12.07.2015 Views

ราชอาณาจักรกัมพูชา - FTA

ราชอาณาจักรกัมพูชา - FTA

ราชอาณาจักรกัมพูชา - FTA

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ราชอาณาจักรกัมพูชา(Kingdom of Cambodia)1. ข้อมูลทั ่วไป1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที ่ตั ้งพื ้นที ่ชายฝั ่งทะเล: 13º 00´ N 105º 00´ E ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ทิศเหนือติดประเทศไทย (เขต จ.อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์และบุรีรัมย์)และ สปป.ลาว (แขวงอัตตะปื อและจ าปาสัก): ทิศตะวันออกติดเวียดนาม (เขต จ.คอมทูม เปลกู การ์ลัดและกวางติ ๊ด): ทิศตะวันตกติดประเทศไทย (เขต จ.สระแก้ว จันทบุรีและตราด): ทิศใต้ติดอ่าวไทย: มีพรมแดนติดกับพรมแดน สปป.ลาว 541 กม. ไทย 798 กม.และเวียดนาม 1,228 กม.: 181,035 ตร.กม. (พื ้นดิน 176,515 ตร.กม. พื ้นน ้า 4,520 ตร.กม.) หรือมีขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย กว้าง 500 กม. ยาว 450 กม.: 443 กม.


-2-ภูมิประเทศ : คล้ายชาม หรืออ่างคือ ตรงกลางเป็นแอ่งทะเลสาบและลุ ่มแม่น ้าโขงอันกว้างขวางมีภูเขาล้อมรอบอยู่ 3 ด้าน ได้แก่- ด้านตะวันออกมีแนวเทือกเขาอันนัมที ่เป็นพรมแดนกับประเทศเวียดนาม- ด้านเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือมีแนวเทือกเขาพนมดงรักที ่เป็นพรมแดนกับไทย- ด้านใต้และตะวันตกเฉียงใต้มีแนวเทือกเขาบรรทัดที ่เป็นแนวพรมแดนกับประเทศไทยเฉพาะด้านตะวันออกเฉียงใต้เท่านั ้นที ่เป็นที ่ราบลุ ่มแม่น ้าโขง: จุดต ่าสุด บริเวณอ่าวไทย 0 ม.: จุดสูงสุด พนมอาออรัล (Phnum Aoral) สูงจากระดับน ้าทะเลปานกลาง 1,813 ม.แม่น ้า/ทะเลสาบส าคัญ : แม่น ้าโขง ไหลจาก สปป.ลาวเข้าสู ่ภาคเหนือของกัมพูชาแล้วไหลผ่านเข้าเขตเวียดนาม มีความยาวในเขตกัมพูชารวม 500 กม.: แม่น ้าทะเลสาบ เชื ่ อมระหว่างแม่น ้าโขงกับทะเลสาบ ความยาวประมาณ 130 กม.: แม่น ้าบาสัก (Bassac) เชื ่ อมต่อกับแม่น ้าทะเลสาบที ่หน้าพระบรมมหาราชวังกรุงพนมเปญ ความยาว 80 กม.: ทะเลสาบ (Tonle Sap) เป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ มีเนื ้อที ่ทั ้งหมด 3,000 ตร.กม.อยู่ห่างจากกรุงพนมเปญประมาณ 100 กม. ครอบคลุมพื ้นที ่ 5 จังหวัดได้แก่ ก าปงธม ก าปงชะนัง โพธิสัต พระตะบอง และเสียมเรียบ ในโตนเลสาบมีปลาชุกชุมกว่า 300 ชนิดภูมิอากาศ: ร้อนชื ้น มีฤดูฝนยาวนาน อุณหภูมิโดยเฉลี ่ ย 20-36 องศาเซลเซียส: อุณหภูมิเฉลี ่ ยในกรุงพนมเปญ 27 องศาเซลเซียส: ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม: ฤดูแล้ง ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-เมษายนเดือนเมษายนมีอุณหภูมิสูงที ่สุด เดือนมกราคมมีอุณหภูมิต ่าที ่สุด เดือนตุลาคมมีฝนตกชุกที ่สุด่1.2 ประชากรจ านวนประชากร : 14 ล้านคน (ก.ค. 2550) ประชากรร้อยละ 80 อาศัยอยู่ในชนบทความหนาแน่นของประชากร : 78.0 คนต่อ ต.ร.กม.อัตราการเพิมของประชากร: ร้อยละ 1.7 ต่อปีโครงสร้างอายุ :ประชากรช่วงอายุ 0-14 ปี มีร้อยละ 34.0 (ชาย 2.41 ล้านคน หญิง 2.36 ล้านคน)ประชากรช่วงอายุ 15-64 ปี มีร้อยละ 62.4 (ชาย 4.23 ล้านคน หญิง 4.50 ล้านคน)ประชากรช่วงอายุ 65 ปี ขึ ้นไปมีร้อยละ 3.6 (ชาย 0.19 ล้านคน หญิง 0.31 ล้านคน)สัดส่วนประชากรชาย : หญิง : 0.95


-3-่่อายุเฉลียของประชากร : 61.29 ปีอัตราส่วนประชากรที ่รู ้หนังสือ : 73.6 %เชื ้อชาติ: กัมพูชา 90% เวียดนาม 5% จีน 1 % อื ่นๆ 4%ศาสนา: พุทธศาสนานิกายเถรวาท 95% (มี 2 นิกายย่อย ได้แก่ ธรรมยุติและมหานิกายโดยมีสมเด็จพระสังฆราช 2 องค์) ศาสนาอิสลาม (หรือเขมรจามซึงมีประมาณ200,000 คน) และศาสนาคริสต์ภาษา: ภาษาราชการ ได้แก่ ภาษาเขมร ส่วนภาษาที ่ใช้งานทั ่วไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษฝรั ่งเศส เวียดนาม จีน และไทยแรงงานในภาคธุรกิจต่างๆ : ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 73.7ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 7.0ภาคบริการและอื ่นๆ ร้อยละ 19.3อัตราการว่างงาน : ร้อยละ 1.01.3 ข้อมูลทั ่วไปอื ่นๆกษัตริย์นายกรัฐมนตรี: พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหมุนี(His Majesty Preah Bat Samdech Preah Boromneath Norodom Sihamoni)เสด็จขึ ้นครองราชย์เมื ่อวันที ่ 14 ต.ค. 47: สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเตโชฮุน เซน(Samdech Akka Moha Sena Padei Techo Hun Senรองหัวหน้าพรรค CPP (วาระการด ารงต าแหน่งคราวละ 5 ปี)์ (Mr. Cham Prasidh)รมว. กระทรวงพาณิชย์ : นายจอม ประสิทธิเมืองหลวง: กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) มีประชากรประมาณ 1,000,000 คนเป็นแหล่งการค้า การลงทุนที ่ส าคัญเมืองส าคัญ : ก าปงจาม เป็นเมืองท่าการค้า มีประชากร ประมาณ 1,513,500 คน: เสียมราฐ เป็นศูนย์ของการท่องเที ่ยวและธุรกิจโรงแรม เนื ่ องจากเป็นที ่ตั ้งของนครวัด นครธมซึ ่ งเป็นสิ ่งมหัศจรรย์ของโลก มีประชากรประมาณ 662,500 คน: พระตะบอง เป็นเมืองกระจายสินค้า มีประชากรประมาณ 716,600 คน: เกาะกง เป็นที ่ตั ้งของท่าเรือจามเยี ่ยม ซึ ่ งเป็นเมืองท่าที ่ส าคัญของประเทศมีประชากรประมาณ 74,400 คน: สีหนุวิลล์ (ก าปงโสม) เป็นเมืองท่าการค้าและการท่องเที ่ยวมีประชากรประมาณ 900,000 คนทรัพยากรธรรมชาติ : อัญมณี เหล็ก ฟอสเฟต บ๊อกไซต์ ซิลิคอน ถ่านหิน แมงกานิส น ้ามัน แก๊ส ไม้สัก: การประมง บริเวณรอบทะเลสาบเขมร (Tonle Sap) เป็นแหล่งประมงน ้าจืดที ่ส าคัญที ่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกฉียงใต้: การท าป่ าไม้ บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือ โดยล่องมาตามแม่น ้าโขง กัมพูชาเป็นประเทศที ่มีป่ าไม้อุดมสมบูรณ์มากที ่สุดหากเปรียบเทียบกับประเทศเพื ่ อนบ้าน ปัจจุบันป่ าไม้ลดลงอย่างมากหลังจากที ่รัฐบาลเปิ ดให้สัมปทานป่ ากับ


้์-5-ครั ้นถึงปี 2498 ทรงสละราชสมบัติ แต่ยังคงกุมอ านาจไว้ในฐานะนายกรัฐมนตรี ประมุขของประเทศ และประธานาธิบดี ในปี 2513 นายพล ลอนนอล ก่อรัฐประหาร สมเด็จพระนโรดมสีหนุต้องเสด็จลี ้ภัยไปยังปักกิ ่ง และได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับคอมมิวนิสต์เขมรแดง เมื ่อรัฐบาลเขมรแดงยึดอ านาจได้ในปี 2518 จึงทรงเสด็จกลับคืนสู ่พนมเปญ แต่พระองค์กลับถูกพันธมิตรกักตัวไว้ หลังเวียดนามขับไล่รัฐบาลเขมรแดงออกไปในปี 2522 พระองค์ทรงตั ้งตนเป็นประธานาธิบดีพลัดถิ ่นของแนวร่วมต่อต้านเวียดนาม ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในประเทศจีนและเกาหลีเหนือ ในเดือนพฤษภาคม 2536 หลังจากการเลือกตั ้งที ่สหประชาชาติเป็นผู ้จัดขึ ้น กัมพูชาได้กลายเป็นประเทศที ่ปกครองโดยพระมหากษัตริย์โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด มีสมเด็จพระนโรดมสีหนุเป็นประมุขของประเทศ เจ้านโรดมรณฤทธิ ์ผู ้เป็นโอรสเป็นนายกรัฐมนตรีล าดับที ่หนึ ่ งในขณะที ่ นายฮุนเซ็น หัวหน้าคณะชุดเก่าที ่ได้รับการสนับสนุนจากเวียดนามเป็นนายกรัฐมนตรีล าดับที ่สองในปี 2540 นายฮุน เซ็นได้ก่อรัฐประหารต่อต้านนายกรัฐมนตรีล าดับที ่หนึ ่ ง จนอีกฝ่ ายหนึ ่ งต้องลี ้ภัยไปยังฝรั ่งเศส จนกระทั ่งนาย ฮุนเซ็นได้รวบรวมอ านาจได้ส าเร็จ และน าสันติสุขกลับคืนสู ่กัมพูชาอีกครั ้งการเมืองของกัมพูชามีเสถียรภาพมากขึ ้นภายหลังการจัดตั ้งรัฐบาลผสมระหว่าง 2 พรรคการเมืองหลัก คือ พรรคประชาชนกัมพูชา (Cambodian People’s Party : CPP) และพรรค FUNCINPEC(National United Front for an Independent, Neutral, Peaceful and Cooperative Cambodia) เมื ่อวันที ่ 15 ก.ค. 2547 ประกอบกับสมเด็จกรมพระนโรดมรณฤทธิ ์ หัวหน้าพรรค FUNCINPEC ประกาศรวมพรรคของตนเข้ากับพรรค CPP เมื ่อวันที ่ 23 ธ.ค. 2547 ส่งผลให้ทิศทางการเมืองของกัมพูชาเริ ่ มมีเสถียรภาพมากขึ ้นเป็นล าดับ ทั ้งนี ้ EIU (ฉบับเดือนพฤศจิกายน 2548) รายงานว่าการประกาศรวมพรรคการเมืองหลักในครั ้งนี ้ เป็นการแสดงเจตน์จ านงอย่างแรงกล้าในการเป็นพันธมิตรทางการเมือง ซึ ่ งแม้ว่าจะยังไม่มีผลในทางปฏิบัติแต่ก็ท าให้รัฐบาลกัมพูชามีความเข้มแข็งขึ ้น และคาดว่า รัฐบาลปัจจุบันจะสามารถอยู่ได้จนครบวาระอย่างไรก็ตาม ภายหลังการประกาศรวมพรรคการเมืองดังกล่าว รัฐบาลกัมพูชามีท่าทีแข็งกร้าวมากขึ ้นกับฝ่ ายค้าน ตามล าดับเหตุการณ์ดังนี3 ก.พ. 48 นายสม รังสี ผู ้น าพรรคสม รังสีซึ ่ งเป็นพรรคฝ่ ายค้านของกัมพูชาเดินทางออกนอกประเทศเพื ่ อหลบหนีการจับกุมและด าเนินคดีทางกฎหมาย หลังจากที ่รัฐสภากัมพูชาลงมติเพิกถอนสิทธิคุ ้มครองทางการเมืองนายสม รังสี ซึ ่ งท าให้นายฮุน เซน นายกรัฐมนตรีของกัมพูชาสามารถฟ้ องร้องนายสมรังสี ที ่กล่าวหาว่านายกฯ ฮุน เซน เป็นผู ้อยู่เบื ้องหลังเหตุการณ์ปาระเบิดใส่ฝูงชนระหว่างการหาเสียงของพรรค SRP เมื ่อปี 2540 ท าให้มีผู ้เสียชีวิต 16 คน ทั ้งนี ้ การลงมติของรัฐสภากัมพูชาในครั ้งนี ้ถูกประณามจากนานาชาติว่าจะท าให้ระบอบประชาธิปไตยของกัมพูชาถดถอยลง4.ก.พ. 48 นายสม รังสี ผู ้น าพรรค SRP ซึ ่ งหลบหนีการจับกุมของทางการกัมพูชาได้เดินทางไปยังสิงคโปร์และไทย แต่ทางการไทยปฏิเสธที ่จะให้พ านักในประเทศ จึงเดินทางออกจากไทยไปยังฝรั ่งเศสแทน27 เม.ย. 48 สมเด็จกรมพระนโรดมสีหนุ อดีตกษัตริย์ของกัมพูชาทรงรับต าแหน่งประธานสภากิจการชายแดนกัมพูชาตามค ากราบบังคมทูลของนายกรัฐมนตรีฮุน เซน ทั ้งนี ้ สมเด็จกรมพระนโรดมสีหนุทรงมีพระราชด าริขอให้ทางการไทย เวียดนามและ สปป.ลาว แต่งตั ้งตัวแทนเพื ่ อร่วมเจรจาแก้ไขปัญหา


์่-6-ชายแดนกับกัมพูชา โดยฝ่ ายกัมพูชาพร้อมที ่จะเปิ ดการเจรจาหากรัฐบาลประเทศเพื ่ อนบ้านดังกล่าวเห็นชอบในข้อตกลง9 พ.ค. 48 นาย Khom Phisith สมาชิกพรรค SRP ได้รับความช่วยเหลือจากองค์การสหประชาชาติในกรุงเทพฯ ให้ลี ้ภัยไปยังนอร์เวย์ หลังจากที ่ลี ้ภัยมากรุงเทพฯ ตั ้งแต่เดือนสิงหาคม 2547ทั ้งนี ้ นาย Khom Phisith ถูกรัฐบาลภายใต้การน าของนายกรัฐมนตรีฮุน เซน ตั ้งข้อกล่าวหาว่ามีส่วนเกี ่ยวข้องกับกองทัพเงา ซึ ่ งมีเป้ าหมายจะล้มล้างรัฐบาลกัมพูชา และการจับกุมนาย Kem Sokha ผู ้น าองค์กรด้านสิทธิมนุษยชน และนาย Mam Sonando นักหนังสือพิมพ์ ซึ ่ งส่งผลบั ่นทอนภาพลักษณ์ของกัมพูชาที ่มีต่อองค์กรระหว่างประเทศและผู ้เคลื ่ อนไหวด้านสิทธิมนุษยชน22 ส.ค. 48 สมาชิกพรรค SRP กลับเข้าร่วมการประชุมรัฐสภาอีกครั ้ง หลังจากที ่ประท้วงรัฐบาลกัมพูชาด้วยการไม่เข้าร่วมประชุมตั ้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2548 เนื ่ องจากไม่พอใจที ่ทางการกัมพูชาตั ้งข้อกล่าวหาว่า นายสม รังสี หัวหน้าพรรค SRP ร่วมกับสมาชิกพรรคอีก 2 คน เตรียมการล้มล้างรัฐบาลและดูหมิ ่นสมเด็จกรมพระนโรดมรณฤทธิ ์ ประธานรัฐสภาอย่างไรก็ตาม สถานการณ์ความตึงเครียดดังกล่าวเริ ่ มคลี ่ คลายลงในช่วงต้นปี 2546 เมื ่อพรรคCPP ได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้นในการเลือกตั ้งสมาชิกวุฒิสภา เมื ่อวันที ่ 22 ม.ค. 2549 (พรรค CPP ได้ที ่นั ่งในวุฒิสภาถึง 45 ที ่นั ่ง จากทั ้งหมด 61 ที ่นั ่ง ขณะที ่พรรค FUNCINPEC ได้ 10 ที ่นั ่ง และพรรค SRP ได้2 ที ่นั ่ง ที ่เหลืออีก 4 ที ่นั ่ง เป็นผู ้ทรงคุณวุฒิที ่ได้รับการแต่งตั ้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาโดยรัฐสภากัมพูชา และกษัตริย์30 ม.ค. 49 ผลการเลือกตั ้งสมาชิกวุฒิสภาของกัมพูชาอย่างเป็นทางการซึ ่ งจัดขึ ้นเมื ่อวันที ่ 22ม.ค. 49 ปรากฏว่าพรรคประชาชนกัมพูชา (CPP) ได้ที ่นั ่งในวุฒิสภาสูงถึง 45 ที ่นั ่งจากทั ้งหมด 61 ที ่นั ่งส่วนพรรค FUNCINPEC ซึ ่ งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลได้เพียง 10 ที ่นั ่งและพรรค SRP ได้ 2 ที ่นั ่ง7 ก.พ. 49 นายสม รังสี หัวหน้าพรรค SRP เตรียมเดินทางกลับกัมพูชา หลังจากที ่สมเด็จกรมพระนโรดมสีหะมุนี ประกาศพระราชทานอภัยโทษแก่นายสม รังสี เมื ่อวันที ่ 5 ก.พ. 49 ทั ้งนี ้ นายสม รังสีลี ้ภัยการเมืองไปยังฝรั ่งเศสตั ้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2548 หลังจากที ่รัฐสภากัมพูชาลงมติเพิกถอนสิทธิคุ ้มครองทางการเมืองและศาลได้ตัดสินจ าคุกนายสม รังสี เมื ่อเดือนธันวาคม 2548 เป็นเวลา 1 ปี 6 เดือน13 ก.พ. 2549 นายสม รังสี ผู ้น าพรรค SRP เสนอให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยลดจ านวนทีนั ่งในรัฐสภาของพรรคการเมืองที ่จะจัดตั ้งรัฐบาลเหลือครึ ่ งหนึ ่ ง (เดิมก าหนดให้ต้องมีที ่นั ่งในรัฐสภา 2 ใน 3ของที ่นั ่งทั ้งหมด 123 ที ่นั ่ง จึงจะสามารถจัดตั ้งรัฐบาลได้) เพื ่ อป้ องกันมิให้เกิดปัญหาเช่นเดียวกับการเลือกตั ้งที ่จัดขึ ้นในปี 2546 ซึ ่ งพรรค CPP ได้ที ่นั ่งในรัฐสภาไม่ถึง 2 ใน 3 ของทั ้งหมด ท าให้ต้องเจรจาจัดตั ้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรค FUNCINPEC ของสมเด็จกรมพระนโรดมรณฤทธิ ์ ซึ ่ งใช้เวลานานนับปี อีกทั ้งยังท าให้พรรคฝ่ ายค้านมีที ่นั ่งในรัฐสภาน้อย ท าให้ไม่สามารถตรวจสอบรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั ้งนี ้การเสนอให้แก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าวถือเป็นการเคลื ่ อนไหวทางการเมืองครั ้งแรกของนายสม รังสี หลังจากที ่เดินทางกลับกัมพูชาเมื ่อวันที ่ 10 ก.พ. 493 มี.ค. 49 รัฐสภากัมพูชามีมติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญโดยลดจ านวนที ่นั ่งในรัฐสภาของพรรคการเมืองที ่จะจัดตั ้งรัฐบาลเหลือครึ ่ งหนึ ่ ง ตามข้อเสนอของนายสม รังสี หัวหน้าพรรค SRP เพื ่ อป้ องกันมิให้การเลือกตั ้งทั ่วไปที ่จะจัดขึ ้นในปี 2551 เกิดปัญหาเช่นเดียวกับที ่เคยเกิดขึ ้นในปี 2546


