22.11.2016 Views

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 ASEAN CONNECT

แถลงข่าววันที่ 16 มีนาคม 2559 ดูวีดีโอวันแถลงข่าว: https://www.youtube.com/watch?v=3vy-iPZDdFQ Download ISSUU: https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_2 Download Powerpoint สรุปรายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 2: http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-12559-2 Download Powerpoint สรุป ASEAN Connect ความเชื่อมโยงการท่องเที่ยวอาเซียน: http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-asean-connect Thailand Tourism Economic Review 2. Press conference on March 16, 2016

แถลงข่าววันที่ 16 มีนาคม 2559 ดูวีดีโอวันแถลงข่าว: https://www.youtube.com/watch?v=3vy-iPZDdFQ

Download ISSUU:
https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_2

Download Powerpoint สรุปรายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 2:
http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-12559-2

Download Powerpoint สรุป ASEAN Connect ความเชื่อมโยงการท่องเที่ยวอาเซียน:
http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-asean-connect


Thailand Tourism Economic Review 2. Press conference on March 16, 2016

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงาน<br />

2 <strong>ฉบับที่</strong><br />

ต.ค. - ธ.ค. 2558<br />

<strong>ASEAN</strong><br />

<strong>CONNECT</strong> :<br />

ความเชื่อมโยง<br />

การทองเที่ยวอาเซียน<br />

การทองเที่ยวทางน้ำ<br />

กับการพัฒนา<br />

การทองเที่ยวไทย<br />

นักทองเที่ยวโลก<br />

ป 2558 แตะ 1,200 ลานคน<br />

โต 4.4% จีนเที่ยวอันดับ 1<br />

ตางชาติเที่ยวไทยพ่ง<br />

คาดไตรมาสที่ 1/2559<br />

เกิน 8.5 ลานคน<br />

อาเซียนเที่ยวไทย<br />

ยังมีศักยภาพสูง<br />

จีนเที่ยวไทย<br />

โตไมหยุดสวนเศรษฐกิจจีน


<strong>ASEAN</strong><br />

<strong>CONNECT</strong><br />

บทบรรณาธิการ<br />

31 ธันวาคม 2558 เป็นวันที่ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ซึ่งประกอบไปด้วย<br />

ประเทศไทย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยม<br />

เวียดนาม สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ และ<br />

อินโดนีเซีย ได้เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ <strong>ASEAN</strong> Economic Community<br />

(AEC) อย่างสมบูรณ์แบบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม<br />

ภายใต้คำขวัญของอาเซียน คือ “One Vision, One Identity,<br />

One Community” นั่นหมายถึงอาเซียนต้องการ<br />

รวมกันเป็นหนึ่งเดียว สำหรับประเทศไทยก็ได้<br />

กำหนดบทบาทของประเทศในอาเซียนไว้<br />

รองรับกับหลักการอาเซียนดังกล่าวในฐานะ<br />

“ประตูสู่อาเซียน” ด้วยปัจจัยทางด้าน<br />

ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และความพร้อมของ<br />

โครงสร้างพื้นฐาน<br />

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นสาขา<br />

ที่อาเซียนให้ความสนใจในลำดับต้นๆ<br />

และตั้งเป้าที่จะ ให้เป็นจุดหมายปลายทางเดียวกัน (Single<br />

Tourist Destination) คือ นักท่องเที่ยวไม่เพียงแค่เดินทางมาท่องเที่ยวประเทศใด<br />

ประเทศหนึ่งเท่านั้น แต่ยังท่องเที่ยวเชื่อมโยงไปสู่ประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน และเพื่อ<br />

ให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว อาเซียนได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวอาเซียน<br />

ปี 2554-2558 และปี 2559-2568 เป็นกรอบการทำงานของประเทศสมาชิกที่เน้น<br />

การบูรณาการและการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อ<br />

สิ่งแวดล้อม การรักษาคุณค่ามรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม การทำตลาดร่วมกัน<br />

สำหรับสินค้าทางด้านการท่องเที่ยวใหม่ๆ เช่น การท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม<br />

การท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวทางเรือสำราญ (Cruise) เป็นต้น<br />

รายงานภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<strong>ฉบับที่</strong> 2 จึงขอนำเสนอข้อมูล ความเคลื่อนไหว และ<br />

บทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับ <strong>ASEAN</strong> ด้านการท่องเที่ยว โดยให้ความสำคัญกับหลักการ<br />

แนวคิดการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Connect) ที่อาเซียน<br />

ร่วมกันกำหนดขึ้นและมีความก้าวหน้าของการทำงานในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะทางด้าน<br />

ระบบคมนาคมขนส่งเชื่อมต่อระหว่างกันอันเป็นปัจจัยหลักของการท่องเที่ยวในภูมิภาค<br />

ซึ่งรวมถึงทางทะเลที่เป็นสินค้าทางการท่องเที่ยวเป้าหมายของอาเซียนและเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ในยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยวในด้านการพัฒนาเชิงพื้นที่และ<br />

รายสาขา ภายใต้ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 อย่างเช่นการท่องเที่ยว<br />

ทางเรือสำราญขนาดใหญ่ (Cruise) และการท่องเที่ยวทางเรือยอร์ช (Yacht) เป็นต้น<br />

นอกจากนั้น ยังมีการนำเสนอข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการท่องเที่ยวต่อ<br />

เศรษฐกิจของประเทศไทยในรูปแบบบัญชีประชาชาติด้านการท่องเที่ยว (Tourism Satellite<br />

Account: TSA) ประกอบด้วยรายการต่างๆ อาทิ ผลิตภัณฑ์มวลรวมทางตรงด้านการ<br />

ท่องเที่ยว (TDGDP) การจ้างงาน เป็นต้น<br />

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้สนใจทุกท่าน หากมีข้อติชมประการใด ทีมบรรณาธิการยินดี<br />

และพร้อมที่จะรับฟังเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความสมบูรณ์มากขึ้นสำหรับนำไปใช้<br />

ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางต่อไป<br />

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา


สารบัญ<br />

02 หน้าเปิดเรื่อง<br />

03 สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก ปี 2558<br />

12 สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติ<br />

ในประเทศไทย ปี 2558<br />

24 แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว<br />

ไตรมาสที่ 1 ปี 2559 และปี 2559<br />

25 บทบาทของการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจของประเทศ<br />

26 12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

30 <strong>ASEAN</strong> Connect กับการท่องเที่ยวไทย<br />

48 การท่องเที่ยวทางน้ำ<br />

กับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

62 ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

<strong>ฉบับที่</strong> 2<br />

ตุลาคม - ธันวาคม 2558<br />

คณะที่ปรึกษา:<br />

นายพงษ์ภาณุ เศวตรุณห์<br />

ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

นางสาววรรณสิริ โมรากุล<br />

รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

นายนเร เหล่าวิชยา<br />

รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

บรรณาธิการอำนวยการ:<br />

นางสาววรรณสิริ โมรากุล<br />

รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

48<br />

24<br />

26<br />

03<br />

กองบรรณาธิการ:<br />

คณะทำงานพัฒนาข้อมูลรายงานภาวะเศรษฐกิจ<br />

การท่องเที่ยวรายไตรมาส เพื่อสนับสนุนขีดความสามารถ<br />

ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)<br />

สำนักเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

สำนักปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

จัดทำโดย:<br />

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

เลขที่ 4 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมมนัส<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100<br />

ภายใต้โครงการรายงานภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

รายไตรมาส เพื่อสนับสนุนขีดความสามารถ<br />

ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)<br />

บริษัท เอ็กเซลเลนท์ บิสเนส แมเนจเมนท์ จำกัด


ปี 2558 มีนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างประเทศ<br />

รวมทั้งสิ้นสูงถึง 1.184 ล้านคน<br />

ขยายตัวร้อยละ 4.4 โดยภูมิภาคต่างๆ มีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น<br />

ยกเว้นทวีปแอฟริกา จีนยังคงเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยว<br />

เดินทางไปเที่ยวประเทศอื่นสูงสุด ตรงกันข้ามกับรัสเซีย บราซิล<br />

เยอรมนี อิตาลี และออสเตรเลียที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางไปเที่ยว<br />

ต่างประเทศลดลงและชะลอการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวลง ในขณะที่<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวโลกในปี 2559 ถูกคาดการณ์ไว้ว่าจะเพิ่มขึ้นในอัตรา<br />

ร้อยละ 4 และคาดว่า GDP ด้านการท่องเที่ยวโลกในปี 2559 จะเพิ่มขึ้น<br />

ร้อยละ 3.6 มากกว่าการเพิ่มขึ้นของปีที่ผ่านมาเพียงเล็กน้อย จากการขยายตัว<br />

ของการลงทุนด้านการท่องเที่ยวเป็นหลัก1<br />

สถานการณ์การท่องเที่ยวชาวต่างชาติของไทยในไตรมาสที่ 4 เติบโตในอัตราไม่สูงนัก<br />

แต่เมื่อรวมทั้งปี 2558 ขยายตัวสูงกว่าร้อยละ 20<br />

ในไตรมาสที่ 4 มีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 7.76 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.73 ก่อให้เกิดรายได้ด้านการท่องเที่ยว<br />

จำนวน 387.52 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.70 เทียบกับไตรมาสเดียวกันในปี 2557 ซึ่งนักท่องเที่ยวในไตรมาสที่ 4 ขยายตัว<br />

น้อยกว่าช่วง 3 ไตรมาสที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามปี 2558 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติรวม 29.88 ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 20.44 เป็นผลจาก<br />

การขยายตัวของนักท่องเที่ยวเอเชียตะวันออกที่สูงถึงร้อยละ 36.07 ในขณะที่นักท่องเที่ยวยุโรปหดตัวร้อยละ 8.65 ตามการลดลงของ<br />

นักท่องเที่ยวรัสเซีย รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2558 มีมูลค่าทั้งสิ้น 1,447.16 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 23.39 เทียบ<br />

กับปี 2557 โดยนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก สร้างรายได้เเก่ไทยมากที่สุด 759.58 พันล้านบาท<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในไตรมาสแรกของปี 2559<br />

ในไตรมาสที่ 1 ปี 2559 จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติประมาณ 8.9 ล้านคน ชาวไทยท่องเที่ยวในประเทศ 37.1 ล้านคน-ครั้ง<br />

และสร้างรายได้ประมาณ 6.62 แสนล้านบาท<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียขยายตัวสูงด้วยตัวเลขสองหลัก<br />

ในปี 2558 จำนวนนักท่องเที่ยวอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.74 จากปี 2557 และขยายตัวเป็นตัวเลขสองหลักมาตั้งแต่ปี 2555 ยกเว้น<br />

ปี 2557 ที่ลดลงร้อยละ 8.8 ก่อให้เกิดรายได้ให้กับประเทศไทยในปี 2558 เท่ากับ 221.41 พันล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.30<br />

ของรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติทั้งหมด โดยนักท่องเที่ยวจากมาเลเซีย สปป.ลาว และสิงคโปร์ นิยมมาเมืองไทยมากที่สุด 3 อันดับแรก<br />

การชะลอตัวทางเศรษฐกิจของจีนไม่เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยวจีน<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวของจีนยังคงครองอันดับหนึ่งของจำนวนนักท่องเที่ยวทั่วโลกในปี2558 และคาดว่าจะต่อเนื่องไปจนถึงปี2559 โดยมี<br />

ปัจจัยเสริมที่สำคัญ คือ การลดค่าเงินของสกุลยูโรและเงินเยน รวมทั้งการผ่อนคลายเรื่องการขอวีซ่าของหลายประเทศให้กับนักท่องเที่ยว<br />

จีน สำหรับประเทศไทยนักท่องเที่ยวจีนยังคงครองอันดับหนึ่งด้วยจำนวนที่สูงถึง 7.9 ล้านคนในปี 2558 สร้างรายได้ให้กับประเทศไทย<br />

มูลค่าเกือบ 4 แสนล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.98 ของรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด<br />

1ที่มา: UNWTO<br />

02 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

“ปี 2558 นักท่องเที่ยวโลกโตกว่าร้อยละ 4 แตะ 1.2 พันล้านคน โดยนักท่องเที่ยวจีน<br />

ยังครองอันดับ 1”<br />

ปี 2558 มีนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างประเทศ<br />

รวมทั้งสิ้นสูงถึง 1.184 พันล้านคน<br />

ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 4.4 โดยมี<br />

นักท่องเที่ยวจีนท่องเที่ยวต่างประเทศมากเป็น<br />

อันดับ 1 นำหน้านักท่องเที่ยวจากสหรัฐอเมริกา<br />

และสหราชอาณาจักร<br />

องค์การการท่องเที่ยวโลก หรือ UNWTO ได้รายงานจำนวน<br />

นักท่องเที่ยวโลกตลอดทั้งปี 2558 มีจ ำนวนสูงถึง 1.184 พันล้านคน<br />

เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 จากปี 2557 ซึ่งนับเป็นปีที่ 6 ที่การขยายตัวของ<br />

นักท่องเที่ยวโลกสูงกว่าค่าเฉลี่ย นับตั้งแต่วิกฤติเศรษฐกิจโลก<br />

ในปี 2553 เป็นต้นมา เมื่อพิจารณาทิศทางการท่องเที่ยวโลกในปี 2558<br />

ในรายภูมิภาค สามารถสรุปได้ว่า<br />

ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาประมาณ<br />

277 ล้านคน เพิ่มขึ้น 13 ล้านคนจากปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นในอัตรา<br />

ร้อยละ 5 โดยประเทศในแถบโอเชียเนียมีนักท่องเที่ยวเดินทาง<br />

เข้ามาเพิ่มขึ้นในอัตราสูงสุด คือ ร้อยละ 7 ส่วนประเทศในแถบเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต้มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเพิ่มขึ้นร้อยละ 5<br />

ตามมาด้วยประเทศในแถบเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 เท่ากัน<br />

ภูมิภาคอเมริกา มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาประมาณ 191 ล้านคน<br />

เพิ่มขึ้น 9 ล้านคนจากปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5 เท่ากับ<br />

ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของการเที่ยว<br />

ภายในภูมิภาคเดียวกันอย่างประเทศในแถบคาริบเบียนและอเมริกา<br />

กลาง ที่มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 7 ในขณะที่ประเทศใน<br />

แถบอเมริกาใต้และอเมริกาเหนือมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 4<br />

ภูมิภาคยุโรป มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาประมาณ 609 ล้านคน<br />

เพิ่มขึ้น 29 ล้านคนจากปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5<br />

ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นในแถบยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกที่มี<br />

นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นในอัตราสูงสุด คือ ร้อยละ 6 เทียบกับปีก่อนหน้า<br />

ที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาลดลง เช่นเดียวกับประเทศใน<br />

แถบยุโรปเหนือที่มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 6 ตามด้วยยุโรป<br />

แถบเมดิเตอร์เรเนียนตอนใต้และยุโรปตะวันตกที่มีนักท่องเที่ยว<br />

เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 และร้อยละ 4 ตามลำดับ<br />

ภูมิภาคตะวันออกกลาง มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาประมาณ<br />

54 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จากปี 2557<br />

ภูมิภาคแอฟริกา มีจำนวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาประมาณ<br />

53 ล้านคน ลดลงร้อยละ 3 จากปี 2557 โดยแถบแอฟริกาเหนือมี<br />

นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาลดลงถึงร้อยละ 8<br />

ที่มา : UN World Tourism Organization. UNWTO World Tourism Barometer. Volume 14. January 2016<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong> 03


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

Source : 2 UN World Tourism Organization. UNWTO World Tourism Barometer. Volume 14. January 2016<br />

ชาวจีนเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศมากเป็น<br />

อันดับที่ 1<br />

จีนยังคงเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางไปเที่ยวต่างประเทศ<br />

จำนวนมากอันดับหนึ่ง รองลงมา คือ นักท่องเที่ยวจากสหรัฐอเมริกา<br />

และสหราชอาณาจักร ตามลำดับ นอกจากนี้ การใช้จ่ายด้านการ<br />

ท่องเที่ยวในต่างประเทศของนักท่องเที่ยวจีนขยายตัวสูงในอัตราที่เป็น<br />

ตัวเลขสองหลักมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2547 ส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่น<br />

ไทย สหรัฐอเมริกา และหลายประเทศในยุโรปที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว<br />

ยอดนิยมของนักท่องเที่ยวจีนได้รับประโยชน์กันทั่วหน้า<br />

สำหรับนักท่องเที่ยวจากสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรได้รับ<br />

ปัจจัยบวกจากภาวะเศรษฐกิจที่ดีขึ้นและค่าเงินที่แข็งค่าขึ้น จึงท ำให้<br />

มีการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวในต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 9 และ<br />

ร้อยละ 6 ตามลำดับ ซึ่งต่างจากนักท่องเที่ยวรัสเซีย บราซิล เยอรมนี<br />

อิตาลี และออสเตรเลีย ที่ประสบปัญหาเศรษฐกิจในประเทศทำให้<br />

นักท่องเที่ยวเดินทางไปเที่ยวต่างประเทศลดลง และชะลอการใช้จ่าย<br />

ด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะรัสเซีย และบราซิล ที่ค่าเงินอ่อนค่าลง<br />

ค่อนข้างมาก ทำให้นักท่องเที่ยวจากทั้ง 2 ประเทศลดการใช้จ่าย<br />

ด้านการท่องเที่ยวลงอย่างชัดเจน<br />

จำนวน และสัดสวนนักทองเที่ยวโลกป 2015<br />

Asia and the<br />

Pacific, 277 mn,<br />

23%<br />

Europe, 609 mn, 51%<br />

Source : World Tourism Organization (UNWTO)@<br />

Americas, 191 mn,<br />

16%<br />

Africa, 53 mn, 5%<br />

Middle East,<br />

54 mn, 5%<br />

04 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

International Tourist Arrivals (%Change over same period of the previous year)<br />

10 10<br />

14*/13 15*/14<br />

5<br />

6<br />

4.2 4.4 4<br />

2<br />

6<br />

7 7<br />

5<br />

4<br />

3<br />

5<br />

6<br />

7<br />

4 4<br />

5<br />

7 7<br />

6<br />

7 7<br />

4<br />

1<br />

-1<br />

-1<br />

3<br />

-6<br />

-5<br />

-8<br />

World<br />

Northern Europe<br />

Western Europe<br />

Central/Eastern<br />

Eu.<br />

Southern/Medit.<br />

Europe<br />

North-East Asia<br />

South-East Asia<br />

Oceania<br />

South Asia<br />

North America<br />

Caribbean<br />

Central America<br />

South America<br />

North Africa<br />

Subsaharan<br />

Africa<br />

Middle East<br />

Source : World Tourism Organization (UNWTO)@<br />

คาดการณ์ปี 2559 จำนวนนักท่องเที่ยวโลก<br />

มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ย<br />

ร้อยละ 4 และมีบทบาทสำคัญต่อการเติบโต<br />

ของเศรษฐกิจโลกในอัตราที่สูงกว่าเดิมเล็กน้อย<br />

การท่องเที่ยวโลกในปี 2559 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง จากการเปิด<br />

เผยของหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญด้านการท่องเที่ยวของโลก 2 แห่ง<br />

คือ องค์การการท่องเที่ยวโลก (UNWTO) และสภาการท่องเที่ยวและ<br />

การเดินทางโลก (World Travel & Tourism Council (WTTC))<br />

โดยผลการสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นด้านการท่องเที่ยวขององค์การ<br />

การท่องเที่ยวโลกปี 2559 คาดว่า จำนวนนักท่องเที่ยวโลกจะขยายตัว<br />

ร้อยละ 4 โดยภูมิภาคที่คาดว่าจะเติบโตสูงสุดมี 2 ภูมิภาค คือ ภูมิภาค<br />

เอเชียและแปซิฟิก และภูมิภาคอเมริกา<br />

สภาการท่องเที่ยวและการเดินทางโลกคาดว่า ในปี 2559 ผลิตภัณฑ์<br />

มวลรวมประชาชาติด้านการเดินทางและการท่องเที่ยวโลกมีแนวโน้ม<br />

ขยายตัวร้อยละ 3.6 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2558 ที่ขยายตัวร้อยละ<br />

3.5 ซึ่งเป็นการขยายตัวด้านการลงทุนด้านการท่องเที่ยวเป็นหลัก<br />

สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อมั่นของผู้ลงทุนในภาคการท่องเที่ยว ขณะที่<br />

รายจ่ายด้านการท่องเที่ยวแม้ว่าจะยังคงขยายตัว แต่มีระดับความ<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

05


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

สำคัญที่ต่ำกว่าการลงทุนด้านการท่องเที่ยว<br />

มองจีน...นักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดในโลก<br />

ภาวะการชะลอตัวลงทางเศรษฐกิจของจีน<br />

สวนทางกับการหลั่งไหลไปเที่ยวต่างประเทศ<br />

ของนักท่องเที่ยวจีน<br />

ตั้งแต่ช่วงปลายเดือนสิงหาคมปี 2558 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันข่าว<br />

เกี่ยวกับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจและความผันผวนของตลาดหุ้น<br />

ของประเทศจีนซึ่งเป็นยักษ์ใหญ่ทางเศรษฐกิจอันดับสองของโลก<br />

รองจากสหรัฐอเมริกา กลายเป็นหัวข้อข่าวพาดหัวในหนังสือพิมพ์<br />

ต่างๆ ทั่วโลก และเป็นประเด็นที่มีการหยิบยกมาพูดคุยในการประชุม<br />

Annual Meeting of New Champions ประจำปีของ WEF (World<br />

รวมทั้งจำนวนการจองทัวร์ต่างประเทศผ่านตัวแทน<br />

ท่องเที่ยวออนไลน์ของจีนที่มีอัตราเพิ่มขึ้นเป็นตัวเลขสองหลัก<br />

แสดงให้เห็นว่านักท่องเที่ยวชาวจีนเพิ่มขึ้นสวนกระแสการชะลอตัว<br />

ทางเศรษฐกิจของประเทศ<br />

โดยมีปัจจัยที่เกื้อหนุนการท่องเที่ยวต่างประเทศของนักท่องเที่ยวจีน<br />

อาทิ การลดลงของค่าเงินสกุลยูโรและเงินเยนทำให้ความสามารถ<br />

จับจ่ายใช้สอยของคนจีนในสินค้าสูงขึ้น และการผ่อนคลายเรื่อง<br />

การขอวีซ่าของบางประเทศ อาทิ สหราชอาณาจักรที่เพิ่งประกาศ<br />

ลดค่าวีซ่าของนักท่องเที่ยวชาวจีนจาก 324 ปอนด์เหลือ 85 ปอนด์<br />

สำหรับวีซ่า 2 ปี เพื่อให้แข่งขันได้กับฝรั่งเศสและเยอรมนี ที่มี<br />

การผ่อนปรนในการขอวีซ่าให้กับนักท่องเที่ยวจีนไปแล้วก่อนหน้า<br />

อย่างไรก็ตาม สัดส่วนประชากรจีนที่ครอบครองหนังสือเดินทาง<br />

มีสัดส่วนไม่มาก คือมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 6 ของจ ำนวนประชากร<br />

Economic Forum) ณ เมืองต้าเหลียน ประเทศจีน ระหว่างวันที่<br />

9-11 กันยายน 2558 โดยที่ประชุมยังเชื่อว่า จีนจะยังคงมีศักยภาพ<br />

ทางเศรษฐกิจ แต่การเติบโตจะลดลงในระยะสั้นจากตัวเลขสองหลัก<br />

ในช่วงที่ผ่านมาเป็นร้อยละ 6-7 หรืออย่างเลวร้ายที่สุดคือ อยู่ระหว่าง<br />

ร้อยละ 3-4 หรือต่ำกว่า การชะลอตัวทางเศรษฐกิจและความผันแปร<br />

ทางการเงินของจีนได้ส่งผลทางลบไปทั่วโลก<br />

นักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางไปเที่ยวต่างประเทศมีมากเป็นอันดับหนึ่ง<br />

ของโลก และมีการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวในต่างประเทศสูงเป็น<br />

อันดับหนึ่งเช่นกัน โดยมูลค่ารวมทั้งสิ้นประมาณ 165 พันล้านดอลลาร์<br />

สหรัฐฯ ในปี 2557 การชะลอตัวทางเศรษฐกิจของจีนถูกมองว่าอาจ<br />

ส่งผลกระทบทำให้จำนวนและการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวจีนที่เดิน<br />

ทางไปต่างประเทศลดลง แต่เมื่อพิจารณาจากข้อมูลที่รายงานโดย<br />

UNWTO พบว่า จำนวนนักท่องเที่ยวจีนในปี 2558 ยังคงเพิ่มขึ้น<br />

และยังครองอันดับหนึ่ง และจากรายงานของศุลกากรเมืองเซี่ยงไฮ้<br />

จำนวนคนจีนที่เดินทางไปต่างประเทศในช่วงปีใหม่สูงเกือบ 1 แสนคน<br />

06 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

World Total Travel & Tourism Growth 2015<br />

Total<br />

T&T GDP<br />

Annual update 2015<br />

Mid-year update 2015<br />

3.7% 3.5% 3.7%<br />

3.7%<br />

3.4% 3.4%<br />

Direct<br />

T&T GDP<br />

Source : Oxford Economics<br />

Domestic<br />

T&T spending<br />

2.8% 2.9%<br />

Visitor<br />

exports<br />

4.8%<br />

4.1%<br />

T&T<br />

investment<br />

3<br />

World travel Tourism Council (WTTC). Economic Impact of Travel &<br />

Tourism 2015. Autumn Nov. 2015


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

ทั้งหมด เปรียบเทียบกับสัดส่วนของประชากรชาวอเมริกัน<br />

ที่ครอบครองหนังสือเดินทาง ซึ่งมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 46<br />

จากรายงานของเว็บไซต์ sina.com พบว่า พฤติกรรมการท่องเที่ยว<br />

ของชาวจีนในช่วงตรุษจีนเปลี่ยนไป จากเดิมที่นิยมเดินทางกลับสู่<br />

บ้านเกิดเพื่อเฉลิมฉลองเทศกาลตรุษจีนร่วมกับครอบครัว/ญาติมิตร<br />

หรือการท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นท่องเที่ยวต่างประเทศกับ<br />

ครอบครัวในช่วงเทศกาลตรุษจีนมากขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลจากฐานะ<br />

ทางเศรษฐกิจของประชาชนชาวจีนที่ดีขึ้น โดยผู้ให้บริการท่องเที่ยว<br />

ของจีน คือ LY.com และ Tuniu.com คาดว่า การท่องเที่ยวของ<br />

ชาวจีนในช่วงเทศกาลตรุษจีนปีนี้ จะเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ<br />

มากกว่าร้อยละ 60<br />

นอกจากนี้ ยังให้ความเห็นว่า ความสนใจของนักท่องเที่ยวจีน<br />

ในปัจจุบันมีความหลากหลายมากขึ้น จากเดิมที่นักท่องเที่ยวจีนเน้น<br />

ท่องเที่ยว ช้อปปิ้ง และถ่ายรูป จะมีความต้องการที่เฉพาะเจาะจง<br />

มากขึ้น เช่น<br />

• การท่องเที่ยวเรือสำราญ ซึ่งเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวใหม่ส ำหรับ<br />

ชาวจีน ที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น โดยในช่วงตรุษจีนปีนี้<br />

การท่องเที่ยวเรือสำราญขยายตัวสูงถึงร้อยละ 39.64 (LY.com)<br />

จากปีก่อนหน้า<br />

• นักท่องเที่ยวจีนยังมีแนวโน้มให้ความสำคัญต่อสถานพักแรม<br />

ที่มีคุณภาพ โดยในช่วงตรุษจีนปีนี้ นักท่องเที่ยวจีนส่วนใหญ่<br />

คือ กว่าร้อยละ 60 จองโรงแรมระดับ 4 ดาวขึ้นไป<br />

• นักท่องเที่ยวจีนมีแนวโน้มกระจายตัวไปท่องเที่ยวยังประเทศต่างๆ<br />

มากกว่า 100 ประเทศ รวมถึงแอนตาร์กติกา<br />

บทบาทตลาดนักท่องเที่ยวจีนกับ<br />

การท่องเที่ยวไทย<br />

นักท่องเที่ยวจีนมีบทบาทค่อนข้างสูงต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว<br />

ของไทย จากข้อมูลของกรมการท่องเที่ยว ในปี 2558 พบว่ามี<br />

นักท่องเที่ยวจีนเดินทางมายังประเทศไทยรวมทั้งสิ้น 7,934,791 คน<br />

ซึ่งสูงเป็นอันดับหนึ่ง โดยคิดเป็นร้อยละ 26.55 ของนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติทั้งหมดที่เดินทางมายังประเทศไทย สร้างรายได้ด้าน<br />

ท่องเที่ยวให้ประเทศไทยคิดเป็นมูลค่าประมาณ 376,001.37 ล้านบาท<br />

คิดเป็นร้อยละ 25.98 ของรายได้ด้านการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติทั้งหมดที่เดินทางมายังประเทศไทย<br />

ดังนั้น ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของจีนจึงไม่มีผลต่อการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

07


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

ของไทย เมื่อพิจารณาจากจำนวนและค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว<br />

จีนที่เดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2558 ที่ยังคงเพิ่มขึ้นใน<br />

อัตราสูง ประกอบกับผลการสำรวจของ China Outbound Tourism<br />

Statistics พบว่า แนวโน้มการเดินทางของนักท่องเที่ยวจีนจะ<br />

ยังคงเพิ่มขึ้นในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุผลหลายประการ<br />

อาทิ ความสะดวกในการขอวีซ่า และวันหยุดยาวในเทศกาลสำคัญ<br />

ประกอบกับ ประเทศไทยยังเป็นจุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยว<br />

ยอดนิยมอันดับหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของคนจีน<br />

และเป็นอันดับ 5 ของโลก รองจากเกาหลีใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น และ<br />

ฮ่องกง ปัจจัยสำคัญที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวจีนเดินทางมาเที่ยวไทย คือ<br />

ความชื่นชอบในความเป็นธรรมชาติของแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล<br />

ของไทย รวมทั้งความนิยมในอาหารทะเลที่ขึ้นชื่อของไทย<br />

สำหรับผลกระทบทางอ้อม คือ ประเทศต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบ<br />

โดยตรงจากเศรษฐกิจที่แท้จริง (Real Sector) และการลงทุนโดยตรง<br />

จากจีน อาจจะส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวจากประเทศเหล่านั้นเดินทาง<br />

มายังประเทศไทยลดลง ได้แก่ นักท่องเที่ยวจากยุโรป สหรัฐอเมริกา<br />

และญี่ปุ่น แต่คาดว่าผลกระทบจะไม่รุนแรงเท่ากับในช่วงเศรษฐกิจ<br />

ตกต่ำของยุโรปเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมา และน่าจะส่งผลกระทบเพียง<br />

