ต้องใช้เวลาหรือความพยายาม<br />

อย่างมาก สามารถนำาความรู้วิทยาการหรือเทคโนโลยีใหม่ๆมาปรับใช้กับการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ยึดมั่น<br />

ในหลักการ ประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม<br />

1.4 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ และประเภทอำานวยการ ระดับสูง<br />

ต้องมีสมรรถนะหลักระดับที่ 4 คือ แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และ สามารถกำาหนดเป้าหมายรวมทั้งพัฒนา<br />

งานเพื่อให้ได้ผลงานที่โดดเด่นหรือแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญ เข้าใจและให้บริการที่ตรงตามความต้องการ<br />

ที่แท้จริงของผู้รับบริการได้ ศึกษาพัฒนาตนเองให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญในงานมากขึ้นทั้งในเชิงลึก<br />

และเชิงกว้างอย่างต่อเนื่อง ยืนหยัดเพื่อความถูกต้อง สนับสนุนช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมเพื่อให้งานประสบ<br />

ความสำาเร็จ<br />

1.5 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ และประเภทบริหาร ต้องมีสมรรถนะหลัก<br />

ระดับที่ 5 คือ แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และ กล้าตัดสินใจแม้ว่าการตัดสินใจนั้นจะมีความเสี่ยงเพื่อให้บรรลุ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

77


เป้าหมายของหน่วยงานหรือส่วนราชการ ให้บริการที่เป็นประโยชน์อย่างแท้จริงให้แก่ผู้รับบริการ สนับสนุน<br />

การทำางานของคนในส่วนราชการที่เน้นความเชี่ยวชาญในวิทยาการด้านต่างๆ อุทิศตนเพื่อความยุติธรรม<br />

สามารถนำาทีมให้ปฏิบัติภารกิจให้ได้ผลสำาเร็จ<br />

2. สมรรถนะทางการบริหาร มี 6 ด้าน ได้แก่ สภาวะผู้นำา วิสัยทัศน์ การวางกลยุทธ์<br />

ภาครัฐ ศักยภาพเพื่อนำาการปรับเปลี่ยน การควบคุมตนเอง การสอนงานและการมอบหมายงาน<br />

2.1 ตำาแหน่งประเภทอำานวยการ ระดับต้น ต้องมีสมรรถนะทางการบริหารระดับ<br />

ที่1 คือ ดำาเนินการประชุมได้ดีและคอยแจ้งข่าวสารความเป็นไปโดยตลอด รู้และเข้าใจวิสัยทัศน์ขององค์กร<br />

รู้และเข้าใจนโยบายรวมทั้งภารกิจภาครัฐว่ามีความเกี่ยวโยงกับหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานอย่างไร<br />

เห็นความจำาเป็นของการปรับเปลี่ยน ไม่แสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม สอนงานหรือให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับ<br />

วิธีปฏิบัติงาน<br />

2.2 ตำาแหน่งประเภทอำานวยการ ระดับสูง ต้องมีสมรรถนะทางการบริหารระดับ<br />

ที่ 2 คือ แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และ เป็นผู้นำาในการทำางานของกลุ่มและใช้อำานาจอย่างยุติธรรม ช่วย<br />

ทำาให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจวิสัยทัศน์ขององค์กร นำาประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ในการกำาหนดกลยุทธ์ได้ สามารถ<br />

ทำาให้ผู้อื่นเข้าใจการปรับเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น ควบคุมอารมณ์ในแต่ละสถานการณ์ได้เป็นอย่างดี ตั้งใจพัฒนา<br />

ผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีศักยภาพ<br />

2.3 ตำาแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น ต้องมีสมรรถนะทางการบริหารระดับที่ 3<br />

คือ แสดงสมรรถนะระดับที่2 และ ให้การดูแลและช่วยเหลือทีมงาน สร้างแรงจูงใจให้ผู้อื่นเต็มใจที่จะปฏิบัติ<br />

ตามวิสัยทัศน์ นำาทฤษฎีหรือแนวคิดซับซ้อนมาใช้ในการกำาหนดกลยุทธ์ กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้ผู้อื่น<br />

เห็นความสำาคัญของการปรับเปลี่ยน สามารถใช้ถ้อยทีวาจาหรือปฏิบัติงานต่อไปได้อย่างสงบ แม้จะอยู่ใน<br />

ภาวะที่ถูกยั่วยุ วางแผนเพื่อให้โอกาสผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความสามารถในการทำางาน<br />

2.4 ตำาแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง ต้องมีสมรรถนะทางการบริหารระดับที่ 4<br />

คือ แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และ ประพฤติตนสมกับเป็นผู้นำา กำาหนดนโยบายให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์<br />

ของส่วนราชการ กำาหนดกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น วางแผนที่ดีเพื่อรับการปรับเปลี่ยน<br />

ในองค์กร จัดการความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา<br />

ศักยภาพของผู้ใต้บังคับบัญชา<br />

3. สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การมองภาพ<br />

องค์รวม การใส่ใจและพัฒนาผู้อื่น การสั่งการตามอำานาจหน้าที่ การสืบเสาะหาข้อมูล ความเข้าใจข้อแตกต่าง<br />

ทางวัฒนธรรม ความเข้าใจผู้อื่น ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ การดำาเนินการเชิงรุก การตรวจสอบ<br />

ความถูกต้องตามกระบวนงาน ความมั่นใจในตนเอง ความยืดหยุ่นผ่อนปรน ศิลปะการสื่อสารจูงใจ<br />

สุนทรียภาพทางศิลปะ ความผูกพันที่มีต่อทางราชการ และการสร้างสัมพันธภาพ (ทุกประเภทตำาแหน่ง<br />

ต้องกำาหนดอย่างน้อย 3 ด้าน ยกเว้นประเภทบริหาร)<br />

3.1 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงานและชำานาญงาน และประเภทวิชาการ<br />

ระดับปฏิบัติการต้องมีสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติระดับที่ 1<br />

78 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

3.2 ตำาแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป และประเภทวิชาการ ระดับชำานาญการ<br />

ต้องมีสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติระดับที่ 2<br />

3.3 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำานาญการพิเศษ และตำาแหน่งประเภทอำานวยการ<br />

ระดับต้น ต้องมีสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติระดับที่ 3<br />

3.4 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ และตำาแหน่งประเภทอำานวยการ ระดับ<br />

สูง ต้องมีสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติระดับที่ 4<br />

3.5 ตำาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิต้องมีสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงาน<br />

ที่ปฏิบัติระดับที่5 รวมทั้งต้องมีสมรรถนะทางการบริหารด้านวิสัยทัศน์ การวางกลยุทธ์ภาครัฐ และศักยภาพ<br />

เพื่อนำาการปรับเปลี่ยนในระดับที่ 3 ด้วย กล่าวคือ แสดงสมรรถนะทางการบริหารด้านดังกล่าวในระดับที่ 2<br />

และ สร้างแรงจูงใจให้ผู้อื่นเต็มใจที่จะปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ นำาทฤษฎีหรือแนวคิดซับซ้อนมาใช้ในการกำาหนด<br />

กลยุทธ์ และกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้ผู้อื่นเห็นความสำาคัญของการปรับเปลี่ยน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

79


สายทางความก้าวหน้าในสายงานของข้าราชการ<br />

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

ความเป็นมา<br />

สำานักงาน ก.พ.ร. กำาหนดให้ทุกส่วนราชการนำาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ<br />

((Public Sector Management Quality Award : PMQA) มาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการองค์กรเพื่อ<br />

ยกระดับการทำางานไปสู่มาตรฐานสากล (High Performance) ซึ่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้มี<br />

การดำาเนินการพัฒนาระบบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548<br />

จนถึงปัจจุบัน โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้จัดทำาแผนพัฒนาองค์การ หมวดบังคับ คือ หมวด 1 :<br />

การนำาองค์กร และหมวดภาคสมัครใจ คือ หมวด 5 : การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ทั้งนี้ การดำาเนินการ<br />

ในหมวด 5 กิจกรรม HR5 กำาหนดให้ส่วนราชการจะต้องมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่<br />

บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำาลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร<br />

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจัดทำาแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ประจำาปีงบประมาณ 2552 -2554 เพื่อใช้เป็นกรอบการบริหารทรัพยากรของหน่วยงานและแผนปฏิบัติการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำาปีงบประมาณ 2553 เพื่อนำาแผนกลยุทธ์<br />

ไปสู่การปฏิบัติ โดยแผนงาน/โครงการในมิติที่3 เรื่องประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กำาหนด<br />

ให้จัดทำาสายทางความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากรให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554<br />

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจึงได้มีคำาสั่งที่ 337/2553 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2553 แต่งตั้งคณะ<br />

ทำางานจัดทำาสายทางความก้าวหน้าในสายงานของข้าราชการกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ซึ่งคณะทำางานฯ มีหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ตำาแหน่งในสายงานเพื่อกำาหนด<br />

เงื่อนไขพื้นฐานและจัดทำาสายทางความก้าวหน้าในสายงานของข้าราชการกรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จัดทำาแล้วเสร็จ 7 สายงาน ได้แก่ ตำาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบาย<br />

และแผน วิศวกรโยธา นักทรัพยากรบุคคล นักสังคมสงเคราะห์ นิติกร นักวิชาการเงินและบัญชี และ<br />

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี และจะดำาเนินการต่อเนื่องให้แล้วเสร็จครบทุกสายงานในปีงบประมาณ<br />

พ.ศ.2554<br />

สำาหรับภาพรวมของการกำาหนดสายทางความก้าวหน้าในสายงานของข้าราชการกรมป้องกัน<br />

และบรรเทาสาธารณภัย สรุปได้ดังนี้<br />

80 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ภาพรวมสายทางความก้าวหน้าในสายงานต่างๆ ภาพรวมสายทางความกาวหนาในสายงานตางๆ : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

: กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

K4+ M1 > 2 ป<br />

อาวุโส (O3)<br />

ชํานาญงาน<br />

(O2)<br />

ปวช. > 6ป<br />

ปวท. > 5ป<br />

ปวส. > 4ป<br />

ทรงคุณวุฒิ (K5)<br />

K4 > 2ป<br />

O2 > 6ป K2 > 4ป<br />

ชํานาญการพิเศษ<br />

(K3)<br />

ป.ตรี > 6 ป<br />

ป.โท > 4 ป<br />

ป.เอก> 2 ป<br />

เชี่ยวชาญ (K4)<br />

K3 > 3ป<br />

ชํานาญการ(K2)<br />

ไมกําหนดระยะเวลา<br />

1) K3 > 3 ป และ 2) เคย/ปฏิบัติงานในตําแหนง<br />

เทียบเทา ผอ.กอง/หัวหนากลุม/ผอ.สวน /รองผอ.วิทยาลัย /<br />

หัวหนากลุมงาน หรือ ผานการฝกอบรมหลักสูตร นบ.<strong>ปภ</strong>.<br />

หรือหลักสูตรเทียบเทา<br />

ระดับสูง (M2)<br />

ผอ.สํานัก<br />

ผอ.ศูนยฯเขต<br />

อํานวยการ<br />

M1+ K3 > 4 ป<br />

หรือ M1 > 1 ป<br />

ระดับตน (M1)<br />

ผอ.กอง/เทียบเทา<br />

หน.สนง.<strong>ปภ</strong>.จังหวัด<br />

K5 + M > 2 ป<br />

1) O3+M1>7 ป<br />

หรือ O3 >7 ป<br />

และ<br />

1) O3> 6 ป<br />

และ<br />

M > 2 ป<br />

ระดับสูง(S2)<br />

อธิบดี<br />

S1 > 1ป<br />

ระดับตน (S1)<br />

รองอธิบดี<br />

บริหาร<br />

S1+M > 3 ป<br />

การดํารงตําแหนงบริหาร จะตองผานการ<br />

อบรมหลักสูตร “นักบริหารระดับสูง” จาก<br />

ก.พ.หรือหลักสูตรที่ ก.พ.รับรอง<br />

ทั่วไป<br />

ปฏิบัติงาน (O1)<br />

กลุมตําแหนง<br />

(สอบแขงขัน)<br />

กลุมที่ 1 : เจาพนักงานธุรการ เจาพนักงานพัสดุ<br />

เจาพนักงานการเงินและบัญชี เจาพนักงานโสตทัศนศึกษา<br />

กลุมที่ 2 : นายชางเครื่องกล<br />

กลุมที่ 3 : นายชางไฟฟา ,เจาพนักงานสื่อสาร<br />

เจาพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร<br />

กลุมที่ 4 : นายชางโยธา<br />

กลุมที่ 5 : นายชางพิมพ<br />

ปฏิบัติการ (K1)<br />

วิชาการ<br />

กลุมตําแหนง<br />

กลุมที่ 1 : นักจัดการงานทั่วไป , นักวิเทศสัมพันธ<br />

นักวิเคราะหนโยบายและแผน,นักทรัพยากรบุคคล,<br />

นักสังคมสงเคราะห<br />

กลุมที่ 2 : นิติกร<br />

กลุมที่ 3 : นักวิชาการเงินและบัญชี ,<br />

นักวิชาการพัสดุ นักวิชาการตรวจสอบภายใน<br />

กลุมที่ 4 : นักวิชาการเผยแพร นักวิชาการโสตทัศนศึกษา<br />

2) เคย/ปฏิบัติงานในตําแหนง เทียบเทา ผอ.กอง/หัวหนากลุม/ผอ.สวน /รองผอ.วิทยาลัย /<br />

หัวหนากลุมงาน หรือ ผานการฝก อบรมหลักสูตร นบ.<strong>ปภ</strong>.หรือหลักสูตรเทียบเทา<br />

กลุมที่ 5: นักวิชาการคอมพิวเตอร<br />

กลุมที่ 6: นักวิทยาศาสตร<br />

กลุมที่ 7: วิศวกรเครื่องกล<br />

กลุมที่ 8: วิศวกรไฟฟา<br />

กลุมที่ 9: วิศวกรโยธา<br />

หมายเหตุ<br />

การยาย/แตงตั้ง(เลื่อน) ภายในประเภทเดียวกัน<br />

การยาย/แตงตั้ง ตางประเภท<br />

* การแตงตั้งขาราชการใหดํารงตําแหนงประเภทใด ระดับตําแหนงใด ตองพิจารณาถึง<br />

กรอบตําแหนงและอัตราวาง ,กฎ ระเบียบและหลักเกณฑ ก.พ. รวมทั้ง คุณสมบัติเฉพาะ<br />

ตําแหนงและความรูความสามารถและสมรรถนะที่จําเปนสําหรับตําแหนงนั้น<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

81


82 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

งานวินัย<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

83


84 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


วินัยและการดำเนินการทางวินัย<br />

คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ความหมายของวินัย<br />

วินัย คือการควบคุมความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผน ซึ่งวินัยข้าราชการ<br />

พลเรือน ได้แก่ บทบัญญัติวินัยที่กำาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน เช่น กำาหนดให้<br />

ข้าราชการต้องซื่อสัตย์ สุจริต ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการ รักษาความลับของทางราชการ ปฏิบัติตามคำาสั่ง<br />

ของผู้บังคับบัญชาและรักษาชื่อเสียงของตน เป็นต้น นอกจากนี้วินัยยังหมายถึงลักษณะเชิงพฤติกรรมที่<br />

แสดงออกมาว่าสามารถจะควบคุมตนเองให้อยู่ในกรอบของบทวินัยตามที่กำาหนดไว้ในกฎหมายดังกล่าวด้วย<br />

ขอบเขตและความสำคัญของวินัย<br />

ในฐานะที่ข้าราชการเป็นตัวแทนของรัฐในการบริหารราชการและติดต่อประชาชน ข้าราชการ<br />

จึงต้องทำาตัวให้ประชาชนเชื่อถือ ไว้วางใจ และเป็นตัวอย่างที่ดีของประชาชน เมื่อข้าราชการมีวินัยดี<br />

ประชาชนก็จะมีความเชื่อถือศรัทธาผู้นั้น และส่งผลให้ประชาชนศรัทธาในหน่วยงานและรัฐบาลโดยส่วนรวม<br />

อีกด้วย<br />

โดยที่ข้าราชการจะต้องเป็นตัวอย่างที่ดี เป็นที่ศรัทธาของประชาชน จึงต้องรักษาวินัยโดย<br />

เคร่งครัดกว่าลูกจ้างของเอกชน เช่น พนักงานของธนาคารหรือบริษัทต่าง ๆ โดยจะต้องรักษาชื่อเสียง ไม่<br />

กระทำาการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว เป็นต้น<br />

จุดมุ่งหมายของวินัย<br />

1. เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของราชการ<br />

2. เพื่อความเจริญของประเทศ<br />

3. เพื่อความมั่นคงของชาติ<br />

4. เพื่อความผาสุกของประชาชน<br />

ผลดีของวินัยต่อราชการ<br />

1. เพิ่มพลังงาน เมื่อข้าราชการมีวินัยดี ก็จะปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์และมีความมุ่งมั่น<br />

ที่จะปฏิบัติงานอย่างเต็มที่<br />

2. เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน เมื่อข้าราชการตั้งใจทำางานด้วยความซื่อสัตย์<br />

ก็จะทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสำาเร็จอย่างคุ้มค่าและอย่างประหยัด<br />

3. ทำาให้ประชาชนศรัทธา นอกจากประชาชนจะศรัทธาต่อตัวข้าราชการเองแล้วยังส่งผล<br />

ให้ประชาชนศรัทธาต่อหน่วยงานและศรัทธาต่อรัฐบาลอีกด้วย<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

85


ผลดีของวินัยต่อตัวข้าราชการ<br />

1. มีความภูมิใจที่ได้กระทำ าความดี มีวินัยดีซื่อสัตย์สุจริต และปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ<br />

2. ทำาให้เกิดความสำาเร็จในการปฏิบัติงาน เมื่อข้าราชการมีวินัยดีแล้วจะทำางานอะไรก็จะ<br />

สำาเร็จลุล่วงด้วยดี เป็นที่เชื่อถือของผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน และผู้พบเห็น<br />

3. ทำาให้มีความเจริญในหน้าที่การทำางาน เมื่อมีวินัยดี ปฏิบัติงานสำาเร็จลุล่วง เป็นที่<br />

เชื่อถือของผู้บังคับบัญชา ย่อมได้รับความไว้วางใจในการมอบหมายงานให้ปฏิบัติ ได้รับการเลื่อนเงินเดือน<br />

เป็นพิเศษ และได้รับการเลื่อนตำาแหน่งอีกด้วย<br />

การรักษาวินัยข้าราชการ (มาตรา 87)<br />

ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่<br />

1. เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ซึ่งจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ<br />

วิธีการที่ ก.พ. กำาหนด แต่ขณะนี้ ก.พ.ยังไม่ได้กำาหนด เมื่อ ก.พ.กำาหนดเรื่องนี้ก็คงอยู่ในกรอบของ<br />

หลักการเดิมที่กำาหนดไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 คือ<br />

- ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี<br />

- การฝึกอบรม<br />

- การสร้างขวัญและกำาลังใจ<br />

- การจูงใจ<br />

2. ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำาผิดวินัย ก.พ.ยังไม่ได้กำาหนดหลักเกณฑ์และ<br />

วิธีการเช่นเดียวกับการเสริมสร้างและพัฒนา เมื่อ ก.พ.กำาหนดก็คงอยู่ในกรอบของหลักการเดิมตาม<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 คือ<br />

- เอาใจใส่<br />

- สังเกตการณ์<br />

- ขจัดเหตุ<br />

3. ปราบปรามผู้กระทำาผิดวินัย (มาตรา 90 และมาตรา 91)<br />

- เมื่อมีการกล่าวหาหรือสงสัยว่าผู้ใต้บังคับบัญชากระทำาผิดวินัย ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นต้อง<br />

รายงานให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำานาจสั่งบรรจุทราบโดยเร็ว<br />

- ผู้มีอำานาจสั่งบรรจุต้องรีบดำาเนินการหรือสั่งให้สืบสวนหรือพิจารณาว่ากรณีมีมูลหรือไม่<br />

ถ้าเห็นว่ากรณีมีมูลต้องดำาเนินการทางวินัยโดยเร็วด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ ผู้บังคับบัญชา<br />