์่่่-7- สมเด็จกรมพระนโรดมรณฤทธิ ์ (หัวหน้าพรรค FUNCINPEC) ประธานรัฐสภากัมพูชาประกาศลาออกจากต าแหน่ง โดยให้เหตุผลว่าต้องการอุทิศเวลาให้กับพรรค FUNCINPEC มากขึ ้น เพื ่ อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่พรรค อย่างไรก็ตาม นักวิเคราะห์ลงความเห็นว่าการลาออกครั ้งนี ้เป็นผลจากความสัมพันธ์ระหว่างพรรคร่วมรัฐบาลทั ้ง 2 พรรค ได้แก่ พรรค CPP และพรรค FUNCINPEC เริ ่ มมีสัญญาณของความขัดแย้งเป็นล าดับ โดยเมื ่อวันที ่ 1 มี.ค. 49 นายกรัฐมนตรีฮุน เซน จากพรรค CPP ได้สั ่งปลดเจ้าหน้าที ่อาวุโส 2 คนของพรรค FUNCINPEC ออกจากการเป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงกลาโหม20 มี.ค. 49 สมเด็จเจีย ซิม หัวหน้าพรรค CPP ได้รับการเลือกตั ้งเป็นประธานวุฒิสภาเป็นสมัยที ่ 2 ท าให้ความสัมพันธ์หว่างพรรคการเมืองหลักที ่เคยเป็นพันธมิตรกันเริ ่ มกลับมาคลุมเครืออีกครั ้ง22 มี.ค. 49 สมเด็จเฮง สัมริน ประธานกิติมศักดิ ์ของพรรค CPP ได้รับการเลือกตั ้งเป็นประธานรัฐสภาคนใหม่2.2 การเมืองปัจจุบันระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญพรรคการเมืองที ่ส าคัญ : พรรคประชาชนกัมพูชา (Cambodian People’s Party : CPP)หัวหน้าพรรคคือ สมเด็จอัคคมหาธัมมโพธิสาลเจีย ซิมการเลือกตั ้งรัฐบาล: พรรคฟุนซินเปค (FUNCINPEC หรือ Front Uni National pour unCambodge Indépendant, Neutre, Pacifique, et Coopératif)หัวหน้าพรรคคือ สมเด็จกรมพระนโรดมรณฤทธิ: พรรคสม รังสี (Sam Rainsy Party : SRP) หัวหน้าพรรคคือ นายสม รังสี: ครั ้งล่าสุด 27 ก.ค. 46 มีจ านวนที ่นั ่งในสภาผู ้แทนราษฎร 123 คน โดยมีสมาชิกสภาผู ้แทน จาก CCP 73 คน FUNCINPEC 26 คน และสมรังสี 24 คนการเลือกตั ้งทั ่วไปครั ้งต่อไปก าหนดมีขึ ้นในวันที ่ 27 กรกฎาคม 2551: เป็นรัฐบาลผสมระหว่างพรรค CPP และพรรค FUNCINPEC จัดตั ้งเมื ่อวันที15 ก.ค. 47สภานิติบัญญัติ : สภาผู ้แทนราษฎร ประกอบด้วยสมาชิก 123 คน มาจากการเลือกตั ้งโดยระบบสัดส่วนตามบัญชีรายชื ่ อที ่พรรคการเมืองเสนอ มีวาระการด ารงต าแหน่งคราวละ 5 ปี มีสมเด็จอัคคมหาพญาจักรีเฮง สัมรินประธานกิติมศักดิ ์ของพรรค CPP อดีตผู ้บัญชาการกองก าลังเขมรแดงเป็นประธานสภาแห่งชาติ เมื ่อวันที21 มี.ค. 49 หลังจากที ่สมเด็จกรมพระนโรดมรณฤทธิ ์ หัวหน้าพรรค FUNCINPEC ลาออกจากต าแหน่งเมื ่อวันที ่ 3 มี.ค. 49 วุฒิสภา ประกอบด้วยสมาชิก 61 คน มาจากการเลือกตั ้ง (กษัตริย์ทรงแต่งตั ้ง 2 คน) ท าหน้าทีกลั ่นกรองกฎหมาย ด ารงต าแหน่งคราวละ 6 ปี มีสมเด็จอัคคมหาธัมมโพธิสาลเจีย ซิม เป็นประธานวุฒิสภา


-8-2.3 โครงสร้างการบริหารประกอบด้วยกระทรวงหลัก 26 กระทรวง ได้แก่1. ส านักนายกรัฐมนตรี2. กระทรวงกลาโหม3. กระทรวงมหาดไทย4. กระทรวงประสานงานกับรัฐสภาและการป้ องกันการทุจริตประพฤติมิชอบในวงราชการ5. กระทรวงการต่างประเทศและความร่วมมือระหว่างประเทศ6. กระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง7. กระทรวงข่าวสาร8. กระทรวงสาธารณสุข9. กระทรวงอุตสาหกรรม เหมืองแร่และพลังงาน10. กระทรวงวางแผน11. กระทรวงพาณิชย์12. กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และการกีฬา13. กระทรวงเกษตร ป่ าไม้ และการประมง14. กระทรวงวัฒนธรรมและศิลปากร15. กระทรวงสิ ่งแวดล้อม16. กระทรวงพัฒนาชนบท17. กระทรวงแรงงานและการฝึกฝนอาชีพ18. กระทรวงไปรษณีย์และโทรคมนาคม19. กระทรวงศาสนา20. กระทรวงกิจการสตรี21. กระทรวงกิจการสังคมและทหารผ่านศึก22. กระทรวงโยธาธิการและการขนส่ง23. กระทรวงยุติธรรม24. กระทรวงการท่องเที ่ยว25. กระทรวงพัฒนาผังเมืองและการก่อสร้าง26. กระทรวงชลประทานและอีก 2 ส านักงานอิสระ (เทียบเท่าทบวง) ได้แก่ ส านักงานการบินพลเรือนและส านักงานข้าราชการพลเรือน


-9-2.4 การแบ่งเขตการปกครองกัมพูชาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 20 จังหวัด (เขต : provinces; khet) และ 4 เทศบาล* (กรุง: municipalities; krung)1. บันเตียเมียนเจย (Banteay Meanchey) 13. โอดดาร์เมียนเจีย (Oddar Meancheay)2. พระตะบอง (Battambang) 14. ไพลิน (Pailin)*3. ก าปงจาม (Kampong Cham) 15. พนมเปญ (Phnom Penh)*4. ก าปงชนัง (Kampong Chhnang) 16. สีหนุวิลล์ (Sihanoukville) (Kampong Som)*5. ก าปงสปื อ (Kampong Speu) 17. พระวิหาร (Preah Vihear)6. ก าปงธม (Kampong Thom) 18. โพธิสัต (Pursat)7. ก าปอต (Kampot) 19. เปรยแวง (Prey Veng)8. กันดาล (Kandal) 20. รัตนคีรี (Ratanakiri)9. เกาะกง (Koh Kong) 21. เสียมเรียบ (Siem Reap)10. แกบ (Kep)* 22. สตึงแตรง (Stung Treng)11. กระแจะ (Kratié) 23. สวายเรียง (Svay Rieng)12. มณฑลคีรี (Mondulkiri) 24. ตาแก้ว (Takéo)2.5 นโยบายการเมือง/การปกครอง1. กัมพูชามีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ทั ้งนี ้ นับจากการเลือกตั ้งทั ่วไปภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปี 2536 การเมืองของกัมพูชามีพัฒนาการอย่างต่อเนื ่ อง


่-10-2. ระบอบประชาธิปไตยของกัมพูชาในปัจจุบันมีความก้าวหน้าและหยั ่งรากลึกลงในสังคมของกัมพูชาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ฝ่ ายต่างๆ มีอิสระในการแสดงความเห็นและด าเนินกิจกรรมทางการเมืองมากขึ ้นประชาชนมีความกระตือรือร้นในการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั ้งทั ้งในระดับชาติและระดับท้องถิ ่น3. รัฐบาลกัมพูชาให้ความส าคัญต่อการฟื ้ นฟูและพัฒนาประเทศ รวมถึงการปฏิรูปในด้านต่างๆได้แก่ การบริหารราชการแผ่นดิน ระบบศาลยุติธรรมและกฎหมาย การทหาร เศรษฐกิจและสังคม เพื ่ อให้การด าเนินงานของรัฐบาลมีประสิทธิภาพ สามารถใช้งบประมาณและทรัพยากรที ่มีอยู่อย่างจ ากัดได้อย่างคุ ้มค่า ตลอดจนสนับสนุนให้ประชาชนโดยเฉพาะผู ้ที ่อยู่ในพื ้ นที ่ชนบทและห่างไกลความเจริญได้รับประโยชน์จากการพัฒนาอย่างแท้จริง ทั ้งนี ้ รัฐบาลกัมพูชาได้ด าเนินการปฏิรูปในสาขาต่างๆ อาทิ การลดจ านวนข้าราชการทั ้งฝ่ ายพลเรือนและฝ่ ายทหาร การปฏิรูปด้านการศาล การปรับปรุงระเบียบและแก้ไขกฎหมายทีล้าหลังและไม่เอื ้ออ านวยต่อการพัฒนาประเทศ การปฏิรูปที ่ดินและการเร่งออกเอกสารสิทธิ ์ในการถือครองที ่ดิน การส่งเสริมการศึกษาและฝึกฝนอาชีพ การปรับเพิ ่ มเงินเดือนข้าราชการ อย่างเป็นระบบ การพัฒนาระบบชลประทานและโครงสร้างพื ้นฐานอื ่นๆ โดยเฉพาะระบบคมนาคมขนส่ง เพื ่ อรองรับการพัฒนาด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและการท่องเที ่ยว เป็นต้น2.6 ความสัมพันธ์ด้านการเมืองกับไทยผู ้น าไทยกับกัมพูชามีความสัมพันธ์ที ่ใกล้ชิดและมีการแลกเปลี ่ ยนการเยือนระหว่างกันอย่างสม ่าเสมอซึ ่ งมีส่วนช่วยให้ความร่วมมือระหว่างสองประเทศด าเนินไปอย่างราบรื ่ นและสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ส าหรับความร่วมมือที ่ส าคัญในปัจจุบัน ได้แก่ การส ารวจและปักปันเขตแดนทางบกไทย-กัมพูชา ไทยกับกัมพูชามีพรมแดนทางบกติดต่อกันประมาณ 798 กิโลเมตร มีหลักเขตทั ้งสิ ้น 73 หลักเขต โดยมีคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมและคณะอนุกรรมการเทคนิคร่วมเป็นกลไกส าคัญที ่ก ากับดูแลภารกิจการส ารวจปักปันและแก้ไขปัญหาเขตแดนทางบก ทั ้งสองฝ่ ายได้เริ ่ มส ารวจเส้นเขตแดนบริเวณหลักเขตที ่ 48-49 ในจังหวัดสระแก้ว เมื ่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 และจะทยอยส ารวจและปักปันเขตแดนที ่เหลือต่อไป นอกจากนี ้รัฐบาลไทยกับกัมพูชายังสนับสนุนให้มีการแก้ไขปัญหาพื ้นที ่ไหล่ทวีปที ่ทั ้งสองฝ่ ายอ้างสิทธิ ์ทับซ้อนกันเพื ่ อให้สามารถแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในทะเลได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ปัญหาที ่เกิดขึ ้น อาทิ มีการปลูกสร้างสิ ่งก่อสร้างรุกล ้าเขตแดน หรือปรับสภาพภูมิประเทศเพื ่ อวัตถุประสงค์ใดๆ ในพื ้นที ่ที ่ยังขาดความชัดเจนในเรื ่ องเส้นเขตแดน มีส่วนส าคัญในการท าลายสันปันน ้าและสภาพภูมิประเทศตามธรรมชาติของเส้นเขตแดนและมักเป็นชนวนน าไปสู ่ความขัดแย้งและไม่เป็นผลดีต่อความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างสองประเทศ ซึ ่ งทั ้งสองฝ่ ายได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาในกรอบของคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย-กัมพูชา เพื ่ อให้มีการปฏิบัติตามความตกลงร่วมกัน ความร่วมมือชายแดน ปัจจุบันไทยกับกัมพูชามีจุดผ่านแดนถาวรระหว่างกัน 6 จุด และจุดผ่อนปรนอีก 9 จุด เพื ่ ออ านวยความสะดวกด้านการสัญจรข้ามแดนระหว่างประชาชนทั ้งสองฝ่ ายบนพื ้นฐานของความตกลงสัญจรข้ามแดนไทย-กัมพูชา ปี 2540 ซึ ่ งก าหนดให้ผู ้สัญจรข้ามแดนต้องใช้เอกสารเดินทางที ่ถูกต้อง ได้แก่ หนังสือเดินทางและบัตรผ่านแดน นอกจากนี ้ยังสนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามเอกสารConcept Paper on Thailand - Cambodia Border Points of Entry: Ways towards New Order,Effective Border Management and Greater Bilateral Cooperation ซึ ่ งส่งเสริมการสัญจรข้ามแดนที ่


-11-ถูกต้อง การอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติในพื ้นที ่ชายแดน การป้ องกันและปราบปรามอาชญากรรมในพื ้นที ่ชายแดน อย่างไรก็ดี ปัญหาในพื ้นที ่ชายแดนยังคงมีอยู่ โดยเฉพาะการลักลอบค้ายาเสพติด แรงงานลักลอบเข้าเมือง การโจรกรรมรถยนต์และรถจักรยานยนต์ ปัญหาการปฏิบัติต่อชาวกัมพูชาที ่ถูกจับกุมในบางครั ้ง การปฏิบัติหน้าที ่ของเจ้าหน้าที ่ไทยเพื ่ อป้ องกันและปราบปรามอาชญากรรมอาจน าไปสู ่การเสียชีวิตและบาดเจ็บ ซึ ่ งอาจส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างรัฐบาลและประชาชนของทั ้งสองประเทศได้ เมื ่อปี 2546 ได้เกิดเหตุการณ์จราจลเผาสถานทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ เป็นเหตุให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกัมพูชาหยุดชะงักลง และเริ ่ มฟื ้ นฟูความสัมพันธ์ขึ ้นเป็นล าดับจนอยู่ในภาวะปกติจนกระทั ่งในปี 2552 เกิดกรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร ความสัมพันธ์จึงเข้าสู ่ภาวะตึงเครียดอีกครั ้ง และถึงลดความสัมพันธ์ทางการทูตลง ในเดือนพฤศจิกายน 2552 ด้วยเหตุผลทางการเมือง (พ.ต.ท.ทักษิณชินวัตร เข้าไปเป็นที ่ปรึกษารัฐบาลกัมพูชา และรัฐบาลกัมพูชาไม่ยอมส่งตัวให้ไทย ซึ ่ งรัฐบาลไทยถือเป็นนักโทษของไทย) ความสัมพันธ์จึงแย่ลงไป จนกระทั ่งปัจจุบัน (ก.พ. 2553) ความสัพันธ์ระหว่างไทยกับกัมพูชาก็ยังไม่มีท่าทีว่าจะดีขึ ้นแต่อย่างใด3. การต่างประเทศ3.1 นโยบายต่างประเทศกัมพูชายึดถือการด าเนินนโยบายต่างประเทศที ่เป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ ฝ่ ายใดตามที ่ได้ประกาศไว้ ต่อสภาแห่งชาติ ภายหลังจากเหตุการณ์ความวุ ่นวายในประเทศสงบลงกัมพูชาเริ ่ มแสวงหาแนวทางใหม่ๆ เพื ่ อเพิ ่ มบทบาทของตัวเองให้เป็นที ่ยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ ได้แก่3.1.1 การเพิ ่ มบทบาทในสหประชาชาติ อาทิ การสมัครเป็นสมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรีความมั ่นคงแห่งสหประชาชาติ การต่อต้านการก่อการร้ายซึ ่ งเป็นประเด็นส าคัญของประชาคมโลก การแก้ไขปัญหาโรคเอดส์และโรคระบาดต่างๆ นอกจากนี ้ กัมพูชายังมองว่าสหประชาชาติเป็นองค์กรส าคัญที ่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและแก้ไขปัญหาภายในกัมพูชา เพื ่ อส่งเสริมให้การด าเนินการตามแผนพัฒนา ยุทธศาสตร์แห่งชาติ (National Strategic Development Plan : NSDP) ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2549-2553 บรรลุตามวัตถุประสงค์ที ่วางไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ ่งการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ3.1.2 การเสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ทั ้งในกรอบทวิภาคีและพหุภาคี โดยเฉพาะกับประเทศเพื ่ อนบ้านและอาเซียน เพื ่ อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของประเทศในเชิงบวกในสายตาของนานาประเทศ และการแสวงหาประโยชน์ในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ ่งความช่วยเหลือ เพื ่ อการพัฒนา การดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ การพัฒนาด้านการศึกษา และการส่งเสริมการท่องเที ่ยว3.2 การเป็ นสมาชิกองค์กรระหว่างประเทศACCT, APT, ARF, AsDB, ASEAN, EAS, FAO, G-77, IBRD, ICAO, ICCt, ICRM, IDA,IFAD, IFC, IFRCS, ILO, IMF, IMO, Interpol, IOC, IOM, IPU, ISO (subscriber), ITU, MIGA,NAM, OIF, OPCW, PCA, UN, UNCTAD, UNESCO, UNIDO, UNMIS, UNWTO, UPU, WCO,WFTU, WHO, WIPO, WMO, WTOปี 2540 กัมพูชากลับเข้าเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ (The United Nations : UN) อีกครั ้งหลังความวุ ่นวายทางการเมืองสิ ้นสุดลง