ในระยะสั้นเท่านั้น<br />

การจองออนไลน์เป็นแนวโน้มที่ได้รับความนิยมมากขึ้น กว่าครึ่งหนึ่ง<br />

ของนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางไปเที่ยวต่างประเทศ วางแผนท่องเที่ยว<br />

และทำการจองผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นใจ<br />

ของนักท่องเที่ยวจีนต่อธุรกรรมออนไลน์ของจีน<br />

สำหรับนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทยใน<br />

ตรุษจีนปีนี้ มากกว่าร้อยละ 60 ของนักท่องเที่ยวจีนจองโรงแรมระดับ 4 ดาว<br />

และกระจายตัวไปยังประเทศต่างๆ มากกว่า 100 ประเทศ<br />

ช่วงตรุษจีนปีนี้ (วันที่ 8–13 กุมภาพันธ์ 2559) มีจ ำนวนไม่ต่ำกว่า<br />

240,000 คน หรือขยายตัวร้อยละ 40 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่<br />

ผ่านมา และตลอดทั้งเดือนกุมภาพันธ์มีนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้า<br />

มายังประเทศไทยจำนวนกว่า 958,000 คน ซึ่งสูงเป็นประวัติการณ์<br />

ความเคลื่อนไหวในประเทศเพื่อนบ้าน<br />

มาเลเซียเดินหน้าพัฒนาการท่องเที่ยวด้วย<br />

ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน<br />

มาเลเซียมีนโยบายและจัดทำโครงการสำคัญๆ ที่ดำเนินการร่วมกัน<br />

ระหว่างภาครัฐและเอกชน ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อสร้างความ<br />

มั่นใจในการเติบโตของภาคการท่องเที่ยว โดยดำเนินการมาตั้งแต่<br />

ปี 2557 ต่อเนื่องมาถึงปี 2558 อาทิ การวางต ำแหน่งประเทศมาเลเซีย<br />

ให้เป็นแหล่งช้อปปิ้งสินค้าปลอดภาษีส ำหรับนักท่องเที่ยว ด้วยความ<br />

ร่วมมือกับสมาคมผู้ค้าปลีกในการจัดกิจกรรมลดราคาส่งท้ายปีตาม<br />

08 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

Outlet และศูนย์การค้าต่างๆ การกำหนดให้เมืองบูกิตบินตัง และ<br />

กัวลาลัมเปอร์ เป็นศูนย์กลางแห่งการช้อปปิ้งระดับโลก ด้วยการจัด<br />

กิจกรรมการแข่งรถกรังปรีซ์ การปิดถนนเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เดิน<br />

ช้อปปิ้งอย่างสะดวก การจัดตั้ง Outlet สินค้าระดับพรีเมี่ยม แหล่งที่<br />

สองของประเทศที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

การพัฒนาสู่ความเป็นศูนย์กลางความหลากหลายทางชีวภาพ<br />

(Malaysia Mega Biodiversity Hub) การสร้างศูนย์การค้นคว้า<br />

ป่าฝน (Rainforest) เพื่อเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางด้านการ<br />

ศึกษาและส่งเสริมเครือข่ายความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ<br />

การพัฒนารีสอร์ทแบบครบวงจร จำนวน 2 แห่ง คือ โครงการประตู<br />

สู่ Melaka เพื่อสร้างเกาะท่องเที่ยว และที่เมือง Rawang ที่มีการ<br />

สร้างสถานที่แสดงคอนเสิร์ตขนาดใหญ่และรองรับการจัดประชุมและ<br />

นิทรรศการระหว่างประเทศ รวมทั้งพื้นที่ส ำหรับ Theme Park การ<br />

พัฒนาการท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญขนาดใหญ่ (Cruise Tourism)<br />

ด้วยการปรับปรุงท่าเรือเดิม 6 แห่งและร่วมลงทุนกับบริษัท<br />

เดินเรือระหว่างประเทศในการสร้างท่าเทียบเรือแห่งใหม่ที่ Melaka<br />

การสนับสนุนการจัดงานแสดงโชว์และนิทรรศการ โดยเฉพาะจากต่าง<br />

ประเทศให้เป็นอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐานชั้นน ำของโลก การจัดสร้าง<br />

เขตพื้นที่แห่งความบันเทิง ในปีนังให้เป็นภัตตาคารระดับหรูบนทะเล<br />

การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของ<br />

อุตสาหกรรมสปาให้ดีขึ้น โดยการจัดระดับและการรับรองคุณภาพของ<br />

สปาในประเทศ การพัฒนาการท่องเที่ยวกีฬากอล์ฟ (Golf Tourism)<br />

โดยการจัดกิจกรรมการแข่งขันกอล์ฟหลายรายการและบางรายการ<br />

จัดเป็นประจำทุกปี การสนับสนุนให้มาเลเซียเป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง<br />

ธุรกิจชั้นนำของโลก ด้วยการสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กร<br />

จัดงานประชุมและนิทรรศการระดับนานาชาติ เร่งสร้างความเชื่อมโยง<br />

ทางอากาศกับตลาดการท่องเที่ยวที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก<br />

(Medium-Haul) การปรับปรุงอัตราค่าโรงแรมให้สอดคล้องกับ<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

09


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

คุณภาพ สนับสนุนให้สร้างโรงแรมระดับ 4 และ 5 ดาว กระจายไป<br />

ยังเมืองท่องเที่ยวหลักของประเทศ โดยการให้สิทธิประโยชน์ด้าน<br />

ภาษี จากการพัฒนาการท่องเที่ยวที่เป็นระบบและมีจุดหมายชัดเจน<br />

มาเลเซียจึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจในอนาคตสำหรับการ<br />

ท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน<br />

ท่องเที่ยวเมียนมาหลังการเลือกตั้ง<br />

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเมียนมามีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศไม่มากนัก โดยในปี 2557 ขนาดเพียงร้อยละ 2.2 ของ<br />

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) แต่เป็นอุตสาหกรรมที่เติบโต<br />

อย่างรวดเร็วหลังจากมีการเปิดประเทศเสรีมากขึ้นในปี 2555 ซึ่งมี<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ 1.06 ล้านคน และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง<br />

มาจนถึงปี 2557 ที่มีจ ำนวน 3.08 ล้านคน เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 71.85<br />

ต่อปี ซึ่งนับว่าเป็นการขยายตัวที่สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นใน<br />

ภูมิภาค ทั้งนี้ นักท่องเที่ยวของเมียนมาเป็นนักท่องเที่ยวจากภูมิภาค<br />

เอเชียจำนวนมากสุดถึงร้อยละ 71.4 โดยมีนักท่องเที่ยวไทยครอง<br />

อันดับหนึ่งในสัดส่วนร้อยละ 17.5 รองลงมาได้แก่ จีน ญี่ปุ่น<br />

สหรัฐอเมริกา เป็นต้น<br />

นโยบายด้านการท่องเที่ยวของเมียนมาที่ให้ความสำคัญกับการ<br />

ท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ และ การท่องเที่ยวที่มีส่วนร่วมของชุมชน<br />

จะช่วยเสริมให้ความสดใหม่ของแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและ<br />

วัฒนธรรมในเมียนมาคงสภาพอยู่ได้อย่างยั่งยืน และเป็นจุดขาย<br />

หรือจุดสนใจสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ประกอบกับตัวเลขการ<br />

ลงทุนทางด้านท่องเที่ยวของเมียนมาที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในกิจการ<br />

โรงแรม ศูนย์การค้าและการบันเทิง จากนักลงทุนชาวสิงคโปร์ ไทย<br />

ญี่ปุ่น ฮ่องกง มาเลเซีย และเวียดนามแล้ว จึงกล่าวได้ว่า อุตสาหกรรม<br />

การท่องเที่ยวเมียนมามีอนาคตสดใส<br />

อย่างไรก็ตาม เมียนมายังต้องเจอปัจจัยทางลบต่อการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศ อาทิ ข้อจำกัดทางด้านกฎหมาย<br />

สำหรับนักลงทุนต่างชาติ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ รองรับ<br />

นักท่องเที่ยวยังไม่ได้มาตรฐานเท่าที่ควร โดยเฉพาะโรงแรมและที่พัก<br />

10 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

ที่ปัจจุบันมีเพียงกว่า 30,000 ห้อง ซึ่งร้อยละ 30 อยู่ในเมืองหลวง<br />

และได้มาตรฐานสากลเพียง 1 ใน 4 รวมทั้งปัญหาความขัดแย้งทาง<br />

ชาติพันธุ์จากความเชื่อทางศาสนาที่แตกต่างกัน เป็นต้น<br />

แต่ข้อจำกัดดังกล่าวในอนาคตจะถูกแก้ไขและส่งผลให้<br />

เมียนมาเป็นอีกประเทศที่น่าจับตามองทางการท่องเที่ยว เป็นประเทศ<br />

ที่มีศักยภาพทางทรัพยากรทางการท่องเที่ยว และมีอาณาเขตติดกับ<br />

ตลาดขนาดใหญ่ถึง 2 ตลาด ได้แก่ อินเดีย และจีน<br />

โดยสรุป การท่องเที่ยวยังคงมีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจโลก<br />

และอาเซียน ด้วยการเพิ่มขึ้นของจำนวนนักท่องเที่ยวในอัตรา<br />

สูงกว่าเฉลี่ยอย่างต่อเนื่องติดต่อกันมากว่า 5 ปี โดยส่วนใหญ่<br />

เป็นการท่องเที่ยวในประเทศแถบภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก<br />

อเมริกา และยุโรป ตลาดหลักเป็นนักท่องเที่ยวจีนที่ครองอันดับ<br />

หนึ่งแซงหน้านักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื่นๆ ที่เคยนำหน้าอย่าง<br />

เช่น นักท่องเที่ยวจากสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร<br />

จากการเติบโตดังกล่าวส่งผลให้หลายประเทศต่างให้ความสำคัญ<br />

กับการส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในฐานะเป็นกลไกหลัก<br />

ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการกำหนดมาตรการ<br />

และจัดทำโครงการที่เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว<br />

ในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นในเรื่องของความร่วมมือ อาทิ มาเลเซียที่<br />

เน้นความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนเพื่อขยายการลงทุน<br />

ทางด้านปัจจัยพื้นฐาน หรือเมียนมาที่ให้ความส ำคัญกับการมีส่วนร่วม<br />

ของชุมชนในการบริหารจัดการและอนุรักษ์ธรรมชาติและวัฒนธรรม<br />

เพื่อเป็นจุดขายสำคัญของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

11


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวของ<br />

ชาวต่างชาติในประเทศไทย ปี 2558<br />

“ปี 2558 ต่างชาติเที่ยวไทย 29.9 ล้านคน สร้างรายได้กว่า 1.44<br />

ล้านล้านบาท”<br />

ไตรมาส 4/2558P ตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติ ขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ไตรมาส 4/2558 ตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติของไทยยังคงขยายตัวต่อเนื่องจาก 3 ไตรมาสแรก<br />

ของปี 2558 แต่ในอัตราที่ชะลอตัวลง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเปรียบเทียบกับฐานที่สูงในช่วงเดียวกัน<br />

ของปีก่อนหน้า และผลกระทบจากเหตุระเบิดในกรุงเทพฯ ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นด้านความ<br />

ปลอดภัยในการเดินทางท่องเที่ยว สำหรับนักท่องเที่ยวที่มีจ ำนวนมากที่สุด 3 อันดับแรกของไทย<br />

ได้แก่ จีน มาเลเซีย และเกาหลีใต้<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวต่างชาติของไทยในไตรมาส 4/2558 ขยายตัวต่อเนื่องจาก<br />

3 ไตรมาสแรกของปี 2558 ในอัตราที่ชะลอตัวลง รายได้ด้านการท่องเที่ยวทั้งหมดจาก<br />

นักท่องเที่ยวต่างชาติของไทยเป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออก ร้อยละ 46.96<br />

รองลงมา คือ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปในสัดส่วนร้อยละ 33.05 โดยนักท่องเที่ยวที่สร้าง<br />

รายได้สูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ จีน รัสเซีย และมาเลเซีย<br />

12 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

จำนวนและรายได้จากการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2558P<br />

ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558<br />

หนวย : คน<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

9,000,000<br />

8,000,000<br />

7,000,000<br />

6,000,000<br />

5,000,000<br />

4,000,000<br />

3,000,000<br />

2,000,000<br />

1,000,000<br />

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2556<br />

2557<br />

จำนวนนักทองเที่ยว<br />

รายไดจากการทองเที่ยว<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

450,000<br />

400,000<br />

350,000<br />

300,000<br />

250,000<br />

200,000<br />

150,000<br />

100,000<br />

50,000<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

ประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมาประเทศไทยมากที่สุด 10 อันดับแรก ในไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : คน<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

1,819,086<br />

จำนวนรวม 10 ประเทศ : 5,174,215 คน<br />

% Share : 66.63 %<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

917,649<br />

381,546<br />

337,729<br />

325,232<br />

304,623<br />

279,221<br />

277,011<br />

270,955<br />

261,163<br />

China (% Share 23.43%)<br />

+ 20.49<br />

Malaysia (% Share 11.82%) + 2.81<br />

Korea (% Share 4.91%) + 27.01<br />

Japan (% Share 4.35%) -3.27<br />

Laos (% Share 4.19%) + 17.72<br />

Russia (% Share 3.92%) - 36.79<br />

India (% Share 3.60%) + 10.04<br />

Singapore (% Share 3.57%) - 15.85<br />

United Kingdom (% Share 3.49%) + 8.67<br />

USA (% Share 3.36%) + 17.27<br />

ประเทศที่นักท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้ประเทศไทยมากที่สุด 10 อันดับแรก ในไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : ลานบาท<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

85,626.90<br />

รายไดรวม 10 ประเทศ : 249,036 ลานบาท<br />

% Share : 64.26 %<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

23,345.07<br />

23,101.07<br />

19,811.99<br />

19,385.27<br />

17,606.21<br />

16,758.96<br />

15,416.50<br />

14,099.45<br />

13,884.53<br />

China (% Share 22.10%)<br />

+ 28.92<br />

Russia (% Share 6.02%)<br />

- 35.53<br />

Malaysia (% Share 5.96%)<br />

+ 7.95<br />

USA (% Share 5.11%)<br />

+ 23.13<br />

United Kingdom (% Share 5.00%)<br />

+ 10.84<br />

Australia (% Share 4.54%)<br />

+ 0.01<br />

Germany (% Share 4.32%)<br />

+ 11.53<br />

Korea (% Share 3.98%)<br />

+ 33.36<br />

France (% Share 3.64%)<br />

+ 8.73<br />

Japan (% Share 3.58%) + 1.56<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

13


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

โครงสร้างตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

ของไทย ไตรมาส 4/2558P<br />

ไตรมาส 4/2558 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามายัง<br />

ประเทศไทยจำนวน 7,765,515 คน ขยายตัวร้อยละ 3.73<br />

ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับการขยายตัวร้อยละ 24.91 ในไตรมาส<br />

ก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากการปรับฐานนักท่องเที่ยวจาก<br />

ปีก่อนหน้า และเหตุระเบิดบริเวณแยกราชประสงค์ในเดือน<br />

สิงหาคมที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม คาดว่าตลาดนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติมีแนวโน้มจะขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยมีปัจจัยบวกที่สำคัญ คือ<br />

ราคาโดยสารเครื่องบินที่ลดลงตามราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก<br />

การขยายตัวและการแข่งขันของสายการบินต้นทุนต่ ำในหลายประเทศ<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีจำนวนนักท่องเที่ยว 4,907,253 คน<br />

ขยายตัวร้อยละ 8.76 ขยายตัวลดลงจากร้อยละ 32.60<br />

ในไตรมาสที่แล้ว ตามการขยายตัวที่ชะลอลงของนักท่อง<br />

เที่ยวเกือบทุกประเทศจากเหตุระเบิดบริเวณแยกราชประสงค์<br />

โดยเฉพาะจีน และฮ่องกง ที่ได้รับผลกระทบรุนแรง ตลอดจน<br />

ผลจากการปรับฐานจำนวนนักท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวในช่วงเวลา<br />

เดียวกันของปีก่อนหน้า นอกจากนี้ การแข่งขันที่รุนแรงในตลาด<br />

ท่องเที่ยวโลกเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวจีนเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อ<br />

ระดับการขยายตัวของนักท่องเที่ยวจีนของไทย เช่น การผ่อนปรน<br />

กฎระเบียบและค่าธรรมเนียมการออกหนังสือเดินทาง (Visa) ให้แก่<br />

นักท่องเที่ยวจีนของประเทศในภูมิภาคยุโรป และการกำหนด<br />

เป้าหมายการเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวจีนของประเทศต่างๆ<br />

เช่น เกาหลีใต้ คิวบา กัมพูชา เป็นต้น ส่งผลให้ประเทศปลายทาง<br />

ยอดนิยมของนักท่องเที่ยวจีนเดิมหลายแห่งมีส่วนแบ่งตลาด<br />

นักท่องเที่ยวจีนลดลง เช่น มาเก๊า และฮ่องกง เป็นต้น<br />

ภูมิภาคยุโรป มีจำนวนนักท่องเที่ยว 1,688,338 คน หดตัว<br />

ร้อยละ 7.84 จากเดิมที่ขยายตัวร้อยละ 1.36 ในไตรมาสที่แล้ว<br />

ตามการลดลงของนักท่องเที่ยวรัสเซียที่ยังคงประสบปัญหา<br />

เศรษฐกิจภายในประเทศ อย่างไรก็ตามนักท่องเที่ยวจาก<br />

ตลาดหลักในภูมิภาคยุโรป เช่น สหราชอาณาจักร เยอรมนี<br />

ฝรั่งเศส สวีเดน ต่างปรับตัวเพิ่มขึ้น และคาดว่าจะดีขึ้น<br />

ต่อเนื่องถึงต้นปี 2559<br />

ภูมิภาคอื่นๆ มีจำนวนนักท่องเที่ยว 1,169,924 คน ขยายตัว<br />

ร้อยละ 2.41 ขยายตัวลดลงจากร้อยละ 12.64 ในไตรมาสที่แล้ว<br />

จากการปรับฐานจำนวนนักท่องเที่ยวในช่วงเวลาเดียวกันของ<br />

ปีก่อนหน้า รวมถึงการหดตัวของนักท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกกลาง<br />

และการชะลอตัวของนักท่องเที่ยวออสเตรเลีย ซึ่งเป็นประเทศผู้ส่งออก<br />

สินค้าโภคภัณฑ์ที่ประสบปัญหารายได้จากการส่งออกหดตัวและ<br />

อัตราแลกเปลี่ยนอ่อนค่า ที่บางส่วนเปลี่ยนปลายทางท่องเที่ยวไปยัง<br />

แหล่งท่องเที่ยวอื่น เช่น เกาะบาหลี เป็นต้น เนื่องจากอยู่ใกล้และมี<br />

ราคาถูกกว่าไทย<br />

14 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : คน<br />

9,000,000<br />

8,000,000<br />

7,000,000<br />

6,000,000<br />

5,000,000<br />

4,000,000<br />

3,000,000<br />

2,000,000<br />

1,000,000<br />

0<br />

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2556<br />

2557<br />

East Asia<br />

Europe<br />

Other<br />

Grand Total<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

+70.00<br />

+60.00<br />

+50.00<br />

+40.00<br />

+30.00<br />

+20.00<br />

+10.00<br />

+0.00<br />

-10.00<br />

-20.00<br />

-30.00<br />

Q1<br />

2556<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

ร้อยละของจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

80.00<br />

70.00<br />

60.00<br />

50.00<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

0.00<br />

Q1<br />

2556<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

15


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

วันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

ไตรมาส 4/2558P<br />

วันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาประเทศไทย<br />

ในช่วงไตรมาส 4 ปี 2558 ลดลงต่อเนื่องจากไตรมาสที่แล้ว โดยลดลง<br />

0.02 วัน เมื่อพิจารณาวันพักเป็นรายภูมิภาค พบว่า ทุกภูมิภาค<br />

มีวันพักเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่จ ำนวนวันพักเฉลี่ยรวมของทุกภูมิภาคลดลง<br />

เนื่องจากการเพิ่มขึ้นอย่างมากของสัดส่วนของนักท่องเที่ยวจาก<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกที่มีวันพักเฉลี่ยค่อนข้างสั้นประมาณ 6 วัน<br />

จำนวนวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : วัน<br />

20.00<br />

18.00<br />

16.00<br />

14.00<br />

12.00<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

2.00<br />

0.00<br />

Q1<br />

2556<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

16 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

เท่านั้น<br />

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

ไตรมาสที่ 4/2558P<br />

ไตรมาส 4/2558 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ<br />

5,238.27 บาท/วัน ขยายตัวร้อยละ 2.15 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วง<br />

เดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งชะลอการขยายตัวลงจากไตรมาสก่อน<br />

หน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.03 ตามการใช้จ่ายที่ชะลอตัวลงของนักท่อง<br />

เที่ยวจากทุกภูมิภาค<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออก นักท่องเที่ยวมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ<br />

5,692.80 บาท/วัน ขยายตัวร้อยละ 5.89 เมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ต่ำกว่าไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัว<br />

ร้อยละ 7.87 ตามการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวจีนที่ลดลง<br />

ภูมิภาคยุโรป นักท่องเที่ยวมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ 4,534.14 บาท/วัน<br />

หดตัวร้อยละ 1.92 จากเดิมที่ขยายตัวร้อยละ 2.73 ในไตรมาสที่แล้ว<br />

ตามการใช้จ่ายที่ลดลงของนักท่องเที่ยวรัสเซีย ซึ่งภาวะเศรษฐกิจ<br />

ยังคงมีอิทธิผลต่อการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว<br />

ภูมิภาคอื่นๆ นักท่องเที่ยวมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ 5,722.57 บาท/วันหด<br />

ตัวร้อยละ 1.66 จากเดิมที่ขยายตัวร้อยละ 3.21 ตามการใช้จ่ายที่ลดลง<br />

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ ไตรมาสที่ 1/2556 ถึง<br />

ไตรมาส 4/2558 P<br />

หนวย : บาท/คน/วัน<br />

7,000.00<br />

6,000.00<br />

5,000.00<br />

4,000.00<br />

3,000.00<br />

2,000.00<br />

1,000.00<br />

0.00<br />

Q1<br />

2556<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558 P<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

+12.00<br />

+10.00<br />

+8.00<br />

+6.00<br />

+4.00<br />

+2.00<br />

+0.00<br />

-2.00<br />

-4.00<br />

Q1<br />

2556<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

17


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

ของนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และแอฟริกา<br />

โครงสร้างรายได้ด้านการท่องเที่ยวจาก<br />

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ไตรมาส 4/2558P<br />

การใช้จ่ายในด้านต่างๆ ของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมายัง<br />

ประเทศไทยในช่วงไตรมาส 4/2558 ก่อให้เกิดรายได้ด้านการท่องเที่ยว<br />

แก่ประเทศไทย คิดเป็นมูลค่า 387,519.08 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ<br />

5.70 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งชะลอ<br />

การขยายตัวลงเมื่อเทียบกับการขยายตัวร้อยละ 31.58 ใน<br />

ไตรมาสที่แล้ว ตามการขยายตัวที่ชะลอลงของนักท่องเที่ยว<br />

จากทุกภูมิภาค โดยเฉพาะภูมิภาคยุโรปที่หดตัว ตามการลดลง<br />

ของรายได้จากนักท่องเที่ยวรัสเซีย สำหรับปัจจัยหลักที่มีผลกระทบ<br />

ต่อระดับการขยายตัวของรายได้ในไตรมาสที่ 4 ได้แก่ การปรับตัว<br />

ลดลงของจำนวนนักท่องเที่ยว และการเปรียบเทียบกับฐานที่สูงจาก<br />

การฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวในช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก สร้างรายได้<br />

181,965.65 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 15.94 เมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ขยายตัวลดลงเมือเทียบกับ<br />

ร้อยละ 50.69 ในไตรมาสที่แล้ว จากการชะลอตัวในเกือบ<br />

ทุกตลาด โดยเฉพาะตลาดหลัก เช่น จีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ เป็นต้น<br />

ทั้งนี้เป็นผลจาก 2 ปัจจัย คือ เป็นการเปรียบเทียบกับฐาน<br />

ที่สูงจากการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวในช่วงเวลาเดียวกันของ<br />

ปีก่อนหน้าที่ขยายตัวถึงร้อยละ 31.95 จากเดิมหดตัวต่อเนื่องตลอด<br />

3 ไตรมาสแรกของปี 2557 จึงส่งผลต่อระดับการขยายตัวในไตรมาสนี้<br />

นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวจีน ฮ่องกง มาเลเซีย ญี่ปุ่น บางส่วน<br />

ยังชะลอ/ยกเลิกการเดินทางเข้ามาจากเหตุระเบิดบริเวณ<br />

แยกราชประสงค์ในช่วงกลางเดือนสิงหาคม<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรป สร้างรายได้ 128,080.97 ล้านบาท<br />

หดตัวร้อยละ 5.77 จากไตรมาสที่แล้ว ตามรายได้จากนักท่องเที่ยว<br />

รัสเซียที่หดตัวต่อเนื่องนับจากต้นปี เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศ ขณะที่รายได้จากนักท่องเที่ยวตลาดหลักของภูมิภาคยุโรปยัง<br />

คงขยายตัว เช่น สหราชอาณาจักร เยอรมนี ฝรั่งเศส และสวีเดน เป็นต้น<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื่นๆ สร้างรายได้ 77,472.79 ล้านบาท<br />

ขยายตัวร้อยละ 5.03 ขยายตัวลดลงจากไตรมาสที่แล้ว<br />

จากการชะลอการขยายตัวในเกือบทุกภูมิภาค โดยเฉพาะ<br />

ภูมิภาคตะวันออกกลางที่หดตัวร้อยละ 9.27ตามการลดลงของ<br />

18 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : ลานบาท<br />

450,000.00<br />

400,000.00<br />

350,000.00<br />

300,000.00<br />

250,000.00<br />

200,000.00<br />

150,000.00<br />

100,000.00<br />

50,000.00<br />

-0.00<br />

Q1<br />

2556<br />

East Asia<br />

Other<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558P<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

+100.00<br />

+80.00<br />

+60.00<br />

+40.00<br />

+20.00<br />

+0.00<br />

-20.00<br />

-40.00<br />

Q1<br />

2556<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลด้านการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ส ำคัญ<br />

ไตรมาส 1/2556 ถึง ไตรมาส 4/2558<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

+50.00<br />

+40.00<br />

+30.00<br />

+20.00<br />

+10.00<br />

+0.00<br />

-10.00<br />

-20.00<br />

Q1<br />

2556<br />

จำนวนนักทองเที่ยว<br />

คาใชจายเฉลี่ย<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2557<br />

คืนพักนักทองเที่ยว<br />

รายได<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2 Q3P Q4P<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

19


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

จำนวนนักท่องเที่ยว ตลอดจนรายได้จากนักท่องเที่ยวภูมิภาค<br />

โอเชียเนียที่ขยายตัวลดลงมากตามการหดตัวของรายได้<br />

จากนักท่องเที่ยวออสเตรเลียที่เปลี่ยนไปท่องเที่ยวในพื้นที่อื่น<br />

ปี 2558 ตลาดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

พลิกฟื้น : ขยายตัวร้อยละ 20.44<br />

ตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติของไทยขยายตัวในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง<br />

ในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2558 และแม้ว่าจะชะลอการขยายตัวลง<br />

ในไตรมาส 4 แต่เมื่อพิจารณาในภาพรวมแล้ว ตลาดนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติของไทยในปี 2558 สามารถพลิกฟื้นกลับมาขยายตัวได้<br />

หลังจากที่หดตัวลงในปีก่อนหน้า โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

เดินทางมาประเทศไทยในปี 2558 รวมทั้งสิ้น 29,881,091 คน<br />

ขยายตัวร้อยละ 20.44 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาที่หดตัวร้อยละ 6.54<br />

หนวย : คน<br />

จากสถานการณ์ความไม่สงบภายในประเทศสะท้อนให้เห็นว่าความ<br />

เชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย<br />

กลับคืนมาในหมู่นักท่องเที่ยวต่างชาติ ทั้งนี้ เป็นผลจากการขยาย<br />

ตัวของนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกในอัตราที่สูงถึง<br />

ร้อยละ 36.07 ขณะที่นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปหดตัวร้อยละ 8.65<br />

ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการลดลงของนักท่องเที่ยวรัสเซีย<br />

การใช้จ่ายในด้านต่างๆ ของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทาง<br />

มาประเทศไทยในปี 2558 ก่อให้เกิดรายได้ด้านการท่องเที่ยว<br />

แก่ประเทศไทย 1,447,158.05 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ<br />

23.39 เทียบกับปีก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 2.85 โดยภูมิภาคที่<br />

สร้างรายได้มากที่สุด คือ ภูมิภาคเอเชียตะวันออก 759,583.60 ล้านบาท<br />

รองลงมาได้แก่ ภูมิภาคยุโรป อเมริกา โอเชียเนีย เอเชียใต้<br />

ตะวันออกกลาง และแอฟริกา ตามลำดับ<br />

จำนวนและรายได้จากการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2555 - 2558P<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

35,000,000<br />

30,000,000<br />

25,000,000<br />

20,000,000<br />

15,000,000<br />

10,000,000<br />

5,000,000<br />

0<br />

+ 16.24<br />

22,353,903<br />

2555 2556 2557 2558P<br />

จำนวน (คน)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปกอนหนา<br />

+ 18.76<br />

26,546,725<br />

24,809,683<br />

- 6.54<br />

29,881,091<br />

+ 20.44<br />

+25.00<br />

+20.00<br />

+15.00<br />

+10.00<br />

+5.00<br />

+0.00<br />

-5.00<br />

-10.00<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

หนวย : ลานบาท<br />

1,600,000.00<br />

1,400,000.00<br />

1,200,000.00<br />

1,000,000.00<br />

800,000.00<br />

600,000.00<br />

400,000.00<br />

200,000.00<br />

0.00<br />

หนวย : รอยละ (Y-o-Y)<br />

+ 26.76<br />

+30.00<br />

+ 22.69<br />

+ 23.39 +25.00<br />

+20.00<br />

1,172,798.17<br />

+15.00<br />

+10.00<br />

983,928.36<br />

1,207,145.82<br />

1,447,158.05<br />

+5.00<br />

+0.00<br />

- 2.85<br />

2555 2556 2557 2558P<br />

-5.00<br />

รายได (ลานบาท)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปกอนหนา (แกนขวา)<br />