ละเลยหรือปฏิบัติโดยไม่สุจริต ถือว่ากระทำาผิดวินัย<br />

86 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

โทษทางวินัย<br />

โทษทางวินัยมี 5 สถาน คือ<br />

ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง<br />

1. ภาคทัณฑ์ เป็นโทษสำาหรับกรณีกระทำาผิดวินัยเล็กน้อย<br />

นอกจากนี้ ในกรณีกระทำาผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้โดย<br />

ให้ทำาทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้<br />

ผู้ถูกลงโทษภาคทัณฑ์ไม่มีข้อห้ามไม่ให้เลื่อนเงินเดือน ดังนั้น หากผู้นั้นมีคุณสมบัติที่จะ<br />

เลื่อนเงินเดือน ก็อาจได้รับการเลื่อนเงินเดือนได้<br />

2. ตัดเงินเดือน เป็นการลงโทษตัดเงินเดือนเป็นจำานวนเปอร์เซ็นต์ของเงินเดือนและเป็น<br />

จำานวนเดือน เช่น ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 2 เดือน เมื่อพ้นเวลา 2 เดือนแล้ว ก็จะได้รับเงินเดือนตาม<br />

ปกติ ผู้ถูกลงโทษตัดเงินเดือนในครึ่งปีที่ผ่านมาจะไม่ได้รับการเลื่อนเงินเดือนในครึ่งปีนั้น<br />

3. ลดเงินเดือน เป็นการลดเงินเดือนของผู้นั้นลงเป็นจำานวนเปอร์เซ็นต์ของเงินเดือน<br />

ผู้ถูกลงโทษลดเงินเดือนในครึ่งปีที่ผ่านมาจะไม่ได้รับการเลื่อนเงินเดือนในครึ่งปีนั้น<br />

การดำาเนินการทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา<br />

91 ปรากฏว่ากรณีมีมูล ถ้าความผิดนั้นมิใช่เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง และได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุป<br />

พยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบพร้อมทั้งรับฟังคำาชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหาแล้ว ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำานาจ<br />

สั่งบรรจุตามมาตรา 57 เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำาผิดตามข้อกล่าวหา ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษตาม<br />

สมควรแก่กรณีโดยไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้ (มาตรา 92)<br />

ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง<br />

4. ปลดออก เป็นการลงโทษให้พ้นจากราชการ โดยได้รับบำาเหน็จบำานาญเสมือนผู้นั้น<br />

ลาออกจากราชการ<br />

5. ไล่ออก เป็นการลงโทษให้พ้นจากราชการ โดยไม่ได้รับบำาเหน็จบำานาญ<br />

การดำเนินการทางวินัย<br />

1. การสอบสวน<br />

จุดมุ่งหมายของการสอบสวน<br />

- เพื่อให้ได้ความจริงและยุติธรรม<br />

- เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถูกกล่าวหาได้ชี้แจงและนำาสืบพยานหลักฐาน แก้ข้อกล่าวหา<br />

- เพื่อเป็นหลักประกันความเป็นธรรมและความมั่นคงแก่ข้าราชการ<br />

2. การพิจารณาความผิดและกำาหนดโทษ<br />

2.1 หลักการพิจารณาความผิด<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

87


(1) หลักนิติธรรม คือ การพิจารณาตามที่กฎหมายบัญญัติไว้<br />

- ต้องมีกฎหมายกำาหนดว่าการกระทำาเช่นนั้นเป็นความผิด<br />

- การกระทำานั้นต้องเข้าองค์ประกอบความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ทุก<br />

ประการ<br />

- เมื่อการกระทำาเข้าองค์ประกอบเป็นความผิดตามมาตราใด ก็ปรับบทเป็น<br />

ความผิดตามมาตรานั้น<br />

(2) หลักมโนธรรม คือ การพิจารณาโดยคำานึงถึงความเป็นจริง ถูกต้องเหมาะสม<br />

ตามเหตุผลที่ควรจะเป็น<br />

2.2 หลักการกำาหนดโทษ<br />

(1) หลักนิติธรรม คือ การกำาหนดโทษในกรอบกฎหมายบัญญัติไว้<br />

(2) หลักมโนธรรม คือ การพิจารณากำาหนดโทษ โดยคำานึงถึงความเป็นจริง ถูกต้อง<br />

เหมาะสม ตามเหตุผลที่ควรจะเป็น โดยคำานึงถึง<br />

- ลักษณะการกระทำาผิด<br />

- ผลของการกระทำาผิด<br />

- คุณความดีของผู้กระทำาผิด<br />

- การให้โอกาสแก้ไขความประพฤติ<br />

- เหตุเบื้องหลังการกระทำาผิด<br />

- สภาพของผู้กระทำาผิด<br />

(3) หลักความเป็นธรรม กำาหนดโทษโดยคำานึงถึงความเท่าเทียมเสมอหน้า<br />

- ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง<br />

- ความผิดอย่างเดียวกันควรกำาหนดโทษใกล้เคียงกัน<br />

(4) หลักนโยบายของทางราชการ การกำาหนดโทษข้าราชการควรคำานึงถึงนโยบาย<br />

ของทางราชการด้วย<br />

3. การลงโทษทางวินัย การลงโทษเป็นมาตรการอันหนึ่งที่ใช้ในการรักษาวินัย ซึ่งเป็น<br />

มาตรการในทางปราบปรามผู้กระทำาผิดโดยมิได้มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เป็นการตอบโต้หรือแก้แค้นต่อผู้กระทำา<br />

ผิด แต่มีจุดมุ่งหมาย ดังนี้<br />

(1) เพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายหรือระเบียบแบบแผน<br />

(2) เพื่อรักษามาตรฐานความประพฤติ ขวัญ และสมรรถภาพของข้าราชการ<br />

(3) เพื่อจูงใจให้ข้าราชการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น<br />

(4) เพื่อรักษาชื่อเสียงของทางราชการและความเชื่อมั่นของประชาชนต่อทางราชการ<br />

88 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ข้อควรคำานึงเกี่ยวกับเรื่องวินัย<br />

1) ความผิดทางวินัยไม่มีอายุความ แม้จะกระทำาผิดวินัยไว้นานเท่าไรก็ตามหากปรากฏ<br />

ความผิดขึ้น ผู้บังคับบัญชาสามารถลงโทษได้เสมอ ซึ่งต่างกับอายุความฟ้องร้องในทางอาญา หากไม่ฟ้องร้อง<br />

ภายในกำาหนดอายุความแล้วจะฟ้องร้องดำาเนินคดีไม่ได้ เช่น หนีคดีเช็คเมื่อพ้น 5 ปีแล้ว ก็ไม่อาจฟ้องร้อง<br />

เป็นคดีอาญาได้<br />

2) การลงโทษทางวินัยต้องดำาเนินการตามขบวนการของกฎหมาย เช่น กรณีที่เป็นความผิด<br />

วินัยอย่างร้ายแรงต้องมีการตั้งคณะกรรมการสอบสวน แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานเท่าที่มีให้ผู้<br />

ถูกกล่าวหาทราบ และให้โอกาสนำาพยานเข้าสืบแก้ข้อกล่าวหา ต้องนำาเรื่องเสนอ อ.ก.พ.จังหวัด อ.ก.พ.กรม<br />

หรือ อ.ก.พ.กระทรวง แล้วแต่กรณี เมื่อ อ.ก.พ.ดังกล่าวมีมติประการใด ผู้บังคับบัญชาต้องสั่งให้เป็นไป<br />

ตามนั้น<br />

3) ผู้สั่งลงโทษต้องเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำานาจลงโทษได้ ซึ่งมาตรา 96 วรรคหนึ่ง และ<br />

มาตรา 97 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 กำาหนดให้ผู้บังคับบัญชา<br />

ซึ่งมีอำานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 เป็นผู้สั่งลงโทษ แต่ผู้มีอำานาจสั่งบรรจุอาจมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชา<br />

ระดับต่ำาลงไปปฏิบัติแทนได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กำาหนด<br />

ในการสั่งลงโทษ ผู้บังคับบัญชาในขณะลงโทษเป็นผู้สั่ง เช่น ข้าราชการอยู่จังหวัดหนึ่งถูก<br />

สอบสวนทางวินัย ต่อมาข้าราชการผู้นั้นย้ายไปอีกจังหวัดหนึ่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดใหม่ที่ข้าราชการผู้นั้นย้าย<br />

มาเป็นผู้บังคับบัญชาผู้มีอำานาจลงโทษทางวินัยข้าราชการผู้นั้น<br />

4) สภาพการเป็นข้าราชการ กรณีการกระทำาที่จะนำามาดำาเนินการทางวินัยจะต้องเป็นการ<br />

กระทำาขณะที่เข้ามาเป็นข้าราชการแล้ว จะนำากรณีที่เคยกระทำาก่อนเป็นข้าราชการมาลงโทษทางวินัยไม่ได้<br />

แต่อาจถูกสั่งให้ออกเพราะเป็นผู้ขาดคุณสมบัติทั่วไปที่จะเข้ารับราชการได้และขณะลงโทษจะต้องยังมีสภาพ<br />

เป็นข้าราชการอยู่ หากผู้นั้นออกจากราชการไปแล้ว ก็ไม่อาจลงโทษได้ เว้นแต่มีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำา<br />

ผิดวินัยอย่างร้ายแรง หรือถูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทำาผิดอาญา อันมิใช่ความผิดที่ได้กระทำาโดย<br />

ประมาทที่ไม่เกี่ยวกับราชการ หรือความผิดลหุโทษอยู่ก่อนออกจากราชการ ซึ่งมิใช่เพราะเหตุตาย ผู้บังคับ<br />

บัญชายังมีอำานาจดำาเนินการทางวินัยและลงโทษปลดออก หรือไล่ออกจากราชการได้ แต่ต้องดำาเนินการ<br />

สอบสวนตามมาตรา 93 วรรคหนึ่ง ภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ผู้นั้นพ้นจากราชการ (มาตรา 100)<br />

4. การดำาเนินการระหว่างการสอบสวนพิจารณาทางวินัย<br />

- การพักราชการ<br />

- การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน<br />

ข้าราชการที่มีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำาผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวน<br />

หรือถูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทำาผิดอาญา เว้นแต่เป็นความผิดที่ได้กระทำาโดยประมาท หรือความผิด<br />