่่-12-3.3 ความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทยการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต : วันที ่ 19 ธ.ค. 2493เอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ : -อัครราชทูตที ่ปรึกษา (ฝ่ ายการพาณิชย์) : นางจิรนันท์ วงษ์มงคลที ่ท างานอยู่ในสถานเอกกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญโทรศัพท์ 0 2354 6191-3 ต่อ 208, 209, 210โทรสาร 0 2354 6191-3 ต่อ 261เอกอัครราชทูตกัมพูชาประจ าประเทศไทย : -สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ : เลขที ่ 196, Preah Norodom Boulevard, Sangkat TonleBassac, Khan Chamcar Mon, Phnom Penh หมายเลขโทรศัพท์ (855) 23 726 306-10 (สายอัตโนมัติ) หมายเลขโทรสาร (855) 23 726 303 E-mail : thaipnp@mfa.go.thWebsite : http://www.thaiembassy.org/phnompenhสถานเอกอัครราชทูตกัมพูชาประจ าประเทศไทย :518/4 ถนนประชาอุทิศ ซอยรามค าแหง 39 แขวงวังทองหลางเขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310หมายเลขโทรศัพท์ 0 2957 5851, 0 2957 5852หมายเลขโทรสาร 0 2957 5850E-mail : recbkk@cscoms.comความตกลงที ่ส าคัญกับไทย :1) ความตกลงว่าด้วยการจัดตั ้งคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคี (JC) ไทย-กัมพูชาลงนามเมื ่อวันที ่ 13 ม.ค. 37 มีการประชุมไปแล้ว 5 ครั ้งๆ สุดท้ายเมื ่อวันที ่ 7-8 ก.พ. 49 ณ กรุงพนมเปญราชอาณาจักรกัมพูชา2) ความตกลงเพื ่ อการส่งเสริมและคุ ้มครองการลงทุนลงนามเมื ่อวันที ่ 29 มี.ค. 383) ความตกลงความร่วมมือด้านการท่องเที ่ยว เมื ่อ 29 มี.ค. 384) ความตกลงว่าด้วยการจัดตั ้งคณะกรรมการชายแดน ลงนามเมื ่อ 29 ก.ย. 385) ความตกลงว่าด้วยการค้า ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการไทย-กัมพูชา ลงนามเมื ่อวันที20 มิ.ย. 396) บันทึกความเข้าใจเกี ่ยวกับความร่วมมือทางด้านทรัพย์สินทางปัญญา เมื ่อ 5 มี.ค. 407) บันทึกความเข้าใจเพื ่ อจัดตั ้งคณะกรรมการร่วมทางการค้า (JTC) ไทย-กัมพูชา ลงนามเมื ่อวันที22 พ.ค. 43 ประชุมไปแล้ว 2 ครั ้งๆ สุดท้าย เมื ่อวันที ่ 14-16 ก.พ. 49 ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา8) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการส ารวจและจัดท าหลักเขตแดนทางบก ลงนามเมื ่อ 14 มิ.ย. 439) ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือระหว่างสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยกับสภาหอการค้ากรุงพนมเปญ ลงนามเมื ่อ 25 ก.ค. 4310) ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราส าหรับผู ้ถือหนังสือเดินทางทูต ลงนามเมื ่อ 13 พ.ย. 44


่-13-11) พิธีสารยกเว้นการตรวจลงตราหนังสือเดินทางราชการ ลงนามเมื ่อ 8 ก.พ. 4912) ความตกลงการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา ลงนามเมื ่อวันที ่ 16 ก.พ. 4913) บันทึกการประชุมการค้าแบบหักบัญชีไทย-กัมพูชา ลงนามเมื ่อวันที ่ 16 ก.พ. 494. เศรษฐกิจ4.1 ภาพรวมเศรษฐกิจกัมพูชามีภาวะสงครามภายในประเทศต่อเนื ่ องยาวนานกว่า 2 ทศวรรษ ก่อนที ่จะยุติลงในปี 2534ท าให้เศรษฐกิจของประเทศถดถอย ถูกจัดว่าเป็นประเทศที ่มีระดับพัฒนาน้อยที ่สุดประเทศหนึ ่ ง ภาวะเศรษฐกิจของกัมพูชาหลังจากมีการเปลี ่ ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตยและหลังจากสงครามภายในประเทศกัมพูชาเริ ่ มสงบลง ได้มีการพัฒนาฟื ้ นฟูบูรณะประเทศ ท าให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ ่ มมากขึ ้น จึงเปิ ดโอกาสให้ประเทศท าการค้าขายกับต่างประเทศมากยิ ่งขึ ้น กัมพูชาจึงก าหนดนโยบายที ่มุ่งหวังการพัฒนาศักยภาพทางการเกษตร การท่องเที ่ยว และส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างชาติ โดยก าหนดยุทธการต่างๆ เพื ่ อเพิ ่ มรายได้ของรัฐและได้ด าเนินมาตรการต่างๆ อย่างต่อเนื ่ อง เช่นการปรับปรุงกฎหมายด้านเศรษฐกิจ การเพิ ่ มสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุนต่างประเทศ การปฏิรูประบบจัดเก็บภาษีเงินได้ และเร่งรัดพัฒนาโครงสร้าง พื ้นฐานทางเศรษฐกิจ เช่น สนามบิน ถนน ไฟฟ้ า ประปา และสาธารณูปโภคต่างๆ เป็นต้น ภายใต้ความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ธนาคารเพื ่ อการพัฒนาแห่งเอเชีย และ UNDP รวมทั ้งประเทศที ่ให้ความช่วยเหลืออื ่นๆการพัฒนาเศรษฐกิจของกัมพูชาได้เติบโตอย่างช้าๆ โดยเฉพาะในช่วงปี 2540-2541 กัมพูชาต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย และความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ ส่งผลให้นักลงทุนต่างประเทศถอนตัวออกจากประเทศกัมพูชา ส่งผลให้การฟื ้ นฟูบูรณะและการพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างล่าช้า แต่หลังจากปี 2542 สถานการณ์การเมืองกัมพูชาเริ ่ มมีความมั ่นคงพอสมควร และนับเป็นปี แรกทีกัมพูชามีสันติภาพอย่างแท้จริง เพราะปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองภายในหมดไป4.2 ดัชนีเศรษฐกิจ (2552)GDP: 10.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯจ าแนกเป็นภาคเกษตรกรรม 30.1% ภาคอุตสาหกรรม 26.2% และภาคบริการ 38.6%รายได้เฉลี ่ ยต่อหัว : 782 เหรียญสหรัฐฯอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ : ร้อยละ -1.5อัตราเงินเฟ้ อ : ร้อยละ -1.0อุตสาหกรรมที ่ส าคัญ : การท่องเที ่ยว สิ ่งทอ โรงสี ประมง ไม้ ยางพารา ปูนซิเมนต์ อัญมณีแร่ธาตุต่างๆทุนส ารองระหว่างประเทศ : 591.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (2551)รายได้หลักของประเทศ : การส่งออกเสื ้อผ้าและเครื ่ องนุ่งห่ม ผลิตภัณฑ์ไม้ ยางพารา ข้าว ปลา และการท่องเที ่ยว


้่-14-่ ่่ ่่ ่สาขาการผลิตที ่ส าคัญ :ภาคเกษตร ข้าว ผัก ข้าวโพด ยางพารา ประมง ป่ าไม้ภาคอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป เครืองดื่ม บุหรี อุตสาหกรรมโลหะอุตสาหกรรมป่ าไม้และผลผลิตจากป่ าไม้ สิ ่งทอ เสื ้อผ้ าส าเร็จรูปภาคธุรกิจบริการ การท่องเที ่ยว การโรงแรมสกุลเงิน: เรียล (RieL หรือ CR)อัตราแลกเปลียน: อัตราแลกเปลียน 1 เหรียญสหรัฐ เท่ากับ 4,080 เรียล (2552)หรือประมาณ 120 เรียล = 1 บาทนักท่องเที ่ยวต่างชาติ : 1.421 ล้านคน (ปี 2548) ได้แก่ เกาหลีใต้ (15.2%) ญีปุน (9.7%)สหรัฐฯ (7.7%) ฝรั ่งเศส (4.9%) สหราชอาณาจักร (4.7%) ไทย (4.5%หรือ 63,631 คน)4.3 นโยบายเศรษฐกิจรัฐบาลกัมพูชาให้ความส าคัญอย่างสูงสุดต่อการก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื ่ อมุ่งขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในพื ้นทีชนบทให้ดีขึ ้น ปัจจุบันรัฐบาลกัมพูชาอยู่ในระหว่างการด าเนินการตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติ(National Strategic Development Plan : NSDP) ช่วงระหว่างปี พ.ศ.2549-2553 ยุทธศาสตร์ลดความยากจนแห่งชาติ (National Poverty Reduction Strategy : NPRS) รวมทั ้งเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของสหประชาชาติ (Cambodia’s Millennium Development Goals : CMDGs) ซึ ่ งล้วนแล้วแต่มีจุดมุ่งหมายให้กัมพูชาก้าวเดินไปสู ่การพัฒนาและความเจริญก้าวหน้าที ่มั ่นคงและยั ่งยืนรัฐบาลปัจจุบันซึ ่ งน าโดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายและประกาศใช้ยุทธศาสตร์สี ่เหลี ่ ยม (จัตุโกณ) เพื ่ อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาคและประสิทธิภาพในกัมพูชา(“Rectangular Strategy” for Growth, Employment, Equity and Efficiency in Cambodia) ภายหลังการจัดตั ้งรัฐบาลเมื ่อวันที ่ 15 ก.ค. 47 สรุปสาระส าคัญได้ดังนี4.3.1 หลักการภายใต้ยุทธศาสตร์สี ่เหลี ่ยม เป็นวาระแห่งชาติของกัมพูชาโดยมีวัตถุประสงค์เพื ่ อเร่งรัดการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมที ่กัมพูชาก าลังเผชิญอยู่และการพัฒนาศักยภาพของกัมพูชา ได้แก่1. การส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ2. ส่งเสริมการสร้างงาน3. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการของรัฐบาลเพื ่ อประกันความเท่าเทียมกันและความเป็นธรรมในสังคม4. การเพิ ่ มประสิทธิภาพและความสามารถของรัฐบาลในการด าเนินโครงการปฏิรูปในทุกสาขาเพื ่ อลดความยากจนและบรรลุเป้ าหมายของการพัฒนาที ่ยั ่งยืน


-15- ความส าคัญของยุทธศาสตร์สี ่เหลี ่ ยม ได้แก่ การมุ่งพัฒนาประเทศเพื ่ อต่อยอดจากยุทธศาสตร์สามเหลี ่ ยม (ตรีโกณ หรือ Triangular Strategy) ซึ ่ งเป็นหลักพื ้นฐานของการด าเนินงานของรัฐบาลชุดก่อนโดยมีวัตถุประสงค์ 9 ประการ ได้แก่1. การขจัดความยากจนและหิวโหย2. การจัดระบบการศึกษาขั ้นต้น 9 ปี3. การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศ4. การลดอัตราการตายของทารก5. การปรับปรุงระบบสาธารณสุข6. การต่อสู ้กับโรคติดต่อร้ายแรง (HIV/AIDS มาลาเรีย ฯลฯ)7. การปกป้ องสิ ่งแวดล้อม8. การสร้างหุ ้นส่วนระหว่างประเทศเพื ่ อการพัฒนา9. การเก็บกู ้ทุ่นระเบิดและการช่วยเหลือผู ้เคราะห์ร้ายทั ้งนี ้ เพื ่ อเป็นพื ้นฐานของการด าเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจโดยมุ่งพัฒนาและน าประเทศไปสู ่การเติบโต การจ้างงาน ความเท่าเทียมกัน และความมีประสิทธิภาพ รวมทั ้งเกื ้อกูลต่อการปฏิรูป ทางการเมืองและความร่วมมือกันอย่างเป็นระบบระหว่างพรรคร่วมรัฐบาล4.3.2 โครงสร้างของยุทธศาสตร์สี ่เหลี ่ยม ประกอบด้วย ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยมุ่งเน้นการปฏิรูป 4 ประการ ได้แก่1. การต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวง2. การปฏิรูปกฎหมายและการศาล3. การบริหารสาธารณะ4. การปฏิรูปกองทัพ โดยเฉพาะการลดจ านวนก าลังพลและหันไปเพิ ่ มประสิทธิภาพของบุคลากรและอาวุธยุทโธปกรณ์ สร้างเสริมสภาพแวดล้อมที ่เอื ้ออ านวยต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่1. ความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพทางการเมือง และระเบียบทางสังคม2. การสร้างหุ ้นส่วนด้านการพัฒนาซึ ่ งรวมถึง ภาคเอกชน ประเทศผู ้บริจาค และประชาชน3. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการคลัง4. การบูรณาการกัมพูชาเข้าสู ่ภูมิภาคและโลก ยุทธศาสตร์สี ่เหลี ่ ยมยังได้ให้ความส าคัญต่อการพัฒนาประเทศใน 4 สาขาหลัก ได้แก่1. ด้านการเกษตร2. การพัฒนาโครงสร้างพื ้นฐาน3. การพัฒนาภาคเอกชนและสนับสนุนการสร้างงาน4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสาธารณสุข


่่-16-4.3.3 ยุทธศาสตร์การลดความยากจนของรัฐบาล ได้แก่ การเสริมสร้างความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพและจัดระเบียบทางสังคมโดยใช้มาตรการซึ ่ งสนับสนุนกฎเกณฑ์และความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย การเคารพในสิทธิมนุษยชนและความเป็นประชาธิปไตย เพื ่ อสร้างสภาพแวดล้อมทางการเมืองและความมั ่นคงให้น าไปสู ่การพัฒนาที ่ยั ่งยืนในระยะยาว การรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที ่ยั ่งยืนประมาณร้อยละ 5-7 ต่อปี การส่งเสริมการกระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที ่เท่าเทียมกันระหว่าง คนรวยกับคนจน ระหว่างเมืองกับชนบท และระหว่างผู ้ชายกับผู ้หญิง การพัฒนาการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์จากสิ ่งแวดล้อมที ่ยั ่งยืน4.4 ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศไทยปัจจุบันความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชามีพัฒนาการที ่ก้าวหน้าและด าเนินไปบนพื ้นฐานของความเข้าอกเข้าใจกัน โดยมีกรอบความร่วมมือต่างๆ เป็นพลังขับเคลื ่ อนความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันได้แก่ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (Ayeyawady-Chao Phraya-MekongEconomic Cooperation Strategy : ACMECS) กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ ่มแม่น ้าโขง (GreaterMekong Sub-region : GMS) กรอบความร่วมมือสามเหลี ่ ยมมรกต (ไทย-สปป.ลาว-กัมพูชา) มติทีประชุม ครม. ร่วมไทย-กัมพูชา (ระหว่างวันที ่ 31 พ.ค.-1 มิ.ย. 46) ที ่เมืองเสียมราฐและจังหวัดอุบลราชธานี (ซึ ่ งถือเป็นสัญลักษณ์ของการฟื ้ นคืนความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาให้กลับคืนสู ่ภาวะปกติอย่างสมบูรณ์แบบภายหลังการเกิดเหตุการณ์ไม่สงบในกรุงพนมเปญเมื ่อวันที ่ 29 ม.ค. 46 และมติที ่ประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีไทย-กัมพูชา ครั ้งที ่ 5 ที ่กรุงพนมเปญ (ระหว่างวันที ่ 7-8ก.พ. 49) นอกจากนี ้ ยังมีกลไกความร่วมมืออีกมากทั ้งในระดับรัฐบาลและระดับท้องถิ ่นซึ ่ งมีส่วนช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศให้แน่นแฟ้ นมากยิ ่งขึ ้น ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับกัมพูชาที ่ส าคัญที ่เพิ ่ งผ่านไป และถือเป็นสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ที ่ใกล้ชิดระหว่างสองประเทศได้แก่ การจัดกิจกรรมฉลองครบรอบ 55 ปี ของการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย – กัมพูชา (ระหว่างวันที ่ 19 ธ.ค. 48-19ธ.ค. 49) โดยมีกิจกรรมที ่ทั ้งสองฝ่ ายฉลองร่วมกันกว่า 40 โครงการ ซึ ่ งโครงการต่างๆ ได้ด าเนินการลุล่วงและประสบความส าเร็จด้วยดีความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาในทางเศรษฐกิจด าเนินไปอย่างใกล้ชิด ปัจจุบันมีคนไทยอาศัยอยู่ในกัมพูชาประมาณ 658 คน ส่วนใหญ่เข้าไปประกอบธุรกิจส่วนตัว อาทิ โรงแรม ร้านอาหาร และค้าขายประเทศไทยถือเป็นคู่ค้าที ่ส าคัญและเป็นผู ้ลงทุนรายใหญ่ในกัมพูชา แต่โดยที ่ระบบการบริหารจัดการภายในของกัมพูชา อาทิ การจัดเก็บภาษี การส่งเสริมและคุ ้มครองการลงทุน ความโปร่งใส ฯลฯ ยังขาดมาตรฐานและไม่เป็นสากล ท าให้การค้าและการลงทุนของไทยในกัมพูชามีต้นทุนสูงและเติบโตช้าซึ ่ งไม่สอดคล้องกับศักยภาพและสถานะทางเศรษฐกิจของไทย ทั ้งนี ้ รัฐบาลของทั ้งสองฝ่ ายได้เล็งเห็นถึงความส าคัญและตกลงทีจะร่วมมือกันเร่งรัดการแก้ไขปัญหาและลดอุปสรรคด้านการค้าและการลงทุนระหว่างกันให้ปรากฏผลที ่เป็นรูปธรรมต่อไป