หมายเหตุ : P ขอมูลเบื้องตน<br />

ที่มา : กรมการทองเที่ยว<br />

20 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของชาวต่างชาติในประเทศไทย<br />

จากสถานการณ์ท่องเที่ยวในไตรมาส 4/2558 ที่พบว่า ค่าโดยสาร<br />

เครื่องบินระหว่างประเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่กระตุ้นให้การเดินทาง<br />

ระหว่างประเทศขยายตัว<br />

ดังนั้น จึงควรพิจารณาปรับปรุงและขยายสนามบินในภูมิภาค<br />

ต่างๆ ให้สามารถรองรับเครื่องบินยกระดับเป็นสนามบิน<br />

นานาชาติได้มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้มีเส้นทางการบินที่เชื่อมต่อ<br />

ระหว่างภูมิภาคต่างๆ ของไทยกับประเทศต่างๆ ได้สะดวกมากขึ้น<br />

ซึ่งจะเป็นช่องทางสำคัญในการเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวและยังเป็น<br />

การกระจายนักท่องเที่ยวไปยังภูมิภาคต่างๆ ของไทยมากขึ้นอีกด้วย<br />

นอกจากนี้ ระบบการท่องเที่ยวของไทยยังพึ่งพิงตลาดนักท่องเที่ยวจีน<br />

ค่อนข้างมาก ขณะที่การแข่งขันในตลาดท่องเที่ยวโลกเพื่อแย่งชิง<br />

นักท่องเที่ยวจีนทวีความรุนแรงขึ้น ดังนั้น การเตรียมความพร้อม<br />

เพื่อรองรับความผันผวนของตลาดนักท่องเที่ยวจีนจึงเป็นสิ่งสำคัญ<br />

โดยการพัฒนาสินค้า บริการและมาตรการดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว<br />

ใหม่ๆ เพื่อดึงดูดและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวจีน<br />

โดยเฉพาะในส่วนของ การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์และ<br />

เชิงสุขภาพ และการช้อปปิ้ง รวมทั้งการขยายตลาดนักท่องเที่ยวจีน<br />

จากเมือง/มลฑลใหม่ๆ ของจีนที่มีศักยภาพแต่ยังเดิน<br />

ทางมาท่องเที่ยวประเทศไทยไม่มากนัก รวมทั้งขยายตลาด<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียนและตลาดนักท่องเที่ยวอินเดียที่มีศักยภาพ<br />

ทั้งนี้เพื่อให้สามารถรักษาเสถียรภาพของการท่องเที่ยวไทย<br />

ได้ในระยะยาว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

21


แนวโน้มสถานการณ์ท่องเทียว<br />

แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว<br />

ไตรมาส 1/2559 และปี 2559<br />

“ไตรมาส 1/2559 คาดว่าจะมีรายได้จากการท่องเที่ยวรวม 6.62 แสนล้านบาท<br />

และตลอดทั้งปีกำหนดเป้าหมายรายได้ 2.4 ล้านล้านบาท”<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวของไทยไตรมาส 1/2559<br />

จากการพยากรณ์โดยใช้แบบจำลองที่พัฒนาขึ้นเพื่อการพยากรณ์<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และจำนวนนักท่องเที่ยวชาวไทย<br />

โดยใช้เทคนิคการคำนวณค่าจากวิธี stochastic simulation รวมทั้ง<br />

การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยว<br />

พบว่าในไตรมาส 1/2559 จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

ประมาณ 8.9 ล้านคน ชาวไทยท่องเที่ยวในประเทศ<br />

37.1 ล้านคน-ครั้ง และคาดว่าจะสร้างรายได้ประมาณ 6.62 แสนล้านบาท<br />

ขยายตัวร้อยละ 14 จากปีที่ผ่านมา โดยปัจจัยที่ส่งเสริมการขยายตัว<br />

ในไตรมาส 1 ได้แก่ สถานการณ์การท่องเที่ยวของโลกยังคง<br />

ขยายตัวต่อเนื่อง การเติบโตของนักท่องเที่ยวจีน ต้นทุนการเดินทาง<br />

ท่องเที่ยวที่ถูกลงจากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่ยังอยู่ในระดับต่ำ<br />

และการขยายเส้นทางการบินใหม่ของสายการบินต้นทุนต่ำในหลาย<br />

ประเทศ สำหรับปัจจัยที่มีผลด้านลบต่อการท่องเที่ยวในไตรมาส 1<br />

ได้แก่ การแย่งชิงส่วนแบ่งนักท่องเที่ยวจีนของประเทศต่างๆ ทั้งใน<br />

ภูมิภาคเอเชีย และยุโรป รวมถึงตะวันออกกลาง เช่น อิหร่านที่เร่ง<br />

เปิดสำนักงานท่องเที่ยวในประเทศจีนถึง 3 แห่ง เป็นต้น สำหรับ<br />

การท่องเที่ยวภายในประเทศ คาดว่าจะมีผู้เดินทางท่องเที่ยวทั้งสิ้น<br />

37.1 ล้านคน-ครั้ง ขยายตัวร้อยละ 5.4 จากช่วงเวลาเดียวกันของปี<br />

ก่อนหน้า และสร้างรายได้ประมาณ 2.06 แสนล้านบาท โดยมีปัจจัย<br />

ส่งเสริมที่สำคัญ ได้แก่ การส่งเสริมการท่องเที่ยวตามโครงการ 12<br />

เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวของไทยในปี 2559<br />

คาดว่าในปี 2559 จะมีจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติประมาณ<br />

32 ล้านคน และนักท่องเที่ยวชาวไทยท่องเที่ยวภายในประเทศ<br />

140 ล้านคน-ครั้ง โดยเป้าหมายรายได้จากการท่องเที่ยวของไทย<br />

ในปี 2559 กำหนดไว้ที่ 2.4 ล้านล้านบาท สำหรับปัจจัยที่ส่งเสริมการ<br />

ขยายตัว ได้แก่ สถานการณ์การท่องเที่ยวของโลกในปี 2559 ที่คาดว่า<br />

จะยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องในระดับร้อยละ 3-4 ราคาน้ำมัน<br />

ในตลาดโลกยังคงอยู่ในระดับต่ำ การเมืองภายในประเทศยังคงมี<br />

เสถียรภาพ และการขยายเส้นทางการบินมายังประเทศไทยของ<br />

สายการบินต่างๆ ทั้งจากยุโรป จีน และเวียดนาม ตลอดจนการส่งเสริม<br />

การท่องเที่ยวภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการ 12 เมือง<br />

ต้องห้าม...พลาด พลัส ที่ต่อยอดความสำเร็จจากปีที่ผ่านมา สำหรับ<br />

ปัจจัยที่มีผลด้านลบต่อการท่องเที่ยว ได้แก่ สถานการณ์การก่อการร้าย<br />

สงครามในตะวันออกกลางที่ยังไม่มีท่าทีว่าจะสงบลง และการแย่งชิง<br />

นักท่องเที่ยวจีนในตลาดโลก<br />

24 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


บทบาทของการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศ<br />

ในปี 2558 ผลิตภัณฑ์มวลรวมทางตรงของภาคการท่องเที่ยว<br />

(Tourism Direct GDP: TDGDP) มีมูลค่าเท่ากับ 783,414.68<br />

ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 5.79 ของผลิตภัณฑ์<br />

มวลรวม (GDP) ประเทศ ในขณะที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมทางอ้อม<br />

ของภาคการท่องเที่ยวของไทย (Tourism Indirect GDP: TIGDP)<br />

มีมูลค่าเท่ากับ 1,453,743.37 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.74<br />

ของ GDP ประเทศ แสดงให้เห็นว่าในปี 2558 ภาคการท่องเที่ยว<br />

มีบทบาทสำคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศค่อนข้าง<br />

มาก คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16.57 ของ GDP และมากกว่าปี 2557<br />

ที่มีสัดส่วนของ GDP ทางตรงที่เกิดจากภาคการท่องเที่ยวเท่ากับ<br />

ร้อยละ 5.02 และสัดส่วนของ GDP ทางอ้อมที่เกิดจาก<br />

ภาคการท่องเที่ยวเท่ากับ ร้อยละ 9.29<br />

สำหรับภาษีทางอ้อมสุทธิจากภาคการท่องเที่ยว (ภาษีมูลค่าเพิ่ม<br />

ภาษีสรรพสามิต ฯลฯ) ที่เป็นผลจากการด ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยว<br />

บทบาทของการท่องเที่ยว<br />

ในปี 2558 ภาษีทางอ้อมสุทธิอุตสาหกรรมจากการท่องเที่ยวมีมูลค่า<br />

เท่ากับ 63,632.56 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.88 จากปี 2557 จากการ<br />

ใช้จ่ายเพิ่มของทั้งนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและนักท่องเที่ยวไทย<br />

ในขณะที่ปี 2557 มีมูลค่าภาษีทางอ้อมจากภาคการท่องเที่ยว<br />

จำนวน 63,079.62 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนหน้า<br />

ร้อยละ 4.63 จากการลดลงของค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

ด้านการจ้างงานในภาคการท่องเที่ยว ในปี 2558 มีจำนวน<br />

การจ้างงานในภาคการท่องเที่ยวเท่ากับ 4,168,083 คน ขยายตัว<br />

ร้อยละ1.92 จากปี 2557 ที่มีจำนวนการจ้างงานในภาคการท่องเที่ยว<br />

เท่ากับ 4,089,382 คน ขยายตัวจากปีก่อนหน้าร้อยละ 0.49 และ<br />

คิดเป็นร้อยละ 10.74 ของการจ้างงานรวมของประเทศที่มีจำนวน<br />

เท่ากับ 38,077,430 คน แสดงให้เห็นว่าภาคท่องเที่ยวมีความสำคัญ<br />

ต่อการจ้างงานของประเทศค่อนข้างสูง เนื่องจากเป็นภาคบริการ<br />

ที่ต้องใช้เเรงงานค่อนข้างมาก<br />

รายการ หน่วย มูลค่า %การเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

2556 2557 2558P 2557/56 2558/57<br />

มูลค่าผลผลิตรวมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ล้านบาท 2,404,764.00 2,492,686.00 2,687,411.00 +3.66 +7.81<br />

การจ้างงานในภาคการท่องเที่ยว คน 4,069,378 4,089,382 4,168,083 +0.49 +1.92<br />

ภาษีทางอ้อมสุทธิจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ล้านบาท 63,901.39 63,079.62 63,632.56 -4.63 +0.88<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ล้านบาท 1,147,881.43 1,037,358.41 1,365,507.71 -9.63 +31.63<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวต่อรายได้ภาคบริการ ร้อยละ 63.30 57.72 64.69 -8.82 +12.08<br />

การลงทุนด้านการท่องเที่ยว ล้านบาท 17,663.46 59,169.42 68,222.4 +234.98 +15.30<br />

มูลค่าเพิ่มอุตสาหกรรมท่องเที่ยว<br />

(Gross value added of tourism industry, GVATI)<br />

ล้านบาท 812,396.00 838,855.00 909,463.00 +3.26 +8.42<br />

บริการสถานพักแรม ล้านบาท 187,031.00 191,519.00 208,888.00 +2.40 +9.07<br />

อาหารและเครื่องดื่ม ล้านบาท 185,271.00 189,718.00 202,863.00 +2.40 +6.93<br />

การโดยสารทางบก ล้านบาท 63,892.00 65,872.00 70,286.00 +3.10 +6.70<br />

การจำหน่ายสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะ<br />

ด้านการท่องเที่ยวของประเทศ<br />

ล้านบาท 125,256.00 126,509.00 138,653.00 +1.00 +9.60<br />

สาขาอื่น ๆ ล้านบาท 227,409.00 250,946.00 288,773.00 +5.69 +8.87<br />

มูลค่าเพิ่มทางตรงของภาคการท่องเที่ยว<br />

(Tourism direct gross value added: TDGVA)<br />

ล้านบาท 617,917.56 611,431.44 727,698.07 -1.05 +19.02<br />

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทางตรงจาก ล้านบาท 668,131.25 659,322.75 783,414.68 -1.32 +18.82<br />

ภาคการท่องเที่ยว (Tourism direct gross<br />

domestic product: TDGDP)<br />

สัดส่วนของ TDGDP ต่อ GDP ประเทศ ร้อยละ 5.18 5.02 5.79<br />

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทางอ้อมจากภาค ล้านบาท 1,201,729.40 1,219,768.37 1,453,743.37 +1.50 +19.18<br />

การท่องเที่ยว (Tourism indirect gross domestic<br />

product: TIGDP)<br />

สัดส่วนของ TIGDP ต่อ GDP ประเทศ ร้อยละ 9.31 9.29 10.74<br />

สัดส่วนของ TDGDP เเละ TIGDP ต่อ GDP ประเทศ ร้อยละ 14.49 14.32 16.57<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา: กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

25


12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

12<br />

“โครงการ”<br />

เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

สร้างรายได้ท่องเที่ยวเพิ่มกว่า 6.6 หมื่นล้านบาท<br />

โครงการ 12 เมืองต้องห้าม...พลาด เป็น<br />

โครงการที่มุ่งเน้นสร้างการรับรู้ทางด้าน<br />

การท่องเที่ยว เพื่อประชาสัมพันธ์จังหวัดที่<br />

เป็นเมืองรอง แต่โดยแท้จริงแล้วเป็นเมืองที่<br />

มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยว มีเรื่องราวที่<br />

น่าสนใจ และมีของดีซ่อนอยู่<br />

เพื่อให้นักท่องเที่ยวมีทางเลือกในการเดินทาง<br />

ท่องเที่ยวมากขึ้น ไม่กระจุกตัวในจังหวัด<br />

ที่เป็นเมืองหลัก และเมื่อนักท่องเที่ยวเข้ามา<br />

เที่ยวเมืองดังกล่าวแล้วเกิดความประทับใจ<br />

ก็จะบอกต่อกันไปในสื่อต่างๆ รวมทั้งสื่อ<br />

ในสังคมออนไลน์ ก่อให้เกิดการกระจาย<br />

การท่องเที่ยว ที่กระจุกตัวอยู่ตามเมือง<br />

ท่องเที่ยวหลัก ไปยังเมืองท่องเที่ยวรอง<br />

ใกล้เคียง<br />

การดำเนินการในปีที่ผ่านมาสามารถดึงดูด<br />

ให้มีผู้ไปเยือน 19.78 ล้านคน และสร้าง<br />

รายได้แก่จังหวัดต่างๆ กว่า 66,987 ล้านบาท*<br />

โดยตราด และนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัด<br />

ที่มีรายได้จากผู้ไปเยือนมากที่สุด<br />

นอกจากนี้ โดยภาพรวมพบว่า แหล่งท่องเที่ยว<br />

ต่างๆ ในทั้ง 12 จังหวัดเป็นที่รู้จักและมี<br />

ผู้มาเยือนและเข้าพักเพิ่มขึ้นจากเดิมที่<br />

เป็นเพียงจุดแวะพักหรือทางผ่านสู่จังหวัด<br />

ท่องเที่ยวหลัก นอกจากนี้ การเติบโต<br />

ของนักท่องเที่ยวเป็นไปอย่างต่อเนื่องทั้งใน<br />

ฤดูกาลท่องเที่ยวและนอกฤดูกาลท่องเที่ยว<br />

ส่งผลให้เศรษฐกิจและการลงทุนภาค<br />

การท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้องขยายตัว<br />

ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงผลสำเร็จของโครงการ<br />

อย่างไรก็ตาม การเติบโตของภาค<br />

การท่องเที่ยวดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อ<br />

วิถีชุมชน การใช้ประโยชน์ที่ดิน และปัญหา<br />

จราจรในบางพื้นที่ ดังนั้น ผลสำเร็จและ<br />

ผลกระทบจากโครงการดังกล่าวจะเป็น<br />

ประโยชน์ให้แก่หน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ<br />

ที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับส่วนกลางและระดับ<br />

ท้องถิ่นในการนำไปขยายผล ตามโครงการ<br />

12 เมือง ต้องห้าม....พลาด พลัส ประกอบ<br />

ด้วย ลำพูน พิษณุโลก แพร่ สุรินทร์ ชัยภูมิ<br />

นครปฐม สุพรรณบุรี ระยอง สระแก้ว สตูล<br />

ระนอง พัทลุง เพื่อกระตุ้นภาคการท่องเที่ยว<br />

และกระจายประโยชน์ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น<br />

26 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

•12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

เศรษฐกิจภาคการท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้องมีการขยายตัวนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น<br />

กระจายตัวเพิ่มขึ้นทั้งพื้นที่และเวลา<br />

1 จ.ลำปาง<br />

“เมืองที่ไม่หมุนตามกาลเวลา”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

2 จ.เพชรบูรณ์<br />

“ภูดอกไม้สายหมอก”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

3 จ.น่าน<br />

“กระซิบรัก เสมอดาว”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

+ 9 % จำนวน + 13 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัวตลอดทั้งปี<br />

• นักท่องเที่ยวโลว์ซีซั่นเพิ่มขึ้น<br />

• นักท่องเที่ยว พักมากขึ้น จากเดิมเป็น<br />

ทางผ่าน<br />

• การลงทุนในสถานพักแรมขนาดเล็ก<br />

ขยายตัว<br />

ข้อจำกัด<br />

• ห้องพักบางช่วงไม่เพียงพอ<br />

• สถานพักแรมส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก ไม่ได้<br />

มาตรฐาน และกระจุกตัวในตัวเมือง<br />

ไม่กระจายสู่แหล่งท่องเที่ยว<br />

4 จ.บุรีรัมย์<br />

“เมืองปราสาทสองยุค”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

+ 14 % จำนวน + 6 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัวตลอดทั้งปี<br />

• นักท่องเที่ยวโลว์ซีซั่นเพิ่มขึ้น<br />

• ปัญหาภูทับเบิกที่เรื้อรังได้รับการแก้ไข<br />

อย่างเป็นระบบ<br />

ข้อจำกัด<br />

• ที่พักในภูทับเบิกส่วนใหญ่ไม่ได้มาตรฐาน<br />

• การใช้ประโยชน์ที่ดินเปลี่ยนแปลง เช่น<br />

การเปลี่ยนสวนกะหล่ำปลี ซึ่งเป็นจุดขาย<br />

ของพื้นที่เป็นที่พัก<br />

+ 12 % จำนวน + 20 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัวตลอดทั้งปี<br />

• นักท่องเที่ยวโลว์ซีซั่นเพิ่มขึ้น<br />

• นักท่องเที่ยวรู้จักสถานที่ท่องเที่ยว<br />

ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมากขึ้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• ปัญหารถติดในช่วงเทศกาล<br />

• ถนนคนเดินจำหน่ายสินค้าในราคาสูง<br />

• การท่องเที่ยวแบบเร่งรีบของ<br />

นักท่องเที่ยวกระทบวิถีชีวิตท้องถิ่น<br />

+ 14 % จำนวน + 17 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัวตลอดทั้งปี<br />

• นักท่องเที่ยวพักมากขึ้น จากเดิมเป็น<br />

ทางผ่าน<br />

ข้อจำกัด<br />

• สถานพักแรมส่วนใหญ่ไม่ได้มาตรฐาน<br />

• ห้องพักบางช่วงไม่เพียงพอ<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

27


12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

5 จ.เลย<br />

“เย็นสุด...สุขที่เลย”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

6 จ.ตราด<br />

“เมืองเกาะในฝัน”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

7 จ.จันทบุรี<br />

“สวนสวรรค์ ร้อยพันธุ์ผลไม้”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

+ 19 % จำนวน + 24 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัว และกระจายสู่แหล่ง<br />

ท่องเที่ยวรองในจังหวัดมากขึ้น<br />

• แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่เป็นที่รู้จักมากขึ้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• ชุมชนเริ่มสูญเสียอัตลักษณ์จาก<br />

การจำหน่ายสินค้าแก่นักท่องเที่ยว<br />

• ระบบขนส่งสาธารณะเข้าสู่ภูเรือ<br />

ด่านซ้าย และนาแห้ว ยังไม่สะดวก<br />

+ 8 % จำนวน + 9 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัว<br />

• ภาคส่วนต่างๆ มีส่วนร่วมในการบริหาร<br />

จัดการด้านการท่องเที่ยว<br />

ข้อจำกัด<br />

• การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวบางแห่งยัง<br />

ไม่สะดวก เช่น ลานตะพูน บ้านท่าระแนะ<br />

+ 11 % จำนวน + 13 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัว<br />

• ชุมชนตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อ<br />

ภาคท่องเที่ยว<br />

ข้อจำกัด<br />

• การเดินทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยว<br />

บางพื้นที่ยังไม่สะดวก<br />

8 จ.ราชบุรี<br />

“ชุมชนคนอาร์ต”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

8<br />

9 จ.สมุทรสงคราม<br />

“เมืองสายน้ำ สามเวลา”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

+ 9 % จำนวน + 20 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัวตลอดทั้งปี<br />

• นักท่องเที่ยวโลว์ซีซั่นเพิ่มขึ้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• ห้องพักช่วงเทศกาลไม่เพียงพอ<br />

• นักท่องเที่ยววันธรรมดายังค่อนข้างน้อย<br />

ทำให้ใชัประโยชน์ห้องพักไม่เต็มที่<br />

9<br />

+ 15 % จำนวน + 23 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัว และกระจายตัว<br />

มากขึ้น<br />

• จังหวัดให้ความสำคัญ ติดตามและแก้ไข<br />

ปัญหาต่างๆ เช่น ด้านจราจร เป็นต้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• ผู้ประกอบการบางส่วนขาดจิตสำนึก<br />

และเอารัดเอาเปรียบนักท่องเที่ยว<br />

• ผู้ประกอบการเห็นถึงประโยชน์ส่วนรวม<br />

น้อย<br />

28 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

10 จ.ชุมพร<br />

“หาดทรายสวยสี่ร้อยลี้”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

11 จ.ตรัง<br />

“ยุทธจักรแห่งความอร่อย”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

12 จ.นครศรีธรรมราช<br />

“นครสองธรรม”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ปี 2558<br />

+ 8 % จำนวน + 11 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัว<br />

• นักท่องเที่ยวพักมากขึ้น จากเดิมเป็น<br />

ทางผ่าน<br />

• แหล่งท่องเที่ยวเป็นที่รู้จักมากขึ้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• นักท่องเที่ยววันธรรมดายังน้อย<br />

• ห้องพักใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่<br />

+ 10 % จำนวน + 10 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัว และกระจายตัว<br />

มากขึ้น<br />

• แหล่งท่องเที่ยวเป็นที่รู้จักมากขึ้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• นักท่องเที่ยวพักค้างน้อย ส่วนใหญ่มา<br />

จากจังหวัดใกล้เคียง<br />

• ชุมชนขาดความพร้อมในการรองรับ<br />

นักท่องเที่ยว<br />

+ 13 % จำนวน + 15 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัวตลอดทั้งปี<br />

• แหล่งท่องเที่ยวเป็นที่รู้จักมากขึ้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• ชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัด<br />

กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวน้อย<br />

การเติบโตด้านการท่องเที่ยวของ 12 เมืองต้องห้ามพลาดในปี 2558*<br />

เมือง จำนวนผู้เยี่ยมเยือน<br />

(คน)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลง<br />

(ร้อยละ)<br />

รายได้ท่องเที่ยว<br />

(ล้านบาท)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลง<br />

(ร้อยละ)<br />

อัตราการเข้าพัก<br />

(ร้อยละ)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลง<br />

(ร้อยละ)<br />

ชุมพร 1,297,894 +7.80 5,862.95 +11.02 54.40 +5.99<br />

ตรัง 1,446,642 +10.52 7,610.42 +10.54 59.70 +3.36<br />

นครศรีธรรมราช 3,496,482 +13.09 13,659.70 +15.01 55.86 +7.04<br />

เลย 1,894,171 +19.74 3,328.63 +24.41 52.25 +3.72<br />

บุรีรัมย์ 1,433,275 +14.78 2,056.36 +17.07 46.97 +3.89<br />

เพชรบูรณ์ 1,919,635 +4.00 5,788.20 +6.54 51.83 +2.95<br />

ลำปาง 876,526 +9.00 2,832.83 +13.09 48.77 +4.84<br />

น่าน 731,945 +12.09 1,955.02 +20.14 49.35 +9.33<br />

ราชบุรี 1,430,039 +8.97 2,237.89 +19.80 50.50 +8.03<br />

สมุทรสงคราม 1,482,860 +15.09 1,882.50 +22.88 59.18 +9.18<br />

จันทบุรี 1,887,513 +10.98 5,376.55 +13.57 54.51 +5.97<br />

ตราด 1,881,328 +7.96 14,396.02 +9.37 60.33 +4.07<br />

รวม 19,778,310 +11.22 66,987.07 +12.89<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

หมายเหตุ : *ตัวเลขเบื้องต้น<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

29


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

กับการท่องเที่ยวไทย<br />

ชมัยพร วิเศษมงคล และ อุเทน นันทเสน<br />

นับตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประเทศไทยและประเทศสมาชิก<br />

ประชาคมอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Community) อีก 9 ประเทศ ซึ่งมีจำนวน<br />

ประชากรรวมกันกว่า 623 ล้านคน มีขนาดเศรษฐกิจรวมกันกว่า<br />

2,518 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ได้เข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ<br />

อาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Economics Community : AEC) อย่างเต็มตัว<br />

นั่นหมายความว่า นับจากนี้ไปอาเซียนจะมีความร่วมมือทางเศรษฐกิจ<br />

ในด้านต่างๆ ที่ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะความเชื่อมโยงภูมิภาค<br />

อาเซียน หรือที่เรียกว่า <strong>ASEAN</strong> Connect ที่ครอบคลุม การเชื่อมโยง<br />

3 ด้าน คือ ความเชื่อมโยงทางกายภาพ ครอบคลุมเรื่องของ<br />

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงโครงข่ายด้านการขนส่ง<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยง<br />

ของสถาบัน ครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีและการอำนวยความสะดวก<br />

ทางการค้า บริการ และการลงทุนในอาเซียน รวมถึงการดำเนินการ<br />

ตามความตกลงด้านการขนส่งรูปแบบต่างๆ การปรับพิธีการและ<br />

มาตรฐานต่างๆ การลดขั้นตอนในกระบวนการข้ามพรมแดนให้สะดวก<br />

และง่ายขึ้น และการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรเพื่อรองรับ<br />

การดำเนินการดังกล่าว สุดท้ายคือ ความเชื่อมโยงระหว่างประชาชน<br />

หมายถึง การเชื่อมโยงถึงกันด้านจิตใจ ลดความขัดแย้งทางสังคม<br />

วัฒนธรรม และประเพณี ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายใน<br />

อาเซียนให้เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม อาเซียนได้จัดล ำดับความสำคัญ<br />

ของการดำเนินการด้านการพัฒนาความเชื่อมโยงทางกายภาพทาง<br />

ด้านการขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก ดังนั้น การกระจาย<br />

นักท่องเที่ยวภายในภูมิภาคอาเซียนจึงเป็นผลจากการเชื่อมโยงทาง<br />

ด้านกายภาพ การพัฒนาเส้นทางคมนาคม โดยอาเซียนได้วางกลยุทธ์<br />

ไว้ 5 กลยุทธ์เน้นการเติมเต็มเครือข่ายความเชื่อมโยงระหว่างกัน<br />

ให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ได้แก่<br />

30 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

การพัฒนาเครือข่ายเส้นทางทางหลวงอาเซียน โดยการยกระดับ<br />

ถนนที่ยังไม่ได้มาตรฐานระดับ 1 จัดทำป้ายบอกทาง สร้างสะพาน<br />

เชื่อมต่อระหว่างประเทศ รวมทั้งขยายเส้นทางไปสู่จีนและอินเดีย<br />

ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรและนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง<br />

การพัฒนาโครงการเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟสายคุนหมิง-สิงคโปร์<br />

ที่เป็นหัวใจส ำคัญของการกระจายนักท่องเที่ยวจากจีนลงมาในภูมิภาค<br />

โดยเฉพาะการสร้างเส้นทางรถไฟสองสายคือ สายตะวันออก ผ่านไทย<br />

กัมพูชา และเวียดนาม และมีทางย่อยแยกเชื่อมระหว่างสปป.ลาว<br />

และเวียดนาม สายที่สองคือ สายตะวันตก ผ่านไทยและเมียนมา<br />

แต่จะให้ความสำคัญกับสายตะวันออก ที่ประเทศไทยจุดที่อาเซียน<br />

ต้องการให้เพิ่มเติมคือ ระหว่างอรัญประเทศและคลองลึก ระยะทาง<br />

6 กิโลเมตร ภายในปี 2557 และช่วงผ่านด่านเจดีย์สามองค์ถึง<br />

เมียนมา ระยะทาง 153 กิโลเมตรภายในปี 2563<br />

การสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงลำน้ำในประเทศอย่างเป็นองค์รวมและมี<br />

ประสิทธิภาพ มีการกำหนดเส้นทางการเดินเรือท่องเที่ยวในลุ่มน้ ำโขง<br />

โดยเริ่มต้นจากจีนล่องมาจนถึงเชียงแสนผ่านสิบสองปันนา<br />

การเสริมสร้างระบบการเดินเรือทะเลให้มีประสิทธิภาพ และแข่งขัน<br />

ได้อย่างเป็นองค์รวม ที่ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงเส้นทางการ<br />

เดินเรือทะเลระหว่างประเทศในอาเซียน โดยการจัดท ำระบบทางหลวง<br />

การเดินเรือทะเล (RoRo) ของอาเซียน การส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วย<br />

เรือโดยสารขนาดใหญ่ (Cruise) โดยการปรับปรุงสมรรถนะท่าเรือ<br />

จำนวน 47 ท่า จากผลการศึกษาของอาเซียนในปี 2558 การจัดทำ<br />

เส้นทางการเดินเรือที่มีประสิทธิภาพ (รวมทั้ง RoRo) เชื่อมโยง<br />

แผ่นดินใหญ่และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเชื่อมโยงอนุภูมิภาค<br />

ต่างๆ ที่มีการริเริ่มขึ้น อาทิ BIMP-EAGA และ IMT-GT ตลอดจน<br />

เส้นทางระหว่างประเทศอย่างเช่น Satun/Trang-Penang-Belawan<br />

หรือเส้นทาง Malacca-Dumai เส้นทาง Davao-Bitung และเส้นทาง<br />

Zamboanga-Sandakan เป็นต้น<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

31


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

การจัดระบบการขนส่งในรูปแบบที่เชื่อมต่อเพื่อให้อาเซียนเป็น<br />

ศูนย์กลางการขนส่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกซึ่งจะต้องเร่งด ำเนินการ<br />