ลหุโทษ ผู้มีอำานาจสั่งบรรจุมีอำานาจสั่งพักราชการ หรือสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน เพื่อรอฟังผลการ<br />

สอบสวน หรือพิจารณา หรือผลแห่งคดีได้ และเมื่อปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาว่าข้าราชการผู้นั้น<br />

มิได้กระทำาผิดหรือกระทำาผิดไม่ถึงกับจะถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออกและไม่มีกรณีจะต้องออกจากราชการ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

89


ด้วยเหตุอื่น ก็ต้องสั่งให้ผู้นั้นกลับเข้าปฏิบัติราชการหรือกลับเข้ารับราชการตามเดิม ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และ<br />

วิธีการเกี่ยวกับการสั่งพักราชการ การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ระยะเวลาการพักราชการและให้ออกจาก<br />

ราชการไว้ก่อน การให้กลับเข้าปฏิบัติราชการหรือกลับเข้ารับราชการ และการดำาเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม<br />

ผลการสอบสวนหรือพิจารณา ให้เป็นไปตามที่กำาหนดในกฎ ก.พ. (มาตรา 100)<br />

5. การอุทธรณ์และการร้องทุกข์<br />

การอุทธรณ์ เป็นหลักประกันความเป็นธรรมแก่ข้าราชการที่ถูกลงโทษทางวินัย และ<br />

ถูกสั่งให้ออกจากราชการบางกรณี โดยผู้ถูกสั่งมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภายใน 30 วัน นับแต่วันทราบหรือ<br />

ถือว่าทราบคำาสั่ง ตามมาตรา 114 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ประกอบกฎ<br />

ก.พ.ค.ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ พ.ศ. 2551<br />

การร้องทุกข์ เป็นหลักประกันความเป็นธรรมและความสัมพันธ์อันดีระหว่างข้าราชการ<br />

โดยให้ร้องทุกข์ในเรื่องที่ไม่อาจอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบเหตุแห่งการร้อง<br />

ทุกข์ โดยร้องทุกข์ได้ดังนี้<br />

(1) ถ้าเหตุร้องทุกข์เกิดจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชา หรือ<br />

รับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด<br />

หรือนายกรัฐมนตรี ให้ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค.<br />

(2) ถ้าเหตุร้องทุกข์เกิดจากผู้บังคับบัญชาระดับต่ำากว่าผู้บังคับบัญชาตาม (1) ให้ร้องทุกข์<br />

ต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป เช่น เหตุร้องทุกข์เกิดจากอธิบดีให้ร้องทุกข์ต่อปลัดกระทรวง<br />

ทั้งนี้ ตามมาตรา 122 และมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน<br />

พ.ศ. 2551 ประกอบกฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. 2551<br />

90 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ลำดับขั้นตอนการสอบสวน<br />

ลําดับขั้นตอนการสอบสวน<br />

1. ประธานกรรมการลงลายมือชื่อ วันเดือนปที่รับทราบคําสั่ง<br />

2. ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อวางแนวทางสอบสวน (ขอ 6)<br />

พิจารณาเรื่องที่กลาวหา กําหนดขอกลาวหา<br />

15 วันนับแตวัน<br />

3. - แจงและอธิบายขอกลาวหาใหผูถูกกลาวหาทราบ (สว.2) ขอ 14 รับทราบคําสั่ง<br />

แจงสิทธิของผูถูกกลาวหา<br />

- ถามผูถูกกลาวหาวาจะรับสารภาพหรือไม<br />

4. - รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวของกับขอกลาวหา 60 วันนับแต<br />

(กรณีที่ผูถูกกลาวหาไมรับสารภาพ) แจง สว.2<br />

- ประชุมเพื่อพิจารณาวามีพยานหลักฐานใดสนับสนุนขอกลาวหาวา<br />

ผูถูกกลาวหาไดกระทําการใด เมื่อใด อยางไร และเปนความผิดวินัย<br />

กรณีใด ตามมาตราใด<br />

5. - แจงขอกลาวหาที่ปรากฏตามพยานหลักฐานและสรุปพยานหลักฐาน 15 วันนับแตวันที่<br />

ที่สนับสนุนขอกลาวหาใหผูถูกกลาวหาทราบ (ขอ 15) ดําเนินการตาม 4.<br />

- ถามความประสงคของผูถูกกลาวหาวาจะยื่นคําชี้แจงเปนหนังสือ<br />

หรือจะใหถอยคําตอคณะกรรมการฯ<br />

6. สอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐานฝายผูถูกกลาวหา (ขอ 15) 60 วันนับแตวันที่<br />

ดําเนินการตาม 5.<br />

7. ประชุมพิจารณาพยานหลักฐานทั้งหมดเพื่อลงมติวาผูถูกกลาวหา<br />

กระทําผิดวินัยหรือไม ถาผิด ผิดกรณีใด มาตราใด ควรไดรับโทษ<br />

สถานใด หรือหยอนความสามารถฯ ตามมาตรา 110 (6) หรือ<br />

มลทินหรือมัวหมอง ตามมาตรา 110 (7) (ขอ 30)<br />

8. ทํารายงานการสอบสวน ขอ 31<br />

9. เสนอสํานวนการสอบสวนตอผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน<br />

30 วันนับแต<br />

วันที่ดําเนินการ<br />

ตาม 6.<br />

หมายเหตุ<br />

1. รวมระยะเวลาสอบสวน ตามที่กฎ ก.พ. กําหนด 180 วัน<br />

2. สามารถขยายเวลาไดตามความจําเปนในแตละขั้นตอนครั้งละไมเกิน 60 วัน<br />

3. หากดําเนินการไมแลวเสร็จภายใน 270 วัน ประธานกรรมการตองรายงานใหผูสั่งแตงตั้ง<br />

คณะกรรมการสอบสวนฯ รายงานให อ.ก.พ.กระทรวงทราบ เพื่อติดตามเรงรัดการสอบสวน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

91


มีการกล่าวหาหรือมีกรณีสงสัย<br />

มีการกลาวหาหรือมีกรณีสงสัย ม.90<br />

ผูบังคับบัญชา<br />

รายงาน ม.90<br />

ผูมีอํานาจสั่งบรรจุ ม.57<br />

ม.91<br />

สืบสวน<br />

ม.91 ว.1 ผล ม.91 ว.2<br />

พิจารณาในเบื้องตน<br />

ผล ม.91 ว.2<br />

ไมมีมูล มีมูล มีกรณีสงสัย มีมูลไมรายแรง มีมูลรายแรง<br />

ม.91 ว.1<br />

ยุติเรื่อง ไมรายแรง รายแรง แตงตั้งคณะกรรมการ<br />

ม.92 ว.1<br />

สอบสวน<br />

สืบสวนทางวินัย<br />

(แตงตั้งคณะกรรมการ) ปลดออก<br />

ม.92 ว.2 ม.92 ว.1<br />

ไลออก<br />

สั่งใหออก<br />

ไมผิด ผิดไมรายแรง มีมูลรายแรง<br />

ภาค<br />

ตัด<br />

ลด<br />

ม.93<br />

ยุติ<br />

เรื่อง<br />

ม.92 ว.2 ม.92 ว.1 + ม.96<br />

ยุติเรื่อง ภาค / ตัด / ลด<br />

ม.103<br />

ผูมีอํานาจ<br />

สั่งบรรจุ ม.57<br />

เห็น สั่งการ<br />

รายงาน อ.ก.พ.<br />

กระทรวง<br />

สั่งการ<br />

ตามมติ<br />

อ.ก.พ.กรม<br />

อ.ก.พ.จังหวัด<br />

ม.103 ม.97<br />

ว.2<br />

ปลดออก<br />

ไลออก<br />

สั่งใหออก<br />

ยุติเรื่อง<br />

ภาค / ตัด / ลด<br />

หมายเหตุ ม.94 (3) ม.97 ว.2 ม.104 รายงาน ก.พ.<br />

92 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

7 วัน<br />

พน/ไมมีสาระสําคัญ<br />

กระบวนการสอบสวนพิจารณา<br />

ผูสั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน<br />

คัดคานตนเอง<br />

แจงผูถูกกลาวหา แจงคณะกรรมการสอบสวน<br />

คัดคานคณะกรรมการ<br />

สอบสวน/ผูชวยเลขานุการ<br />

ประธานดําเนินการประชุม<br />

วางแนวทางการสอบสวนและ<br />

จัดทําขอกลาวหาและสรุปพยานฯ<br />

พยานหลักฐานเพิ่มเติม<br />

ผูถูกกลาวหา แจงขอกลาวหาวากระทําผิด<br />

กรณีใด เมื่อใด มีพฤติการณ<br />

ถามผูถูกกลาวหากระทําหรือ<br />

ละเวนกระทําตามขอกลาวหา<br />

หรือไมอยางไร<br />

อยางไร เปนความผิดมาตราใด<br />

และแจงสรุปพยานหลักฐานที่<br />

สนับสนุนขอกลาวหา<br />

รับสารภาพ<br />

ไมรับสารภาพ<br />

ถามตอถึงขอเท็จจริงเบื้องตนเพื่อการสอบสวน<br />

เสร็จโดยเร็ว และกําหนดนัดใหถอยคําชี้แจงแกขอ<br />

กลาวหา หรือทําคําชี้แจงเปนหนังสือ<br />

บันทึกคํารับสารภาพ เหตุผล รวบรวมพยานหลักฐานเพิ่มเติม<br />

มีพยานหลักฐานเพิ่มเติมที่สนับสนุนขอกลาวหา<br />

หรือขอกลาวหาเปลี่ยนแปลงไป<br />

พยานหลักฐานเพิ่มเติมไมสนับสนุนขอกลาวหา<br />

ใหสอบสวนตอไปตามควรแกกรณี<br />

การประชุมพิจารณาวินิจฉัย<br />

1. ทบทวนวาการสอบสวนถูกตองตามหลักเกณฑและวิธีกําหนดใน<br />

กฎ ก.พ. หรือไม<br />

2. ทํารายงานการสอบสวน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

93


(ตอ)<br />

ประชุมคณะกรรมการฯ ตรวจ<br />

รายงานการสอบสวนและ<br />

ลงลายมือชื่อ ใหเลขานุการ<br />

ลงลายมือชื่อกํากับทุกคน<br />

การทํารายงานการสอบสวน<br />

กระทําผิดวินัยหรือไม ถาผิด ฟงขอเท็จจริงวาอยางไรเปน<br />

ความผิดตามมาตราใด ควรไดรับโทษสถานใด มีเหตุลดหยอน<br />

หรือไม (ถามี)<br />

หยอนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหนาที่ราชการฯ หรือ<br />