้้้-17-่5. การค้า5.1 ข้อมูลการค้าประเทศคู่ค้าที ่ส าคัญ : สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง จีน ฝรั ่งเศส และไทยมูลค่าการส่งออก : 3.7 พันล้านเหรียญสหรัฐสินค้าส่งออกที ่ส าคัญ : สิ ่งทอ ไม้ซุง ยางพารา ข้าว ปลา ใบยาสูบ รองเท้าแหล่งส่งออกที ่ส าคัญ : สหรัฐฯ (48.6%) ฮ่องกง (24.4%) เยอรมนี (5.6%) แคนาดา (4.6%)มูลค่าการน าเข้า : 4.7 พันล้านเหรียญสหรัฐสินค้าน าเข้าที ่ส าคัญ : ผลิตภัณฑ์ปิ โตรเลียม ยาสูบ ทองค า วัสดุก่อสร้าง เครืองจักร ยานพาหนะ เภสัชภัณฑ์แหล่งน าเข้าที ่ส าคัญ : ฮ่องกง (16.1%) จีน (13.6%) ฝรั ่งเศส (12.1) ไทย (11.2%)ไต้หวัน (10.2%) เกาหลีใต้ (7.5%) เวียดนาม (7.1%)5.2 การจัดท าข้อตกลงทางการค้าการเป็นสมาชิกกลุ ่มเศรษฐกิจ : ASEAN WTO GMS AMBDC ACMECS- สมาชิกอาเซียนเมื ่อวันที ่ 30 เม.ย. 42- วันที ่ 11 ก.ย. 46 กัมพูชาเข้าเป็นสมาชิก WTO มีผลอย่างสมบูรณ์เมื ่อวันที ่ 13 ต.ค. 47 นับเป็นสมาชิกล าดับที ่ 148ข้อตกลงการค้ากับประเทศไทย : ลงนามเมื ่อวันที ่ 20 มิ.ย. 395.3 มาตรการด้านภาษีการเข้ามาประกอบธุรกิจการค้า การลงทุนในประเทศกัมพูชา ผู ้ลงทุนต้องเผชิญกับภาระและพิธีการทางด้านภาษีที ่ค่อนข้างซับซ้อน ยากต่อการท าความเข้าใจ และที ่ส าคัญอย่างยิ ่งคือ ขาดองค์กรที ่จะวินิจฉัยชีขาดในกรณีมีปัญหาความเข้าใจที ่ขัดแย้งกันระหว่างเจ้าหน้าที ่ผู ้มีหน้าที ่เรียกเก็บกับเอกชนผู ้รับภาระภาษี ซึ ่ งก็คงต้องให้เวลากับประเทศนี ้ในการปรับแก้และวางระบบภาษีที ่ดี ให้เกิดความโปร่งใส มีความเที ่ ยงธรรมไม่ซ ้าซ้อนต่อไป ในที ่นี ้ ขอสรุปเฉพาะที ่เป็นหลักการส าคัญในปัจจุบัน ดังนี5.3.1 ภาระภาษีส าหรับสินค้าที ่น าเข้าการน าสินค้าเข้ากัมพูชาจะถูกเรียกเก็บอากรศุลกากรน าเข้า (Custom Duty : CD) ส าหรับสินค้าทั ่วไป จะมี 4 อัตรา คือ อัตราร้อยละ 0 ร้อยละ 7 ร้อยละ 15 และร้อยละ 35 ของราคาน าเข้า CIF โดยพิจารณาเรียกเก็บจากสินค้าตามล าดับความส าคัญและจ าเป็นต่อการด ารงชีวิตไปจนเป็นสินค้าฟุ ่ มเฟื อย กับค่าแบบค าร้องขอน าเข้า (ใบขน) ฉบับละประมาณ 3.80 USD หากเป็นสินค้าที ่มีคุณลักษณะเฉพาะที ่กฏหมายก าหนดอาจถูกเรียกเก็บอากรเพิ ่ ม (Added Tax : AT)และ/หรือภาษีสรรพสามิต (Specific Tax : ST)เพิ ่ มเติมอีกจ านวนหนึ ่ ง โดยทั ้งหมดต้องน ามารวมค านวณเสียภาษีมูลค่าเพิ ่ ม (Value Added Tax : VAT)อีกในอัตราร้อยละ 10 ซึ ่ งสามารถยกตัวอย่างและวิธีการค านวณได้ ดังนี(ก) น าเข้ายารักษาโรค มูลค่า CIF 1,000 USD อากรน าเข้าอัตราร้อยละ 0 ภาระภาษีน าเข้าเท่ากับ CD ไม่มีค าร้อง 3.8 USD VAT 100.38 USD (10% (ราคา CIF + ค าร้อง) รวม = 104.18USD หรือ ภาระภาษีเท่ากับร้อยละ 10.418 ของมูลค่าน าเข้า


-18-(ข) น าเข้าน ้ามันเตา มูลค่า CIF 1,000 USD/ton หรือ 1,050 ลิตร อากรน าเข้าอัตราร้อยละ 7ภาระภาษีน าเข้า ประกอบด้วย CD 70 USD ค าร้อง 3.8 USD VAT 107.38 USD (10% (CIF + CD+ ค าร้อง) รวม = 181.18 USD หรือ ภาระภาษีเท่ากับร้อยละ 18.118 ของมูลค่าน าเข้า(ค) น าเข้าน ้ามันก๊าด มูลค่า CIF 1,000 USD/ton หรือ 1,230 ลิตร อากรน าเข้าอัตราร้อยละ7 และสรรพสามิตร้อยละ 10 ภาระภาษีน าเข้าประกอบด้วย CD 70 USD ST 107 USD (10% (CIF +CD) ค าร้อง 3.8 USD และ VAT 118.08 USD (10% (CIF + CD + ST + ค าร้อง) รวม = 298.88USD หรือ ภาระภาษีเท่ากับร้อยละ 29.888 ของมูลค่าน าเข้า(ง) น าเข้าน ้ามันดีเซล มูลค่า CIF 1,000 USD/ton หรือ 1,190 ลิตร หรือราคาลิตรละ 0.840USD อากรน าเข้าอัตราร้อยละ 15 อาการเพิ ่ ม 0.04 USD ต่อ ลิตร และสรรพสามิตร้อยละ 4.35 ภาระภาษีน าเข้าประกอบด้วย CD 0.126 USD/ลิตร AT 0.04 USD ST 0.044 USD/ลิตร (4.35% (CIF + CD+ AT) ค าร้อง 0.030 USD/ลิตร และ VAT 0.108 USD (10% (CIF + CD + AT + ST + ค าร้อง)รวม = 0.348 USD/ลิตร หรือภาระภาษีเท่ากับร้อยละ 41.4 ของราคาน าเข้า(จ) น าเข้าน ้ามันเบนซิน มูลค่า CIF 1,000 USD/ton หรือ 1,390 ลิตร หรือราคาลิตรละ0.720 USD อากรน าเข้าอัตราร้อยละ 35 อากรเพิ ่ ม 0.02 USD ต่อลิตร และสรรพสามิตร้อยละ 33.33ภาระภาษีน าเข้าประกอบด้วย CD 0.262 USD/ลิตร AT 0.020 USD/ลิตร ST 0.333 USD/ลิตร(33.33% (CIF + CD + AT) ค าร้อง 0.027 USD/ลิตร และ VAT 0.136 USD/ลิตร (10% (CIF +CD + AT + ST + ค าร้อง) รวม = 0.778 USD/ลิตร หรือ ภาระภาษีเท่ากับร้อยละ 108.06 ของราคาน าเข้าทั ้งนี ้ สินค้าน าเข้าทุกรายการที ่มีมูลค่า invoice เกิน 4,000.00 USD จะต้องให้ บริษัท SGSประเมินราคาก่อน เพื ่ อผลของการเก็บภาษีน าเข้า โดยบริษัท SGS จะคิดค่าธรรมเนียมบริการนี ้ในอัตราร้อยละ 0.8 ของมูลค่า FOBภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียนก าหนดให้สินค้าทุกรายการมีอัตราภาษีน าเข้าเป็น 0 ภายในปี 20155.3.2 ภาษีมูลค่าเพิ ่ม (VAT)รัฐบาลกัมพูชาเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ ่ มกับการขายสินค้าและการให้บริการรวมทั ้งการน าเข้าซึ ่ งสินค้าทุกรายการในอัตราร้อยละ 10 ของมูลค่าที ่มีการซื ้อขาย ยกเว้นกรณีการซื ้อขายที ่ดินและเงินตราของใช้ทางการทูตและองค์กรระหว่างประเทศ กับกิจการที ่ได้รับการยกเว้นตามกฎหมาย ได้แก่ บริการไปรษณีย์สาธารณะบริการของโรงพยาบาล คลินิก ร้านยา และท าฟัน รวมทั ้งการขายสินค้าเพื ่ อการบริการดังกล่าว การบริการขนส่งผู ้โดยสารที ่รัฐเป็นเจ้าของทั ้งหมด บริการประกันภัย บริการทางการเงินเบื ้องต้นตามประกาศของกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง การน าเข้าของใช้ส่วนตัวที ่ได้รับการยกเว้นอากรน าเข้าและมีมูลค่าไม่เกินตามประกาศของกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง และกิจกรรมเพื ่ อประโยชน์ของสาธารณะที ่ไม่แสวงหาก าไรและได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง5.3.3 ภาษีเงินได้(ก) จากผลประกอบการของธุรกิจ (Tax on Profit) รัฐบาลกัมพูชาเรียกเก็บภาษีเงินได้จากการประกอบธุรกิจเป็น 2 ลักษณะ คือ แบบเหมาจ่าย (Estimated Regime) ซึ ่ งส่วนใหญ่จะเป็นการประกอบการ


้้้่-19-โดยบุคคลธรรมดา เสียภาษีในอัตราก้าวหน้าร้อยละ 0 – 20 ของเงินได้สุทธิ กับแบบที ่จ่ายภาษีตามผลประกอบการจริงในระบบบัญชีงบดุล (Real regime) ซึ ่ งเรียกเก็บจากนิติบุคคลทั ่วไปในอัตราร้อยละ 20 ของก าไรสุทธิ ยกเว้น ธุรกิจเกี ่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั ้งกิจการที ่รับสัมปทานขุดเจาะก๊าซและน ้ามันดิบทีเรียกเก็บในอัตราร้อยละ 30 ของก าไรสุทธิทั ้งนี ้ ในการเก็บภาษีเงินได้จากการประกอบธุรกิจ รัฐบาลกัมพูชาได้ก าหนดภาระภาษีขั ้นต ่าซึ ่ งเปรียบเสมือนภาษีล่วงหน้าไว้ในอัตราร้อยละ 1 ของยอดขายรวมภาษีทุกประเภทยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ ่ ม โดยต้องช าระเป็นรายเดือน หากสิ ้นงวดบัญชีปี ภาษีแล้ว ภาระภาษีจากก าไรสุทธิที ่ต้องจ่ายเมื ่อสิ ้นงวดมากกว่าภาษีขั ้นต ่าตามยอดขายที ่ช าระไว้แล้ว ก็ให้ช าระส่วนที ่ขาดอยู่ หากช าระไว้เกินให้ถือเป็นภาษีขั ้นต ่า(ข) ธุรกิจที ่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน จะได้รับการลดอัตราภาษีเหลือร้อยละ 0 และ/หรือร้อยละ 9ตลอดระยะเวลาที ่ได้รับการส่งเสริม ขึ ้นกับการพิจารณาของสภาเพื ่ อการพัฒนากัมพูชา (Council forDevelopment of Cambodia : CDC)(ค) เงินปันผล ต้องเสียภาษีจากเงินได้ที ่เป็นเงินปันผลตามอัตรา ดังนี- ร้อยละ 20 ของเงินปันผลที ่ได้รับจากกิจการที ่ช าระภาษีก าไรอัตราร้อยละ 0- ร้อยละ 12.09 (11 ใน 91) ของเงินปันผลที ่ได้รับจากกิจการที ่ช าระภาษีก าไรอัตราร้อยละ 9- ร้อยละ 0 ของเงินปันผลที ่ได้รับจากกิจการที ่ช าระภาษีก าไรอัตราร้อยละ 20 ไว้แล้ว(ง) การหักภาษี ณ ที ่จ่าย ผู ้ประกอบธุรกิจมีหน้าที ่หักภาษี ณ ที ่จ่าย ในอัตราร้อยละของมูลค่าเงินหรือสิ ่งของที ่ได้จ่ายดังนีผู ้รับซึ ่ งเป็นผู ้มีถิ ่นที ่อยู่ในประเทศ (พ านักในประเทศ > 182 วันในรอบ 12 เดือนของปี ภาษี) ให้หักภาษี ณ ที ่จ่าย ดังนี- อัตราร้อยละ 15-- ส าหรับค่าบริการที ่ได้จ่ายให้แก่บุคคลธรรมดา รวมถึงค่าจัดการ ค่าปรึกษา และบริการอื ่น-- ส าหรับค่า Royalty ค่าใช้สิทธิในการท าเหมือง และดอกเบี ้ยจ่ายแก่ผู ้รับซึ ่ งไม่ใช่ธนาคาร หรือสถาบันออมทรัพย์ในประเทศ- อัตราร้อยละ 10 ส าหรับค่าเช่าสังหาและอสังหาริมทรัพย์- อัตราร้อยละ 6 ส าหรับดอกเบี ้ยที ่ธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันออมทรัพย์ในประเทศจ่ายแก่บัญชีเงินฝากประจ า- อัตราร้อยละ 4 ส าหรับดอกเบี ้ยที ่ธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันออมทรัพย์ฯ จ่ายแก่บัญชีเงินฝากออมทรัพย์หากผู ้รับไม่ใช่ผู ้มีถิ ่นที ่อยู่ในประเทศ ให้ผู ้จ่ายหักภาษี ณ ที ่จ่าย ส าหรับเงินได้ที ่ เป็นค่าดอกเบี ้ยโรแยลตี ้ ค่าเช่า และค่าใช้ทรัพย์สิน รวมทั ้งค่าบริการในการจัดการหรือค่าเทคนิคตามประกาศของกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง และเงินปันผลในอัตราร้อยละ 14 ของที ่จ่าย และอัตราร้อยละ 20 ส าหรับเงินได้ประเภทเงินเดือน


-20-5.3.4 ภาษีสรรพสามิต (Specific tax)มีหลายอัตราขึ ้นอยู่กับชนิดของสินค้าและบริการ และในอนาคตนับแต่ต้นปี 2007 ผู ้ประกอบการให้ที ่พักแรมมีภาระต้องช าระภาษี Accommodation Tax ในอัตราร้อยละ 2 ของยอดขาย5.3.5 อื ่นๆ ได้แก่ภาษีจากการซื ้อขายอสังหาริมทรัพย์ ค่าธรรมเนียม อากรแสตมป์ ฯลฯ5.4 มาตรการที ่มิใช่ภาษีศุลกากร5.4.1 มาตรการห้ามน าเข้ากัมพูชาห้ามน าเข้าสินค้าบางชนิดที ่มีผลกระทบต่อความมั ่นคงปลอดภัย สุขอนามัย สิ ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมภายในประเทศ ได้แก่- อาวุธ วัตถุระเบิด- รถยนต์และเครื ่ องจักรที ่ใช้ในการทหาร- ทองค า- เครื ่ องเงิน- Cannabis- ต้นโคคา- Cannabis Resin- ฝิ ่ น- ต้นฝิ ่ นแห้ง- สารประกอบอะมีน-ฟังก์ชัน- สารประกอบอะมิโนที ่มีออกซิเจนฟังก์ชัน- สารประกอบคาร์บอกซิอะไมด์-ฟังก์ชัน- สารประกอบอะไมด์-ฟังก์ชัน ของกรดคาร์บอนิก- สารประกอบคาร์บอกซิอิไมด์-ฟังก์ชัน (รวมถึงแซกคาริน และเกลือของแซกคาริน)- สารประกอบอิมีน-ฟังก์ชัน- สารประกอบไนไทรล์-ฟังก์ชัน- สารประกอบเฮตเทอโรไซคลิกที ่มีออกซิเจนเฮตเทอโรอะตอมเท่านั ้น- กรดนิวคลีอิกและเกลือของกรดนิวคลีอิก- สารประกอบเฮตเทอโรไซคลิกอื ่นๆ- ยานพาหนะพวงมาลัยขวา- โบราณวัตถุที ่มีอายุเกิน 100 ปี– สื ่อลามก– กากสารพิษ- สินค้าปลอม- ชิ ้นส่วนตัวถังยานพาหนะ


-21-5.4.2 มาตรการด้านพิธีการศุลกากร1) กัมพูชาได้ก าหนดระเบียบ ขั ้นตอนการตรวจสอบสินค้าก่อนการน าเข้า (Pre-shipmentInspection : PSI) ซึ ่ งด าเนินการโดยบริษัท Societe Generale de Surveillance S.A. หรือ SGS ส าหรับสินค้าที ่มีมูลค่ามากกว่า 5,000 เหรียญสหรัฐ มาตรการดังกล่าวท าให้เกิดความล่าช้าในการน าเข้าสินค้าอย่างไรก็ตาม มีสินค้าที ่ได้รับยกเว้นการตรวจสอบก่อนการน าเข้า ได้แก่- หินและโลหะที ่มีราคาแพง– ศิลปวัตถุ- วัตถุระเบิด และผลิตภัณฑ์ที ่เกี ่ยวกับการระเบิด- กระสุนดินด า อาวุธยุทโธปกรณ์- สัตว์มีชีวิต– หนังสือพิมพ์รายวัน และรายคาบ- เครื ่ องใช้ในบ้านเรือนและทรัพย์สินส่วนตัว รวมถึงยานยนต์ใช้แล้ว– พัสดุที ่ฝากส่งทางไปรษณีย์ หรือตัวอย่างสินค้า- สิ ่งของซึ ่ งรัฐบาลต่างชาติ หรือองค์กรระหว่างประเทศจัดส่งให้แก่มูลนิธิองค์กรการกุศลและองค์กรเพื ่ อช่วยเหลือมนุษยชาติ- สิ ่งของและวัสดุคุรุภัณฑ์ ซึ ่ งน ามาเพื ่ อใช้ในภารกิจของคณะทูต สถานทูต กงสุล หรือสถานกงสุล และองค์การสหประชาชาติ รวมถึงตัวแทนขององค์การในด้านต่างๆ- สินค้าทุนทุกชนิดซึ ่ งได้รับอนุญาตให้น าเข้าโดยยกเว้นภาษีจากสภาเพื ่ อเพื ่ อพัฒนากัมพูชา(ไม่ว่าสินค้านั ้นจะถูกก าหนดให้เสียภาษี หรือไม่ก็ตาม)- สินค้าทุกชนิดที ่รัฐบาลได้ก าหนดให้น าเข้าโดยไม่ต้องเสียภาษี เช่น ปุ ๋ ยเคมี อุปกรณ์และเครื ่ องยนต์ที ่ใช้ด้านการเกษตร เครื ่ องใช้ด้านการศึกษาและเครื ่ องกีฬา ฯลฯ2) การจ ากัดวงเงินในการค้าชายแดนครั ้งละไม่เกิน 500,000 บาท/คน/วัน ณ บริเวณจุดผ่อนปรน5.4.3 มาตรการที ่มิใช่ภาษีศุลกากรอื ่นๆ1) ยาและเคมีภัณฑ์ มีขั ้นตอนขออนุมัติทะเบียน ซึ ่ งใช้เวลานานกว่า 2 ปี ต่อหนึ ่ งผลิตภัณฑ์2) น ้ามันเชื ้อเพลิง ผู ้น าเข้าต้องจดทะเบียนที ่กระทรวงพาณิชย์กัมพูชา