East-West Corridor (EWEC) ให้สำเร็จโดยการสร้างจุดเชื่อม<br />

ที่ยังขาดหายไปในเมียนมา และพัฒนาท่าเทียบเรือที่ย่างกุ้ง<br />

และเมืองดานัง การส่งเสริม Mekong-India Economic Corridor (MIEC)<br />

การสร้างสะพานแม่น้ ำโขงในกัมพูชา การสร้างท่าเรือทะเลน้ ำลึก Dawei<br />

ในเมียนมา การสร้างทางหลวงและศึกษาความเป็นไปได้ใน<br />

การสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างกาญจนบุรีและ Dawei โดยการพัฒนา<br />

รูปแบบการเชื่อมโยงดังกล่าวส่งผลให้ไทยมีศักยภาพในการเป็น<br />

Hub ในการกระจายสินค้าและการท่องเที่ยว<br />

นอกจากนั้น อาเซียนยังสร้างความเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่ง<br />

กับ “เส้นทางสายไหมใหม่ภายใต้ศตวรรษที่ 21” (The New Silk Road)<br />

ของประเทศจีน โดยการพัฒนาเส้นทางคมนาคม 2 เส้นทาง ได้แก่<br />

Silk Road Economic Belt ซึ่งเป็นเส้นทางสายไหมทางบก มีลักษณะ<br />

คล้ายแถบเส้นเข็มขัดที่เชื่อมโยงจากฝั่งตะวันตกของจีนเชื่อมโยง<br />

ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเส้นทางสายไหมเดิม (อินเดีย เปอร์เซีย<br />

ทวีปยุโรปและคาบสมุทรอาหรับ) ผ่านเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก<br />

เอเชียใต้ อาเซียน ตะวันออกกลาง และยุโรป และ21st Century Maritime<br />

Silk Road ซึ่งเป็นเส้นทางสายไหมทางทะเลที่เชื่อมโยงจากท่าเรือ<br />

ทางตอนใต้ของจีน ผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้<br />

ตะวันออกกลาง แอฟริกาตะวันออก และไปสิ้นสุดที่<br />

ยุโรป (ประเทศเบลเยี่ยม) ซึ่งเส้นทางสายไหมทางทะเล<br />

ถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการขยายผลประโยชน์ระหว่างจีน<br />

กับประเทศต่างๆ ครอบคลุมหลายภูมิภาค โดยเฉพาะอาเซียน<br />

และอาจกลายเป็นเส้นทางที่เอื้อประโยชน์ต่อการค้าและการลงทุน<br />

และการท่องเที่ยวมากที่สุดอีกเส้นทางหนึ่งในอนาคต<br />

32 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

ถ้าการพัฒนาระบบการคมนาคมขนส่งของอาเซียนเสร็จสิ้นลง<br />

ประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ในการเป็นศูนย์กลางความเชื่อมโยง<br />

ที่เห็นชัดเจน (<strong>ASEAN</strong> Hub) คือ ทางบก (ทางถนนและทางรถไฟ)<br />

และทางอากาศจากข้อได้เปรียบลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีแหล่ง<br />

ที่ตั้งใจกลางอาเซียน รวมทั้งความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน<br />

ในระดับหนึ่ง ตลอดจนการดำเนินงานของไทยที่รองรับโดยการ<br />

จัดทำแผนแม่บทการพัฒนาประเทศเพื่อให้เชื่อมโยงกับอาเซียน<br />

ที่มีการสร้างเส้นทางเชื่อมโยงหรือถนนเศรษฐกิจ (Economic<br />

Corridors) รวมถึงการเชื่อมโยงทางน้ำและอากาศ พร้อมกับกำหนด<br />

เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone) เพื่อขยายโอกาส<br />

ให้ไทยได้ใช้ประโยชน์จากการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวตาม<br />

แนวเส้นทางเหล่านี้มากขึ้น โดย<br />

• ทางถนน มีโครงการที่จะสร้างถนนเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน<br />

ทั้งหมด 27 โครงการ เชื่อมระหว่างไทย-สปป.ลาว ไทย-กัมพูชา<br />

และไทย-เมียนมา เพื่อเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียนบน 12 เส้นทาง<br />

ระยะทางทั้งหมด 6,693 กิโลเมตร รวมทั้งพัฒนาจุดเปลี่ยนเส้นทาง<br />

เชื่อมโยงระหว่างเมืองของประเทศต่าง ๆ ตลอดจนการพัฒนาสะพาน<br />

เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ สะพานข้ามแม่น้ ำโขงแห่งที่ 4<br />

• ทางรถไฟ เร่งพัฒนาการเชื่อมโยงทางรถไฟสู่ประเทศเพื่อนบ้าน<br />

เตรียมความพร้อมการก่อสร้างทางรถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-<br />

เชียงของ จัดทำความตกลงการเดินรถไฟระหว่างประเทศและ<br />

จัดระเบียบผู้ประกอบการขนส่งทางรถไฟ<br />

• ทางน้ำ ส่งเสริมการท่องเที่ยวทางลำน้ำโขงเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ<br />

GMS ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางของอาเซียน ยกระดับมาตรฐาน<br />

การควบคุมดูแลด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการเดินเรือ<br />

จัดทำแนวทางการพัฒนาเรือสำราญขนาดใหญ่ (Cruise) ซึ่งเป็น<br />

เป้าหมายหนึ่งของอาเซียนในการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงการเดินทาง<br />

ทางน้ำด้วยเรือขนาดใหญ่ รวมถึงการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวทาง<br />

ทะเล โดยจะมีการปรับปรุงและสร้างท่าเรือน้ำลึกแห่งใหม่ขึ้นตาม<br />

ชายฝั่งทะเลทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน ที่ได้รับความเห็น<br />

ชอบจากคณะรัฐมนตรีเรียบร้อยแล้ว<br />

• ทางอากาศ มีแนวทางการขยายขีดความสามารถท่าอากาศยาน<br />

หลักที่สำคัญ อาทิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 และการเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพท่าอากาศยานภูเก็ต การพัฒนาท่าอากาศยานดอนเมือง<br />

อาคารผู้โดยสารแห่งที่ 3 เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างการเป็นศูนย์กลาง<br />

การบินพาณิชย์ในภูมิภาคอาเซียน และในส่วนของความร่วมมือ<br />

ได้ดำเนินการเจรจาทำความตกลงด้านการบินกับประเทศคู่เจรจา<br />

ของอาเซียน<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

33


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

• การอำนวยความสะดวกในการขนส่ง ที่ให้ความสำคัญกับ<br />

การขนส่งผู้โดยสารข้ามชายแดนและการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ<br />

ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีด่านชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน<br />

ทั้งหมด 47 แห่ง มี 13 แห่งที่มีความเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียน<br />

ที่สามารถยกระดับเป็นแหล่งกระจายนักท่องเที่ยว และที่สามารถ<br />

รองรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดนมีเพียง 9 ด่าน ได้แก่<br />

ด่านเชียงของ และด่านแม่สาย จังหวัดเชียงราย ด่านแม่สอด จังหวัดตาก<br />

ด่านหนองคาย จังหวัดหนองคาย ด่านมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร<br />

ด่านนครพนม จังหวัดนครพนม ด่านอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว<br />

ด่านสะเดา จังหวัดสงขลา และด่านปาดังเบซาร์ จังหวัดสงขลา และ<br />

ยังเป็นเส้นทางสำหรับนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่างกันทั้งรถยนต์<br />

ส่วนบุคคลและรถบัสสำหรับท่องเที่ยว กระทรวงคมนาคมจึงได้<br />

จัดทำความตกลงการขนส่งคนโดยสารระหว่างประเทศ การพัฒนา<br />

เส้นทางใหม่ๆ ในการขนส่ง เสริมสร้างขีดความสามารถของ<br />

ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ตลอดจนปรับปรุง<br />

กฎระเบียบ และกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งข้าม<br />

พรมแดน การพัฒนาศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ<br />

และที่เชียงราย เป็นต้น<br />

นอกจากนั้น รัฐบาลยังได้พัฒนา“เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ขึ้น เพื่อสร้างฐาน<br />

การผลิตเชื่อมโยงกับอาเซียนทางด้านการค้าในอุตสาหกรรมต่างๆ<br />

และเป็นการพัฒนาเมืองชายแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ<br />

เพื่อนบ้านในอาเซียนรองรับกับการพัฒนาความเชื่อมโยงทาง<br />

คมนาคมขนส่งของอาเซียน ซึ่งมีทั้งการสร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่<br />

ที่เป็นบริเวณชายแดน การสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานในรูปแบบ<br />

ต่างๆ โดยในปี 2558 ประเทศไทยได้ประกาศเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวม<br />

10 จังหวัด โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ประกาศในระยะแรก 5 จังหวัด<br />

(6 พื้นที่ชายแดน) ได้แก่ จังหวัดตาก ที่สามารถเชื่อมโยงไปยัง<br />

เมืองย่างกุ้งของเมียนมาและเชื่อมต่อไปยังอินเดียและจีนตอนใต้<br />

จังหวัดมุกดาหาร ที่สามารถเชื่อมโยงประเทศสปป.ลาวและเวียดนาม<br />

ผ่านเส้นทาง R9 เข้าสู่ท่าเรือดานัง และเชื่อมต่อไปยังประเทศจีน<br />

ตอนใต้และประเทศในแถบตะวันออกไกล จังหวัดสระแก้ว ที่สามารถ<br />

เชื่อมโยงกับด่านศุลกากรแห่งใหม่ทางบ้านสติงบท ประเทศกัมพูชา<br />

จังหวัดตราด ที่สามารถเชื่อมโยงกับท่าเรือสีหนุวิลล์ เกาะกง ของ<br />

กัมพูชา และจังหวัดสงขลา ที่สามารถเชื่อมโยงกับท่าเรือปีนังและ<br />

ท่าเรือกลางของมาเลเซีย รวมทั้งถนนและระบบรางเชื่อมโยง และ<br />

ระยะที่ 2 จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่จังหวัดหนองคาย ที่มีจุดเชื่อมโยง<br />

กับนครเวียงจันทร์ประเทศสปป.ลาว จังหวัดนราธิวาส เชื่อมโยง<br />

กับประเทศมาเลเซียและสามารถเชื่อมต่อไปยังสิงคโปร์ได้<br />

จังหวัดเชียงราย สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเมียนมาและ<br />

ประเทศสปป.ลาว จังหวัดนครพนม ที่เชื่อมโยงกับประเทศสปป.ลาว<br />

และเชื่อมต่อไปยังประเทศเวียดนามตอนเหนือ และจีนตอนใต้<br />

จังหวัดกาญจนบุรี เชื่อมต่อกับจังหวัดทวาย ประเทศเมียนมา<br />

ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศต่างๆ ในอาเซียน<br />

ต่างให้ความสนใจ และใช้เป็นเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อนและสร้าง<br />

ความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยตลอด 5 ปีที่ผ่านมามี<br />

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเยือนภูมิภาคนี้เพิ่มขึ้นจาก 81 ล้านคน<br />

ในปี 2554 เป็น 105 ล้านคน ในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลี่ย<br />

ร้อยละ 10.62 ต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียน<br />

(Intra-<strong>ASEAN</strong>) หรือการท่องเที่ยวระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกันเอง<br />

ประมาณร้อยละ 46 แสดงให้เห็นว่า โดยภาพรวมนักท่องเที่ยวของ<br />

ประเทศในกลุ่มอาเซียนส่วนใหญ่มาจากประเทศนอกอาเซียน ยกเว้น<br />

ประเทศมาเลเซียที่นักท่องเที่ยวหลักมาจากประเทศในกลุ่มอาเซียน<br />

เนื่องจากประเทศมาเลเซียได้ประโยชน์จากการมีพรมแดนติดต่อ<br />

กับประเทศสิงคโปร์ รวมถึงความสัมพันธ์ทางศาสนาและเครือญาติ<br />

จากนักท่องเที่ยวมุสลิมในประเทศอินโดนีเซีย ขณะที่ประเทศไทย<br />

มีจำนวนนักท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียนสูงเป็นอันดับที่ 2 แต่น้อยกว่า<br />

มาเลเซียกว่า 3 เท่า ตามด้วยประเทศสิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม<br />

ฟิลิปปินส์ กัมพูชา สปป.ลาว บรูไน และเมียนมา ตามล ำดับ<br />

ภาพรวมของนักท่องเที่ยวในอาเซียนที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียน<br />

เดินทางท่องเที่ยวระหว่างกันเพิ่มขึ้นจาก 38 ล้านคนในปี 2554<br />

เป็น 49 ล้านคนในปี 2557 หรือขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 10.12 ต่อปี<br />

34 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

สำหรับนักท่องเที่ยวนอกอาเซียน 10 อันดับยอดนิยมที่นิยมเดินทางมาท่องเที่ยวในอาเซียน มีสัดส่วนรวมกันถึงร้อยละ 91.6 ของ<br />

นักท่องเที่ยวนอกอาเซียนทั้งหมด ได้แก่ นักท่องเที่ยวจีน ยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย รัสเซีย และไต้หวัน<br />

โดยนักท่องเที่ยวจากยุโรปมีแนวโน้มขยายตัวสูงกว่านักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ นักท่องเที่ยวจากนอกภูมิภาคอาเซียนมีการขยายตัว<br />

ในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 11.08 โดยเพิ่มขึ้นจาก 43 ล้านคนในปี 2554 เป็น 56 ล้านคนในปี 2557<br />

จากการเติบโตของนักท่องเที่ยวของอาเซียนในเลขสองหลัก แสดงให้เห็นถึงศักยภาพทางการท่องเที่ยวของอาเซียนและเป็นไปตามแนวโน้ม<br />

ที่ UNWTO กล่าวไว้ว่า ภูมิภาคอาเซียนจะเป็นจุดหมายหลักของการเดินทางท่องเที่ยวและมีอัตราการเติบโตทางการท่องเที่ยวสูง<br />

นักท่องเที่ยวของกลุ่มประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ปี 2557<br />

ประเทศ<br />

จำนวนนักท่องเที่ยว (พันคน)<br />

สัดส่วน (ร้อยละ)<br />

ภายในอาเซียน นอกอาเซียน รวม ภายในอาเซียน นอกอาเซียน<br />

มาเลเซีย 20,372.8 7,064.5 27,437.3 74.3 25.7<br />

ไทย 6,620.2 18,159.5 24,779.8 26.7 73.3<br />

สิงคโปร์ 6,113.0 8,982.1 15,095.2 40.5 59.5<br />

อินโดนีเซีย 3,683.8 5,751.6 9,435.4 39.0 61.0<br />

เวียดนาม 1,495.1 6,379.2 7,874.3 19.0 81.0<br />

ฟิลิปปินส์ 461.5 4,371.9 4,833.4 9.5 90.5<br />

กัมพูชา 1,991.9 2,510.9 4,502.8 44.2 55.8<br />

สปป.ลาว 3,224.1 934.6 4,158.7 77.5 22.5<br />

บรูไน 3,662.2 223.4 3,885.5 94.3 5.7<br />

เมียนมา 1,598.3 1,483.2 3,081.4 51.9 48.1<br />

อาเซียน 49,223.0 55,860.8 105,083.8 46.8 53.2<br />

ที่มา : <strong>ASEAN</strong> Tourism Statistic Database<br />

สัดสวนนักทองเที่ยว INTRA-<strong>ASEAN</strong><br />

Laos, 6.5%<br />

Brunei, 7.4%<br />

Indonesia, 7.5%<br />

Myanmar, 3.2%<br />

Cambodia, 4.0%<br />

Vietnam, 3.0%<br />

Philippines, 0.9%<br />

(ลานคน)<br />

50.0<br />

40.0<br />

30.0<br />

20.0<br />

10.0<br />

*<br />

35.0 37.7<br />

47.5<br />

46.5<br />

2553 2554<br />

จำนวนนักทองเที่ยว<br />

46.2<br />

49.2<br />

39.8<br />

44.7 45.2<br />

46.8<br />

2555 2556<br />

2557<br />

สักสวนนักทองเที่ยว Intra-Asean<br />

(%)<br />

60.0<br />

58.0<br />

56.0<br />

54.0<br />

52.0<br />

50.0<br />

48.0<br />

46.0<br />

44.0<br />

42.0<br />

40.0<br />

Singapore,<br />

12.4%<br />

THAILAND,<br />

13.4%<br />

MALAYSIA,<br />

41.4%<br />

Intra-<strong>ASEAN</strong>,<br />

46.8%<br />

Extra-<strong>ASEAN</strong>,<br />

53.2%<br />

ป2557<br />

ที่มา : <strong>ASEAN</strong> Tourism Statistic Database<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

35


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่เดินทางท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน จำแนกตามประเทศถิ่นที่อยู่<br />

2555<br />

2556<br />

2557<br />

ประเทศ<br />

จำนวน สัดส่วน ประเทศ จำนวน สัดส่วน ประเทศ จำนวน สัดส่วน<br />

ถิ่นที่อยู่<br />

(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)<br />

อาเซียน 39,845.5 44.7 อาเซียน 46,154.4 45.2 อาเซียน 49,223.0 46.8<br />

จีน 9,283.3 10.4 จีน 12,651.2 12.4 จีน 13,059.5 12.4<br />

สหภาพยุโรป<br />

28 ประเทศ<br />

8,079.1 9.1<br />

สหภาพยุโรป<br />

28 ประเทศ<br />

8,694.8 8.5<br />

สหภาพยุโรป<br />

28 ประเทศ<br />

9,275.2 8.8<br />

ญี่ปุ่น 4,275.3 4.8 เกาหลีใต้ 4,873.5 4.8 เกาหลีใต้ 5,018.4 4.8<br />

ออสเตรเลีย 4,059.6 4.5 ญี่ปุ่น 4,724.3 4.6 ญี่ปุ่น 4,634.2 4.4<br />

เกาหลีใต้ 4,011.4 4.5 ออสเตรเลีย 4,303.0 4.2 ออสเตรเลีย 4,383.6 4.2<br />

สหรัฐอเมริกา 2,984.2 3.3 สหรัฐอเมริกา 3,178.3 3.1 สหรัฐอเมริกา 3,254.3 3.1<br />

อินเดีย 2,839.6 3.2 อินเดีย 2,945.7 2.9 อินเดีย 3,071.0 2.9<br />

ไต้หวัน 1,846.0 2.1 รัสเซีย 2,459.8 2.4 รัสเซีย 2,377.5 2.3<br />

รัสเซีย 1,834.6 2.1 ไต้หวัน 2,060.7 2.0 ไต้หวัน 1,920.4 1.8<br />

10 อันดับแรก 79,058.6 88.6 10 อันดับแรก 92,045.7 90.1 10 อันดับแรก 96,217.1 91.6<br />

อื่น ๆ 10,166.8 11.4 อื่น ๆ 10,153.3 9.9 อื่น ๆ 8,866.7 8.4<br />

รวมทั้งสิ้น 89,225.2 100.0 รวมทั้งสิ้น 102,199.1 100.0 รวมทั้งสิ้น 105,083.8 100.0<br />

หมายเหตุ: *จำนวนนักท่องเที่ยวของประเทศบรูไนก่อนปี 2556 ครอบคลุมเฉพาะผู้ที่เดินทางโดยเครื่องบิน<br />

ที่มา : Asean Tourism Statistics Database<br />

อัตราการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวภายในกลุ่มอาเซียน และภายนอกกลุ่มอาเซียน<br />

ที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียนจำแนกตามประเทศที่เดินทางไป<br />

ประเทศ<br />

ภายในกลุ่มประเทศอาเซียน (%) ภายนอกกลุ่มประเทศอาเซียน (%) รวม (%)<br />

เฉลี่ย<br />

เฉลี่ย<br />

2554/53 2555/54 2556/55 2557/56 ปี2553- 2554/53 2555/54 2556/55 2557/56 ปี2553- 2554/53 2555/54 2556/55 2557/56<br />

57<br />

57<br />

มาเลเซีย -0.27 -0.40 +1.57 +6.63 +1.90 +3.35 +6.76 +6.21 +6.88 +6.31 +0.56 +1.29 +2.73 +6.70 +2.91<br />

เฉลี่ย<br />

ปี2553-<br />

57<br />

ไทย +21.96 +16.87 +14.67 -10.66 +11.50 +19.00 +17.12 +20.42 -5.10 +14.82 +19.84 +17.05 +18.76 -6.66 +13.87<br />

สิงคโปร์ +12.40 +6.71 +6.66 -0.03 +6.97 +13.71 +12.30 +7.93 -4.98 +7.74 +13.17 +10.02 +7.43 -3.04 +7.42<br />

อินโดนีเซีย +39.34 -19.97 +34.84 +4.77 +14.38 -5.86 +23.81 -2.77 +8.81 +5.83 +9.24 +5.16 +9.42 +7.19 +8.68<br />

บรูไน +13.01 -6.68 +2,534.60 +19.93 +808.08 +12.93 -20.95 +142.06 -1.02 +28.47 +12.97 -13.63 +1,468.20 +18.49 +428.28<br />

สปป.ลาว +10.06 +23.79 +12.12 +6.01 +15.49 +1.95 +16.02 +19.54 +26.59 +19.75 +8.38 +22.27 +13.50 +10.03 +16.37<br />

กัมพูชา +29.06 +37.53 +20.95 +8.76 +33.37 +7.59 +16.24 +14.91 +5.56 +12.93 +14.89 +24.37 +17.46 +6.95 +19.88<br />

เมียนมา -80.40 +50.50 +44.74 +630.82 +53.00 +156.45 +26.80 +101.08 -18.76 +107.80 +3.15 +29.72 +93.04 +50.73 +72.33<br />

เวียดนาม +21.74 +62.67 +5.61 +3.80 +29.27 +18.68 +5.96 +11.82 +4.03 +11.57 +19.09 +13.86 +10.58 +3.99 +13.98<br />

ฟิลิปปินส์ +11.23 +13.11 +12.50 +9.33 +13.69 +11.28 +8.70 +9.28 +2.65 +8.92 +11.28 +9.07 +9.56 +3.25 +9.32<br />

รวม +7.68 +5.60 +15.83 +6.65 +10.12 +12.36 +13.53 +13.50 -0.33 +11.08 +10.14 +9.84 +14.54 +2.82 +10.62<br />

หมายเหตุ: *จำนวนนักท่องเที่ยวของประเทศบรูไนก่อนปี 2556 ครอบคลุมเฉพาะผู้ที่เดินทางโดยเครื่องบิน<br />

ที่มา : Asean Tourism Statistics Database<br />

36 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวภายในกลุ่มอาเซียนและภายนอกกลุ่มอาเซียน ที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียน<br />

จำแนกตามประเทศที่เดินทางไป<br />

นักท่องเที่ยวภายในกลุ่มประเทศอาเซียน<br />

ประเทศ<br />

จำนวน (พันคน) อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) สัดส่วนต่อจำนวนทั้งหมด (%)<br />

2554 2555 2556 2557 2554 2555 2556 2557 2554 2555 2556 2557<br />

มาเลเซีย 18,885.3 18,809.7 19,105.9 20,372.8 -0.27 -0.40 +1.57 +6.63 76.41 75.14 74.30 74.25<br />

ไทย 5,529.9 6,462.6 7,410.4 6,620.2 +21.96 +16.87 +14.67 -10.66 28.95 28.91 27.91 26.72<br />

สิงคโปร์ 5,372.2 5,732.7 6,114.7 6,113.0 +12.40 +6.71 +6.66 -0.03 40.79 39.56 39.28 40.50<br />

อินโดนีเซีย 3,258.5 2,607.7 3,516.1 3,683.8 +39.34 -19.97 +34.84 +4.77 42.60 32.42 39.95 39.04<br />

บรูไน* 124.2 115.9 3,053.5 3,662.2 +13.01 -6.68 +2,534.60 +19.93 51.30 55.43 93.12 94.25<br />

สปป.ลาว 2,191.2 2,712.5 3,041.2 3,224.1 +10.06 +23.79 +12.12 +6.01 80.46 81.45 80.47 77.53<br />

กัมพูชา 1,101.1 1,514.3 1,831.5 1,991.9 +29.06 +37.53 +20.95 +8.76 38.21 42.25 43.50 44.24<br />

เมียนมา 100.4 151.1 218.7 1,598.3 -80.40 +50.50 +44.74 +630.82 12.30 14.27 10.70 51.87<br />

เวียดนาม 838.4 1,363.8 1,440.3 1,495.1 +21.74 +62.67 +5.61 +3.80 13.94 19.92 19.02 18.99<br />

ฟิลิปปินส์ 331.7 375.2 422.1 461.5 +11.23 +13.11 +12.50 +9.33 8.47 8.78 9.02 9.55<br />

รวม 37,732.9 39,845.5 46,154.4 49,223.0 +7.68 +5.60 +15.83 +6.65 46.45 44.66 45.16 46.84<br />

นักท่องเที่ยวภายนอกกลุ่มประเทศอาเซียน<br />

ประเทศ<br />

จำนวน (พันคน) อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) สัดส่วนต่อจำนวนทั้งหมด (%)<br />

2554 2555 2556 2557 2554 2555 2556 2557 2554 2555 2556 2557<br />

มาเลเซีย 5,829.0 6,223.0 6,609.6 7,064.5 +3.35 +6.76 +6.21 +6.88 23.59 24.86 25.70 25.75<br />

ไทย 13,568.4 15,891.3 19,136.3 18,159.6 +19.00 +17.12 +20.42 -5.10 71.05 71.09 72.09 73.28<br />

สิงคโปร์ 7,799.1 8,758.5 9,453.2 8,982.2 13.71 +12.30 +7.93 -4.98 59.21 60.44 60.72 59.50<br />

อินโดนีเซีย 4,391.2 5,436.8 5,286.1 5,751.6 -5.86 +23.81 -2.77 +8.81 57.40 67.58 60.05 60.96<br />

บรูไน* 117.9 93.2 225.6 223.3 +12.93 -20.95 +142.06 -1.02 48.70 44.57 6.88 5.75<br />

สปป.ลาว 532.3 617.6 738.3 934.6 +1.95 +16.02 +19.54 +26.59 19.54 18.55 19.53 22.47<br />

กัมพูชา 1,780.8 2,070.0 2,378.7 2,510.9 +7.59 +16.24 +14.91 +5.56 61.79 57.75 56.50 55.76<br />

เมียนมา 716.0 907.9 1,825.6 1,483.1 +156.45 +26.80 +101.08 -18.76 87.70 85.73 89.30 48.13<br />

เวียดนาม 5,175.6 5,483.9 6,132.1 6,379.2 +18.68 +5.96 +11.82 +4.03 86.06 80.08 80.98 81.01<br />

ฟิลิปปินส์ 3,585.8 3,897.6 4,259.2 4,371.9 +11.28 +8.70 +9.28 +2.65 91.53 91.22 90.98 90.45<br />

รวม 43,496.1 49,379.7 56,044.6 55,860.8 +12.36 +13.53 +13.50 -0.33 53.55 55.34 54.84 53.16<br />

หมายเหตุ: *จำนวนนักท่องเที่ยวของประเทศบรูไนก่อนปี 2556 ครอบคลุมเฉพาะผู้ที่เดินทางโดยเครื่องบิน<br />

ที่มา : Asean Tourism Statistics Database<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

37


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

ด้วยการเติบโตทางด้านการท่องเที่ยวของอาเซียนดังกล่าว<br />

ทำให้การท่องเที่ยวในอาเซียนถูกจัดเป็นสาขาบริการที่ต้องเร่ง<br />

ดำเนินการภายใต้ความร่วมมือ AEC และมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์<br />

การท่องเที่ยวอาเซียนมาถึง 2 ฉบับแล้ว โดย<strong>ฉบับที่</strong> 1 พ.ศ. 2554 – 2558<br />

แผนระยะ 5 ปี ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว และปัจจุบันองค์กร<br />

การท่องเที่ยวแห่งชาติอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> NTOs) ได้จัดทำแผน<br />

ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน <strong>ฉบับที่</strong> 2 พ.ศ. 2559 – 2568 ซึ่งเป็น<br />

แผนระยะ 10 ปี กำหนดให้ภายในปี 2568 อาเซียนจะเป็นแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวคุณภาพที่มีเอกลักษณ์ นำเสนอประสบการณ์อาเซียน<br />

ที่หลากหลาย และยึดมั่นในพัฒนาการท่องเที่ยวที่รับผิดชอบ ยั่งยืน<br />

กระจายการพัฒนาอย่างสมดุล เพื่อช่วยส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดี<br />

ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของชาวอาเซียน ประกอบด้วย 2 ยุทธศาสตร์<br />

คือ (1) การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน<br />

ให้เป็นหนึ่งจุดหมายปลายทางเดียวกัน โดยกำหนดมาตรการรองรับ<br />

ในรูปของการส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมโยงทางด้านกายภาพและ<br />

ด้านสถาบัน และ (2) กลยุทธ์การสร้างความเชื่อมั่นต่อการเติบโต<br />

ด้านการท่องเที่ยวของอาเซียนอย่างยั่งยืนและครอบคลุมในทุกมิติ<br />

ซึ่งจากแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวนำมาสู่การจัดทำข้อตกลงท่องเที่ยว<br />

แห่งอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Tourism Agreement: ATTA) เพิ่มเติม โดยมี<br />

จุดมุ่งหมายให้อาเซียนเป็น Single Tourism Destination มีข้อตกลง<br />

ที่กำหนด อาทิ การปรับปรุงขั้นตอนการออกวีซ่า การเปิดเสรีทางอากาศ<br />

การจัดทำความตกลงทางพาณิชย์ระหว่างสายการบินในอาเซียน<br />

การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการสนามบิน การพัฒนานโยบาย<br />

การท่องเที่ยวทางเรือสำราญ เรือข้ามฟาก และเรือสมุทร การกระตุ้น<br />

การท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ<br />

มรดกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของกลุ่มประเทศสมาชิก<br />

อาเซียน การส่งเสริมความปลอดภัยและความมั่นคงด้านการท่องเที่ยว<br />

การส่งเสริมการตลาดร่วมกัน การกระชับความร่วมมือระหว่าง<br />

องค์กรด้านการท่องเที่ยวในอาเซียน โดยเฉพาะสายการบิน โรงแรม<br />

ที่พักตากอากาศ ผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว การขยายแผนการ<br />

ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยเน้น <strong>ASEAN</strong> Brand สุดท้ายคือ การยกระดับ<br />

หลักสูตรด้านการท่องเที่ยว และเร่งพัฒนาคุณสมบัติของผู้ให้บริการ<br />

ชาวอาเซียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสมรรถนะพื้นฐานของ<br />

บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Common<br />

Competency Standards for Tourism Professionals: ACCSTP)<br />

38 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

สำหรับสถานการณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวอาเซียน<br />