มีมลทินหรือมัวหมองฯ<br />

ผูสั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตรวจสอบความถูกตองของสํานวน<br />

สั่งยุติเรื่อง<br />

1. การสอบปากคํา<br />

2. การประชุมครบ<br />

3. การกําหนดขอฯ<br />

หรือการแจงขอฯ<br />

4. นอกจาก 1,2,3<br />

เปนสาระสําคัญ<br />

กระทําผิดไมรายแรงสั่งการตามที่เห็นสมควร<br />

กระทําผิดวินัยอยางรายแรง / หยอนความสามารถฯ<br />

มลทินหรือมัวหมองฯ สงเรื่องให อ.ก.พ.<br />

หากการแตงตั้งคณะกรรมการ<br />

หรือจํานวนคณะกรรมการไมถูกตอง<br />

มีผลใหการสอบสวนของคณะกรรมการ<br />

เสียไปทั้งหมด<br />

สอบสวนเพิ่มเติมโดยกําหนดประเด็นพรอมทั้งสงเอกสาร<br />

ที่เกี่ยวของตามความจําเปน<br />

94 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด<br />

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง<br />

• พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539<br />

• ระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่<br />

พ.ศ. 2539<br />

ขั้นตอนดำเนินการ<br />

จำาแนกเป็น 2 กรณี ได้แก่ กรณีเกิดความเสียหายกับหน่วยงานของรัฐ และกรณีเจ้าหน้าที่กระทำา<br />

ให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลภายนอก<br />

ก. กรณีเกิดความเสียหายกับหน่วยงานของรัฐ<br />

1. ผู้เกี่ยวข้องต้องรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำาดับชั้น<br />

2. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น<br />

3. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด<br />

3.1 ในกรณีที่ความเสียหายมิได้เกิดจากการกระทำาของเจ้าหน้าที่และจะไม่แต่งตั้งคณะ<br />

กรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ต้องรายงานให้ปลัดกระทรวง รัฐมนตรี ที่กำากับดูแลเพื่อ<br />

พิจารณาอีกครั้ง<br />

3.2 ในกรณีที่ความเสียหายเกิดจากการกระทำาของเจ้าหน้าที่ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบ<br />

ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด และเข้าสู่กระบวนการตามระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์<br />

การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539<br />

3.3 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ต้องเป็นไปตาม<br />

หลักเกณฑ์ที่กำาหนด คือ (1) จำานวนไม่เกิน 5 คน (2) ให้กำาหนดเวลาแล้วเสร็จของคณะกรรมการไว้ด้วย<br />

(3) อาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานอื่นของรัฐร่วมเป็นกรรมการได้<br />

3.4 เงื่อนไขการร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด<br />

(1) ความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งทำาให้เกิดความเสียหาย<br />

แก่หน่วยงานของรัฐอื่น<br />

(2) หน่วยงานของรัฐมากกว่าหนึ่งแห่งได้รับความเสียหาย<br />

(3) ความเสียหายเกิดจากการเจ้าหน้าที่หลายหน่วยงาน<br />

4. อำานาจและหน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด<br />

4.1 ตรวจสอบข้อเท็จจริง<br />

4.2 รวบรวมพยานหลักฐานทั้งหมด<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

95


4.3 ให้โอกาสผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการชี้แจงและแสดงพยานหลักฐานของตนอย่างเพียงพอ<br />

และเป็นธรรม<br />

4.4 เสนอความเห็นต่อผู้แต่งตั้ง<br />

(1) มีผู้ต้องรับผิดหรือไม่<br />

(2) รับผิดเป็นจำานวนคนละเท่าใด<br />

5. หลักการวินิจฉัยของคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด<br />

5.1 ความเสียหายไม่ได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ให้รับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและ<br />

พาณิชย์<br />

ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่<br />

- รับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม<br />

- รับผิดเต็มจำานวน หักลดหย่อนไม่ได้<br />

- หักส่วนที่เกิดจากความบกพร่องของรัฐไม่ได้<br />

- ฟ้องล้มละลายได้<br />

5.2 ความเสียหายเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่<br />

(1) จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงให้รับผิดตามพระราชบัญญัติความรับผิดทาง<br />

ละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539<br />

(2) ประมาทเลินเล่อ ไม่ต้องรับผิด<br />

- ไม่จงใจ - จงใจ<br />

- ประมาทเลินเล่อ ปฏิบัติหน้าที่ - ประมาทเลินเล่อ<br />

ไม่ร้ายแรง<br />

อย่างร้ายแรง<br />

- ไม่ต้องรับผิด - รับผิด<br />

- หน่วยงานรับภาระ - ลดหย่อนได้ตามความร้ายแรง<br />

ความเสียหายเอง - หักส่วนที่เกิดจากความบกพร่องของรัฐ<br />

- แบ่งส่วน<br />

- ฟ้องล้มละลายไม่ได้<br />

96 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

6. อำานาจและหน้าที่ของผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ<br />

6.1 วินิจฉัยสั่งการ โดยไม่จำาเป็นต้องสั่งการตามความเห็นของคณะกรรมการฯ<br />

- มีผู้ต้องรับผิดหรือไม่<br />

- รับผิดเป็นจำานวนคนละเท่าใด<br />

6.2 ส่งสำานวนให้กระทรวงการคลังภายใน 7 วัน นับแต่วันสั่งการ<br />

6.3 ระหว่างรอผลจากกระทรวงการคลังให้ตระเตรียมการออกคำาสั่งเพื่อมิให้คดีขาดอายุ<br />

ความ 2 ปี<br />

7. การมีคำาสั่งเมื่อได้รับการแจ้งผลการตรวจสอบจากกระทรวงการคลัง<br />

7.1 หน่วยงานของรัฐที่เป็นกระทรวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ<br />

เป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ให้มีคำาสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง<br />

7.2 หน่วยงานของรัฐที่เป็นราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือ<br />

พระราชกฤษฎีกา และหน่วยงานที่มีพระราชกฤษฎีกากำาหนดให้เป็นหน่วยงานของรัฐให้มีคำาสั่งตามที่เห็นว่า<br />

ถูกต้อง<br />

8. การออกคำาสั่งและแจ้งคำาสั่งให้ผู้ต้องรับผิด<br />

8.1 ต้องมีรูปแบบตามที่พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 กำาหนด<br />

8.2 ต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์และอายุความฟ้องคดีต่อศาลให้ผู้ต้องรับผิดทราบ<br />

8.3 หากผู้ต้องรับผิดไม่ชดใช้ภายในกำาหนด ให้ดำาเนินการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง<br />

ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 57<br />

9. การใช้สิทธิของผู้ต้องรับผิด<br />

9.1 อุทธรณ์ต่อหน่วยงานผู้ออกคำาสั่ง<br />

9.2 ฟ้องศาลปกครองให้เพิกถอนคำาสั่ง<br />

9.3 ขอทุเลาการบังคับทางปกครองต่อศาลปกครอง<br />

ข. กรณีเจ้าหน้าที่กระทำาให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลภายนอก<br />

(เฉพาะหน่วยงานของรัฐที่เป็นกระทรวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะ<br />

เป็นกรมและราชการส่วนภูมิภาค)<br />

1. บุคคลภายนอกยื่นคำาขอหรือฟ้องคดีต่อศาล<br />

1.1 บุคคลภายนอกยื่นคำาขอ<br />

(1) หน่วยงานออกใบรับคำาขอให้ไว้เป็นหลักฐานแก่ผู้ยื่น<br />

(2) แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาคำาขอ<br />

(3) ดำาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน ๑๘๐ วัน<br />

(4) หากไม่สามารถดำาเนินการให้เสร็จภายใน ๑๘๐ วัน ต้องขออนุมัติรัฐมนตรีเจ้าสังกัด<br />

ขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกิน ๑๘๐ วัน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

97


1.2 บุคคลภายนอกฟ้องคดีต่อศาล<br />

(1) แต่งตั้งคณะกรรมการเตรียมการสู้คดี<br />

(2) ประสานงานกับสำานักงานอัยการสูงสุดเพื่อสู้คดี<br />

(3) รายงานให้กระทรวงการคลังทราบ<br />

(4) ปฏิบัติตามคำาแนะนำาของกระทรวงการคลัง<br />

2. คณะกรรมการมีอำานาจหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น แล้วเสนอความเห็นต่อผู้แต่งตั้งว่า<br />

เป็นความเสียหายที่มิได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ หรือเป็นความเสียหายที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่<br />

2.1 กรณีความเสียหายมิได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่<br />

- แถลงต่อศาลเพื่อให้เรียกเจ้าหน้าที่ผู้กระทำาละเมิดเข้ามาในคดีและขอให้ศาลยกฟ้อง<br />

หน่วยงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาตรา 6<br />

2.2 กรณีความเสียหายเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่<br />

- แจ้งให้พนักงานอัยการแถลงต่อศาลเพื่อให้เจ้าหน้าที่พ้นฐานะการเป็นคู่ความในคดี<br />

ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาตรา 5<br />

3. การไล่เบี้ยเจ้าหน้าที่<br />

3.1 เมื่อหน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย ถือว่าเกิดความเสียหายกับ<br />

หน่วยงานของรัฐ ให้ดำาเนินการตาม หมวด 1 ของระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติ<br />

เกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539<br />

3.2 ใช้สิทธิไล่เบี้ยภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่<br />

ผู้เสียหาย<br />

98 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

การร้องเรียน/ร้องทุกข์<br />

การดำาเนินการเกี่ยวกับเรื่องราวร้องทุกข์ร้องเรียน มีความสำาคัญสำาหรับส่วนราชการหน่วยงาน<br />

ต่าง ๆ มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพราะในการบริหารราชการหรือการให้บริการของส่วนราชการนั้น<br />

ผลงานจะเป็นสิ่งที่พึงพอใจของประชาชนหรือผู้รับบริการหรือไม่ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของ<br />