-24-สินค้าน าเข้าที ่ส าคัญทางชายแดนไทย-กัมพูชา ได้แก่ เหล็กและผลิตภัณฑ์ สิ ่งทอ วัสดุก่อสร้างสินค้ากสิกรรม และสินค้าเบ็ดเตล็ด เป็นต้นเปรียบเทียบมูลค่าการค้าระหว่างประเทศกับมูลค่าการค้าชายแดนระหว่างไทย-กัมพูชาในรอบ 10 ปี (พ.ศ. 2543-2552)ปี พ.ศ. (ค.ศ.)มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ มูลค่าการค้าชายแดน(ล้านบาท)(ล้านบาท)2543 (2000) 14,229.5 11,249.5 79.12544 (2001) 21,316.1 15,743.0 73.92545 (2002) 22,620.7 18,850.0 83.32546 (2003) 29,183.6 17,782.0 60.92547 (2004) 30,202.4 23,529.7 77.92548 (2005) 38,071.4 29,473.9 77.42549 (2006) 48,325.8 34,597.0 71.62550 (2007) 48,397.6 34,929.9 72.22551 (2008) 70,033.1 50,307.4 71.82552 (2009) 56,578.4 45,374.6 80.2ที ่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื ่อสาร ส านักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากรมูลค่าการค้าชายแดน(ร้อยละของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ)5.6 ปัญหาและอุปสรรคทางการค้าของไทย5.6.1 ขาดแคลนเงินตราต่างประเทศ และยังต้องการความช่วยเหลือเพื ่ อบูรณะประเทศ ท าให้กัมพูชาพึ ่ งพาเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศเป็นอย่างมาก5.6.2 ระบบการคมนาคมและสาธารณูปโภคยังไม่มีประสิทธิภาพ ท าให้การติดต่อสื ่อสาร คมนาคมเป็นไปอย่างล่าช้า5.6.3 มีการลักลอบท าการค้าผิดกฎหมาย เช่น การน าเข้าอัญมณี ไม้ รถยนต์ที ่ถูกลักขโมย และโดยเฉพาะสินค้าเกษตร ชึ ่ งกัมพูชามีการลักลอบส่งออกมายังไทยโดยตลอด5.6.4 กฎระเบียบการค้าไม่แน่นอน มีการเปลี ่ ยนแปลงบ่อย เนื ่ องจากอยู่ในระยะการบูรณะและพัฒนาประเทศ5.6.5 สินค้าส่งออกไปกัมพูชาต้องเสียภาษีน าเข้า และยังต้องเสียภาษีผ่านแดนให้กับด่านต่างๆ ในลักษณะที ่ผิดกฎหมายอีกเป็นจ านวนมาก ท าให้ต้นทุนสินค้าที ่จ าหน่ายในกัมพูชาสูงกว่าปกติมาก5.6.6 ใช้มาตรการปกป้ องทางการค้าด้วยมาตรการที ่ไม่ใช่ภาษี เช่น การตรวจสอบสินค้าก่อนการน าเข้า ฯลฯ ท าให้มีต้นทุนการน าเข้าสินค้าของกัมพูชาสูงมากกว่าปกติ5.6.7 ปัญหาหลักเขตตามแนวชายแดน ที ่ยังไม่สามารถชี ้ชัดลงไปว่าเป็นเขตแดนของไทยหรือกัมพูชา ท าให้ไม่สามารถพัฒนาพื ้นที ่ตามแนวชายแดนได้5.6.8 การบังคับใช้กฎหมายยังไม่มีประสิทธิภาพและล่าช้า


-25-5.6.9 การลอกเลียนและปลอมแปลงเครื ่ องหมายการค้าและผลิตภัณฑ์5.6.10 ระบบธนาคารพาณิชย์ยังไม่เป็นที ่นิยม มีการใช้เงินสดในการค้าทั ่วไปค่อนข้างมาก6. การลงทุน6.1 ข้อมูลการลงทุนการลงทุนจากต่างประเทศประเภทธุรกิจที ่นักลงทุนต่างชาตินิยมเข้าไปลงทุนในกัมพูชาเงินลงทุน FDI: ประเทศที ่เข้าไปลงทุนในกัมพูชามาก ได้แก่ จีน ไต้หวัน สหรัฐอเมริกาเกาหลี สิงคโปร์ และไทย: 207.7 ล้านเหรียญสหรัฐ: โรงงานตัดเย็บเสื ้อผ้าส าเร็จรูป โรงงานรองเท้า ถุงเท้า และผ้าลูกไม้ โรงงานผลิตซีเมนต์ อุตสาหกรรมเกษตร ก่อสร้างท่องเที ่ยว พลังงาน และโรงแรม6.2 การลงทุนของไทยในกัมพูชานักลงทุนไทยได้เข้ามากัมพูชาตั ้งแต่ก่อนเปิ ดประเทศ (พ.ศ. 2535) โดยเริ ่ มจากการเข้ามาตัดไม้ ท าร้านอาหาร โรงแรม น าสินค้าเข้ามาจ าหน่าย และซื ้อของเก่า (เศษเหล็ก กระดาษ) กลับเข้ามาไทยในปี 2549 ไทยเข้าไปลงทุนในกัมพูชาสูงเป็นล าดับ 6 มูลค่า 165.69 ล้านเหรียญสหรัฐ รองจากจีนไต้หวัน สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ สาขาที ่ไทยลงทุนมาก (จากจ านวนโครงการที ่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของกัมพูชา) ได้แก่ ธุรกิจโรงแรม อุตสาหกรรมเกษตร เหมืองแร่ และเสื ้อผ้าส าเร็จรูป เป็นต้นนักลงทุนไทยเริ ่ มเข้ามามีบทบาทมากขึ ้น หลังจากที ่มีการประกาศลงทุนในกัมพูชาของบริษัท ThaiBev (เบียร์ช้าง) ปูนซิเมนต์ไทย และบริษัทน ้าตาลขอนแก่น โดยในปี นี ้ได้รับอนุมัติรวม 5 โครงการ มูลค่า9.99 ล้านเหรียญสหรัฐ ได้แก่6.2.1 โครงการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้ า (Kampot Power) ของบริษัทสามารถ เพื ่ อ Supplyไฟฟ้ าให้แก่โรงงานผลิตปูนซิเมนต์กัมปอต (ด าเนินการโดยบริษัทปูนซิเมนต์ไทย) มูลค่าเงินลงทุน 5 ล้านเหรียญสหรัฐ6.2.2 โครงการสร้างโรงพยาบาล Angkor International Hospital ขนาด 250 เตียง ของโรงพยาบาลกรุงเทพ ในจังหวัดเสียมราฐ ภายใต้ชื ่ อบริษัท Angkor Pisith จ ากัด มูลค่าเงินลงทุน 1 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยเป็นการร่วมทุนระหว่างกัมพูชา 51% และไทย 49%6.2.3 โครงการพื ้นที ่สัมปทานเพื ่ อปลูกมันส าปะหลัง อ้อย และตั ้งโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรของบริษัท Crystal Agro ในเขต จ.อุดรเมียนจัย มูลค่าเงินทุน 1 ล้านเหรียญสหรัฐ6.2.4 โครงการพื ้นที ่สัมปทานเพื ่ อปลูกมันส าปะหลัง อ้อย และตั ้งโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรของบริษัท Real Green ในเขต จ.อุดรเมียนจัย มูลค่าเงินทุน 1 ล้านเหรียญสหรัฐ6.2.5 โครงการ Koh Kong Plantation เพื ่ อปลูกอ้อยและผลิตน ้าตาลทราย ในเขต จ. เกาะกง


่่่-26-ของบริษัทน ้าตาลขอนแก่น จ ากัด และบริษัทราชาชูรส จ ากัด ร่วมกับนักลงทุน จ. เกาะกง ประเทศกัมพูชาและนักลงทุนจากไต้หวัน มูลค่าเงินลงทุน 5 ล้านเหรียญสหรัฐนอกจากนี ้ ไทยกับกัมพูชายังขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจภายใต้กรอบต่างๆ โดยเฉพาะACMECS อาทิ การจัดท า Contract Farming การส่งเสริมการซื ้อขายสินค้าแบบหักบัญชี (AccountTrade) การจัดตั ้ง One Stop Service เพื ่ ออ านวยความสะดวกด้านพิธีศุลกากร การฝึกอบรมและพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร โครงการจัดท าแปลงเกษตรสาธิตในพื ้นที ่จังหวัดชายแดนของกัมพูชา เป็นต้น6.3 ลู่ทางการค้าและการลงทุนในประเทศกัมพูชา6.3.1 การแข่งขันของสินค้าไทยในตลาดกัมพูชา นับว่าไทยมีความได้เปรียบประเทศคู่แข่งอื ่นๆเนื ่ องจากมีพรมแดนติดต่อกับกัมพูชาเป็นระยะทางยาวถึง798 กม. จึงสามารถขนส่งสินค้าทางบกเข้าไปยังเมืองต่างๆ ของกัมพูชาได้สะดวกและมีต้นทุนค่าขนส่งต ่ากว่าประเทศคู่แข่งอื ่นๆ6.3.2 เงินบาทของไทยเข้าไปหมุนเวียนในกัมพูชาเป็นจ านวนมากและมีความนิยมสามารถใช้เป็นสื ่อในการแลกเปลี ่ ยนเงินตราท้องถิ ่น เนื ่ องจากมีความมั ่นคงประกอบกับกัมพูชาขาดแคลนเงิน เหรียญสหรัฐ ดังนั ้นพ่อค้ากัมพูชาจึงมีความโน้มเอียงที ่น าเงินบาทกลับมาซื ้อสินค้าไทยอีก6.3.3 ตลาดกัมพูชาต้องการวัสดุก่อสร้างเพื ่ อใช้ในประเทศเป็นจ านวนมากเนื ่ องจากต้องมีการปรับปรุงและซ่อมแซมสิ ่งสาธารณูปโภคในประเทศที ่ได้รับความเสียหายจากการสู ้รบภายในประเทศและการก่อสร้างสิ ่งอ านวยความสะดวกโดยเฉพาะระบบคมนาคมขึ ้นมารองรับการลงทุนจากต่างประเทศ จึงเป็นโอกาสทางการค้าของไทยที ่จะส่งเสริมการส่งออกสินค้าประเภทนี ้เข้าสู ่ตลาดกัมพูชาให้มากขึ ้นอกเหนือจากสินค้าอุปโภคบริโภคทีมีความต้องการมากอยู่แล้ว6.3.4 การลงทุนของต่างชาติส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื ่ อส่งออกโดยเฉพาะธุรกิจโรงงานเย็บเสื ้อผ้าซึ ่ งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 80 ของมูลค่าส่งออกรวม จากการได้รับสิทธิพิเศษทางศุลกากร (GSP) จากสหรัฐฯ ยุโรปและญี ่ ปุ ่ น ท าให้สินค้าที ่ส่งออกจากกัมพูชาเสียภาษีอัตราต ่าเป็นพิเศษเมื ่อน าเข้าประเทศเหล่านั ้น ส่วนการลงทุนส าหรับผลิตสินค้าเพื ่ อการบริโภคในกัมพูชา ยังมีปริมาณน้อยเนื ่ องจากความต้องการสินค้าและก าลังซื ้อของชาวกัมพูชายังอยู่ในระดับต ่าและสินค้าอุปโภคบริโภคส่วนหนึ ่ งสามารถน าเข้าไปจากประเทศใกล้เคียงได้ตามชายแดน6.4 เขตเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (Industrial Zone)ปัจจุบันกัมพูชาได้มีเขตเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเพื ่ อรองรับต่างชาติที ่จะเข้ามาลงทุนในกัมพูชา จ านวน15 เขต ได้แก่6.4.1 เขตนิคมอุตสาหกรรมเกาะกง (Neang Kok, Koh Kong Industrial Estate) พื ้นที339.36 เฮกตาร์ (1 เฮกตาร์ = 6.25 ไร่) อยู่ จ. เกาะกง ใกล้ชายแดนไทย บริเวณบ้านหาดเล็ก จ. ตราด6.4.2 เขตนิคมการลงทุนอุตสาหกรรมซอยเซ็ง (Souy Seng, Industrial Investment Estate)พื ้นที ่ 136 เฮกตาร์ อยู่ใน จ. เกาะกง6.4.3 เขตนิคมอุตสาหกรรมปอยเปต (Poipet, Industrial Estate Development) พื ้นที386.30 เฮกตาร์ อยู่ห่างจากปอยเปต 10 กม. บริเวณชายแดนไทย ด้าน อ. อรัญประเทศ จ. สระแก้ว


่-27-6.4.4 เขตเศรษฐกิจพิเศษ เอส เอ็น ซี (S.N.C. Special Economic Zone) พื ้นที ่ 108เฮกตาร์ อยู่ กรุงพระสีหนุ6.4.5 เขตเศรษฐกิจพิเศษกัมปอต (Kampot, Special Economic Zone) พื ้นที ่ 145 เฮกตาร์อยู่ใน จ. กัมปอต6.4.6 เขตเศรษฐกิจพิเศษแมนแฮตตัน (Manhattan Special Economic Zone) พื ้นที ่ 155เฮกตาร์ อยู่ใน อ. จันเตรีย จ. สวายเรียง บริเวณชายแดนกัมพูชา-เวียดนาม6.4.7 เขตการค้าและอุตสาหกรรมเสรีสตึงฮาฟ (Stueng Hav, Free Trade Industrial) พื ้นที191.25 เฮกตาร์ อยู่ อ. สตึงฮาฟ กรุงพระสีหนุ6.4.8 เขตเศรษฐกิจพิเศษสีหนุ (Sihanouk Special Estate) พื ้นที ่ 70 เฮกตาร์ อยู่ที ่กรุงพระสีหนุ6.4.9 เขตเศรษฐกิจพิเศษพนมเปญ (Phnom Penh Special Economic Zone : PPSEZ)พื ้นที ่ 365 เฮกตาร์ อยู่ใน อ. อังสนอล จ. กันดาล6.4.10 เขตเศรษฐกิจพิเศษพนมดิน (Phnom Din, Special Economic Zone) พื ้นที ่ 57เฮกตาร์ อยู่ใน อ. คีรีวงศ์ จ. ตาแก้ว6.4.11. เขตเศรษฐกิจพิเศษอ้กนา มง (Oknha Mong, Special Economic Zone) พื ้นที ่ 100เฮกตาร์ อยู่ใน อ. สแร อัมเบิล จ.เกาะกง6.4.12. เขตเศรษฐกิจพิเศษ สเว ตีล (Svay Teal Special Economic Zone) พื ้นที ่ 105เฮกตาร์ อยู่ที ่ จ. สวายเรียง6.4.13. เขตเศรษฐกิจพิเศษไทเซง บาเวต (Tai Seng Bavet, Special Economic Zone)พื ้นที ่ 99 เฮกตาร์ อยู่ใน อ. จันเตรีย จ. สวายเรียง บริเวณชายแดนกัมพูชา-เวียดนาม6.4.14. เขตเศษรฐกิจพิเศษโกลเฟม ปากซัน (Goldfame, Pak Sun Special EconomicZone) พื ้นที ่ 80 เฮกตาร์ อยู่ที ่ อ. ซา อัง จ. กันดาล6.4.15. เขตเศรษฐกิจพิเศษทารี (Thary City, Special Economic Zone) พื ้นที ่ 133.65เฮกตาร์ อยู่ที ่ อ. เมมุด จ. กัมปงจาม7. ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม ไทยกับกัมพูชามีความคล้ายคลึงกันทางด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างมาก จึงเป็นเรื ่ องง่ายที ่รัฐบาลทั ้งสองฝ่ ายจะใช้ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมเป็นสื ่อกลางในการส่งเสริมความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ดังเช่นความพยายามที ่จะประสานรอยร้าวของความสัมพันธ์ภายหลังเหตุการณ์ความไม่สงบในกรุงพนมเปญเมื ่อปี 2546 ด้วยการจัดตั ้งคณะกรรมาธิการร่วมไทย-กัมพูชา เพื ่ อส่งเสริมความร่วมมือด้านวัฒนธรรมและใช้เป็นกลไกในการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของทั ้งสองประเทศ โดยสองฝ่ ายได้จัดประชุมร่วมกันแล้วหลายครั ้งเพื ่ อก าหนดทิศทางความร่วมมือและแผนปฏิบัติการประจ าปี ส าหรับใช้เป็นกรอบในการด าเนินงานร่วมกัน นอกจากนี ้ ยังได้จัดตั ้งคณะอนุกรรมการด้านวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และการท่องเที ่ยว เพื ่ อผลักดันความร่วมมือในแต่ละสาขาด้วย ไทยได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่กัมพูชาผ่านส านักงานความร่วมมือเพื ่ อการพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.) กระทรวงการต่างประเทศ โดยให้ความส าคัญต่อการพัฒนาด้านการเกษตร การศึกษาและ