ในประเทศไทย ในปี 2558 มีจำนวน 7.88 ล้านคน คิดเป็น<br />

สัดส่วนร้อยละ 26.4 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด ซึ่งสูงเป็น<br />

อันดับที่ 2 รองจากนักท่องเที่ยวจีนที่มีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 26.5<br />

โดยนักท่องเที่ยวอาเซียนของไทยที่มีจ ำนวนมากที่สุด 3 อันดับแรก<br />

คือ มาเลเซีย สปป.ลาว และสิงคโปร์ ซึ่งมีสัดส่วนรวมกันเท่ากับ<br />

ร้อยละ 70.9 ของนักท่องเที่ยวอาเซียนทั้งหมด นอกจากนี้ จากการ<br />

ศึกษาข้อมูลของกรมการท่องเที่ยวยังพบประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้<br />

สัดส่วนนักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย ปี 2558P จำแนกตามประเภทการเดินทาง<br />

สัญชาติ<br />

สัดส่วนนักท่องเที่ยวจำแนกตามประเภทการเดินทาง (ร้อยละ)<br />

อากาศ น้ำ บก รวม<br />

บรูไน 93.3 0.4 6.3 100.0<br />

กัมพูชา 24.8 1.1 74.1 100.0<br />

อินโดนีเซีย 81.4 0.8 17.8 100.0<br />

สปป.ลาว 3.0 4.0 93.0 100.0<br />

มาเลเซีย 32.5 2.8 64.7 100.0<br />

เมียนมา 97.6 0.1 2.3 100.0<br />

ฟิลิปปินส์ 81.5 0.7 17.8 100.0<br />

สิงคโปร์ 95.3 0.1 4.6 100.0<br />

เวียดนาม 62.6 1.1 36.3 100.0<br />

รวม 44.8 2.1 53.1 100.0<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียนเดินทางเข้ามาทางบกมากที่สุด และกรุงเทพฯ<br />

เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากที่สุดนักท่องเที่ยวอาเซียน<br />

จำนวน 4.18 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 53.1 ของนักท่องเที่ยว<br />

อาเซียนที่เข้ามายังประเทศไทยเดินทางโดยทางบก รองลงมา<br />

ได้แก่ ทางอากาศ 3.53 ล้านคน และทางเรือ 0.16 ล้านคน หรือ<br />

คิดเป็นร้อยละ 44.8 และร้อยละ 2.1 ตามลำดับ ทั้งนี้ หากพิจารณา<br />

สัดส่วนประเภทการเดินทางของนักท่องเที่ยวอาเซียนแต่ละประเทศ<br />

พบว่า นักท่องเที่ยวที่มีสัดส่วนการเดินทางเข้ามาทางบกมากที่สุด<br />

คือ สปป.ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ซึ่งมีพรมแดนติดกับประเทศไทย<br />

สำหรับนักท่องเที่ยวอาเซียนอื่น ๆ เดินทางโดยทางอากาศเป็นหลัก<br />

อย่างไรก็ตาม เป็นที่สังเกตว่ามีหลายประเทศที่ไม่มีพรมแดน<br />

ติดกับประเทศไทย แต่มีผู้เดินทางเข้าประเทศไทยทางบกจำนวน<br />

ไม่น้อย เช่น เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น แสดงให้เห็นว่า<br />

มีนักท่องเที่ยวส่วนหนึ่งที่เดินทางท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้าน และ<br />

เดินทางต่อเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย<br />

นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวอาเซียน 8 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา<br />

อินโดนีเซีย สปป.ลาว เมียนมา ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม<br />

และบรูไน มาเยือนกรุงเทพฯ มากเป็นอันดับที่ 1 ขณะที่ภาคใต้<br />

เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวมาเลเซีย<br />

อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในด้านจำนวนนักท่องเที่ยว<br />

จะพบว่า ภาคใต้มีจำนวนผู้ไปเยือนมากที่สุด เนื่องจากเป็นแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวหลักของนักท่องเที่ยวมาเลเซียซึ่งมีจ ำนวนมากที่สุด<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

39


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

จำนวนประชากรอาเซียน และจำนวนนักท่องเที่ยวอาเซียนที่เดินทางมาประเทศไทย ปี 2558P<br />

ประเทศ จำนวนประชากร 1/ เดินทางท่องเที่ยวประเทศไทย2/ ลำดับการกระจายตัวของนักท่องเที่ยว2/<br />

จำนวน ร้อยละ* 1 2 3<br />

บรูไน 417,394 13,833 3.3 กรุงเทพฯ ภาคเหนือ ภาคใต้<br />

กัมพูชา 15,328,136 487,487 3.2 กรุงเทพฯ ภาคตะวันออก ภาคใต้<br />

อินโดนีเซีย 254,454,778 469,226 0.2 กรุงเทพฯ ภาคใต้ ภาคตะวันออก<br />

สปป.ลาว 6,689,300 1,233,138 18.4 กรุงเทพฯ<br />

ภาคตะวันออกเฉียง<br />

เหนือ<br />

ภาคใต้<br />

มาเลเซีย 29,901,997 3,423,397 11.4 ภาคใต้ กรุงเทพฯ ภาคเหนือ<br />

เมียนมา 53,437,159 259,678 0.5 กรุงเทพฯ ภาคใต้ ภาคเหนือ<br />

ฟิลิปปินส์ 99,138,690 310,975 0.3 กรุงเทพฯ ภาคใต้ ภาคตะวันออก<br />

สิงคโปร์ 5,469,700 937,311 17.1 กรุงเทพฯ ภาคใต้ ภาคตะวันออก<br />

เวียดนาม 90,730,000 751,091 0.8 กรุงเทพฯ ภาคตะวันออก ภาคใต้<br />

หมายเหตุ: * หมายถึง ร้อยละต่อประชากร ที่มา: 1/ World Bank 2/ กรมการท่องเที่ยว<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียนมาประเทศไทยส่วนใหญ่เพื่อการท่องเที่ยว/<br />

พักผ่อน มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 75.1 และเป็นวัตถุประสงค์การเดินทาง<br />

หลักในทุกประเทศ รองลงมาได้แก่ การติดต่อธุรกิจ การช้อปปิ้ง MICE<br />

บริการสุขภาพ ราชการ การแต่งงาน/ฮันนีมูน และกีฬา ตามล ำดับ<br />

โดยการเดินทางเพื่อติดต่อธุรกิจที่มีสัดส่วนสูงเป็นอันดับที่ 2 ใน 7<br />

ประเทศ คือ กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย ฟิลลิปปินส์<br />

สิงคโปร์ และเวียดนาม นอกจากนี้ การเดินทางมาเพื่อการประชุม<br />

สัมมนา การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลและงานแสดงสินค้า (MICE)<br />

เป็นวัตถุประสงค์การเดินทางที่มีสัดส่วนสูงเป็นอันดับที่ 3 ใน 5<br />

ประเทศ โดยสปป.ลาว และกัมพูชา มีสัดส่วนสูงประมาณร้อยละ 10<br />

สะท้อนให้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นจุดหมายปลายทางที่สามารถ<br />

ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวอาเซียนที่หลากหลาย<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

40 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

สัดส่วนวัตถุประสงค์การเดินทางของนักท่องเที่ยวอาเซียนปี 2558P<br />

ประเทศ<br />

ท่องเที่ยว<br />

/พักผ่อน<br />

ติดต่อธุรกิจ ช้อปปิ้ง MICE สุขภาพ ราชการ<br />

เเต่งงาน/ฮัน<br />

นีมูน<br />

บรูไน 85.8 2.3 2.3 4.1 0.8 0.5 3.4 0.3 0.5<br />

กัมพูชา 64.6 10.7 3.4 9.0 8.7 2.3 0.2 0.0 1.1<br />

อินโดนีเซีย 76.0 10.1 5.5 3.5 0.2 1.8 0.3 0.2 2.4<br />

สปป.ลาว 64.0 12.7 4.8 10.4 2.7 2.6 0.8 0.2 1.8<br />

มาเลเซีย 81.0 8.6 5.1 2.7 0.0 0.9 0.4 0.6 0.7<br />

เมียนมา 54.3 11.3 15.4 2.6 8.5 3.2 0.0 0.2 4.5<br />

ฟิลิปปินส์ 72.1 13.4 2.4 4.8 0.2 1.5 0.0 0.7 4.9<br />

สิงคโปร์ 86.8 4.7 4.4 0.9 0.2 0.7 0.8 0.2 1.3<br />

เวียดนาม 66.2 23.1 2.4 5.2 0.4 0.8 0.4 0.4 1.1<br />

รวม 75.1 10.5 4.8 4.4 1.5 1.4 0.5 0.4 1.4<br />

หมายเหตุ: 1) P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น 2) สีเขียว หมายถึง สัดส่วนสูงเป็นอันดับที่ 1 และสีน้ ำตาล หมายถึง สัดส่วนสูงเป็นอันดับที่ 2<br />

ที่มา: โครงการสำรวจค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยว ปี 2558 (ส ำรวจ 7,900 ราย) กรมการท่องเที่ยว<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียนนิยมจับจ่ายซื้อเสื้อผ้า อาหารแห้ง/ของขบเคี้ยว และเครื่องหนังมากที่สุดนักท่องเที่ยวอาเซียนมีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว<br />

ประเทศไทยเฉลี่ยคนละ 28,076.43 บาท ในจำนวนนี้เป็นค่าซื้อสินค้า/ของที่ระลึกเฉลี่ยคนละ 8,568.10 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 30 ของ<br />

ค่าใช้จ่ายทั้งหมด สำหรับสินค้าที่มีมูลค่าการใช้จ่ายสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ เสื้อผ้า อาหารแห้ง/ของขบเคี้ยว เครื่องหนัง อัญมณี/<br />

เครื่องประดับ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ตามล ำดับ ทั้งนี้ นักท่องเที่ยวอาเซียนทุกประเทศมีค่าใช้จ่ายซื้อเสื้อผ้าสูงเป็นอันดับ 1 และอาหารแห้ง/<br />

ของขบเคี้ยวสูงเป็นอันดับ 2<br />

กีฬา<br />

อื่นๆ<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

41


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนของนักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย ปี 2558P<br />

บรูไน<br />

<strong>ASEAN</strong> Connect อาจส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทยทั้งใน แปลกใหม่มีธรรมชาติที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ และแหล่งท่องเที่ยว<br />

ด้านบวกและลบ คือ ไทยจะได้รับประโยชน์จากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวมรดกโลกที่มีชื่อเสียง ซึ่งแต่ละประเทศต่างมีนโยบายและมาตรการ<br />

ทั้งจากภายในภูมิภาคอาเซียนและจากนอกภูมิภาค ด้วยความ กระตุ้นภาคการท่องเที่ยวของประเทศออกมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้แม้ว่า<br />

ได้เปรียบจากที่ตั้งของประเทศ และความพร้อมด้านการคมนาคม ในปัจจุบันจำนวนวันพักเฉลี่ยโดยรวมของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<br />

ขนส่งของไทยที่มากกว่าประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียง ส่งผลให้ไทย ของไทยจากภูมิภาคต่างๆ จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ผล<br />

มีบทบาทเป็นจุดศูนย์กลาง เพื่อรองรับและกระจายนักท่องเที่ยว จากการเพิ่มขึ้นมากของจ ำนวนนักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออก<br />

(Springboard) ทั้งจากภายในภูมิภาคอาเซียน และนอกภูมิภาค<br />

อาเซียน อย่างไรก็ตาม การเติบโตดังกล่าวอาจส่งผลต่อความแออัดและ<br />

ประสิทธิภาพการให้บริการของท่าอากาศยานของไทยทั้งในส่วนกลาง<br />

และส่วนภูมิภาค รวมทั้งด่านตรวจคนเข้าเมืองได้ในอนาคต<br />

นอกจากนั้น ความสะดวกในการเดินทางเชื่อมโยงไปยังประเทศต่างๆ<br />

ในอาเซียนที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะประเทศกลุ่ม CLMV ได้แก่ กัมพูชา<br />

สปป.ลาว เมียนมา และเวียดนาม ที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีความ<br />

ประเทศ*<br />

กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมา ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม อาเซียน<br />

เสื้อผ้า 5,502.78 3,320.23 4,822.79 2,516.02 3,396.91 7,015.38 5,081.37 7,312.26 5,702.77 4,213.51<br />

ผ้าไหม/ผ้าฝ้าย 444.59 411.74 328.26 231.61 473.01 533.85 396.40 147.06 220.51 359.01<br />

เครื่องหนัง 935.44 393.36 342.63 947.07 647.01 729.36 988.25 437.36 554.94 643.13<br />

อัญมณี<br />

/เครื่องประดับ<br />

994.00 494.72 554.15 295.68 588.59 268.06 953.20 340.71 565.40 507.80<br />

หัตถกรรม 537.12 280.48 777.11 375.42 434.10 644.14 444.79 287.67 353.46 418.27<br />

ของเล่น 164.82 172.52 75.70 133.39 138.52 154.85 165.77 92.46 150.70 133.43<br />

เครื่องใช้ไฟฟ้า 764.11 343.21 196.58 337.40 356.18 828.26 1,483.85 312.15 737.73 434.78<br />

ผลิตภัณฑ์<br />

สุขภาพ/สปา<br />

500.25 355.13 169.17 264.82 278.45 597.70 329.77 370.89 556.46 324.94<br />

ผลไม้/<br />

ดอกไม้<br />

301.45 149.52 155.90 99.96 211.56 110.25 163.20 96.04 191.60 166.24<br />

อาหารแห้ง/<br />

ของขบเคี้ยว<br />

1,116.17 750.79 1,113.96 478.29 1,054.54 1,061.43 921.59 1,281.84 881.52 954.82<br />

วัตถุมงคล 70.85 25.70 35.48 30.01 70.71 52.33 6.08 81.82 16.74 52.50<br />

อื่นๆ 482.90 450.70 397.55 564.54 289.38 449.90 245.68 251.67 409.43 359.67<br />

รวม 11,814.48 7,148.10 8,969.28 6,274.21 7,938.96 12,445.51 11,179.95 11,011.93 10,341.26 8,568.10<br />

หมายเหตุ : 1) P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น 2) * ประมาณการจากโครงสร้างการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย ไตรมาสที่ 1<br />

และ 2 ปี 2558, ที่มา : โครงการสำรวจค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยว ปี 2558 (ส ำรวจ 7,900 ราย), กรมการท่องเที่ยว<br />

ที่มีวันพักสั้นมีผลกระทบทำให้จำนวนวันพักเฉลี่ยโดยรวมลดลง<br />

อย่างไรก็ตาม คาดว่าบทบาทการเป็นประตูและสะพานสู่อาเซียน<br />

ของไทยจะไม่ส่งผลต่อวันพักเฉลี่ยโดยรวมในระยะสั้น แต่การเติบโต<br />

ของการท่องเที่ยวอาเซียน อาจมีผลทำให้นักท่องเที่ยวต่างชาติ<br />

ของไทยกระจายตัวสู่ประเทศอาเซียนมากขึ้นในขณะที่ระยะเวลา<br />

รวมของการเดินทางท่องเที่ยวเปลี่ยนแปลงได้ค่อนข้างยาก จึงอาจ<br />

มีผลทำให้จำนวนวันพักของนักท่องเที่ยวรายสัญชาติในประเทศไทย<br />

ลดลงในอนาคต<br />

42 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

จำนวนวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติของไทย ปี 2556 – 2558P<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

ในขณะเดียวกัน อาจส่งผลให้ การกระจายตัวของนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติสู่แหล่งท่องเที่ยวรองในประเทศไทยลดลง เนื่องจากจำนวน<br />

วันพักที่จำกัด ดังนั้น ภายหลังที่นักท่องเที่ยวเสร็จสิ้นการเดินทาง<br />

ในแหล่งท่องเที่ยวหลัก (ส่วนใหญ่คือ กรุงเทพมหานคร และจังหวัด<br />

ชายทะเลอย่างเช่น พัทยา ภูเก็ต สมุย และกระบี่ เป็นต้น) อาจจะ<br />

เดินทางต่อไปท่องเที่ยวประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียนทันทีโดยไม่ให้<br />

ความสนใจที่จะแวะพักตามแหล่งท่องเที่ยวรองของไทย<br />

ความพร้อมของประเทศไทยต่อการเป็นศูนย์กลางความเชื่อมโยงด้าน<br />

การท่องเที่ยวของอาเซียนตามที่รัฐบาลได้ตั้งเป้าหมาย หรืออาจจะ<br />

เรียกได้ว่า การกำหนดตำแหน่ง (Position) ให้ประเทศไทยมีบทบาท<br />

เสมือนประตูหลักสู่ภูมิภาคอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Hub) เป็นศูนย์กลาง<br />

ความเชื่อมโยงและกระจายนักท่องเที่ยวของภูมิภาคอาเซียน<br />

ทั้งทางการบิน ทางบก และทางน้ ำ ดังนั้น ต้องพิจารณาว่าประเทศไทย<br />

มีจุดแข็ง (ศักยภาพ) เพียงพอหรือไม่ และอะไรคือโอกาสและข้อจ ำกัด<br />

ต่อการมีบทบาทดังกล่าว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

43


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

โอกาส<br />

• ทำเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่อยู่ศูนย์กลางของอาเซียนและมีเขตแดนติดต่อกับหลายประเทศในอาเซียน (สปป.ลาว เมียนมา กัมพูชา มาเลเซีย)<br />

ที่สามารถเชื่อมต่อไปยังประเทศอื่นๆ ทั้งในภูมิภาคเดียวกันและประเทศในภูมิภาคอื่นได้ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ โดยเฉพาะ<br />

ทางบกที่มีการเดินทางผ่านเข้า-ออกตามด่านชายแดนทั้งหมด 28 ด่าน โดยแต่ละปีมีการเดินทางเข้าออกประเทศไทยกว่า 10 ล้านคน<br />

และมีท่าอากาศยานในประเทศกระจายไปยังภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศและประเทศใกล้เคียง จ ำนวน 66 แห่ง โดยเป็นท่าอากาศยานที่รองรับ<br />

เครื่องบินพาณิชย์ 35 แห่ง และเป็นสนามบินนานาชาติ 12 แห่ง<br />

สถิติการเดินทางเข้า - ออกราชอาณาจักร โดยใช้บัตรผ่านแดน (Border Pass)<br />

ปี<br />

เมียนมา สปป.ลาว กัมพูชา มาเลเซีย รวม<br />

เข้า ออก เข้า ออก เข้า ออก เข้า ออก เข้า ออก<br />

2554 516,931 454,362 1,139,943 1,093,389 6,226,221 6,071,130 455,718 430,852 13,088,029 12,916,876<br />

2555 1,049,293 987,046 1,113,867 1,079,999 6,058,505 5,865,591 386,014 363,175 13,433,479 13,270,774<br />

2556 1,533,583 1,473,370 883,327 858,259 1,432,085 1,357,392 534,356 527,774 8,595,725 8,669,190<br />

2557 2,589,722 2,415,286 1,091,485 1,072,824 1,481,770 1,417,955 479,214 456,806 10,045,147 9,946,462<br />

2558 3,155,337 2,979,097 1,149,544 1,159,039 1,733,838 1,669,306 536,779 504,701 11,329,585 11,268,021<br />

ที่มา : สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง<br />

• มีการขยายตัวของเที่ยวบิน (Low Cost) ภายในประเทศและ<br />

ระหว่างประเทศ โดยใช้ไทยเป็นจุดศูนย์กลางในการบินเชื่อมต่อ<br />

ไปภูมิภาคต่างๆ ของไทย หรือประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียน<br />

เพื่อรองรับการเติบโตของนักท่องเที่ยวที่จัดการเดินทางด้วยตนเอง<br />

(FIT) ที่มีพฤติกรรมท่องเที่ยวอย่างประหยัดมากขึ้น<br />

• ความพร้อมของบริการด้านการท่องเที่ยว ทั้งจำนวนโรงแรม<br />

ที่พักที่มีอยู่มากมายหลายระดับที่พร้อมให้บริการในราคาที่ยอมรับ<br />

ความสะอาดและพอเพียงของสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ<br />

และการให้บริการด้วยความเป็นไทยที่เป็นเอกลักษณ์และเสน่ห์ของ<br />

บริการด้านการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ยังมีความพร้อมในการให้บริการ<br />

แก่นักท่องเที่ยวกลุ่มเฉพาะ (Niche) เห็นได้จากวัตถุประสงค์ในการ<br />

เดินทางมาไทย นอกเหนือจากท่องเที่ยวแล้ว มีการเดินทางมาเพื่อ<br />

ทำธุรกิจ และจับจ่ายซื้อสินค้าเป็นวัตถุประสงค์ต้นๆ ในการเดินทาง<br />

• ประเทศไทยมีความร่วมมือกับกลุ่มสมาชิกอาเซียนมาโดยตลอด<br />

ทั้งการประสานความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง<br />

(GMS) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี - เจ้าพระยา - แม่โขง<br />

(ACMES) และความร่วมมือเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-<br />

มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) เป็นต้น<br />

• หน่วยงานภาครัฐให้ความสำคัญและสนับสนุนการส่งเสริมให้<br />

ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางเดินทาง ของนักท่องเที่ยวจากภูมิภาค<br />

อื่น ๆ และการเชื่อมโยงและกระจายนักท่องเที่ยวภายในกลุ่มอาเซียน<br />

โดยกำหนดให้ไทยเป็น <strong>ASEAN</strong> Hub ทั้งทางการบิน ทางบก และทางน้ ำ<br />

ข้อจำกัด<br />

• แรงงานด้านการท่องเที่ยวของไทยมีความขาดแคลน<br />

ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ขณะที่แรงงานใหม่ที่จบการศึกษา<br />

สาขาโรงแรมและการท่องเที่ยวจะรู้แต่ทฤษฎี แต่ยังมีข้อจำกัด<br />

ในด้านประสบการณ์การทำงาน รวมถึงความอ่อนทักษะด้านภาษา<br />

ในการสื่อสารกับผู้รับบริการชาวต่างชาติ<br />

• ความสามารถด้านการแข่งขันของแหล่งท่องเที่ยวไทยกับประเทศ<br />

ในอาเซียนที่มีแนวโน้มลดลง จากปัญหาความเสื่อมโทรมของ<br />

แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ตลอดจนการขาดความเป็นระเบียบของ<br />

แหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว<br />

และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น<br />

• การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้านที่ดึงดูดใจมากกว่า<br />

แหล่งท่องเที่ยวของไทย<br />

ประเด็นที่ควรให้ความสำคัญ<br />

• การกำหนดตำแหน่ง (Position) ของประเทศไทยในอาเซียน<br />

ที่ชัดเจน โดยการส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยว<br />

เพื่อพักผ่อนสุดสัปดาห์ของประชากรอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Weekend<br />

Destination) ที่สามารถเดินทางมาท่องเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ<br />

รวมทั้งซื้อสินค้า ประชุม/สัมมนาและจัดแสดงสินค้า การรักษาพยาบาล<br />

และการเสริมสร้างสุขภาพ หรือการท่องเที่ยวทางบันเทิง (สวนสนุก<br />

Theme Park เป็นต้น) หรือเป็นจุดแวะพักชั้นเยี่ยมเพื่อเดินทาง<br />

ต่อไปยังประเทศอื่นๆ ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง<br />

44 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

การเดินทางของนักท่องเที่ยวต่างชาติในอาเซียน (<strong>ASEAN</strong> Hub)<br />

ที่นักท่องเที่ยวต่างชาติส่วนใหญ่เดินทางมาแวะพักประเทศไทยทั้งการ<br />

เป็นจุดหมายปลายทางหรือเป็นทางผ่านไปยังประเทศอื่นๆ ในอาเซียน<br />

• เร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ<br />

เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวให้พักค้างคืนในประเทศไทยหรือจับจ่าย<br />

ใช้สอยในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ก่อนเดินทางต่อไปยังประเทศอื่นๆ<br />

ในกลุ่มอาเซียน และเป็นจุดแวะพักแก่นักท่องเที่ยวอาเซียนก่อน<br />

เดินทางไปแหล่งท่องเที่ยวหลักในประเทศซึ่งส่วนใหญ่อยู่ไกลจาก<br />

ด่านข้ามแดน อาทิ การพัฒนาจุดแวะพักส ำหรับนักท่องเที่ยวอาเซียน/<br />

ชาวต่างชาติที่เดินทาง โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ชายแดนเพื่อเป็น<br />

จุดแวะพักให้แก่นักท่องเที่ยวนอกอาเซียนก่อนเดินทางข้ามแดนไป<br />

ท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้าน<br />

• เร่งพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานทางการบินของประเทศ<br />

เพื่อรองรับกับโอกาสในการเป็นศูนย์กลางการเดินทางทางอากาศ<br />

สู่อาเซียน ทั้งการเร่งรัดการขยายท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จัดทำ<br />

ท่าอากาศยานหลัก/รองเพื่อรองรับปริมาณนักท่องเที่ยวที่เพิ่ม<br />

ขึ้นอย่างเป็นระบบ เช่น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-ดอนเมือง-<br />

อู่ตะเภา ในต่างจังหวัด เช่น ภูเก็ต-กระบี่-สุราษฎร์ธานี การปรับปรุง<br />

ท่าอากาศยานในภูมิภาคให้เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่<br />

เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านตามการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อาทิ<br />

ท่าอากาศยานอู่ตะเภา และท่าอากาศยานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

รวมทั้งการสร้างเส้นทางรถไฟเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง<br />

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยาน<br />

อู่ตะเภา เพื่อใช้เป็นฐานในการกระจายนักท่องเที่ยวไปยังพื้นที่ต่างๆ<br />

ภายในภูมิภาคและระหว่างภูมิภาค<br />

• สนับสนุนให้มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยว<br />

ทางน้ำและทางบก เพื่อเชื่อมโยงการเดินทางระหว่างกัน ซึ่งครอบคลุม<br />

ไม่เฉพาะการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน แต่ควรเพิ่มการให้ความ<br />

สำคัญกับความร่วมมือในการกำหนดเส้นทางท่องเที่ยวและร่วมกัน<br />

กำหนดมาตรฐานในการเดินทางเข้าออกระหว่างประเทศ โดยคำนึง<br />

ถึงมิติด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคง และความยั่งยืนของระบบการ<br />

ท่องเที่ยวของภูมิภาค<br />

• ส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนด้านการท่องเที่ยวไทยใน<br />

อาเซียน เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทย<br />

กับประเทศในอาเซียนมากขึ้น ทั้งในรูปของการจัดทำแพ็คเกจ<br />

การท่องเที่ยวร่วมกันและการส่งต่อนักท่องเที่ยวระหว่างกัน ในรูปแบบ<br />

ของ Combined Packages ที่เชื่อมโยงนักท่องเที่ยวจากเมืองหลัก<br />

สู่เมืองรอง (Capital to Local : C2L) ซึ่งเป็นที่นิยมของแต่ละประเทศ<br />

รวมทั้งสนับสนุนการเชื่อมโยงในลักษณะเมืองรองสู่เมืองรอง (Local<br />

to Local : L2L) ที่สามารถเชื่อมโยงได้ทั้งทางอากาศและทางบก<br />

ตัวอย่างเช่น ปัจจุบันสายการบินไทยแอร์เอเชียได้กำหนดให้<br />

ท่าอากาศยานดอนเมืองเป็นจุดพักและเชื่อมโยงนักท่องเที่ยว<br />

อินโดนีเซียสู่ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียน และจังหวัดสระแก้ว<br />

ซึ่งเป็นประตูภาคตะวันออกที่เชื่อมโยงกับประเทศกัมพูชาและ<br />

เวียดนาม ที่สามารถกระจายนักท่องเที่ยวสู่จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี<br />

ระยอง และกรุงเทพฯ เป็นต้น ซึ่งช่วยให้ประเทศไทยมีบทบาท<br />

ที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในการเป็นศูนย์กลางรองรับและกระจายนักท่องเที่ยว<br />

ในภูมิภาคอาเซียน<br />

• ส่งเสริมการจัดเส้นทางการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยกับ<br />

ประเทศกลุ่ม CLMV ที่ได้มีการจัดเส้นทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศ<br />

ในกลุ่ม CLMV (Multicountry Tour Routes) สำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยว<br />

ที่ต้องการเดินทางหลายประเทศในคราวเดียวกัน โดยใช้ทางหลวง<br />

อาเซียนเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทาง และการล่องเรือทางแม่น้ำ<br />

ไว้ทั้งหมด 11 เส้นทาง สำหรับเส้นทางที่เชื่อมโยงกับประเทศไทย<br />

มีอยู่ 9 เส้นทาง โดย 2 เส้นทางที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพหลัก ได้แก่<br />

เส้นทาง Mekong Discovery Trail ที่เชื่อมโยง บุรีรัมย์-อุบลราชธานี-<br />

จำปาสัก สปป.ลาว และสะตรึงแตรง กัมพูชา และเส้นทาง Mekong<br />

Cruising in the Golden Triangle ที่เชื่อมโยง เชียงราย-เชียงของ-<br />

บ่อแก้ว-ปากเบ็ง-หลวงพระบาง สปป.ลาว ซึ่งเส้นทางนี้จะเน้น<br />

การท่องเที่ยวทางเรือ Cruise ระหว่างประเทศที่มีระยะเวลาการเดินทาง<br />

หลายวันล่องตามลุ่มแม่น้ำโขง หรือการเดินทางภายในหนึ่งวันเพื่อ<br />

ชมธรรมชาติและวัฒนธรรม รวมทั้งกิจกรรมการผจญภัย<br />

• ปรับกลยุทธ์เพื่อให้การมาเที่ยวประเทศไทยเป็นมากกว่าการ<br />

มาเพื่อท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว สำหรับนักท่องเที่ยวในประเทศ<br />

กลุ่ม CLMV เนื่องจากนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีศักยภาพในการ<br />

ใช้จ่าย มีโอกาสในการเติบโตสูง และมีวัตถุประสงค์การเดินทาง<br />

มาประเทศไทยที่หลากหลาย การลงทุนและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว<br />

ขนาดใหญ่ที่มีสินค้าและบริการพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ<br />

ที่ตอบสนองวัตถุประสงค์การเดินทางของแต่ละชาติ จะช่วยยกระดับ<br />

ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านอื่นนอกเหนือจากท่องเที่ยวพักผ่อน<br />

• การส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนไทยที่ได้เปรียบในการเป็น<br />

ผู้นำด้านการท่องเที่ยวเหนือ CLMV<br />

• รัฐบาลสนับสนุนให้ภาคธุรกิจไทยเข้าไปลงทุนในพื้นที่เขต<br />

เศรษฐกิจพิเศษชายแดน เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับประเทศ<br />

