30.07.2015 Views

๑๐๐ ปีศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี บูรพาจารย์แห่งโบ

๑๐๐ ปีศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี บูรพาจารย์แห่งโบ

๑๐๐ ปีศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี บูรพาจารย์แห่งโบ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

๑๐๐ ปี ศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี บูรพาจารย์แห่งโบราณคดีไทย จัดทำโดย ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรเดินตามรอยเท้า “ครูชิน อยู่ดี”| ดอนตาเพชร |การขุดค้นแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร พ.ศ.๒๕๑๗เป็นงานวิจัยที่สำคัญที่แสดงเห็นการติดต่อระยะแรกระหว่างอินเดียกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะเวียดนาม• โครงการวิจัยเรื่องการค้าแรกเริ่มระหว่างอินเดียกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยศาสตราจารย์เอียน โกรปเวอร์ จากสถาบันโบราณคดี มหาวิทยาลัยลอนดอนประเทศสหราชอาณาจักร ร่วมกับนายนวรัตน์ มงคลคำนวณเขตต์ จากกรมศิลปากร ทำการขุดค้นที่แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร ระหว่างพ.ศ. ๒๕๒๗-๒๘• โครงการขุดค้นแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชรเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ โดยสำนักศิลปากรที่ ๒จังหวัดสุพรรณบุรี (๒๕๔๓)| โบราณโลหวิทยา |งานเขียนเรื่องยุคโลหะ ได้สะท้อนความคิดเห็นในเรื่องพัฒนาการของโลหกรรมในประเทศไทยที่เกิดขึ้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือก่อนและกระจายไปยังภาคกลางภายหลัง• โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาแหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์กับการใช้โลหะในบริเวณจังหวัดราชบุรีและบริเวณใกล้เคียง โดย ผศ.ชาติชาย ร่มสนธิ์และคณะมหาวิทยาลัยศิลปากร (๒๕๓๐-๓๑)• โครงการโบราณคดีประเทศไทย (ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ดำเนินการโดยฝ่ายวิชาการ กองโบราณคดี กรมศิลปากร ระหว่างปีพ.ศ. ๒๕๒๕-๓๐• โครงการวิจัยเรื่องโบราณโลหวิทยา โดยเป็นความร่วมมือระหว่างไทย-มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย(สุรพล นาถะพินธุและดร.วินเซนต์ พิกก๊อทท์ ดำเนินการสำรวจและขุดค้นแหล่งโบราณคดีในจังหวัดลพบุรีและเลย ระหว่างปีพ.ศ.| ภาพเขียนสี |ความสนใจเกี่ยวกับภาพเขียนสีเริ่มจากการทำงานร่วมกับคณะสำรวจเดนมาร์ก เมื่อค้นพบแหล่งโบราณคดีถ้ำรูป เขาเขียวในจังหวัดกาญจนบุรีเป็นครั้งแรก และต่อมาพบหลายแห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาจารย์เขียนรวมเป็นบทความเรื่อง ภาพเขียนสีผนังถ้ำสมัยก่อนประวัติศาสตร์• โครงการโบราณคดีประเทศไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ดำเนินการโดยฝ่ายวิชาการ กองโบราณคดี กรมศิลปากร ระหว่างปีพ.ศ. ๒๕๒๕-๓๐ นักโบราณคดีที่ค้นคว้าอย่างต่อเนื่องคือพเยาว์ เข็มนาค และอาจารย์พิสิฐ เจริญวงศ์• โครงการวิจัยเรื่องภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยศาสตราจารย์ปรีชา กาญจนาคม ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (๒๕๒๑)• โครงการจัดพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับศิลปะถ้ำในภาคต่างๆ โดยฝ่ายวิชาการ กองโบราณคดีกรมศิลปากร ตีพิมพ์ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๑-๓๕ | ชาติพันธุ์วิทยาทางโบราณคดี |งานค้นคว้าทางด้านชาติพันธุ์ที่โดดเด่น คือเรื่องเผ่าชอง ในจังหวัดจันทบุรี และมูลกำเนิดของคนชวง ในประเทศจีน• โครงการวิจัยเรื่องวัฒนธรรมโหบินเนียนในประเทศไทย (ภาคเหนือ) และการศึกษาชาติพันธุ์วิทยาทางโบราณคดี ชนกลุ่มน้อยมลาบรีหรือผีตองเหลือง จังหวัดน่าน โดย ศาสตราจารย์ ดร. สุรินทร์ ภู่ขจร จากภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร (๒๕๒๗-๓๒)• โครงการวิจัยเรื่องวัฒนธรรมโหบินเนียนในประเทศไทย (ภาคใต้) และการศึกษาชาติพันธุ์วิทยาทางโบราณคดี ชนกลุ่มน้อยเผ่าซาไก จังหวัดตรัง โดย ศาสตราจารย์ ดร. สุรินทร์ ภู่ขจร จากภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร(๒๕๓๔-๓๘)• โครงการศึกษาชาติพันธุ์วรรณนาทางโบราณคดีของกลุ่มคนบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เป็นโครงการย่อยภายใต้การดูแลของโครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ระยะทีสอง) โดยอุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูลปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(๒๕๔๖-๔๙)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!