้-28-ด้านสาธารณสุขเป็นหลัก รวมทั ้งการพัฒนาในสาขาอื ่นๆ อาทิ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาชนบทและการท่องเที ่ยว เป็นต้น โดยในปี 2546 และปี 2547 ไทยได้ให้ความช่วยเหลือแก่กัมพูชาเป็นงบประมาณจ านวน 81.35 ล้านบาท และ 38.38 ล้านบาท ตามล าดับ (ไม่รวมความช่วยเหลือที ่กัมพูชาได้รับโดยตรงจากส่วนราชการ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชนอีกจ านวนมาก)8. ความร่วมมือด้านอื ่นๆ ความร่วมมือด้านแรงงานและการต่อต้านการค้ามนุษย์ ไทยกับกัมพูชาได้จัดท าบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการจ้างแรงงานไทย-กัมพูชา และบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการขจัดการค้าเด็กและหญิงและการช่วยเหลือเหยื ่อจากการค้ามนุษย์ เมื ่อวันที ่ 31 พ.ค. 46 เพื ่ อจัดระเบียบและแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามแดนโดยผิดกฎหมายชาวกัมพูชาในประเทศไทย รวมทั ้งป้ องกันและปราบปรามขบวนการค้ามนุษย์ ทั ้งนี ้ เมื ่อเดือนเมษายน 2548 ทางการไทยได้ขึ ้นทะเบียนแรงงานชาวกัมพูชาไว้แล้วจ านวน 183,541 คน ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการพิสูจน์สัญชาติและออกเอกสารประจ าตัว (Certificate ofIdentity : C.I.) แก่แรงงานที ่ได้รับอนุญาตให้ท างานจ านวน 75,804 คน ซึ ่ งนับจนถึงวันที ่ 1 เม.ย.49 มีผูได้รับการรับรองสัญชาติและได้รับเอกสารประจ าตัวแล้วจ านวน 32,254 คน การพัฒนาร่วมเขาพระวิหาร รัฐบาลไทยกับกัมพูชาเห็นชอบร่วมกันที ่จะพัฒนาปราสาทเขาพระวิหารเพื ่ อให้เป็นสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์อันดีงามที ่ยั ่งยืน โดยได้จัดตั ้งกลไกขึ ้นก ากับดูแล การด าเนินงานด้านต่างๆ ที ่ส าคัญคือคณะกรรมการร่วมเพื ่ อพัฒนาเขาพระวิหาร และคณะอนุกรรมการอีก 2คณะ ได้แก่1) คณะอนุกรรมการวางแผนการพัฒนาร่วมเขาพระวิหาร2) คณะอนุกรรมการเพื ่ อบูรณปฏิสังขรณ์ปราสาทเขาพระวิหาร โดยทั ้งสองฝ่ ายเห็นชอบร่วมกันให้เริ ่ มโครงการพัฒนาภายหลังจากที ่ UNESCO ได้ขึ ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกแล้ว และให้เชื ่ อมโยงการพัฒนาช่องตาเฒ่า (ห่างจากเขาพระวิหาร 5 ก.ม.) ซึ ่ งฝ่ ายกัมพูชามักรบเร้าให้ฝ่ ายไทยเปิ ดเป็นจุดผ่านแดนเข้าเป็นส่วนหนึ ่ งของโครงการพัฒนาร่วมเขาพระวิหาร โดยให้ด าเนินการทั ้งสองเรื ่ องควบคู่กันในลักษณะ package และให้การพัฒนาส่งเสริมซึ ่ งกันและกัน9. สถานะล่าสุดของความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาพล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีได้เดินทางไปเยือนกัมพูชาอย่างเป็นทางการเมื ่อวันที ่ 15ต.ค. 49 โดยมีวัตถุประสงค์เพื ่ อ (1) แนะน าตัวตามธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูต สร้างความสนิทสนมคุ ้นเคยกับผู ้น าของกัมพูชาและ “จับมือกัมพูชาไว้ให้อุ่น” โดยสร้างความเชื ่ อมั ่นระหว่างกัน เพื ่ อปูทางการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปด้วยดี บนพื ้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกัน(2) ชี ้แจงและท าความเข้าใจกับผู ้น าของกัมพูชาเกี ่ยวกับสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทย ภารกิจและความจ าเป็นของรัฐบาลในการสร้างความสมานฉันท์ภายในชาติ สร้างความเชื ่ อมั ่นจากต่างประเทศและการแก้ไขปัญหาส าคัญเร่งด่วนที ่ได้เกิดขึ ้น โดยเฉพาะอุทกภัยภายในประเทศ (3) เน้นย ้าความส าคัญที ่ทั ้งสองฝ่ ายจะร่วมมือกันเพื ่ อพัฒนาความสัมพันธ์ทวิภาคีให้ก้าวหน้าและยั ่งยืนต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง บนพื ้นฐานของการส่งเสริมความสัมพันธ์และความเข้าอกเข้าใจซึ ่ งกันและกันของประชาชนทั ้งสองฝ่ าย โดยยืนยันนโยบายและเจตนาที ่จะให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนกัมพูชาให้พัฒนาเจริญก้าวหน้าขึ ้น พร้อมกับ


่-29-ย ้าถึงความต่อเนื ่ องของโครงการความร่วมมือต่างๆ ที ่ด าเนินอยู่และตั ้งอยู่บนพื ้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกันว่าจะด าเนินต่อไปโดยไม่หยุดชะงักส าหรับประเด็นความร่วมมือต่างๆ ที ่ได้มีการหารือกันในครั ้งนี ้ที ่ส าคัญได้แก่1. การปักปันเขตแดนทางบกและการพัฒนาในพื ้นที ่ชายแดน ซึ ่ งทั ้งสองฝ่ ายได้ตกลงกันที ่จะร่วมมือกันอย่างจริงจังในการปักปันเขตแดนทางบกให้แล้วเสร็จโดยเร็ว รวมทั ้งป้ องกันมิให้การพัฒนาต่างๆ ในพื ้นที ่ชายแดนมีผลกระทบ/สร้างปัญหาให้กับการปักปันเขตแดน นอกจากนั ้น ยังได้ตกลงกันผลักดันความร่วมมือไทย-ลาว-กัมพูชาในกรอบความร่วมมือสามเหลี ่ ยมมรกต อาทิ การส่งเสริมการท่องเที ่ยวและความสัมพันธ์ภาคประชาชนและอื ่นๆ2. การเชื ่ อมโยงคมนาคมทางบก สองฝ่ ายเน้นย ้าถึงความส าคัญของเรื ่ องนี ้เพื ่ อส่งเสริมการสัญจรไปมาหาสู ่กันของประชาชนทั ้งสองฝ่ าย และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกันในระยะยาว โดยจะเร่งรัดด าเนินการโครงการพัฒนาเส้นทางเชื ่ อมโยงที ่ไทยได้ให้การสนับสนุนแก่กัมพูชา (ถนนหมายเลข 67 (ช่องสะง า-อัลลองเวง-เสียมราฐ) และหมายเลข 48 (ตราด-เกาะกง-สแรอัมเบิล) ให้แล้วเสร็จตามก าหนดก่อนที ่จะพิจารณาร่วมมือกันในการพัฒนาเส้นทางเชื ่ อมโยงอื ่นๆ ที ่จะมีประโยชน์ร่วมกันต่อไป ตลอดจนเรื ่ องการให้ความสนับสนุนกัมพูชาในเรื ่ องการซ่อมสร้างเส้นทางรถไฟช่วงปอยเปต-ศรีโสภณ3. การพัฒนาร่วมในพื ้นที ่ไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ทั ้งสองฝ่ ายได้ยืนยันเจตนารมณ์ที ่จะเดินหน้าโครงการตามที ่ได้ตกลงกันไว้กล่าวคือ ให้มีการด าเนินงานทางด้านเทคนิคทั ้งในส่วนที ่เกี ่ยวกับการก าหนดอาณาเขตทางทะเล และการพัฒนาร่วมในพื ้นที ่ดังกล่าวต่อไป4. ความร่วมมือในการป้ องกันและเฝ้ าระวังโรคไข้หวัดนก ซึ ่ งทั ้งสองฝ่ ายได้ยกเป็นตัวอย่างของความร่วมมือส าคัญนอกเหนือจากประเด็นด้านการเมืองและเศรษฐกิจ โดยได้ตกลงจะร่วมมือกันอย่างจริงจังในเรื ่ องดังกล่าว รวมทั ้งให้ขยายขอบเขตเป็นความร่วมมือด้านสาธารณสุขในภาพรวมด้วย10. ระบบคมนาคม10.1 ทางรถไฟเส้นทางรถไฟเป็นรางเดี ่ยวขนาดกว้าง 1.0 เมตร ความยาวรวมทั ้งสิ ้น 650 กม. เส้นทางที ่ส าคัญ 2สาย ได้แก่1) ปอยเปต-บันเตียเมียนเจย–พระตะบอง–โพธิสัต-พนมเปญ ปัจจุบันใช้เดินรถเพียงพนมเปญ–บันเตียเมียนเจย ระยะทาง 386 กม. ส่วนใหญ่จะใช้บรรทุก น ้ามันเชื ้อเพลิงส าหรับการผลิตกระแสไฟฟ้ า ปูนซิเมนต์ ข้าว2) พนมเปญ–ตาแก้ว–กัมปอต–สีหนุวิลล์ ระยะทาง 264 กม. ส่วนใหญ่ใช้บรรทุก ไม้และหินทั ้ง 2 เส้นทางมีสภาพค่อนข้างทรุดโทรม รถไฟไม่สามารถวิ ่ งได้ด้วยความเร็วเท่าที ่ควรและยังเป็นทีกังวลส าหรับความปลอดภัย ท าให้ไม่ค่อยได้รับความนิยมจากผู ้โดยสาร แต่ยังคงมีการใช้เพื ่ อการขนส่งสินค้าที ่ไม่ต้องการความเร่งด่วน


์้-30-ขณะนี ้ รัฐบาลกัมพูชาอยู่ในระหว่างการเชื ่ อมต่อเส้นทางรถไฟช่วงบันเตียเมียนเจย-ปอยเปตระยะทาง 48 กม. เพื ่ อเชื ่ อมต่อกับทางรถไฟของไทยที ่ อ. อรัญประเทศ จ. สระแก้ว เพื ่ อรองรับโครงการเชื ่ อมต่อเส้นทางรถไฟสายสิงคโปร์-คุนหมิง (Singapore - Kunming Railways Links)10.2 ทางรถยนต์กัมพูชาจ าแนกเส้นทางรถยนต์สายหลักและสายรองโดยใช้ตัวเลขก ากับในลักษณะเดียวกับไทยกล่าวคือเส้นทางสายหลักที ่ออกจากพนมเปญไปยังภูมิภาคต่างๆ จะใช้เลขหลักเดียว (National Road) ส่วนเส้นทางสายรอง (Feeder Road) จะมีหมายเลขแยกเป็น 2 หรือ 3 หลักแยกย่อยจากหมายเลขถนนสายหลักทั ้งนี ้ ถนนสายหลักของกัมพูชามี 7 สายนับเวียนซ้ายตามเข็มนาฬิกา เริ ่ มสายที ่ 1 จากพนมเปญไปทางตะวันออกจนจรดไปพรมแดนทางใต้ของเวียดนาม วนไปจนถึงสายที ่ 7 จากพนมเปญ จรดแขวงจ าปาศักดิของลาว ทุกเส้นทางยังเป็นทาง 2 ช่องจราจร (ไป 1 กลับ 1) โดยแต่ละเส้นทางจะพาดผ่านจังหวัดต่างๆ ถนนในกัมพูชามีความยาวรวม 30,268 กม. แยกเป็นทางหลวง 4695 กม. ถนนสายจังหวัด 6,615 กม. และถนนสายชนบท 18,958 กม. ไม่มีทางด่วน เส้นทางส าคัญ ได้แก่ถนนหมายเลข 1 กรุงพนมเปญ-บาเวต (ชายแดนเวียดนาม) จากพนมเปญไปทางตะวันออก ผ่านจังหวัดกันดาล ข้ามแม่น ้าโขง เข้าจังหวัดเปรยแวง จังหวัดสวายเรียง สุดทางที ่ด่านพรมแดนนานาชาติบาเวต(ติดต่อกับด่านมอกไบของเวียดนาม) ระยะทางรวม 167 กม. (ต่อไปถึงนครโฮจิมินห์ของเวียดนามอีก 68กม.) ช่วง 60 กม.แรกพนมเปญ–แม่น ้าโขง เป็นถนนราดยางช ารุดเป็นช่วงๆ ที ่แม่น ้าโขงยังไม่มีสะพานจึงต้องข้ามแพ ขึ ้นฝั ่งตรงข้ามแล้วถนนราดยางดีตลอดถึงชายแดน ใช้เวลาเดินทางรวมประมาณ 3–3.5 ชม. ทั ้งนีญี ่ ปุ ่ นได้ตกลงให้ความช่วยเหลือในการปรับปรุงถนนช่วงพนมเปญ-แม่น ้าโขง และสร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กข้ามแม่น ้าโขงแล้ว คาดว่า เส้นทางจะสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2551ถนนหมายเลข 2 จากพนมเปญไปทางใต้ ผ่านจังหวัดกันดาล แล้วไปสุดทางที ่พนมเดิน จังหวัดตาแก้ว (มีด่านคนท้องถิ ่นข้ามไปเวียดนามที ่ หนาเบิง) ระยะทาง 121 กม. ถนนราดยางไหล่ทางแคบ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1.5–2 ชม.ถนนหมายเลข 3 จากพนมเปญไปทางใต้ เกาะตะเข็บจังหวัดกันดาล กับ กัมปงสะปื อ ผ่านจังหวัดตาแก้วเข้าจังหวัดกัมปอต แล้วเลียบชายฝั ่งไปทางตะวันตกจนจรดทางหลวงหมายเลข 4 ในเขตสีหนุวิลล์ระยะทาง 202 กม. ช่วงแรกพนมเปญ–กัมปอต 148 กม. ถนนราดยางแต่เป็นคลื ่ น ช่วงหลัง เลียบชายฝั ่งทางก าลังขยายรวมไหล่ทางเป็น 4 เลน ราดยางคืบหน้าแล้วประมาณร้อยละ 80 ใช้เวลาเดินทางรวมประมาณ3.5–4.5 ชม.ถนนหมายเลข 4 กรุงพนมเปญ-สีหนุวิลล์ จากพนมเปญผ่านจังหวัดกัมปงสปื อ และจังหวัดเกาะกงจนจรดชายทะเลอ่าวไทย บริเวณท่าเรือสีหนุวิลล์ ระยะทาง 226 กม. เป็นเส้นทางขนส่งสินค้าที ่ส าคัญและถือเป็นราดยางที ่ดีที ่สุดตลอดเส้นทางของกัมพูชา ใช้เวลาเดินทาง 3.5–4 ชม.ถนนหมายเลข 5 กรุงพนมเปญ-ปอยเปต จากพนมเปญไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ผ่านพื ้นที ่จังหวัดกันดาล เข้าตัวจังหวัดกัมปงชะนัง จังหวัดโพธิสัต จังหวัดพระตะบอง จังหวัดบันเตียเมียนเจย และสิ ้นสุดทางที ่


่-31-ด่านพรมแดนนานาชาติปอยเปต-อรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย ระยะทางรวม 407 กม. เป็นถนนราดยางใช้ได้ดี ยกเว้นช่วงจากอ าเภอศรีโสภณ จังหวัดบันเตียเมียนจัย ไปพรมแดนระยะทาง 49 กม. เป็นถนนราดยางที ่ช ารุด หน้าแล้งพอใช้ได้ หน้าฝนทรุดโทรมมาก ตลอดเส้นทางใช้เวลารวม 5.5–7.5 ชม.ถนนหมายเลข 6 จากพนมเปญขึ ้นไปทางเหนือผ่านเขตจังหวัดกันดาล กัมปงจาม เข้าตัวจังหวัดกัมปงธม จังหวัดเสียมราฐ แล้วไปบรรจบกับถนนหมายเลข 5 ที ่อ าเภอศรีโสภณ จังหวัดบันเตียเมียนเจยระยะทางรวม 416 กม. เป็นถนนราดยางใช้ได้ดี ยกเว้นช่วงเสียมราฐ–ศรีโสภณ ระยะทาง 90 กม.เป็นลูกรังหน้าแล้งพอใช้ได้ หน้าฝนไม่สะดวก ตลอดเส้นทางใช้เวลา 6.5–8 ชม.ถนนหมายเลข 7 แยกจากถนนหมายเลข 6 ที ่บ้านเชิงไพร จังหวัดกัมปงจามไปทางตะวันตก ผ่านตัวจังหวัด มุ่งสู ่ชายแดนด้านเวียดนามก่อนเลี ้ยวขึ ้นไปทางเหนือเข้าสู ่ตัวจังหวัดกระแจะ จังหวัดสตรึงแตรง ไปจนจรดด่านพรมแดนนานาชาติบ้านโอสวาย–เวือนค า แขวงจ าปาศักดิ ์ ของ สปป.ลาว ระยะทางรวม 461 กม.ช่วงแรกพนมเปญ-กระแจะ ประมาณ 280 กม. เป็นถนนราดยางใช้เวลาเดินทางประมาณ 3.5-4.5 ชั ่วโมง ทีเหลือเป็นทางลูกรังยังไม่ได้ส ารวจทั ้งนี ้ รัฐบาลกัมพูชาก าลังเร่งรัดขอความช่วยเหลือจากนานาชาติในการปรับปรุงการคมนาคมในทุกด้าน โดยคาดว่า ภายในอีก 3 ปี ข้างหน้าถนนสายหลักจะราดยางสมบูรณ์ตลอดทั ้ง 7 เส้นทาง (แล้วคงต้องกลับมาซ่อมทางราดยางเดิมที ่เสียหาย) นอกจากนี ้ ยังมีถนนอีก 2 สายที ่ไทยให้ความช่วยเหลือในการก่อสร้าง โดยให้เงินกู ้ดอกเบี ้ยต ่า ผ่อนช าระระยะยาว เพื ่ ออ านวยความสะดวกด้านการขนส่งระหว่างไทยกับกัมพูชา ได้แก่ทางหลวงหมายเลข 48 (เกาะกง-สแรอัมเบิล) แยกจากทางหมายเลข 4 ที ่ กม.130 ไปทางตะวันตกจนถึงจังหวัดเกาะกงซึ ่ งติดกับจังหวัดตราดของไทย โดยเป็นการให้เปล่าสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กข้ามแม่น ้า4 แห่ง และให้เงินกู ้ดอกเบี ้ยต ่าในการปรับปรุงแนวถนนลูกรังเดิมเป็นถนนราดยางตลอดเส้นทาง รวมระยะทางประมาณ 148 กม. เป็นเส้นทางส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที ่ยวระหว่างภาคตะวันออกของไทยกับภาคใต้ของกัมพูชาและเวียดนามทางหลวงหมายเลข 67 แยกจากทางหลวงหมายเลข 6 ที ่ตัวจังหวัดเสียมราฐ ขึ ้นไปทางเหนือ จนจรดด่านชายแดนไทย–กัมพูชา (ช่องสะง า อ าเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ–อันลองเวง จังหวัดอุดรมีชัย) โดยเป็นการให้เงินกู ้ดอกเบี ้ยต ่าในการปรับปรุงแนวถนนลูกรังเดิมเป็นถนนราดยางตลอดสาย รวมระยะทางประมาณ138 กม. เป็นเส้นทางส่งเสริมการท่องเที ่ยวระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของไทยกับภาคเหนือของกัมพูชาและจังหวัดเสียมราฐนอกจากนี ้ ฝ่ ายกัมพูชาได้ขอให้ไทยพิจารณาให้ความช่วยเหลืออีก 1 เส้นทาง คือ ทางหลวงหมายเลข 68 แยกจากทางหลวงหมายเลข 6 ที ่อ าเภอกระลัน ทางตะวันตกของจังหวัดเสียมราฐ ขึ ้นไปทางเหนือ จนจรดด่านชายแดนไทย–กัมพูชา (ช่องจอม จังหวัดสุรินทร์–ส าโรง จังหวัดอุดรมีชัย) ระยะทางประมาณ 125 กม.