เพื่อนบ้าน และขยายฐานสู่ประเทศเพื่อนบ้านที่ยังต้องการการลงทุน<br />

การพัฒนาทางการท่องเที่ยวในระยะต่อไป<br />

สุดท้ายคงเป็นเรื่องของบทบาทภาคเอกชนที่ต้องกระตือรือร้นใน<br />

การเรียนรู้และปรับตัวเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ<br />

ที่สำคัญคือ ต้องรักษาคุณภาพการบริการให้เป็นที่ประทับใจ ไม่เอา<br />

เปรียบนักท่องเที่ยวร่วมกันสอดส่องการประกอบธุรกิจท่องเที่ยว<br />

ที่ผิดกฎหมายให้เข้าสู่ระบบ และร่วมให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะที่เป็น<br />

ประโยชน์แก่ภาครัฐในการนำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องต่อไป<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

45


<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

ขอมูลป2558<br />

8.5<br />

%<br />

จำนวนนักทองเที่ยว<br />

(ลานคน)<br />

6.2<br />

1.5<br />

ป 2555<br />

อัตราเติบโต<br />

จำนวนนักเที่ยว<br />

เฉลี่ยตอป<br />

<strong>ASEAN</strong> TOURIST<br />

7.2<br />

1.9<br />

ป 2556<br />

อัตราเติบโต<br />

รายได<br />

เฉลี่ยตอป<br />

ป 2557<br />

6.6<br />

1.7<br />

13.3<br />

%<br />

ป 2558<br />

7.8<br />

2.2<br />

รายได<br />

(แสนลานบาท)<br />

เปรียบเทียบกับนักทองเที่ยวภูมิภาคอื่น<br />

CHINA<br />

<strong>ASEAN</strong><br />

EUROPE<br />

OTHER<br />

26.55%<br />

26.39%<br />

18.84%<br />

28.22%<br />

80%<br />

มาเพื่อเที่ยว<br />

พักผอน<br />

แต 10% มาทำธุรกิจ<br />

แต 29% ไปกรุงเทพฯ<br />

58%<br />

นิยมไปภาคใต<br />

ขอมูลพฤติกรรม<br />

นักทองเที่ยว<br />

อาเซียน<br />

ที่มาไทย<br />

28,076 บาท<br />

คือคาใชจายของ<br />

นักทองเที่ยวอาเซียน<br />

เฉลี่ยตอทริป<br />

เพิ่มขึ้น 4.4%<br />

จากปที่แลว<br />

51%<br />

นิยมซื้อ<br />

เสื้อผา<br />

แต 10% มาซื้อเครื่องหนัง<br />

แต 44% ขึ้นเครื่องบินมา<br />

53%<br />

คมนาคม<br />

ทางบก<br />

46 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


47<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

<strong>ASEAN</strong> Connect<br />

ที่สุดของนักทองเที่ยว อาเซียน<br />

3.4<br />

ลานคน<br />

43.4%<br />

share<br />

Malaysia<br />

1.2<br />

ลานคน<br />

16.6%<br />

share<br />

Laos<br />

0.9<br />

ลานคน<br />

11.9%<br />

Singapore share<br />

8.7หมื่น<br />

บาทลาน<br />

32.2%<br />

share<br />

Malaysia<br />

3.1หมื่น<br />

ลานบาท<br />

14.2%<br />

share<br />

Singapore<br />

2.8หมื่น<br />

ลานบาท<br />

12.6%<br />

share<br />

Laos<br />

01<br />

01<br />

02<br />

03<br />

02<br />

03<br />

Philippines<br />

03<br />

02<br />

01<br />

4<br />

หมื่น<br />

บาท<br />

3.9<br />

หมื่น<br />

บาท<br />

3.8<br />

หมื่น<br />

บาท<br />

Brunai<br />

Myanmar<br />

ใชจายตอทริปสูงสุด<br />

สรางรายไดสูงสุด<br />

มาทองเที่ยวมากที่สุด<br />

ในป พ.ศ. 2558


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

ชมัยพร วิเศษมงคล<br />

การท่องเที่ยวทางน้ำ<br />

กับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

ประเทศไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวทางทะเลที่มีชื่อเสียงของชาวต่างชาติ<br />

นักท่องเที่ยวที่มาประเทศไทยกว่าครึ่งมีวัตถุประสงค์ในการ<br />

ท่องเที่ยวทางทะเล จากความสวยงามของชายหาดและเกาะที่มีอยู่<br />

จำนวนมาก และมีกิจกรรมที่หลากหลาย ทำให้จังหวัดในภาคใต้<br />

และภาคตะวันออกของประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล<br />

ที่ติดอันดับโลก ดังนั้นการท่องเที่ยวทางน้ ำจึงมีบทบาทสำคัญต่อไทย<br />

โดยเฉพาะการท่องเที่ยวทางทะเล ซึ่งประกอบด้วย การท่องเที่ยว<br />

โดยเรือสำราญ การท่องเที่ยวโดยเรือยอร์ช และการท่องเที่ยว<br />

ชายฝั่ง ขณะเดียวกันการท่องเที่ยวในแม่น้ำลำคลองของไทยก็เป็น<br />

รูปแบบหนึ่งที่นักท่องเที่ยวนิยม ซึ่งเป็นผลจากวัฒนธรรมลุ่มน้ ำของ<br />

ไทยจนได้ชื่อว่าเป็นเวนิสตะวันออก<br />

พมา<br />

ยางกุง<br />

พังงา<br />

แมน้ำกก<br />

แมน้ำสาละวิน<br />

แมน้ำเจาพระยา<br />

จีน<br />

ชลบุรี<br />

แหลมฉบัง<br />

ประจวบคีรีขันธ<br />

สุราษฎรธานี<br />

ไทย<br />

ลาว<br />

แมน้ำสองสี<br />

เกาะชาง<br />

เกาะกูด<br />

กัมพูชา<br />

เวียดนาม<br />

สีหนุวิลล<br />

แมน้ำโขง<br />

อาวหะล็อง<br />

นครโฮจิมินห<br />

ดานัง<br />

ภูเก็ต<br />

สงขลา<br />

กระบี่<br />

จอรจทาวน<br />

ลังกาวี<br />

มาเลเซีย<br />

ทองเที่ยว<br />

ดวยเรือสำราญ<br />

ทองเที่ยว<br />

ดวยเรือยอรช<br />

พูเลา ปงกอร<br />

พอรตกลัง<br />

มะละกา<br />

สิงคโปร<br />

ทองเที่ยว<br />

ชายฝงทะเล<br />

ทองเที่ยว<br />

แมน้ำลำคลอง<br />

48 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

การท่องเที่ยวทางทะเล (Maritime Tourism)<br />

Cruise Tourism<br />

การทองเที่ยวดวยเรือสำราญ<br />

การท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญ (Cruise) เป็นรูปแบบการให้บริการ<br />

เดินทางที่รวมพาหนะเดินทางกับความบันเทิง มีกิจกรรมบนเรือ<br />

และกิจกรรมบนฝั่งเมื่อเรือเทียบท่าตามเมืองต่างๆ เส้นทางและ<br />

การให้บริการแตกต่างกันไปตามขนาด ประเภทและการใช้งาน<br />

อาทิ Mainstream Cruise Ship เป็นเรือที่ได้รับความนิยมมากสุด<br />

ด้วยลักษณะที่เหมือนรีสอร์ท Adventure Cruise Ship เป็นเรือ<br />

ที่ออกแบบและมีอุปกรณ์ที่ให้บริการสำหรับการเดินทางไปแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวที่อยู่ห่างไกลซึ่งเรือโดยสารขนาดใหญ่ไม่สามารถเข้าถึง<br />

Expedition Cruise Ship เป็นเรือที่ออกแบบเป็นพิเศษ หรือมีการ<br />

วิจัยปรับปรุงรูปแบบเพื่อการเดินทางเฉพาะอย่าง เช่น การเดินทาง<br />

บนทะเลน้ำแข็ง และ River Cruise Ship ที่มีขนาดเล็ก ออกแบบ<br />

มาเพื่อใช้ในการล่องแม่น้ำและคูคลองต่างๆ เป็นต้น<br />

สมาคมการเดินเรือสำราญใหญ่ที่สุดของโลก (Cruise Lines<br />

International Association (CLIA)) ระบุว่า ในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมา<br />

มีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางด้วยเรือสำราญสูงขึ้นเรื่อยๆ จาก<br />

17.8 ล้านคนในปี 2552 เป็น 23 ล้านคน ในปี 2558 เพิ่มขึ้นเฉลี่ย<br />

ร้อยละ 4.4 ต่อปี และคาดว่าในช่วง 5 ปีข้างหน้า (ปี 2558-2563)<br />

ธุรกิจเรือสำราญจะขยายตัวจากการสร้างเรือใหม่ของสมาชิก<br />

เพิ่มขึ้นอีก 55 ล ำ ด้วยมูลค่าการลงทุนกว่า 25 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ<br />

โดยในปี 2557 อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเรือสำราญสร้างมูลค่าทาง<br />

เศรษฐกิจสูงถึง 119.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ช่วยให้เกิดการ<br />

จ้างงานเกือบล้านคน<br />

สำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญในภูมิภาคเอเชีย<br />

นั้น CLIA รายงานว่า ในปี 2557 มีจำนวนนักท่องเที่ยวด้วย<br />

เรือสำราญสูงถึง 2.17 ล้านคน ในช่วงปี 2556-2558 ขยายตัวเฉลี่ย<br />

ร้อยละ 19.88 ต่อปี โดยประเทศในภูมิภาคเอเชียที่เรือสำราญนิยม<br />

แวะจอดเทียบท่า (Port of Calls) สูงสุด คือ ประเทศญี่ปุ่น รองลงมา<br />

ได้แก่ มาเลเซีย เกาหลีใต้ จีน เวียดนาม สิงคโปร์ และไทย<br />

ตามลำดับ ท่าเรือที่มีจำนวนเรือมาจอดเทียบท่ามากที่สุดจะอยู่ที่<br />

สิงคโปร์ รองลงมาได้แก่ ท่าเรือ Baoshan ของไต้หวัน เกาะเจจู ของ<br />

เกาหลีใต้ ฮ่องกง และจอร์จทาวน์ ของเกาะปีนัง ท่าเรืออ่าวป่าตอง<br />

จังหวัดภูเก็ตของไทยอยู่ในลำดับ 7 ในปี 2558 อ่าวป่าตอง<br />

ขยับขึ้นมาเป็นลำดับ 6 และมีท่าเรือ Cruise กัวลาลัมเปอร์เพิ่มขึ้นใน<br />

รายการท่าเรือ อันเนื่องมาจากการเปิดเส้นทางเดินเรือใหม่มากขึ้น<br />

ในภูมิภาค เช่น เส้นทางภูเก็ต-ย่างกุ้ง เส้นทางบาหลี-กรุงเทพฯ<br />

เส้นทางไป-กลับสิงคโปร์และแวะภูเก็ต เส้นทางอินโดนีเซีย-<br />

ปาปัวนิวกินี-ออสเตรเลีย เส้นทางกรุงเทพ-กัมพูชา-เวียดนาม-<br />

Sanya (จีน)-มาเก๊า-ฮ่องกง เป็นต้น<br />

10 อันดับประเทศยอดนิยมในการจอดเทียบท่าของเรือ Cruise<br />

ปี 2557 ปี 2558<br />

ลำดับ<br />

ประเทศ จำนวนวัน ประเทศ จำนวนวัน<br />

เทียบท่า<br />

เทียบท่า<br />

1 ญี่ปุ่น 626 ญี่ปุ่น 646<br />

2 มาเลเซีย 505 มาเลเซีย 580<br />

3 เกาหลีใต้ 417 เกาหลีใต้ 377<br />

4 จีน 390 สิงคโปร์ 374<br />

5 เวียดนาม 363 ไทย 374<br />

6 สิงคโปร์ 335 เวียดนาม 316<br />

7 ไทย 293 จีน 300<br />

8 ไต้หวัน 235 ฮ่องกง 200<br />

9 ฮ่องกง 184 อินโดนีเซีย 196<br />

10 อินโดนีเซีย 176 ไต้หวัน 175<br />

ที่มา: ประมวลจาก Cruise Lines International Association Southeast Asia.<br />

Asia Cruise Trends 2014 Edition<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

49


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

10 อันดับท่าเทียบเรือ Cruise ยอดนิยม<br />

ปี 2557 ปี 2558<br />

ลำดับ ท่า/เมือง จำนวนวัน ท่า/เมือง จำนวนวัน<br />

เทียบท่า<br />

เทียบท่า<br />

1 สิงคโปร์ 335 สิงคโปร์ 374<br />

2 เหมาชาน/<br />

เซี่ยงไฮ้<br />

3 เกาะเจจู/<br />

เกาหลีใต้<br />

254 เกาะเจจู/<br />

เกาหลีใต้<br />

217<br />

218 ฮ่องกง 200<br />

4 ฮ่องกง 184 เหมาชาน/<br />

เซี่ยงไฮ้<br />

5 จอร์จทาวน์/<br />

ปีนัง<br />

183 จอร์จทาวน์/<br />

ปีนัง<br />

6 คีลุง/ไทเป 147 อ่าวป่าตอง/<br />

ภูเก็ต<br />

7 อ่าวป่าตอง/<br />

ภูเก็ต<br />

115 พอร์ตคลัง/<br />

กัวลาลัมเปอร์<br />

183<br />

177<br />

140<br />

131<br />

8 โฮจิมินต์ซิตี้ 111 คีลุง/ไทเป 130<br />

9 พูซาน/<br />

เกาหลีใต้<br />

10 ฮาลองเบย์/<br />

ฮานอย<br />

108 โฮจิมินต์ซิตี้ 130<br />

108 NA -<br />

ที่มา: ประมวลจาก Cruise Lines International Association Southeast Asia. Asia<br />

Cruise Trends 2014 Edition<br />

สำหรับในปี 2558 CLIA คาดว่าจะมีเส้นทางเดินเรือใหม่ๆ เพิ่ม<br />

มากขึ้น โดยร้อยละ 92.1 เป็นการเดินทางภายในภูมิภาคเอเชีย<br />

ที่ให้บริการโดยบริษัทเรือของเอเชีย เช่น จีนและญี่ปุ่น เป็นต้น ที่<br />

เหลือร้อยละ 7.9 เป็นการเดินทางระยะไกลระหว่างภูมิภาคโดย<br />

เรือจากประเทศนอกภูมิภาค ทำให้ระยะเวลาในการเดินทางของ<br />

เส้นทาง Cruise ในภูมิภาคนี้สั้นมาก โดยร้อยละ 40 มีโปรแกรม<br />

การเดินทางเพียง 2-3 คืน และรองลงมาร้อยละ 34 มีโปรแกรม<br />

การเดินทาง 4-6 คืน<br />

สำหรับประเทศไทยปัจจุบันยังไม่มีท่าเรือโดยสาร (Cruise<br />

Terminal) โดยเฉพาะจึงเป็นจุดแวะพักชมแหล่งท่องเที่ยว<br />

การแวะจอดในประเทศไทยจึงต้องเทียบท่าร่วมกับเรือสินค้า<br />

โดยท่าเทียบที่ให้บริการหลักๆในไทยมีอยู่ 5 แห่ง ท่าที่มีเรือสำราญ<br />

มาใช้บริการมากที่สุด คือ ท่าเรืออ่าวป่าตอง จังหวัดภูเก็ต รองลง<br />

มา ได้แก่ท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ท่าเรือเกาะสมุย จังหวัด<br />

สุราษฎร์ธานี ท่าเรือจังหวัดกระบี่ และท่าเรือคลองเตย กรุงเทพฯ<br />

ตามลำดับ<br />

เรือสำราญที่แวะเทียบท่าส่วนใหญ่ คือ ร้อยละ 80.5 แวะโดยไม่<br />

ค้างคืนบนฝั่ง มีเพียงส่วนน้อย คือ ร้อยละ 16.2 ที่แวะพัก<br />

ค้างคืน โดยนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาลงท่าเรือคลองเตยพักค้าง<br />

คืนบนฝั่งถึงร้อยละ 54.8 และที่ท่าเรือแหลมฉบังมีการพักค้างคืน<br />

ร้อยละ 40.9 โดยที่เรือสำราญบางส่วนใช้ท่าเรือทั้ง 2 แห่งนี้เป็น<br />

จุดสิ้นสุดเส้นทางการเดินเรือ (Turnaround) ทั้งนี้ CLIA<br />

ได้คาดการณ์ว่า แนวโน้มจำนวนวันเทียบท่าของประเทศไทย<br />

ลดลงจากเฉลี่ยร้อยละ 14 ในช่วงปี 2556-2558 เหลือเพียงร้อยละ 7<br />

ท่าเรือ<br />

จำนวนวันเทียบท่า<br />

แวะจอด ปลายทาง ค้างคืน ทั้งหมด<br />

อ่าวป่าตอง ภูเก็ต 136 - 4 140<br />

แหลมฉบัง ชลบุรี 41 11 36 88<br />

เกาะสมุย 52 - 2 54<br />

กระบี่ 52 - - 52<br />

คลองเตย กรุงเทพฯ 13 1 17 31<br />

รวม 294 12 59 365<br />

ที่มา: ประมวลจาก Cruise Lines International Association Southeast Asia. Asia<br />

Cruise Trends 2014 Edition<br />

ความท้าทายที่มาพร้อมกับปัญหาและ<br />

อุปสรรค<br />

การท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญแถบภูมิภาคเอเชียเติบโตในอัตราสูง<br />

อย่างต่อเนื่อง ทั้งการพัฒนาจุดแวะพักใหม่ อาทิ ในอินโดนีเซีย<br />

ที่พัฒนาจุดแวะพักใหม่ชื่อ Probolinggo ที่นำเสนอประสบการณ์<br />

การท่องเที่ยวภูเขาไฟผนวกเข้ากับเส้นทางเดินเรือจากสิงคโปร์-<br />

บาหลี นโยบายของจีนในการผลักดันธุรกิจเรือสำราญเพื่อ<br />

การกระตุ้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยว มีการจัดทำแผนแม่บทว่าด้วย<br />

การพัฒนาการท่องเที่ยวเรือสำราญจีน ภายใต้การโปรโมทเส้นทาง<br />

สายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 ด้วยการผลักดันอุตสาหกรรม<br />

เรือสำราญจีน-อาเซียน ที่เริ่มเปิดให้บริการในเส้นทางกวางซี<br />

(เมืองเป๋ยไห่ เมืองฝางเฉิงก่าง) ไปยังฮาลองเบย์ของเวียดนาม พร้อม<br />

การพัฒนาท่าเรือ Cruise และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้ได้<br />

มาตรฐานระดับสากลและหรูหรารองรับเรือขนาดใหญ่ได้พร้อมกัน<br />

50 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

หลายลำเพิ่มขึ้นใน 4 เมืองหลัก ได้แก่ นครเซี่ยงไฮ้ เซียะเหมิน<br />

เที่ยนจิง และกวางโจว นอกจากนี้ รัฐบาลจีนยังได้ออกกฎหมาย<br />

อนุญาตให้บริษัทที่ดำเนินธุรกิจเรือสำราญของต่างประเทศจัดตั้ง<br />

ตัวแทนธุรกิจเพื่อดำเนินการได้อย่างเต็มรูปแบบ<br />

สำหรับประเทศไทยนั้นเป็นที่สนใจของบริษัทเดินเรือส ำราญระหว่าง<br />

ประเทศหลายราย ในการเป็นจุดแวะเที่ยวของนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็น<br />

โอกาสที่ไทยจะกระตุ้นอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทางทะเลของประเทศ<br />

ให้เติบโต ที่ผ่านมาด้วยข้อจำกัดหลายประการทำให้ประเทศไทย<br />

สามารถเป็นได้เพียงท่าเรือแวะพักที่จะคอยต้อนรับนักท่องเที่ยวที่<br />

เดินทางมากับเรือสำราญขนาดใหญ่ รัฐบาลชุดปัจจุบันจึงคาดหวังว่า<br />

ในอนาคตอันใกล้ประเทศไทยจะสามารถพัฒนาจากการเป็นเพียง<br />

ท่าเรือแวะพักมาเป็นท่าเรือ Cruise Home Ports และก้าวไปสู่<br />

การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญของอาเซียน<br />

อย่างไรก็ตาม การพัฒนาดังกล่าวขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่<br />

ส่งเสริมและเป็นข้อจำกัดในการพัฒนาการท่องเที่ยวเรือสำราญ<br />

ของไทย โดยมีรายละเอียดดังนี้<br />

ปัจจัยเสริม<br />

• ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่ต่างชาติรู้จักและให้ความสนใจใน<br />

ลำดับต้นๆ โดยเฉพาะความสวยงามของทะเล และเกาะแก่ง<br />

ต่างๆ ที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่<br />

อย่างไทย ซึ่งเป็นเสน่ห์ดึงดูดให้ชาวต่างชาติเดินทางมาเยือน<br />

ประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง<br />

• ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก<br />

ต่างๆ เช่น มีการอำนวยความสะดวกและความรวดเร็วในการ<br />

เดินทางเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ มีโรงแรมที่พักที่มีให้<br />

เลือกหลากหลายรูปแบบและราคา ร้านอาหารและภัตตาคาร<br />

จำนวนมาก เป็นต้น<br />

• นโยบายรัฐบาลที่มีความชัดเจนมากขึ้น ในการสนับสนุน<br />

การท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญขนาดใหญ่ (Cruise)<br />

ข้อจำกัด<br />

• ขาดความพร้อมของท่าเทียบเรือ ปัจจุบันยังไม่มีท่าเทียบ<br />

เรือสำราญที่ได้มาตรฐานสำหรับรองรับเรือสำราญที่มีขนาดใหญ่<br />

ทั้งในฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ยังใช้ท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า<br />

โดยเฉพาะการพัฒนาท่าเทียบเรือในฝั่งอ่าวไทย ที่มีโอกาส<br />

รองรับการเชื่อมโยงเส้นทางการเดินเรือตามเส้นทางสายไหม<br />

ทางทะเลในศตวรรษที่ 21 เชื่อมต่อ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้<br />

ก่อนที่จะเดินทางไปยังท่าเรือของมาเลเซียและสิงคโปร์<br />

• ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวของไทยบางส่วนขาดมาตรฐาน<br />

และคุณภาพการให้บริการ โดยเฉพาะบริษัทนำเที่ยวที่มีบทบาท<br />

สำคัญในการเข้ารับช่วงดูแลผู้โดยสารบนเรือสำราญเมื่อขึ้นฝั่ง<br />

ทั้งการนำเสนอกิจกรรมนำเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว การจัด<br />

พาหนะนำเที่ยว การพาไปซื้อของ นอกจากนี้ ยังขาดความ<br />

ร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องของสมาคมด้านการท่องเที่ยว<br />

ที่เกี่ยวข้อง ในการประสานความร่วมมือกับสมาคมการเดินเรือ<br />

สำราญระหว่างประเทศและผู้ประกอบการเดินเรือสำราญ ในการ<br />

ผลักดันการกำหนดเส้นทางเดินเรือที่แวะมาเทียบท่าและ<br />

พักค้างคืนในประเทศไทยมากขึ้น<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

51


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

• ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัจจัยสำคัญประการ<br />

หนึ่งที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเดินทางด้วยเรือสำราญมาแวะจอด<br />

ที่ท่าเรือของประเทศไทย คือ ความปลอดภัยต่อชีวิตและ<br />

ทรัพย์สิน รวมทั้ง ความสงบภายในประเทศ ซึ่งปัจจุบัน ยังคงมี<br />

กรณีนักท่องเที่ยวได้รับความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สินอยู่<br />

อย่างต่อเนื่องทั้งจากการให้บริการที่ขาดคุณภาพ และจากโจร<br />

ผู้ร้าย<br />

การเตรียมความพร้อมรองรับการ<br />

พัฒนาการท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญ<br />

ภาครัฐ รัฐบาลชุดปัจจุบันได้ผลักดันการพัฒนาการท่องเที่ยว<br />

ด้วยเรือสำราญ ปรับปรุงท่าเทียบเรือน้ำลึกในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต<br />

ให้เรือสำราญขนาดใหญ่สามารถเข้าเทียบท่าได้ ส่วนในระยะยาว<br />

(ปี 2558-2565) มีการศึกษาเพื่อก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกแห่งใหม่ใน<br />

บริเวณเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดกระบี่ รวมทั้ง<br />

ปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกหลังท่าเพื่อรองรับและสนับสนุน<br />

ให้มีการเปิดเส้นทางเดินเรือสำราญเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ กระทรวง<br />

การท่องเที่ยวและกีฬายังได้กำหนดให้การท่องเที่ยวด้วยเรือสำราญ<br />

เป็นหนึ่งในประเด็นยุทธศาสตร์ท่องเที่ยวปี พ.ศ. 2558-2560<br />

ภาคเอกชน สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้<br />

นำเสนอแผนพัฒนาธุรกิจเรือสำราญ (Cruise) โดยในช่วงเร่งด่วน<br />

1-2 ปี ให้มีการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานท่าเรือ A1 ที่แหลมฉบัง<br />

ปรับปรุงท่าเทียบเรือเล็กหน้าทอนที่เกาะสมุย และสร้างท่าเทียบเรือ<br />

เล็กชั่วคราวที่กระบี่ให้สามารถรองรับเรือสำราญ และเร่งปรับปรุง<br />

ระเบียบพิธีการอำนวยความสะดวก ควบคู่กับการศึกษาแผนการ<br />

สร้างท่าเรือศูนย์กลางแห่งที่ 2 ในฝั่งอ่าวไทย ระหว่างกรุงเทพฯ<br />

ชลบุรี และ Home Port แห่งที่ 3 ในฝั่งอันดามัน (ที่กระบี่หรือภูเก็ต)<br />

นอกเหนือจากบทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนดังกล่าวแล้ว<br />

สิ่งที่ควรดำเนินการพัฒนาควบคู่กันไป คือ<br />

• ร่วมกับบริษัทผู้ให้บริการเรือสำราญ เพื่อวางแผนการพัฒนา<br />

แหล่งท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับความสนใจของนักท่องเที่ยวกลุ่ม<br />

เป้าหมาย<br />

• เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการของผู้ประกอบการ SMEs<br />

ในธุรกิจการผลิตและบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวทางเรือ<br />

สำราญขนาดใหญ่ รวมทั้งผลักดันและหามาตรการจูงใจสมาคม<br />

และผู้ประกอบการเดินเรือสำราญในการกำหนดเส้นทางเดินเรือ<br />

มาเทียบท่าและแวะพักค้างคืนในประเทศไทยมากขึ้น<br />

Yacht Tourism<br />

การทองเที่ยวดวยเรือยอรช<br />

“เรือยอร์ช” (Yacht) เป็นเรือสำหรับการท่องเที่ยวสันทนาการและ<br />

กีฬา จากราคาของเรือและค่าบำรุงรักษาเรือที่สูง ทำให้การท่องเที่ยว<br />

ด้วยเรือยอร์ชจำกัดอยู่เฉพาะกลุ่ม โดยราคาของเรือยอร์ช เริ่มต้น<br />

ที่สิบล้านขึ้นไปจนถึงหลายพันล้านบาทตามขนาดและสิ่งอำนวย<br />

ความสะดวกในเรือ โดยขนาดทั่วไปจะอยู่ระหว่าง 10 เมตร ไปจนถึง<br />

หลักร้อยเมตร โดยเรือที่มีขนาดเล็กกว่า 12 เมตรเรียกว่า “Cabin<br />

Cruiser” แต่ถ้ามีขนาดเกิน 24 เมตรขึ้นไปเรียกว่า “Superyacht”<br />

และถ้ามีขนาดใหญ่กว่า 50 เมตรเรียกว่า “Megayacht”<br />

Akasiayachting.com ได้ระบุถึงเส้นทางท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม<br />

สูงสุดด้วยเรือยอร์ช คือ เส้นทางเดินเรือแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน<br />

เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสม ธรรมชาติสวยงามและในเมือง<br />

ที่มีท่าเรือรองรับ อาทิ สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี มีวัฒนธรรมและ<br />

ประวัติศาสตร์เป็นที่น่าสนใจของนักท่องเที่ยว<br />

เส้นทางเดินเรือยอร์ชในภูมิภาคเอเชีย เป็นอีกหนึ่งเส้นทางที่ได้รับ<br />

ความนิยมและมีการเติบโตสูงในช่วงที่ผ่านมา โดยภูมิภาคเอชีย<br />

เป็นทั้งแหล่งผลิตเรือยอร์ช และมีเส้นทางท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ชที่<br />

นักท่องเที่ยวให้ความสนใจ โดยเฉพาะเส้นทางในไทยและ<br />

อินโดนีเซีย โดยในไทยศูนย์กลางการบริการเรือยอร์ชอยู่ที่จังหวัด<br />

ภูเก็ต มีการบริการให้เช่าตั้งแต่เรือในรูปแบบการเช่ารายวัน<br />

(Day Boats) ไปจนถึงการเช่าเรือขนาดใหญ่ Megayachts พร้อม<br />

ลูกเรือ โดยใช้เส้นทางท่องทะเลอันดามันไปยังเกาะต่างๆ รอบเกาะ<br />

ภูเก็ต ส่วนการบริการเรือยอร์ชในอินโดนีเซีย มีศูนย์กลางอยู่ที่<br />

บาหลี โดยฤดูที่เหมาะกับการท่องเที่ยวเรือยอร์ชในแถบเอเชียคือ<br />

ช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน<br />

52 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

ภูเก็ต…ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางเรือที่ดี<br />

ที่สุดในเอเชีย<br />

จังหวัดภูเก็ตเคยได้รับรางวัล “Best Asian Maritime Capital” หรือ<br />

“ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางเรือที่ดีที่สุดในเอเชีย” จากงาน Asia<br />

Boating Award 2553 ที่ประเทศฮ่องกง เนื่องจากความสวยงาม<br />

และภูมิอากาศของภูเก็ตที่สามารถแล่นเรือมาได้ตลอดปี ประกอบ<br />

กับความพร้อมในด้านอู่ต่อเรือและอู่ซ่อมเรือยอร์ชที่มีอยู่กว่า 40<br />

แห่ง และการได้เปรียบในเรื่องของราคา คุณภาพ และค่าใช้จ่าย<br />

ในการนำเรือมาจอดที่ท่าเทียบเรือ ทำให้มีนักท่องเที่ยวแล่นเรือ<br />

ยอร์ชจากภูมิภาคต่างๆ เข้ามาจอดแวะพักเรือที่ภูเก็ตสูงถึงปีละ<br />

ประมาณ 1,200 ลำ โดยเข้ามาพักเฉลี่ยครั้งละ 60 วัน และในแต่ละ<br />

วันนักท่องเที่ยวจะใช้จ่ายเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100,000 บาทต่อคน (โดย<br />