ส่วนราชการ หน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งการแสดงออกโดยผ่านกระบวนการร้องทุกข์ ร้องเรียน สามารถเป็นเครื่อง<br />

ชี้วัดได้อย่างหนึ่ง เป็นที่น่าสังเกตว่า หากส่วนราชการหรือหน่วยงานใดปฏิบัติงานเป็นที่พึงพอใจของ<br />

ประชาชนมากย่อมมีโอกาสถูกตำาหนิติเตียนจากประชาชนน้อย ตรงกันข้ามหากส่วนราชการหรือหน่วยงานใด<br />

ปฏิบัติงานเป็นที่พึงพอใจของประชาชนน้อย ย่อมมีโอกาสได้รับการติเตียนจากประชาชนมาก กระทรวง<br />

มหาดไทยเป็นส่วนราชการที่รับผิดชอบงาน โดยมีบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างกว้างขวางมาตั้งแต่<br />

อดีตจนถึงปัจจุบัน การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัด มีผลกระทบต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของ<br />

ประชาชนโดยตรงนับตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ซึ่งในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง<br />

ในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจเป็นที่พึงพอใจหรือไม่เป็นที่พึงพอใจของ<br />

ประชาชนก็ได้ ดังนั้น การดำาเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน จึงเป็นงานที่สำาคัญอย่างหนึ่งของ<br />

กระทรวงมหาดไทย รวมทั้งเป็นหัวใจสำาคัญในการ “บำาบัดทุกข์ บำารุงสุข” ของประชาชน อันเป็นอุดมการณ์<br />

สูงสุดของกระทรวงมหาดไทยด้วย<br />

เพื่อให้การพิจารณาความหมายของเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงแบ่งแยกพิจารณา<br />

ความหมายของคำาว่า “เรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียน” ไว้ 2 ประการ คือ<br />

(1) เรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียนข้าราชการ หมายถึง เรื่องราวที่ข้าราชการเป็นผู้ถูกร้องเรียน<br />

เนื่องจากปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติตน<br />

(2) เรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียนประชาชน หมายถึง เรื่องราวที่ผู้ร้องเรียนประสงค์ให้ได้รับ<br />

การปลดเปลื้องความทุกข์ที่ตนได้รับ หรือเป็นเรื่องที่ผู้ร้องเรียนหรือผู้อื่นหรือสาธารณชนได้รับความเสียหาย<br />

และยังรวมถึงข้อขัดแย้งระหว่างประชาชนกับประชาชนอีกด้วย<br />

“บัตรสนเท่ห์” หมายถึง จดหมายฟ้องหรือกล่าวโทษผู้อื่น โดยมิได้ลงชื่อหรือไม่ลงชื่อจริงของ<br />

ผู้เขียน<br />

ส่วนราชการที่รับเรื่องราวร้องเรียน/ร้องทุกข์<br />

ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย<br />

- สำานักราชเลขาธิการ<br />

- สำานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี<br />

- สำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี<br />

- สำานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน<br />

- สำานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

99


- สำานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ<br />

- สำานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน<br />

- ศาลปกครอง<br />

- กระทรวง ทบวง กรม<br />

- สำานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย<br />

- สำานักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย<br />

- ศูนย์ดำารงธรรม กระทรวงมหาดไทย ฯลฯ<br />

จังหวัดอื่น ๆ ประกอบด้วย<br />

- ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำาเภอ/ปลัดอำาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำากิ่งอำาเภอ<br />

- ศูนย์ดำารงธรรมจังหวัด<br />

- หัวหน้าส่วนราชการอื่น ๆ ในจังหวัด<br />

- กำานัน ผู้ใหญ่บ้าน<br />

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฯลฯ<br />

ขั้นตอนดำเนินการ<br />

การดำาเนินการเกี่ยวกับเรื่องราวร้องเรียน/ร้องทุกข์ได้มีการกำาหนดแนวทางและขั้นตอนในการ<br />

ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้<br />

1. การรับและลงทะเบียนหนังสือเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์<br />

- กรณีร้องเรียนเป็นหนังสือที่ส่งมาจากหน่วยงานภายนอก ภายในกรมป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัย รวมทั้งที่มาร้องด้วยตนเองที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

2. การตรวจสอบ<br />

- กองการเจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วรายงานผล<br />

- มอบหมายให้ ผต.กรม ไปตรวจสอบ/สอบสวน และสดับตรับฟังข้อเท็จจริงตลอดจน<br />

เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา แล้วรายงานผล<br />

- แต่งตั้งคณะกรรมการไปสอบข้อเท็จจริง แล้วรายงานผล<br />

3. การรายงานผล<br />

- กองการเจ้าหน้าที่/ผต.กรม/คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง สรุปผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง<br />

และรายงานผลให้อธิบดีทราบหรือพิจารณาสั่งการหรือยุติเรื่อง ถ้าเป็นกรณีที่เป็นเรื่องร้องเรียนต่อรัฐมนตรี<br />

ว่าการ กระทรวงมหาดไทย จะนำารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยเพื่อโปรดทราบ ทั้งนี้ ให้แจ้งผู้ร้อง<br />

(ถ้ามี) ทราบต่อไป<br />

100 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


ตัวอย่างการลงโทษทางวินัยข้าราชการ<br />

ลูกจ้าง และพนักงานราชการ<br />

คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

1. ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งผู้บังคับบัญชา<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 5 มาปฏิบัติราชการสายและป่วยบ่อยครั้งประกอบกับการเสนอใบลา<br />

แต่ละครั้งจะล่าช้าเสมอ และเมื่อผู้บังคับบัญชามีคำาสั่งให้เสนอใบรับรองแพทย์เพื่อประกอบการพิจารณา<br />

อนุญาต เจ้าหน้าที่ผู้นี้ก็มิได้ปฏิบัติตาม ซึ่งผู้บังคับบัญชาได้ว่ากล่าวตักเตือนเรื่องการมาปฏิบัติหน้าที่ราชการ<br />

และการลาราชการถึงสองครั้งแล้ว แต่เจ้าหน้าที่ผู้นี้ก็ยังมีพฤติการณ์เช่นเดิม อีกทั้งเจ้าหน้าที่ผู้นี้ได้ลงนาม<br />

ในบัญชีลงเวลาการปฏิบัติราชการ ซึ่งในวันเวลาดังกล่าวเจ้าหน้าที่ผู้นี้มิได้มาปฏิบัติหน้าที่ราชการเต็มวัน<br />

ผู้บังคับบัญชาให้เจ้าหน้าที่ผู้นี้ทำ าบันทึกชี้แจงข้อเท็จจริง ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้นี้ได้ให้ถ้อยคำ ารับสารภาพว่าพลั้งเผลอ<br />

ฐานความผิดวินัย<br />

ฐานไม่ปฏิบัติตามคำาสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ<br />

ของทางราชการ<br />

ฐานไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมของทางราชการและจรรยาบรรณของ<br />

ข้าราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 88 วรรคหนึ่ง และมาตรา 91<br />

2. เปิดเผยความลับทางราชการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 6 ว ได้เปิดเผยความลับและสำาเนาเอกสารลับของทางราชการที่เป็นชื่อ<br />

บุคคลไปให้แก่บุคคลภายนอกที่ไม่เกี่ยวข้องทราบ และเมื่อผู้บังคับบัญชาเรียกมาสอบถามก็ได้ให้ถ้อยคำา<br />

ปกปิดข้อเท็จจริง โดยให้ข้อมูลอันเป็นเท็จ ทำาให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ<br />

ฐานความผิดวินัย<br />

ฐานเปิดเผยความลับของทางราชการ<br />

ฐานรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา<br />

ระดับโทษ<br />

ลดขั้นเงินเดือน 1 ขั้น<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

101


พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 87 วรรคหนึ่ง และมาตรา 90<br />

วรรคหนึ่ง<br />

3. ค่าเช่าบ้าน<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 5 ได้รับอนุมัติให้มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน แต่ขณะที่ยังไม่ได้เข้าอาศัยบ้าน<br />

หลังที่เช่าบิดาได้ถึงแก่กรรม เจ้าหน้าที่ผู้นี้จึงได้ไปพักอาศัยอยู่ที่บ้านมารดาและได้พักอาศัยอยู่จนถึงปัจจุบัน<br />

แต่ได้นำาหลักฐานการเช่าบ้านที่ได้รับอนุมัติดังกล่าวแล้วนั้น ไปใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านจากทางราชการ<br />

ตลอดมา โดยมิได้พักอาศัยอยู่จริง รวม 5 ปี 3 เดือน เป็นเงินทั้งสิ้น 89,700 บาท แต่เจ้าหน้าที่ผู้นี้ได้ใช้<br />

เงินคืนแก่ทางราชการครบถ้วน เมื่อทราบว่าไม่มีสิทธิเบิกแล้ว<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานกระทำาการอื่นใดอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง<br />

ระดับโทษ<br />

ปลดออก<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคสอง<br />

4. ประโยชน์ส่วนตัว<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 8ว ได้รับรถยนต์จากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

เพื่อนำาไปใช้ในการปฏิบัติราชการที่สำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด แต่นำารถไปใช้ส่วนตัว<br />

ซึ่งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้สั่งให้นำารถยนต์คันดังกล่าวไปคืนหลายครั้งก็ไม่ดำาเนินการตาม<br />

คำาสั่ง ครั้งสุดท้ายได้นำารถยนต์มาคืน แต่เจ้าหน้าที่ไม่รับมอบรถเนื่องจากรถไม่อยู่ในสภาพสมบรูณ์ จึงให้<br />

นำาไปซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ก่อน<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานอาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอำานาจหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น<br />

ฐานไม่ปฏิบัติตามคำาสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ<br />

ของทางราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ลดขั้นเงินเดือน 1 ขั้น<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 82 วรรคสอง และมาตรา 88<br />

วรรคหนึ่ง<br />

102 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

5. ไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้าแก่ราชการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 5 และเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 3 ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะ<br />

กรรมการตรวจรับพัสดุ โครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำาท่วม โดยได้จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ไว้แล้ว แต่ไม่<br />