้-32-10.3 ทางน ้ามีท่าเรือนานาชาติ 3 แห่งเป็นรัฐวิสาหกิจ 2 แห่งคือ1) ท่าเรือนานาชาติสีหนุวิลล์ ซึ ่ งตั ้งอยู่ติดอ่าวไทยในสีหนุวิลล์ (เดิมชื ่ อจังหวัดกัมปงโสม) ทางตอนใต้ของประเทศ ห่างจากกรุงพนมเปญโดยทางรถยนต์ 226 กิโลเมตร (ทางหลวงหมายเลข 4) มีหน้าท่ากว้าง 550 เมตร สามารถรองรับเรือที ่ระวาง 10,000–15,000 ตัน กินน ้าลึกไม่เกิน 8.5 เมตรได้ในเวลาเดียวกัน 2–3 ล า เส้นทางเดินเรือที ่ติดต่อกับสีหนุวิลล์ ได้แก่ อเมริกา ยุโรป จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี ่ ปุ ่ นมาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไทย และเวียดนาม ส่วนใหญ่จะขนผ่านสิงคโปร์2) ท่าเรือนานาชาติพนมเปญ ซึ ่ งอยู่ลึกเข้ามาประมาณ 330 กิโลเมตรจากปากแม่น ้าโขงที ่ชายฝั ่งทะเลจีนใต้ของประเทศเวียดนาม และจากการที ่เป็นท่าเรือที ่อยู่ในล าน ้า ท าให้ความสามารถในการรองรับเรือในฤดูแล้งกับฤดูน ้าหลากจะต่างกันมาก ทั ้งจากอุปสรรคของการเดินเรือและระดับความลึกหน้าท่าคือสามารถรองรับเรือระวาง 2,000 ตันกับ 5,000 ตันในแต่ละฤดูตามล าดับ3) ท่าเรือเอกชนชื ่ อ ท่าเรือออกญามอง หรือ Oknha Mong Port ซึ ่ งตั ้งอยู่ติดอ่าวไทยในเขตจังหวัดเกาะกง เหนือขึ ้นมาจากท่าเรือสีหนุวิลล์ทางรถยนต์ประมาณ 40 กิโลเมตร หรือประมาณ 180กิโลเมตรจากกรุงพนมเปญ เป็นท่าเรือที ่เปิ ดด าเนินการควบคู่กับการขยายขนาดหน้าท่า ปัจจุบันสามารถรองรับเรือระวาง 500–1000 ตันการขนส่งทางน ้าภายในประเทศ ส่วนใหญ่ใช้แม่น ้าโขง แม่น ้าทะเลสาบ และแม่น ้าบาสัก ซึ ่ งมีความยาวรวม 1,750 กม. ในฤดูฝน และอาจลดเหลือ 580 กม. ในฤดูแล้ง ท่าเรือที ่ใช้ขนส่งภายในประเทศของกัมพูชามี 7 แห่ง ดังต่อไปนี- ท่าเรือในกรุงพนมเปญ 2 แห่ง- ท่าเรือกัมปงจาม เป็นท่าเรือส าคัญบนแม่น ้าโขง ห่างจากกรุงพนมเปญ 105 กม.- ท่าเรือกระแจะ เป็นท่าเรือส าคัญบนแม่น ้าโขง ห่างจากท่าเรือกัมปงจาม 115 กม.- ท่าเรือสตรึงเตรง เป็นท่าเรือส าคัญบนแม่น ้าโขง ห่างจากท่าเรือกระแจะ 115 กม.- ท่าเรือเนี ๊ยกเรือง เป็นท่าเรือส าคัญบนแม่น ้าโขง ห่างจากท่าเรือพนมเปญ 60 กม.- ท่าเรือจองคเนี ๊ยะ (เสียมเรียบ) ตั ้งอยู่บนแม่น ้าโตนเลสาบห่างจากกัมปงชนัง 190 กม.การขนส่งสินค้าทางน ้าภายในประเทศกัมพูชามีข้อจ ากัด เนื ่ องจากระดับน ้าในฤดูฝนและฤดูแล้งมีความแตกต่างประมาณ 10 เมตร10.4 ทางอากาศสืบเนื ่ องจากนโยบายการเปิ ดน่านฟ้ าของรัฐบาลกัมพูชา ส่งผลให้มีสายการบินบินมากัมพูชามากขึ ้นซึ ่ งขณะนี ้กัมพูชามีสนามบินพาณิชย์ทางวิ ่ งเดียว (Single Runway) ที ่ได้มาตรฐานสากลและเปิ ดใช้ส าหรับเครื ่ องบินพาณิชย์ที ่บินประจ าและเครื ่ องเหมาล าระหว่างประเทศ 2 แห่ง คือ1) สนามบินนานาชาติพนมเปญ หรือสนามบินโปเชนตง สามารถรองรับเครื ่ องบินได้ถึงขนาดโบอิ ้ง 747 (500 ที ่นั ่ง) ขณะนี ้มีสายการบินนานาชาติที ่บินตรงสู ่สนามบินนานาชาติพนมเปญ 9 เส้นทางจาก 8 ประเทศ


้-33-เที ่ยวบินที ่มาลงสนามบินนานาชาติพนมเปญ่ประเทศ เมือง จ านวนเที ่ยวบินจีน กวางโจว 1 เที ่ยว/วันเซียงไฮ้3 เที ่ยว/สัปดาห์ฮ่องกง ฮ่องกง 5 เที ่ยว/สัปดาห์ 1 สายการบิน3 เที ่ยว/สัปดาห์ 1 สายการบินมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 2 เที ่ยว/วัน 2 สายการบิน3 เที ่ยว/สัปดาห์ 1 สายการบินสิงคโปร์ สิงคโปร์ 1 เที ่ยว/วัน 1 สายการบิน4 เที ่ยว/สัปดาห์ 1 สายการบิน3 เที ่ยว/สัปดาห์ 1 สายการบิน2 เที ่ยว/สัปดาห์ 1 สายการบิน(คาร์โก้) 3 เที ่ยว/สัปดาห์เกาหลีใต้ โซล 2 เที ่ยว/สัปดาห์ไต้หวัน ไทเป 1 เที ่ยว/วัน 1 สายการบิน3 เที ่ยว/สัปดาห์ 1 สายการบิน(คาร์โก้) 5 เที ่ยว/สัปดาห์ไทย กรุงเทพฯ 7 เที ่ยว/วัน 4 สายการบิน(คาร์โก้) 1 เที ่ยว/วันเวียดนาม โฮจิมินห์ 3 เที ่ยว/วัน 1 สายการบิน(คาร์โก้) 1 เที ่ยว/วัน2) สนามบินนานาชาติเสียมเรียบ ในจังหวัดเสียมราฐ ซึ ่ งยูเนสโก (UNESCO : UnitedNations Educational, Scientific and Cultural Organization) ผู ้ให้ทุนในการอนุรักษ์นครวัด-นครธมก าหนดให้รองรับเครื ่ องบินได้ไม่เกินขนาดโบอิ ้ง 757 (200 ที ่นั ่ง)สนามบินทั ้ง 2 แห่งนี ้ อยู่ภายใต้การบริหารและจัดการของ Cambodia Airport Services Ltd.(CAMS) ซึ ่ งเป็นบริษัทลูกส าหรับร่วมทุนระหว่างฝรั ่งเศสและมาเลเซีย ซึ ่ งได้รับสัมปทาน 25 ปี เพื ่ อพัฒนาสนามบินทั ้ง 2 แห่งนีนอกจากนี ้ยังมีสนามบินขนาดเล็กอีก 3 แห่ง ได้แก่1) สนามบินก าปงชนัง ตั ้งอยู่ทางทิศเหนือของกรุงพนมเปญ ใกล้กับทางหลวงหมายเลข 5 ใช้เพื ่ อการขนส่งสินค้า2) สนามบินกัมปงโสม (สีหนุวิลล์) ที ่เปิ ดให้บริการส าหรับสายการบินภายในประเทศ3) สนาบินเกาะกง ก าลังอยู่ในระหว่างการปรับปรุง


้-34-10.5 เส้นทางคมนาคมกับประเทศไทย10.5.1 ทางรถไฟเส้นทางจากกรุงเทพฯ-กรุงพนมเปญ เป็นเส้นทางเชื ่ อม (spur lines) จากเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิง (Special Working Group on Singapore-Kunming Rail Link Project : SKRL) ภายใต้กรอบความร่วมมือเพื ่ อการพัฒนาอาเซียน-ลุ ่มแม่น ้าโขง (ASEAN–Mekong Basin DevelopmentCooperation : AMBDC) ซึ ่ งไทยได้ท าการศึกษาความเหมาะสมเส้นทางส่วนที ่ขาดระหว่างอรัญประเทศ-คลองลึกเสร็จตั ้งแต่เดือนสิงหาคม 2543 โดยผลการศึกษาพบว่าระยะทางจากอรัญประเทศ-คลองลึกขาดหายไป 6 กม. และไทยจะต้องสร้างสะพานใหม่ 4 สะพาน โดยมีค่าก่อสร้างประมาณ 16.7 ล้านบาท และจากคลองลึกไปยังชายแดนไทย-กัมพูชาจะต้องวางรางใหม่ระยะทาง 1.45 กม.ธนาคาร EXIM Bank ของมาเลเซีย ได้เสนอเงินกู ้ในรูป Commercial loan ให้กัมพูชาเพื ่ อก่อสร้างเส้นทางรถไฟช่วงที ่ขาดหายไประหว่างปอยเปต-ศรีโสภณ ระยะทาง 48 กม. เป็นจ านวนเงิน 20 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ ่ งกัมพูชาแจ้งว่า รัฐบาลประสงค์จะได้เงินกู ้เงื ่อนไขผ่อนปรน (soft loan) มากกว่า อย่างไรก็ตาม ADB ได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการในปี 2548 และเงินกู ้แก่กัมพูชาจ านวน 40 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2549 ส าหรับการสร้างเส้นทางปอยเปต-ศรีโสภณ ขณะนี ้กัมพูชาอยู่ระหว่างการรื ้อถอนกับระเบิดและเคลื ่ อนย้ายสิ ่งปลูกสร้าง เช่นที ่อยู่อาศัยและโรงแรม ซึ ่ งรุกล ้าเส้นทางช่วงดังกล่าววันที ่ 11-17 ม.ค. 47 มาเลเซียได้ส่งคณะผู ้เชี ่ ยวชาญด้านการรถไฟไปส ารวจเส้นทางปอยเปต-ศรีโสภณ เพื ่ อก าหนดแนวทางในการด าเนินโครงการก่อสร้าง และจะมีการหารือกับกัมพูชาเป็นระยะในเรื ่ องเกี ่ยวกับการเคลียร์พื ้นที ่ โดยในเดือนกันยายน 2547 มาเลเซียได้รื ้อถอนรางรถไฟเก่าระยะทาง 10.5 กม.และมอบให้รัฐบาลกัมพูชาพร้อมในการก่อสร้างเส้นทางดังกล่าว โดยฝ่ ายไทยออกค่าขนส่งให้กัมพูชายังต้องปรับปรุงเส้นทางหลักศรีโสภณ-พนมเปญ ในกัมพูชา ระยะทาง 352 กม.10.5.2 โครงการเชื ่อมโยงเส้นทางคมนาคมทางรถยนต์ระหว่างไทย-กัมพูชา เส้นทางหมายเลข 48 เริ ่ มตั ้งแต่จังหวัดเกาะกงถึงสะแรอัมเปิ ล ระยะทางทั ้งสิ ้น 151.50 กม. เริ ่ มก่อสร้างในเดือนกรกฎาคม 2546 ก าหนดเสร็จเดือนเมษายน 2551 งบประมาณในการก่อสร้างทั ้งสิ ้น867.80 ล้านบาท โดยรัฐบาลไทยเป็นผู ้ให้เงินกู ้อัตราดอกเบี ้ยร้อยละ 1.5 ระยะเวลาช าระคืนเงินต้น 30 ปีระยะเวลาปลอดหนี ้ 10 ปี ความก้าวหน้าโครงการแล้วเสร็จประมาณร้อยละ 87.33 (มีนาคม 2550) ซึ ่ งคาดว่าโครงการจะแล้วเสร็จประมาณเดือนมกราคม 2551 (จร. ได้ไปส ารวจเส้นทางเมื ่อวันที ่ 2-5 พ.ค.50)หากเส้นทางสายนี ้ก่อสร้างเสร็จจะเป็นเส้นทางที ่มีศักยภาพในด้านการท่องเที ่ยวและการค้าสูงมากเพราะเป็นเส้นทางจากบ้านหาดเล็ก (ชายแดนไทย)-จังหวัดต่างๆ ของกัมพูชาดังนี1. บ้านหาดเล็ก-กรุงพนมเปญ 292 กม. เป็นเส้นทางที ่สั ้นที ่สุดจากไทย ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5 ชั ่วโมง2. บ้านหาดเล็ก-สีหนุวิลล์ 236 กม. จังหวัดสีหนุวิลล์เป็นเมืองท่าและแหล่งท่องเที ่ยวของกัมพูชา ทั ้งยังเป็นจังหวัดที ่ขุดพบน ้ามันบริเวณอ่าไทยจ านวนมากด้วย


้่่-35-3. บ้านหาดเล็ก-กัมปอต 241 กม. จังหวัดกัมปอต เป็นจังหวัดที ่มีแหล่งท่องเที ่ยวมากมายทั ้งชายทะเล ภูเขา ถ ้า น ้าตก และอยู่ห่างชายแดนเวียดนาม ด้านจังหวัดฮาเตียน เพียง 30 กม.การเดินทางบนเส้นทางหมายเลข 48 ระยะทางทั ้งสิ ้น 151.50 กม. จากจังหวัดเกาะกงถึงสามแยกบรรจบกับเส้นทางหมายเลข 4 (จากกรุงพนมเปญ ไปยังจังหวัดสีหนุวิลล์) ในอ าเภอสะแรอัมเปิ ล จังหวัดเกาะกง ต้องข้ามแม่น ้า 4 สาย คือ แม่น ้าตาไต แม่น ้าตร่อเปี ยงรุง แม่น ้าออนโดงตึก และแม่น ้าสะแรอัมเปิ ล(หรือคนไทยเรียกแม่น ้านาเกลือ) ซึ ่ งสะพานข้ามแม่น ้าทั ้ง 4 สะพาน เป็นสะพานที ่กรมทางหลวงของไทยเป็ฯผู ้สร้างให้ รายละเอียดเส้นทางแต่ละช่วงเป็นดังนี1. ช่วงที ่ 1 จังหวัดเกาะกง-สะพานแรก มีระยะทาง 23 กม. เส้นทางผ่านหมู่บ้าน ส่วนใหญ่เป็นทางขึ ้นเนินเขา แต่ได้ราดยางแล้ว สะพานมีความยาว 390 เมตร ข้ามแม่น ้าตาไต2. ช่วงที ่ 2 สะพานแรก-สะพานที ่ 2 ระยะทาง 42 กม. เป็นเส้นทางผ่านป่ าเขาที ่อุดมสมบูรณ์ ทิวทัศน์สวยงามมาก บางช่วงต้องมีการระเบิดเขาเพื ่ อสร้างเส้นทางผ่ากลาง ซึ ่ งมีเส้นทางที ่ยังไม่ได้ราดยางเป็นช่วงๆ รวมประมาณ 6 กม. สะพานที ่ 2 นี ้มีความยาว 480 เมตร ข้ามแม่น ้าตร่อเปี ยงรุง3. ช่วงที ่ 3 สะพานที ่ 2-สะพานที ่ 3 ระยะทาง 39 กม. เป็นเส้นทางผ่านป่ าเขา ค่อนข้างสูงชัน เส้นทางที ่ต้องระเบิดผ่าเข้ายังไม่ราดยางประมาณ 15 กม. สะพานที ่ 3 มีความยาว 270 เมตร ข้ามแม่น ้าออนโดงตึก4. ช่วงที ่ 4 สะพานที ่ 3-สะพานที ่ 4 ระยะทาง 35 กม. เป็นเส้นทางผ่านทุ่งนา และหมู่บ้านเป็นระยะ สะพานที ่ 4 มีความยาว 420 เมตร5. ช่วงที ่ 5 สะพานที ่ 4-สามแยกเส้นทางสาย 4 ระยะทาง 11 กม.ในการเดินทางตลอดทั ้งสายใช้เวลาไม่เกิน 2 ชั ่วโมง นั ่นคือหากเดินทางต่อไปยังกรุงพนมเปญ (อีก141 กม.) จะใช้เวลาเพียง 5 ชั ่วโมง เส้นทางหมายเลข 67 จากเสียมราฐ-อัลลองเวง (ชายแดนไทยด้านจังหวัดศรีสะเกษ บริเวณช่องสะง า) (ระยะทาง 163 กม.) คาดว่าจะเสร็จในปี 2550 (จร. ไปส ารวจเส้นทางเมื ่อ 31 พ.ค.-1 มิ.ย. 49)การเดินทางจากจังหวัดศรีสะเกษถึงด่านช่องสะง า อ าเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ ใช้เวลา 1.30ชั ่วโมง ใช้เวลาในผ่านพิธีการตรวจคนเข้าเมืองของทั ้งสองฝ่ ายประมาณ 1 ชั ่วโมง ด่านช่องสะง าเป็นด่านทีได้รับการเสนอให้เป็นด่านถาวรภายใต้กรอบ ACMECS ขณะนี ้มีเจ้าหน้าที ่ตรวจคนเข้าเมืองมาประจ าการเพื ่ ออ านวยความสะดวกในการเข้าออกของประชาชนของทั ้งสองฝ่ าย ส่วนการส่งออก-น าเข้าสินค้าจะต้องผ่านพิธีการทางศุลกากรที ่ด่านช่องจอม จังหวัดสุรินทร์ โดยผู ้ส่งออกจะต้องแจ้งวันส่งสินค้าที ่จุดผ่านแดนช่องสะง าเป็นการล่วงหน้า เพื ่ อเจ้าหน้าที ่ศุลกากรช่องจอม เดินทางมาอ านวยความสะดวกด้านการตรวจปล่อยสินค้า (ระยะทาง 100 กม. ใช้เวลา 1 ชั ่วโมง 30 นาที) ที ่ด่านช่องสะง า จะมีการเปิ ดให้มีการซื ้อขาย เป็นตลาดชายแดนในวันอังคาร และพฤหัสบดี ยังไม่มีการสร้างโรงเรือนเพื ่ อท าการค้าแบบช่องจอม หรือโรงเกลือแต่มีการสร้างอาคารพาณิชย์ชั ้นเดียว บนเส้นทางก่อนถึงด่านเป็นระยะๆ นักท่องเที ่ยว และผู ้ต้องการเดินทางข้ามแดนจะมีจุดนัดพบที ่ปั๊มน ้ามัน ปตท.ขุขันธ์ พื ้นที ่ชายแดนของทั ้งสองด้านไทย-กัมพูชามีลานกว้างติดต่อกัน และน่าจะกว้างพอที ่ขยายตัว เพื ่ อจะรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การค้าในอนาคต สถานทีเพื ่ ออ านวยความสะดวกด้านหนังสือเดินทางของกัมพูชา มีลักษณะชั ่วคราว เป็นตู ้คอนเทนเนอร์จากช่องสะง า