เฉลี่ยประมาณ 3 คนต่อเรือหนึ่งลำ) สร้างรายได้ให้กับจังหวัดภูเก็ต<br />

ในแต่ละปีสูงกว่า 2 หมื่นล้านบาท นอกจากภูเก็ตแล้ว ยังมีจังหวัด<br />

ริมฝั่งทะเลทั้งอันดามันและอ่าวไทยที่มีท่าเทียบเรือมารีน่าที่รองรับ<br />

กระจายตัวในเมืองท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลที่สำคัญ อาทิ กระบี่ ชลบุรี<br />

ตราด และประจวบคีรีขันธ์<br />

ความพร้อมของไทยในการพัฒนาการ<br />

ท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ช<br />

เมื่อพิจารณาในประเด็นทั้งด้านความต้องการ (Demand) และความ<br />

พร้อมของปัจจัยพื้นฐาน (Supply) ของการท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ช<br />

ของไทย สามารถสรุปปัจจัยเสริมและข้อจำกัดได้ดังนี้<br />

ปัจจัยเสริม<br />

• ประเทศไทยมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในการเป็นแหล่งท่องเที่ยว<br />

ทางเรือที่ดีที่สุดในเอเชียและมีแหล่งท่องเที่ยวอื่นที่หลากหลาย<br />

และมีความพร้อมของอุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและอู่ซ่อมเรือยอร์ช<br />

อันเป็นที่ยอมรับในระดับโลกทั้งในเรื่องของคุณภาพและราคา<br />

• มีกิจการที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวข้องกับการขายและให้เช่าเรือยอร์ช<br />

กว่า 40 รายในประเทศไทย รองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่ต้องการเช่า<br />

เรือยอร์ชเพื่อท่องเที่ยวชมธรรมชาติในระยะสั้นๆ ตามชายฝั่ง<br />

ทะเลของไทย ในราคาหลากหลายตามความต้องการ เช่น เรือ<br />

ขนาด 8 คน สามารถค้างบนเรือได้ 2 วัน 1 คืน เส้นทางจาก<br />

พัทยาไปเกาะช้างและเกาะกูด ราคา 850,000 บาท เรือขนาด<br />

8-14 คนเที่ยวตามเกาะใช้เวลาวันเดียวในพื้นที่เขตพัทยาราคา<br />

550,000 บาท หรือการให้บริการรูปแบบเดียวกันที่ภูเก็ต ราคา<br />

ประมาณ 420,000 บาท และเรือยอร์ชตกปลาขนาดเล็ก 6-10<br />

คน ราคา 85,000-118,000 บาท<br />

• ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยเสริมทางการ<br />

ท่องเที่ยว ทั้งโรงแรมที่พัก และความสะดวกสบายในการเดินทาง<br />

ท่องเที่ยวเชื่อมโยงไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นได้สะดวกเมื่อ<br />

นักท่องเที่ยวสิ้นสุดการเดินทางท่องเที่ยวโดยเรือยอร์ช<br />

ข้อจำกัด<br />

• ความไม่เพียงพอและการกระจุกตัวของท่าจอดเรือยอร์ช<br />

(มารีน่า) ปัจจุบันประเทศไทยมีมารีน่าอยู่ทั้งสิ้น 11 แห่ง ใน<br />

จำนวนนี้อยู่ในฝั่งอันดามัน 6 แห่ง และฝั่งอ่าวไทย 5 แห่ง ซึ่ง<br />

สามารถรองรับเรือยอร์ชเข้าจอดได้ตั้งแต่ 8 ลำจนถึงสูงสุด<br />

300 ลำ แตกต่างกันไปในแต่ละท่า ร่องน้ำและขนาดของ<br />

เรือยอร์ช โดยมารีน่าที่สามารถให้บริการจอดเรือได้จำนวนมาก<br />

สุดและเรือขนาดใหญ่สุด คือ อ่าวปอ แกรนด์มารีน่า จังหวัด<br />

ภูเก็ต และยอร์ช เฮเว่น มารีน่า จังหวัดภูเก็ต ส่วนในฝั่งทะเล<br />

อ่าวไทย มารีน่าส่วนใหญ่จะสามารถรองรับเรือขนาดระหว่าง<br />

7-28 เมตร โดยเรือยอร์ชที่ต้องการจอดเรือกับทางมารีน่าทุกแห่ง<br />

ในภูเก็ตต้องทำการจองล่วงหน้าอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 1 เดือน<br />

ในด้านการกระจายแหล่งที่ตั้งของมารีน่าทางฝั่งทะเลอันดามันมี<br />

เฉพาะเมืองท่องเที่ยวหลักในทะเลอันดามัน คือ จังหวัดภูเก็ตและ<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

53


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

กระบี่ ยังไม่ครอบคลุมเมืองท่องเที่ยวริมทะเลอื่นๆ เช่น พังงา ตรัง<br />

และสตูล เป็นต้น เช่นเดียวกับทางฝั่งทะเลอ่าวไทย ซึ่งเป็นผลมา<br />

จากความเหมาะสมของร่องน้ำและขนาดของพื้นที่หลังท่าที่ต้องการ<br />

พื้นที่ในการทำกิจกรรมต่อเนื่อง<br />

• ข้อจำกัดของกฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริม<br />

ให้ประกอบธุรกิจเช่าเรือในไทย เนื่องจากข้อจำกัดในการอนุญาต<br />

ให้เจ้าของ Superyacht ต่างชาติที่มาจอดเทียบท่าในประเทศไทย<br />

สามารถประกอบธุรกิจให้เช่าเรือของตนได้ และข้อจำกัดของระยะ<br />

เวลาที่อนุญาตให้เรือต่างชาติที่ผ่านเข้ามาในน่านน้ำไทยและอยู่ใน<br />

ไทยได้ถึง 6 เดือนในขณะที่ระยะเวลาวีซ่าที่ให้กับนักท่องเที่ยวที่<br />

เดินทางมากับเรือสามารถให้ได้ 30 วันเท่านั้น<br />

แนวทางการเตรียมความพร้อม: รองรับการ<br />

พัฒนาการท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ช<br />

• ส่งเสริมการพัฒนามารีน่าในเมืองท่องเที่ยวชายทะเลของไทย<br />

ที่มีศักยภาพ ซึ่งกระทรวงคมนาคมเคยศึกษาและเสนอไว้เมื่อ<br />

ปี 2547 ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 33 แห่ง สามารถจอดเรือได้เพิ่มขึ้น<br />

ประมาณ 1,500 ลำ<br />

• ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อเอื้อให้มีการเติบโต<br />

ของการท่องเที่ยวโดยเรือยอร์ช อาทิ การอนุญาตให้เจ้าของ<br />

Superyacht ที่เข้ามาท่องเที่ยวและพำนักอยู่ในประเทศไทย<br />

สามารถประกอบการให้เช่าเรือของตนได้ไม่เกิน 1 ปี ตามหลัก<br />

เกณฑ์ในกฎหมายเรือไทย การสนับสนุนของภาครัฐในการ<br />

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เขื่อนกันทรายกันคลื่น การขุดลอก<br />

ร่องน้ำและการติดตั้งเครื่องหมายเดินเรือ เป็นต้น<br />

• เพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ SMEs ในอุตสาหกรรม<br />

อู่ต่อเรือยอร์ช และอู่ซ่อมเรือยอร์ชในการพัฒนาด้านการบริหาร<br />

จัดการ ความรู้ทางเทคนิค และด้านการลงทุน<br />

• ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ชที่ต้องด ำเนินการทั้งใน<br />

มิติของการพัฒนาการท่องเที่ยวควบคู่กับการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมอู่ต่อเรือยอร์ช และอู่ซ่อมเรือยอร์ช<br />

Coastal Tourism<br />

ทาเรือกระบี่ ริเวอรมารินา<br />

42 ลำ<br />

รอยัล ภูเก็ต มารีนา<br />

76 ลำ 35 ลำ<br />

ทาเรือกระบี่ โบทลากูน<br />

80 ลำ 100 ลำ<br />

ยอรช เฮเวน มารีนา (ภูเก็ต)<br />

300 ลำ<br />

โบทลากูน มารีนา ภูเก็ต<br />

173 ลำ 135 ลำ<br />

อาวปอ แกรนดมารีนา (ภูเก็ต)<br />

300 ลำ 100 ลำ<br />

จำนวน "มารีนา" ฝงทะเลอันดามัน<br />

จำนวนเรือยอรชที่สามารถจอดในน้ำ<br />

จำนวนเรือยอรชที่สามารถจอดบนบก<br />

จำนวน "มารีนา" ฝงทะเลอาวไทย<br />

สยามรอยัลวิล เกาะชาง (ตราด)<br />

381 ลำ<br />

เพาเวอรโบต ปราณบุรี<br />

(ประจวบคีรีขันธ)<br />

33 ลำ<br />

ภัทรมารีนา แอนดยอรชคลับ<br />

(ประจวบคีรีขันธ)<br />

22 ลำ (เฟส 1)<br />

โอเชี่ยนมารีนา ยอรชคลับ(ชลบุรี)<br />

22 ลำ (เฟส 1)<br />

เกาะชาง มารีนาแอนรีสอรท (ตราด)<br />

14 ลำ<br />

การทองเที่ยวชายฝงทะเล<br />

การท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล<br />

กว่าร้อยละ 50 ของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังประเทศไทยมี<br />

วัตถุประสงค์ในการเดินทางเพื่อมาชมความงามทางทะเล โดย<br />

Sea Sand Sun เป็นจุดขายหลักของการท่องเที่ยวของไทยมาทุกยุค<br />

ทุกสมัย ไทยมีจังหวัดติดทะเลถึง 22 จังหวัดทั้งฝั่งทะเลอันดามันและ<br />

ฝั่งทะเลอ่าวไทย โดยจังหวัดชายทะเลที่นักท่องเที่ยวนิยมเดินทาง<br />

ท่องเที่ยวมากที่สุด คือ ภูเก็ต รองลงมา คือ ชลบุรี (พัทยา)<br />

สุราษฎร์ธานี (เกาะสมุย) กระบี่ พังงา และสงขลา รูปแบบการ<br />

ท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ<br />

คือ การเดินทางทางเรือไปยังเกาะต่างๆ จนมีเส้นทางท่องเที่ยวทาง<br />

เรือตลอดแนวชายฝั่งทั้งในอ่าวไทยและอันดามันในรูปแบบของการ<br />

เดินทางเป็นเส้นทางระหว่างเกาะในรูปแบบ Island Hopping ซึ่งมี<br />

จุดประสงค์หลักเพื่อพักผ่อนตามชายหาด ชมธรรมชาติชายฝั่งทะเล<br />

ที่สวยงาม ดำน้ำชมปะการัง ชมป่าชายเลน หรือกิจกรรมยามค่ำคืน<br />

เช่น การออกไปตกหมึก เป็นต้น<br />

54 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

โดยการท่องเที่ยวทางทะเล พื้นที่ที่ได้รับความนิยมในลำดับต้นๆ<br />

อาทิ เกาะล้าน หมู่เกาะสิมิลัน-สุรินทร์ จังหวัดพังงา และเกาะสมุย<br />

ด้วยจำนวนนักท่องเที่ยวในปี 2558 เท่ากับ 3.87 ล้านคน 2.45 ล้านคน<br />

และ 0.74 ล้านคน ตามลำดับ สร้างรายได้ให้กับประเทศรวมกัน<br />

ประมาณ 2.43 หมื่นล้านบาท โดยที่เกาะสมุยมากสุด 1.32 หมื่น<br />

ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2557 โดยเฉพาะเกาะล้านจำนวน<br />

นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นมากสุดร้อยละ 31.18 รองลงมาได้แก่<br />

หมู่เกาะสิมิลัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.00 ส่วนเกาะสมุยเพิ่มขึ้น<br />

น้อยสุด ร้อยละ 5.65<br />

จำนวนและรายได้จากนักท่องเที่ยวชายฝั่ง*<br />

ชื่อเกาะ จำนวน (คน) รายได้ (ล้านบาท)<br />

2557 2558 2557 2558<br />

เกาะล้าน** 2,951,518 3,871,694 4,318.22 5,946.26<br />

เกาะสมุย 697,632 737,019 10,918.95 13,222.98<br />

หมู่เกาะสิมิลัน-<br />

สุรินทร์**<br />

2,183,983 2,446,061 3,670.55 5,178.53<br />

รวม 5,833,133 7,054,774 18,907.72 24,347.77<br />

หมายเหตุ: *ข้อมูลประมาณการ ** เฉพาะนักทัศนาจร<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

จากจำนวนหมู่เกาะในประเทศไทยที่มีจำนวนมากมาย ทำให้มี<br />

เส้นทางท่องเที่ยวทางทะเลในรูปแบบ Island Hopping (การเดินทาง<br />

จากเกาะหนึ่งไปยังเกาะหนึ่ง ) ซึ่งมีเรือประจำทางวิ่งตามเส้นทาง<br />

ทุกวันหรือในช่วงฤดูท่องเที่ยวโดยใช้เรือโดยสาร เรือเฟอรรี่ และ<br />

เรือสปีดโบ๊ท ซึ่งเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวของไทยและต่างชาติ<br />

โดยเส้นทางที่สำคัญ ได้แก่<br />

1. เส้นทางอ่าวไทยตอนบน ตราด เกาะช้าง เกาะหมาก เกาะกูด<br />

และเรือไปยังเกาะต่างๆ ใกล้ชายฝั่ง อาทิ เกาะเสม็ด เกาะล้าน<br />

เกาะสีชัง เป็นต้น<br />

2. เส้นทางอ่าวไทย เส้นทางชุมพร เกาะเต่า เกาะพงัน เกาะสมุย<br />

3. เส้นทางอันดามัน โดยมีศูนย์กลางที่ภูเก็ต โดยเส้นทางอันดามันใต้<br />

จากภูเก็ต-เกาะพีพี-เกาะลันตา-เกาะไหง-เกาะรอก-เกาะหลีเป๊ะ-<br />

ลังกาวี เส้นทางอันดามันเหนือ จากภูเก็ต-เกาะสิมิลัน-เกาะสุรินทร์<br />

เป็นต้น<br />

ในขณะเดียวกัน การเดินทางระยะใกล้ๆ เพื่อชมทิวทัศน์และไปยัง<br />

เกาะใกล้ชายฝั่งก็เป็นอีกรูปแบบการท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม<br />

โดยเรือที่ใช้มีทั้งเรือหางยาว เรือประมง เรือสปีดโบ๊ท เส้นทาง<br />

ท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลที่สำคัญได้แก่<br />

เกาะช้าง-นั่งเรือเที่ยวไปยังเกาะต่างๆ ซึ่งมีมากถึง 52 เกาะ จึงเป็น<br />

กิจกรรมยอดฮิตของนักท่องเที่ยว เกาะที่นิยมได้แก่ เกาะหวาย-<br />

เกาะกระดาษ-เกาะหมาก-เกาะกระดาน-เกาะง่าม-เกาะเหลายา<br />

ข้อดีของเกาะช้างคือสามารถเที่ยวได้ทั้งปี<br />

เกาะสมุย-หมู่เกาะอ่างทอง-เกาะพงัน ซึ่งถือว่าเป็นเส้นทาง<br />

ท่องเที่ยวสำหรับการดำน้ำตื้นที่จัดได้ว่าสวยที่สุดในอ่าวไทย<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

55


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

เกาะพีพี-หาดอ่าวต้นไทร-อ่าวโละดาลัม/เกาะพีพี-อ่าวมาหยา-<br />

อ่าวปิเละ-อ่าวโละซามะ และมีการเดินทางไปยังเกาะใกล้เคียง เช่น<br />

เกาะยูง เกาะไผ่ เกาะปิด๊ะนอก เกาะปิด๊ะใน เป็นต้น<br />

เกาะเสม็ด-ทัวร์เกาะทะลุ และเกาะกุฎีเพื่อดำน้ำ ตั้งแคมป์ ดูปะการัง<br />

หรือนั่งเรือออกไปตกหมึกที่อ่าวทับทิม<br />

อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา-เดินทางไปยังถ้ ำลอด เขาเขียน เขาหมาจู<br />

เกาะปันหยี เขาทะลุ เขาพิงกัน และเขาตะปู<br />

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน-เป็นแหล่งดำน้ำสวยที่สุดติด 1 ใน<br />

10 ของโลก ได้รับการยกย่องว่าเป็นหมู่เกาะที่มีความสวยงามทั้ง<br />

บนบกและใต้น้ำมีปะการังที่สวยงามหลายชนิด สามารถดำน้ำได้<br />

ทั้งน้ำตื้นและน้ำลึกใต้น้ำสามารถพบปลาที่หายาก เช่น ปลาวาฬ<br />

ปลาโลมา ปลาไหลมอเรย์ (Moray) เป็นต้น อุทยานแห่งชาติ<br />

หมู่เกาะสิมิลันประกอบด้วยเกาะหลักๆ ได้แก่ เกาะบอน เกาะบางู<br />

เกาะสิมิลัน เกาะปายู เกาะเมี่ยง เกาะปายัง เกาะหูยง และ<br />

เกาะตาชัย โดยมีเส้นทางระหว่างเกาะสิมิลันกับเกาะต่างๆ รวมทั้ง<br />

การเดินเรือชมรอบเกาะ<br />

อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ - ที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไป<br />

ยังเกาะหลักๆ 5 เกาะ คือ เกาะสุรินทร์เหนือ เกาะสุรินทร์ใต้ เกาะรี<br />

เกาะกลาง และเกาะไข่ ซึ่งนับว่าเป็นหมู่เกาะที่มีความอุดมสมบูรณ์<br />

ของแนวปะการังน้ำตื้นขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย<br />

เกาะหลีเป๊ะ - มีความเป็นธรรมชาติของปะการังรอบเกาะ มีเวิ้งอ่าว<br />

ที่สวยงาม ทรายขาวละเอียด สามารถเช่าเรือเดินทางไปยังอุทยาน<br />

แห่งชาติตะรุเตาและเกาะใกล้เคียง<br />

ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลของ<br />

ไทย<br />

ปัจจัยเสริม<br />

ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นคาบสมุทรของไทยทำให้มีชายฝั่งทะเล<br />

ทอดยาวระยะทางรวมกันประมาณ 3,148.23 กิโลเมตรทั้งสองฝั่ง<br />

ทะเล มีชายฝั่ง หาดทรายที่สวยงามเหมาะแก่การท่องเที่ยวพักผ่อน<br />

ซึ่งนับได้ว่าเป็นจุดขายหลักของการท่องเที่ยวของไทยที่ได้รับความ<br />

นิยมอยู่แล้วในปัจจุบัน<br />

• ทรัพยากรชายฝั่งทะเลของไทยมีความหลากหลาย ทั้งลักษณะ<br />

ภูมิประเทศที่แปลกตาของธรณีสัณฐาน เช่น ป่าเกาะในพื้นที่<br />

จังหวัดพังงา และความหลากหลายทางธรรมชาติ เช่น ป่าชายเลน<br />

ป่าชายฝั่ง แหล่งหญ้าทะเล และแหล่งปะการัง<br />

• มีหาดทรายจำนวนมากที่สวยงามเป็นที่ยอมรับของนักท่องเที่ยว<br />

โดยประเทศไทยมีหาดทรายจำนวนถึง 357 แห่ง กระจายตัวอยู่<br />

ในพื้นที่ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก โดยชายหาด<br />

ของประเทศไทย 6 แห่งติดอันดับ 25 หาดทรายในเอเชียและ<br />

แปซิฟิกประจำปี 2558 ที่จัดโดย TripAdvisor.com (2 แห่งใน<br />

ภูเก็ต คือ หาดในหาน และหาดกะตะน้อย 2 แห่งในกระบี่ คือ<br />

หาดไร่เลย์ และหาดพระนาง 1 แห่งที่เกาะหลีเป๊ะ สตูล คือ หาด<br />

ซันไรซ์ และอีก 1 แห่งที่เกาะพะงัน สุราษฎร์ธานี คือ หาดท้อง<br />

นายปานน้อย)<br />

• มีกิจกรรมหลากหลายที่นำเสนอแก่นักท่องเที่ยว แต่ละพื้นที่<br />

ชายฝั่งทะเลของไทยมีการนำเสนอกิจกรรมที่แตกต่างกันไปตาม<br />

ลักษณะของพื้นที่ ทั้งกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการชมธรรมชาติ<br />

ใต้ท้องทะเล จากกิจกรรมดำน้ำดูความสวยงามของปะการังและ<br />

ปลา กิจกรรมการปีนหน้าผาหินปูนในพื้นที่เกาะพีพี และชายหาด<br />

ไร่เลย์ หรือกิจกรรม Full moon Party ณ หาดริ้น บนเกาะพงัน<br />

• ภาครัฐให้ความสำคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล<br />

และมีนโยบายที่ชัดเจน โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

ได้กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ในรูปแบบคลัสเตอร์<br />

ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน ชายฝั่งทะเลตะวันออก<br />

และชายฝั่งทะเลตะวันตก ที่กำหนดตำแหน่งการท่องเที่ยวของ<br />

แต่ละพื้นที่ไว้ชัดเจน โดยมุ่งพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวที่<br />

หลากหลายและสอดคล้องกับลักษณะของพื้นที่ และเต็มไปด้วย<br />

สีสัน กิจกรรมและเทศกาลต่างๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม<br />

เชื่อมโยงสู่นานาชาติ เช่น สร้างเมืองพัทยาให้เป็นสปอร์ต<br />

เดสติเนชั่น หรือการสนับสนุนพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกให้<br />

เป็นแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนเพื่อสุขภาพของกลุ่มครอบครัวและ<br />

ผู้สูงอายุ เป็นต้น<br />

56 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

ข้อจำกัด<br />

• ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝั่งทะเล ได้แก่<br />

การลดลงของพื้นที่ป่าชายเลน พื้นที่แหล่งปะการังและ<br />

หญ้าทะเลมีสภาพเสื่อมโทรม และปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว<br />

(Coral Bleaching) พื้นที่ชายหาดและทิวทัศน์สวยงามที่สูญเสียไป<br />

จากปัญหาขยะและน้ำเสีย การก่อสร้างอาคารรุกล้ำแนว<br />

ชายหาด การตกตะกอนทับถมของเศษดินและหิน รวมถึงการ<br />

ก่อสร้างในเขตชายฝั่ง การเดินเรือ และการกัดเซาะชายฝั่ง<br />

เป็นต้น<br />

• ขาดการวางแผนการใช้ดินและจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเล<br />

อย่างบูรณาการและการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง เนื่องจาก<br />

พื้นที่ชายหาดเป็นที่มีมูลค่าสูง มักถูกนำไปพัฒนาเป็นที่พักแก่<br />

นักท่องเที่ยว ก่อให้เกิดการบุกรุกที่สาธารณะ และน ำมาซึ่งปัญหา<br />

การบุกรุกพื้นที่ชายหาด การออกฉโนดปลอม การรุกล้ำผู้ตั้ง<br />

ถิ่นฐานดั้งเดิม อาทิ ชาวเล<br />

• ขาดการจัดระเบียบของพื้นที่ชายหาดที่เหมาะสม ทำให้ชายหาด<br />

หลายแห่งมีสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำชายหาด ขาดพื้นที่ให้นักท่องเที่ยว<br />

พักผ่อนตามชายหาดโดยปราศจากสิ่งกีดขวางสายตา หรือ<br />

รบกวนความเป็นส่วนตัว รวมทั้งอาจเกิดความไม่ปลอดภัยที่เกิด<br />

จากกิจกรรมที่ไม่ได้กำหนดขอบเขตบนชายหาดเช่น การเล่น<br />

เจ็ทสกี<br />

• ท่าเทียบเรือและทุ่นจอดเรือไม่เพียงพอ สำหรับรองรับเรือเพื่อ<br />

การท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะต่างๆ ทำให้ต้องทิ้งสมอก่อให้เกิด<br />

ความเสียหายแก่ปะการัง<br />

• ปัญหาบริการด้านการท่องเที่ยวที่ไม่ถูกกฎหมาย ที่ยังคงมีอยู่<br />

ทั้งในรูปของผู้มีอิทธพล ธุรกิจร่มชายหาด ธุรกิจการเช่าเจ็ทสกี<br />

ที่เอาเปรียบนักท่องเที่ยว<br />

แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล<br />

• ควรให้ความสำคัญกับการวางแผนจัดการที่ดินและทรัพยากร<br />

ชายฝั่งทะเลที่มาจากการ<br />

• บูรณาการของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชนในพื้นที่ และ<br />

นักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเร่งดำเนิน<br />

การผลักดันไปสู่การปฏิบัติในลักษณะของวาระแห่งชาติ<br />

• ศึกษารูปแบบความเหมาะสมในการกำหนดพื้นที่และข้อห้าม<br />

ในการทำกิจกรรมการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลในแต่ละพื้นที่ เพื่อ<br />

ให้คงความดึงดูดทางการท่องเที่ยวและเป็นมาตรการป้องปราม<br />

ให้เกิดความปลอดภัยในการท่องเที่ยวตามแนวชายฝั่ง<br />

• กำหนดพื้นที่และดำเนินการศึกษารูปแบบการทำกิจกรรมบน<br />

พื้นที่อย่างต่อเนื่องในลักษณะที่ไม่รบกวนเจ้าบ้านและเป็นการ<br />

อนุรักษ์และส่งเสริมการท่องเที่ยว อาทิ งานปล่อยเต่าของจังหวัด<br />

พังงา เทศกาล Naga Festival เทศกาลลานตา ลันตา เป็นต้น<br />

• กวดขันการดำเนินมาตรการอย่างเคร่งครัดในการควบคุมดูแล<br />

เรื่องของมาตรฐานความปลอดภัยในการให้บริการของผู้ประกอบ<br />

การท่องเที่ยวโดยเฉพาะเรือโดยสารและเรือนำเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

57


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

Inland-Waterway Tourism<br />

การทองเที่ยวตามแมน้ำลำคลอง<br />

การท่องเที่ยวตามแม่น้ำลำคลอง เป็นการท่องเที่ยวทางน้ำที่เกี่ยว<br />

เนื่องกับวิถีชีวิตของคนไทย โดยในอดีตกรุงเทพมหานครเคยได้<br />

ชื่อว่า เวนิสตะวันออก การท่องเที่ยวตามแม่น้ำลำคลองเพื่อชมวิถี<br />

ชีวิตและวัฒนธรรมดั้งเดิมสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย<br />

และต่างชาติ ที่มีความสนใจในการศึกษาวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทย<br />

ต้องการเห็นวิถีชีวิตชุมชนที่อยู่สองฝั่ง หรือการเยี่ยมชมตลาดน้ำ<br />

ที่เป็นที่นิยม นอกจากนี้ การท่องเที่ยวนี้รวมไปถึงกิจกรรมเกี่ยวกับ<br />

การผจญภัยอย่างเช่น การล่องแก่ง หรือการพักแรมบนแพ<br />

ร่วมด้วยในบางเส้นทาง<br />

การท่องเที่ยวตามแม่น้ำลำคลองในปัจจุบันมีทั้งการท่องเที่ยวแบบ<br />

เข้าไปเย็นกลับที่เรียกว่า ทัศนาจร หรือมีการพักแรมที่อาจพักบน<br />

เรือ/แพ หรือแวะขึ้นบกระหว่างทาง ประเภทของเรือที่ให้บริการมี<br />

หลายรูปแบบ เช่น เรือหางยาว เรือเร็ว (ด่วน) เรือสำราญ เรือลาก<br />

แพลาก เป็นต้น ขึ้นอยู่กับลักษณะของลำน้ำ ระยะทางของแหล่ง<br />

ท่องเที่ยว และความต้องการของนักท่องเที่ยวเป็นหลัก<br />

จากข้อมูลของสมาคมเรือไทย เฉพาะการท่องเที่ยวตามแม่น้ำ<br />

ลำคลองในบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา สามารถแบ่งรูปแบบการ<br />

ท่องเที่ยวออกตามประเภทของเรือได้ 5 กลุ่ม ดังนี้<br />

• กลุ่มเรือภัตตาคาร เป็นเรือสำหรับให้บริการล่องเรือพร้อมบริการ<br />

อาหาร ส่วนใหญ่จะเป็นของร้านอาหารริมน้ำและโรงแรมต่างๆ<br />

ซึ่งปัจจุบันมีมูลค่าทางธุรกิจสูงที่สุดในบรรดารูปแบบการ<br />

ท่องเที่ยวทางเรือล่องเจ้าพระยาทั้งหมดคือ ประมาณ 2,275<br />

ล้านบาทต่อปี<br />

• กลุ่มเรือทัวร์ (ให้บริการเหมาลำ) ที่มีทั้งเรือสำราญ (Cruise)<br />

เรือชมวิว (Sightseeing) และอาจรวมถึงเรือด่วนเจ้าพระยา<br />

ซึ่งมีมูลค่าทางธุรกิจประมาณ 350 ล้านบาทต่อปี<br />

• กลุ่มเรือหางยาว (ให้บริการเหมาลำ) ที่นำนักท่องเที่ยวลัดเลาะ<br />

ไปตามลำคลองต่างๆ มีมูลค่าทางธุรกิจประมาณ 320 ล้านบาท<br />

ต่อปี<br />

• กลุ่มเรือโดยสารหางยาว ที่ประกอบด้วย เรือด่วนเจ้าพระยา และ<br />

เรือด่วนครอบครัวขนส่ง ซึ่งมีมูลค่าทางธุรกิจสูงเป็นอันดับสอง<br />

รองจากกลุ่มเรือภัตตาคารคือประมาณ 480 ล้านบาทต่อปี<br />

• กลุ่มเรือข้ามฟาก ที่ให้บริการกับผู้โดยสารทั่วไป มีมูลค่าทาง<br />

ธุรกิจประมาณ 60 ล้านบาทต่อปี<br />

ประเทศไทยมีลุ่มน้ำสำคัญทั่วประเทศจำนวน 25 ลุ่มน้ำ และลุ่มน้ำ<br />

ย่อย 254 ลุ่มน้ำย่อย คิดเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำรวมทั้งประเทศประมาณ<br />

511,361 ตารางกิโลเมตร รวมทั้งคูคลองอีกเป็นจำนวนมาก เฉพาะ<br />

กรุงเทพมหานครแห่งเดียวมีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง<br />

จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กิโลเมตร<br />

จากข้อมูลแนะนำแหล่งท่องเที่ยวทางลำน้ำที่นับเป็นแหล่งท่องเที่ยว<br />

ทางธรรมชาติของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)<br />

พบว่ามีจำนวนเกือบ 40 แห่งทั่วประเทศ (ยังไม่รวมในเขตกรุงเทพ<br />

ปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง) โดยมีรูปแบบการท่องเที่ยวหลัก<br />