ดำาเนินการให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้าแก่ราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือนคนละ 5% เป็นเวลา 1 เดือน<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 83<br />

6. ต้องยื่นใบลา<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าพนักงานธุรการ 4 จัดส่งใบลาเพื่อขออนุญาตลาป่วย ภายหลังจากหยุดราชการไปแล้ว ล่าช้า<br />

เป็นเวลานานนับเดือนบ่อยครั้ง ผู้รับผิดชอบควบคุมวันลาทวงถามอยู่เนืองๆ ก็ยังไม่เร่งรีบดำาเนินการให้เป็น<br />

ไปตามระเบียบการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2535<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมของทางราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 91<br />

7. สูบน้ำที่บ้าน<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 5 นำาเครื่องสูบน้ำาของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตไปใช้<br />

ส่วนตัวที่บ้านพัก โดยไม่ขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชา<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานอาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอำานาจหน้าที่ราชการของตน ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม<br />

หาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 1 เดือน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

103


พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 82 วรรคสอง<br />

8. ไม่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 5 ไม่ตั้งใจทำางานการเงินและบัญชีของสำานักงานป้องกันและบรรเทา<br />

สาธารณภัยจังหวัด ซึ่งตนเองมีหน้าที่รับผิดชอบให้เรียบร้อย ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ทำาให้การส่งมอบงาน<br />

แก่ผู้รับเพื่อปฏิบัติเกิดความล่าช้า และทำางานไม่สัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ไม่ช่วยเหลือกันในการปฏิบัติงาน<br />

การเงินและบัญชีกับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่ช่วยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ระหว่างข้าราชการและผู้ร่วมปฏิบัติราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 1 เดือน<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 83 และมาตรา 93<br />

9. ไม่สุภาพไม่ช่วยเหลือ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 7 ปฏิบัติหน้าที่ราชการอย่างขาดมนุษยสัมพันธ์ และใช้อารมณ์ของ<br />

ตนเองเป็นใหญ่ ทำาให้ไม่เป็นที่ยอมรับจากผู้นำาท้องถิ่น ผู้มาติดต่อประสานงานและผู้ใต้บังคับบัญชา<br />

นอกจากนั้นยังไม่ให้คำาปรึกษาหารือแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ทำาให้การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่น<br />

ทำาได้ยาก<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่สุภาพเรียบร้อย ไม่รักษาความสามัคคี และไม่ช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการระหว่าง<br />

ข้าราชการด้วยกันและผู้ร่วมปฏิบัติราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 93<br />

10. ทำร้ายร่างกาย<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

นายช่างเครื่องกล 6 ได้ทำาร้ายร่างกายภรรยาต่อหน้าผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานอีกหลายคน<br />

ในสถานที่ทำางาน เพราะภรรยามาขอแบ่งเงินเดือนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในครอบครัว<br />

104 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ฐานความผิดวินัย<br />

ฐานกระทำาการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคหนึ่ง<br />

11. ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่บริหารงานธุรการ 5 วางฎีกาเบิกเงินค่าน้ำามันเชื้อเพลิงที่ใช้ในราชการ จำานวน 61,698 บาท<br />

และค่าวัสดุสำานักงานฯ จำานวน 15,705 บาท แต่ไม่นำาไปชำาระให้แก่เจ้าหนี้ผู้ขาย เป็นเหตุให้สำานักงานฯ<br />

ถูกทวงถามให้ชำาระหนี้ และได้มีการทำาสัญญากู้ยืมเพื่อฝึกอบรมและลูกหนี้เงินยืมได้ส่งเงินที่เหลือคืนแล้ว<br />

แต่ไม่ปรากฏหลักฐานการส่งเงินคืน จำานวน 32,815 บาท รวมทั้งสัญญากู้ยืมเงินที่ระบุท้ายฎีกาไม่ตรงกับ<br />

ฎีกาที่วางเบิก อีกทั้งยังได้แก้ไขสำาเนาเอกสารแบบรายงานงบเดือน ฉบับที่เก็บรักษาไว้ที่สำานักงาน ทำาให้<br />

ข้อมูลบางรายการไม่ตรงกับข้อมูลในฎีกาเบิกเงิน<br />

ฐานความผิดวินัย<br />

ฐานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่<br />

มิควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ<br />

ฐานความผิดอาญา<br />

ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่<br />

ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต<br />

ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทำาเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสาร หรือดูแลรักษาเอกสาร<br />

กระทำาการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่นั้น<br />

ผู้ใดทำาให้เสียหาย ทำาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทำาให้สูญหายหรือไร้ประโยชน์ซึ่งพินัยกรรม<br />

หรือเอกสารใดของผู้อื่น ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน<br />

ผู้ใดปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ไล่ออก<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 82 วรรคสาม<br />

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 มาตรา 161 มาตรา 188 และมาตรา 265<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

105


12. เบิกเงินสวัสดิการเสพสุรากลางวัน<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

นายช่างเครื่องกล 4 ได้เสพสุราในเวลารับประทานอาหารกลางวัน และเมื่อกลับมาปฏิบัติหน้าที่<br />

ราชการ ได้ส่งเสียงดังก่อให้เกิดความรำาคาญแก่เพื่อนร่วมงาน<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่รักษาชื่อเสียงตน และรักษาเกียรติศักดิ์ของตำาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย<br />

โดยไม่กระทำาการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว<br />

ระดับโทษ<br />

ลดขั้นเงินเดือน 1 ขั้น<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคหนึ่ง<br />

13. ไม่สุภาพเรียบร้อย<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

หัวหน้าสำานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ไม่สามารถปกครองผู้ใต้บังคับบัญชาให้<br />

ปฏิบัติงานด้วยความเรียบร้อยด้วยหลักการและเหตุผลที่ถูกต้องตามทำานองคลองธรรม เกิดความขัดแย้ง<br />

ในการปฏิบัติงาน เป็นผลทำาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาขาดขวัญและกำาลังใจในการทำางาน และขาดความสามัคคี<br />

ฐานความผิดวินัย<br />

ฐานไม่สุภาพเรียบร้อย และไม่รักษาความสามัคคีระหว่างข้าราชการด้วยกันและผู้ร่วมปฏิบัติ<br />

ราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 93<br />

14. อาศัยอำนาจหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

นายช่างโยธา 7 ได้ขออนุญาตผู้บังคับบัญชานำารถยนต์ของราชการไปราชการ แต่กลับนำารถยนต์<br />

ไปก่อนวันขออนุญาต 1 วัน เพื่อไปหาภรรยาและครอบครัว และเกิดอุบัติเหตุรถยนต์ชนกันได้รับความเสียหาย<br />

เป็นเหตุให้ไม่ได้ใช้รถยนต์นานถึง 7 เดือน นอกจากนี้ก็ไม่รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตามนัย<br />

ข้อ 19 วรรคสอง ของระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523 เพียงแต่ผู้ใต้บังคับบัญชา<br />

รายงานให้กรมทราบว่า ข้าราชการผู้นี้ประสบอุบัติเหตุได้รับบาดเจ็บ และเมื่อผู้นี้หายจากบาดเจ็บแล้วก็ไม่<br />

ตรวจสอบว่า ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนดำาเนินการขาดตกบกพร่องหรือไม่ อย่างไร<br />

106 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานอาศัยอำานาจหน้าที่ราชการของตนไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง<br />

หรือผู้อื่น และฐานไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมของทางราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 82 วรรคสอง และมาตรา 91<br />

15. เบิกเงินสวัสดิการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 6 ว ได้เบิกเงินค่าอาหารทำาการนอกเวลาและเบิกเงิน<br />

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการซ้ำากัน โดยในวันที่ 3 และ 8 มิถุนายน 2550 วันที่ 2, 4, 5, 6 สิงหาคม<br />

2550 และวันที่ 9 และ 10 กันยายน 2550 เจ้าหน้าที่ผู้นี้ได้เดินทางไปราชการที่ต่างจังหวัด แต่ได้เบิกเงิน<br />

ค่าอาหารทำาการล่วงเวลาเป็นเงินจำานวน 2,000 บาท ตามทาง สอบสวนไม่ปรากฏเจตนาฉ้อโกง แต่เป็น<br />

กรณีทำาหลักฐานการปฏิบัติงานนอกเวลาภายหลังวันทำาการล่วงเวลานั้น<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานกระทำาการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว<br />

ระดับโทษ<br />

ลดขั้นเงินเดือน 1 ขั้น<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคหนึ่ง<br />

16. อ้างมั่ว<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

หัวหน้างานจัดซื้อและพัสดุฯ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตแห่งหนึ่ง ได้รับคำาสั่งจาก<br />

ผู้อำานวยการศูนย์ ฯ ให้ไปประชุมในหลักสูตรหัวหน้างานจัดซื้อและพัสดุที่ส่วนกลาง เป็นเวลา 3 วัน แต่<br />

หัวหน้างานจัดซื้อและพัสดุ ไม่ไปร่วมประชุมตามคำาสั่ง โดยอ้างเหตุความเจ็บป่วยของภรรยาซึ่งจะต้องดูแล<br />

รักษา และรถเสียตลอดทั้งเดินทางไปสถานที่ประชุมไม่ถูก ซึ่งจากการสอบสวนปรากฏว่าข้ออ้างไม่เป็น<br />

ความจริงตามที่กล่าวอ้างแต่อย่างใด<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่ปฏิบัติตามคำาสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมาย และ<br />

ระเบียบของทางราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 3 เดือน<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

107


พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 88 วรรคหนึ่ง<br />

17. ละทิ้งหน้าที่ราชการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่พัสดุ 2 ได้ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่า 15 วัน โดยไม่<br />

แจ้งเหตุต่อผู้บังคับบัญชา ซึ่งผู้บังคับบัญชาได้ติดตามและแจ้งให้มาปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือยื่นใบลาออก<br />

ให้ถูกต้อง แต่เจ้าหน้าที่ผู้นี้ก็เพิกเฉยไม่ได้กลับมาปฏิบัติหน้าที่ราชการอีกเลยจนถึงปัจจุบัน และผู้บังคับ<br />

บัญชาได้สืบสวนแล้วพบว่าตลอดเวลาที่ละทิ้งหน้าที่ราชการได้พักอยู่ที่บ้านตลอดมาแต่ไม่มาปฏิบัติงาน<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร<br />