-36-ถึงอ าเภออัลลองเวง จังหวัดอุดรมีชัยของกัมพูชา ระยะทาง 15 กม. ใช้เวลาเดินทาง 20 นาที สภาพถนนอยู่ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าจะเสร็จในเดือนธันวาคม 2549 ห่างจากด่านประมาณ 1-2 กม.มีการก่อสร้างอาคารบ่อนการพนัน บนเนินเขา ที ่อ าเภออัลลองเวงมีสถานที ่ส าคัญคือ บ้านของนายพลตาม็อก อดีตผู ้น าเขมรแดง ซึ ่ งจังหวัดอุดรมีชัยพยายามส่งเสริมให้เป็นสถานที ่ท่องเที ่ยวทางประวัติศาสตร์ จากการสอบถามเจ้าหน้าที ่เฝ้ าอาคาร ทราบว่ามีชาวกัมพูชา และนักท่องเที ่ยวแวะมาเยี ่ยมชมสถานที ่ แต่ไม่มีมัคคุเทศก์ไว้เป็นประจ า เพื ่ อเล่าเรื ่ องราวทางประวัติศาสตร์ มีเพียงข้าราชการมาให้การต้อนรับ และเล่าเรื ่ องราวต่างๆ ตามแต่โอกาสการเดินทางจากอ าเภออัลลองเวงไปยังเสียมราฐ ระยะทาง 120 กม. ใช้เวลาเดินทาง 2 ชั ่วโมง 30นาที สภาพถนนเป็นดินแดงอัดบดแน่น บางช่วงเป็นหลุมเป็นบ่อ มีสะพานข้ามเป็นช่วงๆ สองข้างทางส่วนใหญ่เป็นป่ าละเมาะ มีบ้านเป็นระยะๆ 2-3 ช่วง มีการปลูกพืชไร่ไม่มากนัก ได้ทราบข้อมูลว่าเป็นกลุ ่มหมู่บ้านเกิดใหม่ ที ่รัฐบาลส่งเสริมให้มาตั ้งบ้านเรือนโดยแบ่งที ่ ดินให้ถือครองหน้ากว้างของที ่ดินประมาณ 30เมตร ยาวไปด้านหลังไม่จ ากัด การตั ้งบ้านเรือนจึงมีห่างกัน บางครอบครัวแบ่งขายที ่ดิน เพื ่ อใช้เป็นทุนในการสร้างบ้านการเดินทางจากจังหวัดเสียมราฐ-จังหวัดบันเตียเมียนเจย ระยะทาง 101 กม. ถนนราดยาง ช ารุดทรุดโทรม เป็นหลุมบ่อเป็นระยะทางยาวประมาณ 31 กม. ต่อจากนั ้นเป็นถนนดินแดง ขรุขระ เป็นหลุม บ่อยาวประมาณอีก 70 กม. ท าให้การเดินทางใช้เวลานานถึง 2 ชั ่วโมง 30 นาที สองข้างทางเป็นทุ่งนา ปลูกข้าวและสินค้าเกษตรเป็นช่วงๆ ผ่านหมู่บ้านเล็กๆ 4-5 หมู่บ้าน มีหมู่บ้านที ่แกะสลักหิน ซึ ่ งอาจพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ได้ ถนนบางช่วง มีการปักเสาไฟฟ้ าแต่ยังไม่ได้เดินสายไฟ จากการสอบถามทราบว่าไฟฟ้ าจะมาจากฝั ่งไทยทางด้านจังหวัดสระแก้วการเดินทางจากจังหวัดบันเตียเมียนเจย-ด่านปอยเปต ระยะทาง 48 กม. ใช้เวลาเดินทาง 45 นาทีเป็นถนนราดยาง ที ่เป็นหลุม เป็นบ่อ ตลอดเส้นทาง สองข้างทางเป็นทุ่งนา มีบ้านเรือนหนาแน่นขึ ้น เส้นทางหมายเลข 68 จากชายแดนไทย-ส าโรง และกราลัต (ช่องจอม จังหวัดสุรินทร์-เชื ่ อมต่อมาถึงเสียมราฐ)


-37-รายละเอียดเส้นทางจากกรุงเทพฯ-กรุงพนมเปญ-กรุงเทพฯ (วนรอบทะเลสาป)เส้นทาง ระยะทาง (กม.) เวลาเดินทาง สภาพเส้นทางกรุงเทพฯ–สระแก้ว 230 2 ชม. 45 นาที ดีสระแก้ว–อรัญประเทศ 50 40 นาที ดีปอยเปต–บันเตียเมียนเจย 52 1 ชม. ราดยางแต่เป็นหลุมเป็นบ่อบันเตียเมียนเจย-พระตะบอง 55 55 นาที พอใช้ได้พระตะบอง–โพธิสัต 100 1 ชม. 20 นาที ทางลาดยางค่อนข้างดีโพธิสัต–กัมปงชนัง 90 1 ชม. 45 นาที ทางไม่ดีก าลังก่อสร้างกัมปงชนัง–พนมเปญ 83 1 ชม. 15 นาที ถนนดี แต่รถเยอะ โดยเฉพาะรถจักรยานยนต์พนมเปญ-กัมปงจาม 128 2 ชม. ถนนดี แต่รถเยอะ โดยเฉพาะรถจักรยานยนต์และเกวียนกัมปงจาม-กัมปงธม 147 2 ชม. 30 นาที ถนนไม่ดี ส่วนใหญ่เป็นดินแดงกัมปงธม-เสียมเรียบ 180 2 ชม. 25 นาที ถนนไม่ดี ส่วนใหญ่เป็นดินแดงเสียมเรียบ-บันเตียเมียนเจย 123 3 ชม. 10 นาที ถนนพอใช้ 30 กม. ถนนแย่มากประมาณ 90 กม.10.5.3 เส้นทางเชื ่อมโยงระหว่างไทย-กัมพูชา ทางอากาศปัจจุบันมีเที ่ยวบินไป-กลับ กรุงเทพ–พนมเปญ–กรุงเทพ วันละ 6 เที ่ยวบินเป็นของบริษัท การบินไทย (TG) 2 เที ่ยวบิน การบินกรุงเทพฯ (PG) 3 เที ่ยวบิน และแอร์เอเซีย (FD) 1 เที ่ยวบิน และมีเที ่ยวบินไป-กลับ กรุงเทพ–เสียมราฐ–กรุงเทพ ของการบินกรุงเทพฯ วันละ 4–6 เที ่ยวบิน1. การบินไทย1.1 กรุงเทพฯ-พนมเปญEffective PeriodDep.TimeArr.TimeDayMo Tu We Th Fr Sa SuFlightNumber Stops& ConnectionTravelTime(hh:mm)02Jun 07 – 27 Oct 07 0750 0905 TG696 0 1:15 -02 Jun 07 – 27 Oct 07 1810 1925 TG698 0 1:15 -Effective Period1.2 พนมเปญ-กรุงเทพฯDep.TimeArr.TimeDayMo Tu We Th Fr Sa SuFlightNumber Stops& ConnectionTravelTime(hh:mm)02 Jun 07 – 27 Oct 07 1005 1110 TG697 0 1:05 -02 Jun 07 – 27 Oct 07 2025 2130 TG699 0 1:05 -ViaVia


2. บางกอกแอร์เวย์2.1 กรุงเทพฯ-พนมเปญ มีทุกวัน07.40-08.50 น. PG 93118.15-19.25 น. PG 9352.2 พนมเปญ-กรุงเทพฯ มีทุกวัน09.40-10.50 น. PG 93220.10-21.20 น. PG 9362.3 กรุงเทพฯ-เสียมราฐ มีทุกวัน08.00-09.00 น. PG 90308.30-09.30 น. PG 91111.10-12.25 น. PG 90514.45-16.00 น. PG 91317.50-19.05 น. PG 90718.30-19.30 น. PG 90919.00-20.15 น. PG 9152.4 เสียมราฐ-กรุงเทพฯ มีทุกวัน09.50-10.45 น. PG 92413.00-14.10 น. PG 90614.55-16.05 น. PG 91419.30-20.25 น. PG 91219.40-20.50 น. PG 90820.10-21.00 น. PG 91020.45-21.55 น. PG 9163. แอร์เอเชีย3.1 กรุงเทพฯ-พนมเปญ มีทุกวัน07.00-08.10 น. FD 36123.2 พนมเปญ-กรุงเทพฯ มีทุกวัน08.40-09.50 น. FD 3613-38-11. บทวิเคราะห์กัมพูชาเป็นประเทศที ่เพิ ่ งเปิ ดมาประมาณ 20 ปี หลังจากมีสงครามยืดเยื ้อมานาน ท าให้ระบบเศรษฐกิจเพิ ่ งฟื ้ นตัว ยังต้องปรับปรุงกฎ ระเบียบด้านต่างๆ รวมทั ้งด้านการค้าอีกมาก การค้ายังไม่เป็นระบบสากล กฎระเบียบและมาตรการต่างๆ ด้านการค้ายังมีการเปลี ่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และอ านาจต่างๆ ยังไม่กระจายออกไปสู ่ส่วนภูมิภาค ปัจจุบันไทยได้สนับสนุนการก่อสร้างเส้นทางคมนาคมเพื ่ อเชื ่ อมโยงจังหวัดชายแดนไปยังกรุง


้่-39-พนมเปญ และเชื ่ อมต่อไปยังเวียดนาม ซึ ่ งสามารถเป็นทางผ่านสินค้าไปสู ่ประเทศจีน เพื ่ อขยายตลาดการค้าได้อีกช่องทางหนึ ่ ง11.1 ข้อเสนอแนะแนวทางในการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับกัมพูชาในระยะสั ้น11.1.1 การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทางการค้าในระยะสั ้นไทยควรแก้ไขปัญหาต่างๆ ที ่เป็นอุปสรรคทางการค้า โดยเฉพาะปัญหาที ่เรื ้อรังมานานก่อนเช่น ปัญหาเรื ่ องพื ้นที ่ทับซ้อน บริเวณชายแดน ซึ ่ งท าให้การค้าการลงทุนต้องชะลอออกไป ฯลฯแนวทางที ่ 1 ใช้เวทีการเจรจาทวิภาคีทั ้งการประชุม JC และ JTCแนวทางที ่ 2 ใช้ความร่วมมือส่งเสริมการค้าชายแดนระหว่างภาครัฐบาลกับภาคเอกชน ทั ้งนี ้ ภาคเอกชนโดยเฉพาะหอการค้าจังหวัดชายแดนเป็นผู ้ที ่มีบทบาทส าคัญในการผลักดันการเพิ ่ มมูลค่าการค้าชายแดน โดยภาครัฐประกอบด้วยกระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที ่เกี ่ยวข้องในการอ านวยความสะดวกทางการค้า เช่นกรมศุลกากร กองทัพบก และภาคเอกชนประกอบด้วยหอการค้าจังหวัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัด โดยควรมีการประชุมหารือเพื ่ อร่วมมือกันก าหนดมาตรการส่งเสริมการค้าชายแดน และแก้ไขปัญหาที ่เป็นอุปสรรคต่อการค้าชายแดนแนวทางที ่ 3 การจัดกิจกรรมร่วม การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงานในจังหวัดตามแนวชายแดนประกอบด้วยผู ้แทนจากฝ่ ายไทยและพม่าทั ้งจากส่วนกลางและชายแดนทั ้งนี ้ ควรจัดให้มีการประชุมพบปะหารือ/Business Matching ระหว่างภาคเอกชนไทย-กัมพูชาเพื ่ อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนด้วยกัน ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน และระหว่างภาครัฐของทั ้งสองฝ่ าย11.1.2 การก าหนดแผนงานการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้า1) การประชุมหารือกันในระดับนโยบาย (ระดับรัฐมนตรีและผู้บัญชาการเหล่าทัพ)โดยใช้เวทีการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื ่ อให้นโยบายต่างๆ ด าเนินการไปในทิศทางเดียวกัน เพื ่ อบรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้ าหมายที ่วางไว้ เช่น นโยบายช่วยเหลือประเทศเพื ่ อนบ้าน เน้นพื ้นทีตามแนวชายแดนเพื ่ อให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ดี และเกิดการค้าขายระหว่างกันมากขึ ้น จากนั ้นจึงพิจารณาแนวทางในระดับปฏิบัติให้สอดคล้องกัน ซึ ่ งอาจใช้เวทีการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื ่ อนบ้าน (อพบ.) ซึ ่ งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ทั ้งนีจ าเป็นต้องมีการติดตามผลการด าเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายอย่างจริงจังและต่อเนื ่ องกรณีตัวอย่างเช่น ตามแนวชายแดนหน่วยราชการแต่ละหน่วยจะมีนโยบายที ่ไม่สอดคล้องกัน ฝ่ ายทหารจะเน้นความมั ่นคง ปราบปรามยาเสพติด ซึ ่ งเป็นนโยบายหลัก ฝ่ ายพาณิชย์เน้นขยายปริมาณการค้าให้มากที ่สุด แต่ฝ่ ายทหารจะคุมตามแนวชายแดนทั ้งหมด การค้าตามแนวชายแดนจึงเกิดความไม่คล่องตัวเพราะด้วยเหตุผลของ “ความมั ่นคง” เป็นต้น เช่น ในกรณีพื ้นที ่ทับซ้อนตามแนวชายแดนของอ าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ท าให้ยังไม่สามารถเปิ ดจุดผ่านแดนถาวรแห่งใหม่ คือ บ้านป่ าไร่-โอเนียงได้


-40-2) การบูรณาการงานด้านการพาณิชย์ เพื ่อเพิ ่มประสิทธิภาพในการส่งเสริมการค้าและการลงทุนการบูรณาการงานพาณิชย์ โดยเฉพาะการค้าชายแดน ได้แก่ กรมการค้าต่างประเทศ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก กองบริหารพาณิชย์ภูมิภาค ส านักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ และพาณิชย์จังหวัดตามแนวชายแดน โดยร่วมกันวางแผนเพื ่ อเพิ ่ มประสิทธิภาพในการส่งเสริมการค้าและการลงทุนกับประเทศเพื ่ อนบ้าน สร้างความรู ้ ความเข้าใจเกี ่ยวกับการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานทั ้งส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค ให้สอดคล้องกับนโยบายบูรณาการด้านการพาณิชย์ของกระทรวงฯ ท าให้พาณิชย์จังหวัดได้เข้าใจต่อบทบาทเชื ่ อมโยงกิจกรรม/กรอบความตกลงต่างๆ ที ่เกี ่ยวข้องกับประทศเพื ่ อนบ้านเพื ่ อการน าผลไปปฏิบัติ นโยบายและกิจกรรมต่อเนื ่ องของกระทรวงฯ เชื ่ อมโยงกับกิจกรรมที ่เกี ่ยวข้องของจังหวัด3) แนวทางการด าเนินงานในระยะยาว(3.1) การใช้ยุทธศาสตร์รองน ายุทธศาสตร์หลัก เช่น ใช้การท่องเที ่ยวน าการค้า(3.2) พัฒนาการรับส่งข้อมูลข่าวสาร โดยการถ่ายทอดให้ถึงระดับผู ้ปฏิบัติให้ทันเหตุการณ์เพื ่ อสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง เช่น กรณีมีการประชุมอาเซียน หากมีการลดภาษี หรือการลดมาตรการที ่มิใช่ภาษี ผู ้เกี ่ยวข้องในด้านนั ้นๆ ต้องถ่ายทอดผลการเจรจาให้ผู ้ร่วมงานได้ทราบ ทั ้งในระดับกรม หน่วยงานส่วนภูมิภาค และหน่วยงานตามแนวชายแดน(3.3) พัฒนาปัจจัยขั ้นพื ้นฐาน11.2 การส่งเสริมการค้าชายแดน11.2.1 ควรมีการปรับปรุงแก้ไขกฎ ระเบียบการค้าชายแดนให้เหมาะสม เช่น การกระจายอ านาจในการอนุญาตส่งออกและน าเข้าสินค้าให้หน่วยงานในพื ้นที ่มากขึ ้น เช่น กระทรวงเกษตรฯ เพื ่ อรองรับ Onestop Service11.2.2 ควรพิจารณาให้ความช่วยเหลือในเรื ่ องสินค้าเกษตรกรรมที ่กัมพูชาผลิตได้ โดยการสร้างมูลค่าเพิ ่ มให้กับสินค้าเกษตร นอกเหนือจากการลดภาษีสินค้าเกษตร 23 รายการให้แก่กัมพูชา11.2.3 ส่งเสริมให้มีการท าการค้าชายแดนในระบบ และร่วมมือกันปราบปรามการลักลอบท าการค้าที ่ผิดกฎหมายระหว่างกัน11.2.4 ใช้เวทีการปะชุม JTC เพื ่ อเป็นเวทีในการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในระดับทวิภาคี โดยให้มีผู ้แทนภาคเอกชนร่วมด้วย และส่งเสริมให้มีการแลกเปลี ่ ยนการเยือนในทุกระดับเพื ่ อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างกัน11.2.5 รัฐบาลไทยควรให้การส่งเสริม/สนับสนุน/ให้ค าปรึกษา แก่ภาคเอกชน ในการเข้าไปท าธุรกิจในกัมพูชาเพื ่ อลดความเสี ่ยง และร่วมกันแก้ไขปัญหาการค้าชายแดน11.2.6 ควรมีการจัดแสดงสินค้าไทย ณ ประเทศกัมพูชาอย่างสม ่าเสมอ เพื ่ อขยายตลาดการค้าโดยเน้นเฉพาะสินค้าที ่ผลิตในประเทศไทยและเป็นผลิตผลของคนไทย


-41-12. ข้อมูลทั ่วไป12.1 การท าวีซ่า1) นักการทูต และข้าราชการไม่ต้องท าวีซ่า2) นักธุรกิจและนักท่องเที ่ยว- สามารถท า on Arrival ได้ โดยผู ้เดินทางต้องเตรียมรูปถ่าย 2 ใบ ขนาดตั ้งแต่ 1-2 นิ ้วพร้อมเงิน 20 เหรียญสหรัฐ- หากผู ้เดินทางมีความประสงค์จะท า Visa จากทางประเทศไทย เฉพาะคนไทยเสียค่าใช้จ่าย20 เหรียญสหรัฐ หรือ 1,000 บาท เอกสารเตรียมเหมือนกัน ใช้เวลา 2-3 วัน12.2 ค่าภาษีสนามบิน1) เสียมราฐ-กรุงเทพฯ 8 เหรียญสหรัฐ2) พนมเปญ-กรุงเทพฯ 20 เหรียญสหรัฐ3) พนมเปญ-เสียมราฐ 10 เหรียญสหรัฐ4) เสียมราฐ-พนมเปญ 6 เหรียญสหรัฐส านักอาเซียนกุมภาพันธ์ 2553

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!