ระดับโทษ<br />

ไล่ออก<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 92 วรรคสอง<br />

18. ลืมนานไปหน่อย<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตแห่งหนึ่ง ได้รับเงินคืนเงิน<br />

ทดรองราชการจำานวน 320 บาท จากผู้ยืมเงินทดรองราชการ และได้นำาเงินจำานวนดังกล่าวไปเก็บไว้ในตู้<br />

เอกสาร ไม่ได้นำาส่งคลังในวันที่ได้รับเงินนั้น จนหลงลืม ต่อมาได้นำาส่งเงินหลังจากวันที่ได้รับเป็นเวลา 3 วัน<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเอาใจใส่ และระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 2 เดือน<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 84 วรรคหนึ่ง<br />

19. ไม่ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางราชการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่บริหารงานธุรการ 5 รับผิดชอบงานด้านบริหารทั่วไป เมื่อได้รับหนังสือหรือบันทึกเวียน<br />

แล้ว ไม่บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณาดำ าเนินการทันทีมักจะเก็บรวมเรื่องไว้แล้วบันทึกเสนอพร้อมกัน<br />

ในคราวเดียว เป็นเหตุให้การพิจารณาเรื่องดังกล่าวล่าช้า<br />

108 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 มาตรา 84 วรรคหนึ่ง<br />

20. ไม่สนใจเอาใจใส่<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

นายช่างโยธา 6 ได้จดทะเบียนสมรสกับหญิงอื่น ขณะที่ได้จดทะเบียนสมรสกับภรรยาอยู่แล้ว และ<br />

ไม่สนใจเอาใจใส่ ไม่ส่งเสียเงินเพื่อเป็นค่าเลี้ยงดู และค่าใช้จ่ายในครอบครัว ถึงแม้ต่อมาภายหลังเจ้าหน้าที่<br />

ผู้นี้จะได้จดทะเบียนหย่ากับหญิงคนดังกล่าว และยินยอมทำาตามข้อเรียกร้องของภรรยาตามกฎหมาย คือ<br />

ส่งเงินเป็นค่าเลี้ยงดูและค่าใช้จ่ายให้แก่ครอบครัวเป็นรายเดือนเป็นจำ านวนครึ่งหนึ่งของเงินเดือนประจำาก็ตาม<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักดิ์ของตำาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้<br />

เสื่อมเสีย โดยไม่กระทำาการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 2 เดือน<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคหนึ่ง<br />

21. ทอดทิ้ง<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7 มีภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมายอยู่แล้ว แต่กลับมีความสัมพันธ์ฉันชู้สาว<br />

กับหญิงอื่นโดยไปไหนมาไหนด้วยกัน แต่ยังคงส่งเสียเงินให้แก่ภรรยาของตนใช้จ่าย ต่อมาภายหลังจึงทอดทิ้ง<br />

เป็นเหตุให้ภรรยาไม่พอใจ จนถึงขนาดไปต่อว่าและด่าทอข้าราชการผู้นี้บริเวณริมรั้วที่ทำางานถึง 2 ครั้ง<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักดิ์ของตำาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้<br />

เสื่อมเสีย โดยไม่กระทำาการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 2 เดือน<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคหนึ่ง<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

109


22. ผิดระเบียบการลา<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่ธุรการ 2 ได้หยุดราชการบ่อยครั้ง ครั้งละหลายวันโดยอ้างว่าป่วย ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ<br />

ว่าด้วยการลาของข้าราชการ ซึ่งกำาหนดในเรื่องการลาป่วยว่า “ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตาม<br />

ลำาดับจนถึงผู้มีอำานาจอนุญาตก่อนหรือจัดส่งใบลาในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการก็ได้” แต่รวมเสนอใบลา<br />

ขออนุญาตลาป่วยหลาย ๆ ครั้ง ต่อผู้บังคับบัญชาในคราวเดียวกัน<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมของทางราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 1 เดือน<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 91<br />

ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2535 ข้อ 17<br />

23. ละทิ้งหน้าที่ราชการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 3 ได้ขาดราชการ 6 ครั้ง รวม 50 วัน โดยยื่นใบลาป่วยพร้อมใบ<br />

รับรองแพทย์ ซึ่งพอเชื่อได้ว่าป่วยจริงเพียง 2 ครั้ง รวม 21 วัน แต่การขาดราชการอีก 4 ครั้ง รวม 29 วัน<br />

โดยไม่มีการลาและไม่ได้แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบ แม้ผู้บังคับบัญชาจะตักเตือนแล้ว แต่ก็ไม่ได้ผล<br />

ฐานความผิดวินัย<br />

ฐานไม่ปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการและฐานละทิ้งหน้าที่ราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ลดขั้นเงินเดือน 1 ขั้น<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 มาตรา 85 วรรคหนึ่ง และมาตรา 92<br />

วรรคหนึ่ง<br />

24. ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 5 ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการและเป็น<br />

ผู้รับหนังสือจังหวัด จำานวน 2 ฉบับ ซึ่งได้สั่งการให้เตรียมการป้องกันภัยอันเกิดจากอุทกภัย แล้วเก็บไว้<br />

โดยมิได้เสนอหนังสือทั้งสองฉบับดังกล่าวให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เป็นเหตุให้หนังสือทั้งสองฉบับดังกล่าว<br />

สูญหายไป<br />

110 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 84 วรรคหนึ่ง<br />

25. ชู้สาว<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 6ว มีความสนิทสนมกับผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่งเป็นหญิงเกินกว่า<br />

ผู้บังคับบัญชาจะมีต่อผู้ใต้บังคับบัญชากันธรรมดา ทำาให้บุคคลอื่นเข้าใจว่ามีความสัมพันธ์ฉันชู้สาวกัน<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตน และเกียรติศักดิ์ของตำาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคหนึ่ง<br />

26. ชู้สาว<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 8ว มีความสัมพันธ์กับหญิงอื่น โดยไปเช่าห้องพักนอนด้วยกัน<br />

ที่โรงแรม ทั้งที่แต่ละฝ่ายก็มีภรรยาและสามีที่ชอบด้วยกฎหมายอยู่แล้ว หลังจากนั้นยังติดต่อมีความสัมพันธ์<br />

กันอีกหลายครั้ง<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานกระทำาการอื่นใดอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง<br />

ระดับโทษ<br />

ปลดออก<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคสอง<br />

27. ยาเสพติด<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

นายช่างโยธา 3 ถูกเจ้าหน้าที่ตำารวจจับกุมตัวดำาเนินคดีในความผิดฐานมียาเสพติดให้โทษประเภท 1<br />

(ยาบ้า) จำานวน 8 เม็ด ไว้ในครอบครองโดยผิดกฎหมาย ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้นี้ได้มีหนังสือรับสารภาพต่อผู้บังคับบัญชา<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

111


ฐานความผิด<br />

ฐานกระทำาการอื่นใดอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง<br />

ระดับโทษ<br />

ไล่ออก<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคสอง<br />

28. ละทิ้งหน้าที่ราชการ เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการ<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

บุคลากร 4 ได้ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกัน เป็นเวลา 19 วัน โดยไม่มีเหตุผลอัน<br />

สมควร แต่ได้กลับมาปฏิบัติราชการตามปกติ<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร<br />

ระดับโทษ<br />

ปลดออก<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 92 วรรคสอง<br />

29. ไม่รับผิดชอบต่อครอบครัว<br />

พฤติการณ์การกระทำาความผิด<br />

นายช่างโยธา 6 มีภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมายอยู่แล้ว และมีบุตรด้วยกัน 1 คน แต่ได้อยู่กินกับ<br />

หญิงอื่น โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส จนมีบุตรสาววัยสามขวบด้วยกัน 1 คน<br />

ฐานความผิด<br />

ฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตน และเกียรติศักดิ์ของตำาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย โดย<br />

ไม่กระทำาการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว<br />

ระดับโทษ<br />

ภาคทัณฑ์<br />

พระราชบัญญัติฯ ระเบียบ ข้อบังคับ<br />

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาตรา 98 วรรคหนึ่ง<br />

112 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.


คู่มือบริหารงานบุคคล<br />

คณะผู้จัดทำ<br />

ที่ปรึกษา<br />

1. นายอนุชา โมกขะเวส อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

2. นายศรีสมบัติ พรประสิทธิ์ รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

3. นายฉัตรป้อง ฉัตรภูติ รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

4. นายประทีป กีรติเรขา รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

ผู้จัดทำ<br />

1. ว่าที่ร้อยตรีอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ เลขานุการกรม รักษาราชการแทน<br />

ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่<br />

2. กลุ่มอัตรากำลังและระบบงาน กองการเจ้าหน้าที่<br />

3. กลุ่มงานสรรหาบรรจุแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่<br />

4. กลุ่มงานทะเบียนประวัติและสิทธิประโยชน์ข้าราชการ กองการเจ้าหน้าที่<br />

5. กลุ่มงานวินัย กองการเจ้าหน้าที่<br />

6. ฝ่ายสวัสดิการ กองการเจ้าหน้าที่<br />

กองการเจ้าหน้าที่<br />

113


ค่านิยมองค์กร “DISASTER”<br />

D : Dedication<br />

I : Integrity<br />

การอุทิศตน เสียสละและมีจิตให้บริการ<br />

การปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมและจริยธรรม<br />

โดยน้อมนำาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำารงชีวิต<br />

S : Safety Mind การมีจิตมุ่งเน้นความปลอดภัย<br />

A : Alert & Agility ความตื่นตัวและคล่องตัวในการปฏิบัติงาน พร้อมเรียนรู้<br />

S : Social Responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการทำางาน<br />

T : Teamwork การทำางานร่วมกันเป็นหมู่/คณะ โดยใช้การสื่อสารอย่างเปิดเผย<br />

เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจที่ดีภายในองค์กร<br />

E : Efficiency การมุ่งเน้นประสิทธิภาพ-ประสิทธิผลของงาน<br />

R : Relationship ความมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี<br />

กองการเจ้าหน้าที่ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย<br />

โทรศัพท์ 0-2637-3152-69 โทรสาร 0-2243-2205<br />

114 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย ฟื้นฟูและกู้ภัย คือหัวใจกรม <strong>ปภ</strong>.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!