ดังนี้<br />

• บริการเรือสำหรับนักท่องเที่ยวล่องไปตาม ลำคลอง อาทิ คลอง<br />

โคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเรื่องราวกล่าวขานมายาวนาน<br />

คลองสังเน่ห์ แยกจากแม่น้ำตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ที่มีพืชพรรณ<br />

ธรรมชาตินานาชนิด คลองขนมหวาน จังหวัดนนทบุรี ที่เป็น<br />

แหล่งผลิตขนมไทยนานาชนิด คลองร้อยสาย จังหวัด<br />

สุราษฎร์ธานี ที่ยังมีวิถีชีวิตในการเดินทางและทำกิจกรรม<br />

ทางน้ำให้เห็นอยู่จนถึงปัจจุบัน<br />

• บริการเรือสำหรับนักท่องเที่ยวล่องไปตามบึงและทะเลสาบ<br />

ได้แก่ ทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง ล่องแพเหนือเขื่อนภูมิพล จังหวัด<br />

ตาก รวมทั้งอ่างเก็บน้ำเขื่อนรัชประภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่ง<br />

มีทิวทัศน์สวยงามจนได้ชื่อว่ากุ้ยหลินเมืองไทย<br />

• การล่องเรือตามแม่น้ำสายต่างๆ เป็นการล่องเรือไปตามแม่น้ำ<br />

สำคัญ อาทิ แม่น้ำโขง แม่น้ำมูล แม่น้ำนครชัยศรี แม่น้ำปาย<br />

แม่น้ำกก แม่น้ำเพชรบุรี แม่น้ำสาละวิน และแม่น้ำเมย โดยมี<br />

กิจกรรมการท่องเที่ยวอื่นที่เสริมการล่องเรือตามลำน้ำ เช่น<br />

การล่องเรือในแม่น้ำปาย นอกจากมีกิจกรรมการล่องแก่งแล้วใน<br />

เส้นทางยังมีกิจกรรมขี่ช้าง แช่ตัวในบ่อโคลน พุน้ ำร้อน การชมถ้ำ<br />

โดดหน้าผา เที่ยวชมหมู่บ้านกระเหรี่ยงคอยาวบริเวณเขต<br />

ชายแดนไทย-เมียนมา การท่องเที่ยวตามลำน้ำแม่กก จังหวัด<br />

เชียงราย ที่ไปบรรจบแม่น้ำโขง พร้อมกิจกรรมล่องเรือ ล่องแก่ง<br />

พายเรือคายัค อาบน้ำแร่ และชมวัฒนธรรมเผ่าต่างๆ แม่น้ำ<br />

สองสี อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เป็นจุดเชื่อมระหว่าง<br />

แม่น้ำสองสายคือ แม่น้ำโขง และแม่น้ำมูลที่มีสีต่างกัน<br />

58 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

นักท่องเที่ยวสามารถนั่งเรือชมทิวทัศน์สองฝั่งพร้อมทั้งสามารถ<br />

ข้ามไปซื้อสินค้าในฝั่ง สปป.ลาวได้ นับได้ว่าเป็นโอกาสในการ<br />

พัฒนาการท่องเที่ยวทางน้ำเชื่อมโยงกับอาเซียนรองรับกับ AEC<br />

ต่อไป<br />

นอกจากนั้น ตลาดน้ำในจังหวัดใกล้เคียงกรุงเทพมหานครเป็น<br />

แหล่งท่องเที่ยวที่นิยมของทั้งนักท่องเที่ยวไทยและต่างชาติ อาทิ<br />

ตลาดน้ำอัมพวา ตลาดน้ำดำเนินสะดวก ที่มีเรือสำหรับบริการนำ<br />

นักท่องเที่ยวเยี่ยมชมวิถีชีวิตและการทำสวนของชุมชนใน<br />

ละแวกนั้น รวมทั้งสถานที่ทางประวัติศาสตร์ เช่น พระราชวัง<br />

บางปะอิน และศูนย์ศิลปาชีพฯ บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา<br />

เป็นต้น<br />

สำหรับในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ข้อมูลจากผู้ประกอบ<br />

การเรือท่องเที่ยวในแม่น้ำเจ้าพระยา ระบุว่า นักท่องเที่ยวต่างชาติ<br />

ที่มาล่องเรือมีเพียงร้อยละ 10 ของนักท่องเที่ยวทั้งหมดเท่านั้น<br />

ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน อินเดีย ตะวันออกกลาง และ<br />

นักท่องเที่ยวจากยุโรปส่วนหนึ่งที่มักจะใช้บริการเรือของโรงแรม<br />

เป็นหลัก สำหรับชาวไทยส่วนใหญ่จะใช้บริการเรือหางยาวประมาณ<br />

ร้อยละ 5 เน้นการท่องเที่ยวเพื่อไปไหว้พระ หรือเรือดินเนอร์<br />

ของร้านอาหารที่ล่องในระยะสั้นไปตามแม่น้ำเจ้าพระยา เส้นทาง<br />

ท่องเที่ยวทางน้ำที่เป็นที่นิยมคือ<br />

• เส้นทางจากริเวอร์ซิตี้ เอเชียทีค ไปยังสะพานพระราม 8 และ<br />

ย้อนกลับมาที่เดิม ใช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง ซึ่งส่วนใหญ่เป็น<br />

เรือดินเนอร์และเรือบริการของโรงแรม<br />

• เส้นทางเข้าคลองบางกอกน้อยและมาออกที่คลองบางกอกใหญ่<br />

ซึ่งเดินทางด้วยเรือด่วนท่องเที่ยวและเรือหางยาวเป็นเส้นทาง<br />

ที่มีสถานที่ท่องเที่ยวให้ชมหลายแห่ง ได้แก่ พิพิธภัณฑ์สถาน<br />

แห่งชาติเรือพระราชพิธี และวัดต่างๆ เกือบ 10 วัดที่ตั้งเรียงราย<br />

อยู่ 2 ฝั่งคลอง<br />

• เส้นทางจากคลองดาวคะนอง คลองบางกอกใหญ่ คลองบาง<br />

เชือกหนัง คลองมอญ คลองชักพระ และคลองบางกอกน้อย<br />

ซึ่งมีสถานที่ท่องเที่ยวอาทิ ตลาดน้ำวัดไทร ฟาร์มงู วัดปากน้ำ<br />

วัดเกาะ สวนกล้วยไม้ ตลาดน้ำตลิ่งชัน เป็นต้น<br />

• เส้นทางล่องเจ้าพระยาโดยใช้บริการของเรือด่วนเจ้าพระยาซึ่ง<br />

เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวที่พักอยู่บริเวณถนนข้าวสาร<br />

เนื่องจากสามารถเดินทางจากท่าพระอาทิตย์ไปจนถึงท่าเรือ<br />

สาทร ผ่านแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญๆ หลายแห่งที่มีความสวยงาม<br />

และเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

59


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

แหลงทองเที่ยวตามแมน้ำลำคลอง<br />

THAILAND TRAVEL<br />

แหลงทองเที่ยวตามแมน้ำลำคลองที่ไดรับความนิยม<br />

แมน้ำกก เชียงราย<br />

แมน้ำปายและแมน้ำสาละวิน<br />

แมฮองสอน<br />

บึงโขงหลง และหนองกุดทิง<br />

แมน้ำสองสี อุบลราชธานี<br />

ตลาดน้ำดำเนินสะดวก ราชบุรี<br />

ศักยภาพความพร้อมของการท่องเที่ยว<br />

ทางลำน้ำ<br />

ปัจจัยเสริม<br />

• ไทยมีแหล่งท่องเที่ยวทางลำน้ำอยู่จำนวนมากและมีความหลาก<br />

หลายซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถชื่นชมได้ทั้งความสวยงามของ<br />

ธรรมชาติ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยทั้งในเมืองกรุง<br />

และชนบท การผจญภัยด้วยการล่องแก่งหรือการแวะพักค้าง<br />

ในบรรยากาศป่าริมแม่น้ำ เป็นต้น ซึ่งเมื่อเทียบกับจำนวนแม่น้ำ<br />

ลำคลองที่มีอยู่ของประเทศไทย ประกอบกับจำนวนนักท่องเที่ยว<br />

ที่ใช้บริการล่องเรือตามแม่น้ำลำคลองที่ยังมีสัดส่วนน้อยแล้ว<br />

อาจกล่าวได้ว่า ประเทศไทยยังมีโอกาสในการพัฒนาการ<br />

ท่องเที่ยวตามแม่น้ำลำคลองในสถานที่ท่องเที่ยวใหม่ๆ ได้อีกมาก<br />

• มีการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวลำน้ำภายใต้ข้อตกลงอาเซียน<br />

และ GMS ซึ่งประเทศไทยเป็นทั้งเจ้าภาพในการพัฒนาเส้นทาง<br />

ทางลำน้ำ 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทาง Mekong Discovery Trail ที่<br />

เชื่อมโยงบุรีรัมย์-อุบลราชธานี-จำปาสัก สปป. ลาว และ<br />

สะตรึงแตรง กัมพูชา เน้นในเรื่องของธรรมชาติ ประวัติศาสตร์<br />

และวัฒนธรรม เส้นทาง Mekong River Cruising in the Golden<br />

Triangle เชื่อมโยงเชียงราย-เชียงของ-บ่อแก้ว-ปากเบ็ง-หลวง<br />

พระบาง สปป.ลาว เน้นการท่องเที่ยวทางเรือ Cruise เพื่อชม<br />

ธรรมชาติและวัฒนธรรม และกิจกรรมการผจญภัย รวมทั้งการ<br />

มีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางการล่องเรือทางน้ำอื่นๆ อาทิ<br />

เส้นทาง Mekong Tea caravan Trail East ที่จีนเป็นเจ้าภาพ<br />

เชื่อมโยงระหว่างเมืองคุนหมิง ของจีน มายังหลวงพระบาง ของ<br />

สปป. ลาว และบริเวณสามเหลี่ยมทองคำของไทย ทั้งหมดนี้เพื่อ<br />

รองรับการเติบโตของการท่องเที่ยวอาเซียนที่ไทยวางตำแหน่งไว้<br />

เป็นศูนย์กลาง โดยเฉพาะเส้นทางที่เชื่อมต่อกับประเทศจีนซึ่ง<br />

เป็นนักท่องเที่ยวรายใหญ่ของโลก<br />

คลองสังเนห พังงา<br />

คลองรอยสาย สุราษฎรธานี<br />

เกาะยอ<br />

(ทะเลสาบสงขลา)<br />

ตลาดน้ำอัมพวา สมุทรสงคราม<br />

ข้อจำกัด<br />

• คุณภาพน้ำปัญหาส่วนใหญ่มาจากการทิ้งขยะลงคลองของ<br />

ประชาชนที่อาศัยอยู่ตามริมคลองรวมทั้งการลักลอบปล่อยน้ำ<br />

เสียของบรรดาโรงงานและบ้านเรือนที่ตั้งตามริมแม่น้ำ<br />

• การบริหารจัดการลำน้ำ ที่เป็นปัญหากับการให้บริการท่องเที่ยว<br />

ตามแม่น้ำลำคลอง อาทิ เวลาเปิด-ปิดประตูน้ำตามเส้นทาง<br />

เดินเรือตามลำคลอง ปัญหาเรื่องการสร้างเขื่อนกั้นน้ำที่รุกล้ำ<br />

เข้ามาในเขตพื้นที่คลองจนเหลือพื้นที่สำหรับเดินเรือน้อยมาก<br />

และบางแห่งทำลายทัศนียภาพริมฝั่งคลอง รวมไปถึงปัญหาการ<br />

ตื้นเขินของคลองในเส้นทางที่มีศักยภาพพัฒนาให้เป็นเส้นทาง<br />

ท่องเที่ยวได้<br />

• ท่าเทียบเรือ ในเขตกรุงเทพมหานครมีท่าเทียบเรือโดยสาร<br />

สาธารณะที่กรมเจ้าท่าก่อสร้างและปรับปรุงทั้งหมด 144 แห่ง<br />

เป็นท่าเทียบเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา 123 แห่ง และท่าเทียบเรือ<br />

ในคลองต่างๆ อีก 21 แห่ง นอกจากนั้นเป็นท่าเทียบเรือของ<br />

เอกชน ซึ่งไม่เพียงพอต่อจำนวนเรือท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น และ<br />

ความต้องการขยายเส้นทางท่องเที่ยว ขณะที่ท่าเทียบเรือของ<br />

เอกชนต้องเสียค่าบริการสูงด้วยพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาที่<br />

ค่อนข้างจำกัด ส่วนท่าเทียบเรือในภูมิภาคจะอยู่ตามเมือง<br />

ท่องเที่ยวต่างๆ จากข้อมูลของกรมเจ้าท่า มีท่าเทียบเรือโดยสาร<br />

เพื่อการท่องเที่ยวทั่วประเทศ (ไม่นับรวมกรุงเทพมหานคร<br />

ภาคใต้ และภาคตะวันออกที่เป็นชายฝั่งทะเล) รวมทั้งสิ้น<br />

ประมาณ 90 แห่ง กระจายตามเมืองท่องเที่ยวในภาคเหนือ<br />

ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

• คุณภาพการให้บริการ ที่ผ่านมามักจะมีปัญหาเกิดขึ้นเกี่ยวกับ<br />

การให้บริการที่เอารัดเอาเปรียบนักท่องเที่ยวทั้งในเรื่องของราคา<br />

ระยะทางและระยะเวลาที่ไม่เป็นไปตามข้อตกลง ปัญหาคุณภาพ<br />

60 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวทางน้ำกับการพัฒนาการท่องเที่ยวไทย<br />

ของเรือและคนขับเรือรวมทั้งมัคคุเทศก์ที่บางส่วนยังขาด<br />

มาตรฐานตามที่กำหนดไว้ของกรมเจ้าท่าและกรมการท่องเที่ยว<br />

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวตามแม่น้ำ<br />

ลำคลอง<br />

• ส่งเสริมให้มีการนำระบบมาตรฐานและสัญลักษณ์มาใช้ในการจัด<br />

ระเบียบท่าเรือ เรือ คนขับเรือ และมัคคุเทศก์ เพื่อแสดงถึง<br />

คุณภาพการให้บริการท่องเที่ยวตามแม่น้ำลำคลอง ซึ่งต้อง<br />

ดำเนินการควบคู่กับ การประชาสัมพันธ์ตราสัญลักษณ์ให้เป็นที่<br />

รู้จักและยอมรับของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ<br />

• ผลักดันมาตรการเพื่อป้องกันและลดอุบัติเหตุทางน้ำของ<br />

กรมเจ้าท่าไปสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างความมั่นใจทางด้าน<br />

ความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยว<br />

ทางลำน้ำในภูมิภาค ที่มีโอกาสขยายตัวรองรับกับการเป็น<br />

ศูนย์กลางการท่องเที่ยวอาเซียนของไทย<br />

• ปรับปรุงคุณภาพน้ำในแม่น้ำลำคลองให้สะอาด โดยให้ชุมชนและ<br />

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทในการดูแลและ<br />

รณรงค์ร่วมกับภาครัฐ<br />

• การพิจารณาความเป็นไปได้ในการปรับระบบการเปิด-ปิดประตู<br />

ระบายน้ำในคลองต่างๆ ให้สอดคล้องกับปริมาณเรือของนักท่องเที่ยว<br />

• จัดให้มีการศึกษาทบทวนศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและ<br />

เส้นทางท่องเที่ยวตามแม่น้ำลำคลองที่มีอยู่เดิมและที่สมควรจะ<br />

พัฒนาขึ้นใหม่เพื่อนำมาสู่การปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้อง<br />

กับความต้องการของนักท่องเที่ยว และกำหนดจุดสำหรับการ<br />

สร้างท่าเรือสาธารณะเพิ่มเติมในแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ<br />

แม้การท่องเที่ยวทางน้ำจะเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับการท่องเที่ยวของ<br />

ประเทศไทยมาช้านาน แต่ที่ผ่านมายังไม่ได้มีการกำหนดแนวทาง<br />

ที่ชัดเจนในการพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้ำทั้งระบบ และขาด<br />

การวางแผนและพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งขาด<br />

การบูรณาการ ทำให้การท่องเที่ยวทางน้ำขาดความโดดเด่น<br />

และไม่สามารถสร้างรายได้แก่การท่องเที่ยวของไทยได้เท่าที่ควร<br />

โดยเฉพาะการท่องเที่ยวเรือสำราญและการท่องเที่ยวด้วย<br />

เรือยอร์ช ส่วนใหญ่ดำเนินการโดยภาคเอกชน ในขณะที่การท่องเที่ยว<br />

ชายฝั่งทะเล และการท่องเที่ยวตามแม่น้ำลำคลอง ยังต้องการ<br />

การสนับสนุนจากภาครัฐในการพัฒนา ส่งเสริม ผลักดัน ดังนั้น<br />

การจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวทางน้ำของประเทศ จึงเป็นสิ่ง<br />

สำคัญในการเป็นกรอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาเป็นไปอย่างเป็น<br />

ระบบและครอบคลุมในทุกด้านเกิดการเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว<br />

สาขาอื่นๆ และเชื่อมโยงกับ <strong>ASEAN</strong> รวมทั้งการบูรณาการ<br />

การทำงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

61


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

Thailand Tourism Indicators<br />

จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2556 – 2558P และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย : จำนวนนักท่องเที่ยว (คน)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558P<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia 15,911,375 14,603,825 19,871,773 4,846,314 4,988,026 5,130,180 4,907,253<br />

Europe 6,305,945 6,161,893 5,629,122 1,930,027 939,035 1,071,722 1,688,338<br />

Other 4,329,405 4,043,965 4,380,196 1,052,812 1,051,654 1,105,806 1,169,924<br />

Grand Total 26,546,725 24,809,683 29,881,091 7,829,153 6,978,715 7,307,708 7,765,515<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

หน่วย: % การเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia +27.03 -8.22 +36.07 +52.47 +60.80 +34.60 +8.76<br />

Europe +11.61 -2.28 -8.65 -13.85 -9.02 +1.36 -7.84<br />

Other +3.61 -6.59 +8.31 +10.02 +9.21 +12.64 +2.41<br />

Grand Total +18.76 -6.54 +20.44 +22.79 +36.92 +24.91 +3.73<br />

หมายเหตุ : P หมายถึงข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

62 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

จำนวนวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2556 – 2558P และการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: จำนวนวันพักเฉลี่ย (วัน)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558P<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia 6.84 6.73 6.95 6.85 7.27 7.13 6.51<br />

Europe 16.52 16.40 16.99 17.00 18.21 17.35 16.73<br />

Other 11.61 11.47 11.76 11.80 12.19 11.82 11.77<br />

Grand Total 9.85 9.90 9.55 10.02 9.49 9.34 9.53<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558P<br />

Y<br />

หน่วย: จำนวนวันพักเฉลี่ยที่เปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia +0.05 -0.11 +0.22 +0.05 +0.41 +0.26 +0.04<br />

Europe +0.03 -0.12 +0.59 +0.93 +1.01 +0.40 +0.68<br />

Other -0.03 -0.14 +0.29 +0.41 +0.59 +0.19 +0.49<br />

Grand Total -0.30 +0.05 -0.35 -0.73 -0.36 -0.15 -0.02<br />

หมายเหตุ : P หมายถึงข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2556 – 2558P<br />

และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย (บาท/คน/วัน)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558P<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia 4,833.58 5,114.28 5,500.11 5,570.66 5,169.06 5,611.05 5,692.80<br />

Europe 4,115.00 4,208.91 4,270.42 4,146.89 3,963.78 4,115.53 4,534.14<br />

Other 5,022.53 5,266.19 5,416.60 5,054.43 4,926.09 5,284.50 5,722.57<br />

Grand Total 4,616.50 4,774.93 5,072.69 4,919.63 4,841.10 5,173.13 5,238.27<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558P<br />

Y<br />

หน่วย: % การเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia +6.07 +5.81 +7.54 +9.38 +8.92 +7.87 +5.89<br />

Europe +5.39 +2.28 +1.46 +1.08 +2.07 +2.73 -1.92<br />

Other +5.03 +4.85 +2.86 +3.43 +3.54 +3.21 -1.66<br />

Grand Total +6.44 +3.43 +6.24 +7.77 +8.05 +7.03 +2.15<br />

หมายเหตุ : P หมายถึงข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

63


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2556 – 2558P และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: รายได้ (ล้านบาท)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558P<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia 526,057.21 504,208.13 759,583.60 184,930.45 187,445.36 205,242.17 181,965.62<br />

Europe 428,676.47 424,381.34 408,447.94 136,061.29 67,779.98 76,525.70 128,080.97<br />

Other 252,412.14 244,208.70 279,126.51 64,944.25 65,390.93 71,318.84 77,472.49<br />

Grand Total 1,207,145.82 1,172,798.17 1,447,158.05 385,935.99 320,616.27 353,086.71 387,519.08<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2556<br />

Y<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

หน่วย: % การเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

East Asia +35.73 -4.15 +50.65 +68.00 +85.62 +50.69 +15.94<br />

Europe +17.86 -1.00 -3.75 -7.89 -1.68 +6.58 -5.77<br />

Other +8.50 -3.25 +14.30 +17.91 +18.84 +18.19 +5.03<br />

Grand Total +22.69 -2.85 +23.39 +23.35 +42.53 +31.58 +5.70<br />

หมายเหตุ : P หมายถึงข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

อัตราการเข้าพักของสถานพักแรมในประเทศ และการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

(หน่วย: ร้อยละ)<br />

ภูมิภาค 2556 2557 2558P<br />

กรุงเทพฯ 68.34 67.50 54.20<br />

ภาคกลาง 45.35 50.95 56.27<br />

ภาคเหนือ 43.54 50.11 54.20<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 49.09 50.48 53.83<br />

ภาคตะวันออก 61.57 62.96 68.02<br />

ภาคตะวันตก 54.55 58.54 64.26<br />

ภาคใต้ 58.44 61.35 66.69<br />

รวม 56.30 58.93 65.12<br />

(หน่วย: ร้อยละ)<br />

ภูมิภาค 2556 2557 2558P<br />

กรุงเทพฯ +5.53 -0.84 +4.09<br />

ภาคกลาง +4.15 +5.60 +5.32<br />

ภาคเหนือ +6.72 +6.57 +4.09<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ +5.21 +1.39 +3.35<br />

ภาคตะวันออก +4.72 +1.39 +5.06<br />

ภาคตะวันตก +5.66 +3.99 +5.72<br />

ภาคใต้ +13.11 +2.91 +5.34<br />

รวม +8.07 +2.63 +6.19<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

64 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศของชาวไทย และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

(หน่วย: ล้านบาท)<br />

ภูมิภาค 2556 2557 2558P<br />

กรุงเทพฯ 243,088.16 250,931.26 285,399.26<br />

ภาคกลาง 32,718.75 35,180.27 38,694.36<br />

ภาคเหนือ 83,620.08 97,084.33 108,586.30<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 54,290.26 56,463.65 61,830.06<br />

ภาคตะวันออก 66,868.17 68,972.35 78,794.14<br />

ภาคตะวันตก 47,846.65 53,230.85 60,486.36<br />

ภาคใต้ 132,282.60 139,588.77 156,239.10<br />

รวม 660,714.67 701,451.48 790,029.58<br />

(หน่วย: ร้อยละ)<br />

ภูมิภาค 2556 2557 2558P<br />

กรุงเทพฯ +9.48 +3.23 +13.74<br />

ภาคกลาง +6.24 +7.52 +9.99<br />

ภาคเหนือ +14.00 +16.10 +11.85<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ +13.81 +4.00 +9.50<br />

ภาคตะวันออก +7.75 +3.15 +14.24<br />

ภาคตะวันตก +10.01 +11.25 +13.63<br />

ภาคใต้ +27.14 +5.52 +11.93<br />

รวม +14.31 +6.17 +12.63<br />

จำนวนห้องพักของสถานพักแรม ปี 2558P รายภูมิภาค<br />

ภูมิภาค<br />

จำนวนห้องพัก<br />

2557 2558P % การเปลี่ยนแปลง<br />

กรุงเทพมหานคร 97,547 160,470 +64.51<br />

ภาคกลาง 26,612 28,301 +6.35<br />

ภาคเหนือ 89,219 95,910 +7.50<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 62,135 67,889 +9.26<br />

ภาคตะวันออก 78,315 80,443 +2.72<br />

ภาคตะวันตก 36,112 39,082 +8.22<br />

ภาคใต้ 160,329 200,574 +25.10<br />

รวม 550,269 672,669 +22.24<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา: กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

65


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

จำนวนเที่ยวบินในประเทศและระหว่างประเทศ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย : เที่ยวบิน<br />

2556 2557 2558 2558<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

Domestic Flight Scheduled Flight 332,322 392,560 480,368 117,793 117,774 118,803 125,998<br />

Non-Scheduled Flight 29,885 29,981 25,890 7,393 6,569 5,930 5,998<br />

Total 362,207 422,541 506,258 125,186 124,343 124,733 131,996<br />

International Flight Scheduled Flight 307,025 311,980 367,407 88,681 89,334 92,108 97,284<br />

Non-Scheduled Flight 24,083 19,059 17,469 6,261 3,701 3,657 3,850<br />

Total 331,108 331,039 384,876 94,942 93,035 95,765 101,134<br />

Grand total 693,315 753,580 891,134 220,128 217,378 220,498 233,130<br />

ที่มา : กรมท่าอากาศยาน<br />

หน่วย : ร้อยละ<br />

2556 2557 2558 2558<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

Domestic Flight Scheduled Flight +17.71 +18.13 +22.37 +21.31 +28.58 +28.44 +13.14<br />

Non-Scheduled Flight -1.70 +0.32 -13.65 -10.28 -13.80 -20.10 -10.45<br />

Total +15.83 +16.66 +19.81 +18.84 +25.32 +24.83 +11.81<br />

International Flight Scheduled Flight +19.47 +1.61 +17.77 +10.61 +21.62 +27.20 +13.20<br />

Non-Scheduled Flight +30.92 -20.86 -8.34 -14.02 +1.76 -2.77 -12.08<br />

Total +20.23 -0.02 +16.26 +8.56 +20.68 +25.72 +11.97<br />

Grand total +17.89 +8.69 +18.25 +14.18 +23.29 +25.22 +11.88<br />

ที่มา : กรมท่าอากาศยาน<br />

66 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

จำนวนผู้โดยสารเที่ยวบินในประเทศและระหว่างประเทศ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย : คน<br />

2556 2557 2558 2558<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

Domestic Flight Scheduled Flight 41,845,361 49,597,775 62,402,387 15,684,619 14,587,319 15,308,510 16,821,939<br />

Non-Scheduled Flight 490,300 539,492 550,691 156,921 143,438 130,961 119,371<br />

Total 42,335,661 50,137,267 62,953,078 15,841,540 14,730,757 15,439,471 16,941,310<br />

International Flight Scheduled Flight 50,551,222 48,603,576 59,624,515 15,294,607 14,279,499 14,493,435 15,556,974<br />

Non-Scheduled Flight 4,287,127 3,467,401 2,959,705 1,103,710 616,060 579,012 660,923<br />

Total 54,838,349 52,070,977 62,584,220 16,398,317 14,895,559 15,072,447 16,217,897<br />

Grand total 97,174,010 102,208,244 125,537,298 32,239,857 29,626,316 30,511,918 33,159,207<br />

ที่มา : กรมท่าอากาศยาน<br />

2556 2557 2558 2558<br />

หน่วย : ร้อยละ<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

Domestic Flight Scheduled Flight +17.69 +18.53 +25.82 +27.45 +29.71 +28.29 +19.20<br />

Non-Scheduled Flight -27.13 +10.03 +2.08 -12.38 +10.88 +3.90 +13.70<br />

Total +16.86 +18.43 +25.56 +26.88 +29.49 +28.03 +19.16<br />

International Flight Scheduled Flight +15.19 -3.85 +22.68 +24.96 +33.79 +26.11 +9.57<br />

Non-Scheduled Flight +40.55 -19.12 -14.64 -23.04 -1.54 -6.62 -16.08<br />

Total +16.84 -5.05 +20.19 +19.92 +31.84 +24.43 +8.22<br />

Grand total +16.85 +5.18 +22.83 +23.24 +30.66 +26.23 +13.55<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

67


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

ที่มา : กรมท่าอากาศยาน<br />

ค่าใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวในประเทศ (Internal Tourism Expenditure)จำแนกตามสาขาการบริการ<br />

ประเภทบริการ มูลค่า (ล้านบาท) % การเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

2555 2556 2557 2558p 2556/55 2557/56 2558/57<br />

1. สถานพักแรม 328,229.79 403,967.25 384,805.97 476,114.18 +23.07 -4.74 +23.73<br />

2. การบริการอาหารและเครื่องดื่ม 335,979.17 406,734.54 399,390.01 448,465.73 +21.06 -1.81 +12.29<br />

3. การขนส่งผู้โดยสารทางรถไฟ 4,730.67 5,515.67 5,501.03 6,440.18 +16.59 -0.27 +17.07<br />

4. การขนส่งผู้โดยสารโดยรถโดยสาร 58,957.13 69,414.00 69,274.94 82,294.90 +17.74 -0.20 +18.79<br />

5. การขนส่งผู้โดยสารทางทะเลและ<br />

ชายฝั่ง<br />

15,046.41 18,589.10 17,642.02 19,590.92 +23.55 -5.09 +11.05<br />

6. การขนส่งทางอากาศ 35,712.88 43,826.10 41,964.96 51,297.11 +22.72 -4.25 +22.24<br />

7. การเช่ารถยนต์และอุปกรณ์โดย<br />

ไม่มีผู้ควบคุม<br />

12,790.47 14,164.03 15,360.08 21,335.71 +10.74 +8.44 +38.90<br />

8. ตัวแทนบริษัทนำเที่ยว 43,602.79 51,016.55 52,361.01 63,146.74 +17.00 +2.64 +20.60<br />

9. การแสดงการละเล่นพื้นบ้าน ศิลป<br />

วัฒนธรรม<br />

1,438.04 1,813.09 1,699.03 2,036.15 +26.08 -6.29 +19.84<br />

10. บริการกีฬาและนันทนาการ 23,306.00 26,831.00 26,104.04 37,073.93 +15.12 -2.71 +42.02<br />

11. การขายสินค้าเพื่อการท่องเที่ยว 13,211.00 15,550.00 15,640.44 21,900.54 +17.70 +0.58 +40.03<br />

12. บริการอื่น ๆ ด้านการท่องเที่ยว 39,957.00 42,746.00 46,290.95 51,345.35 +6.98 +8.29 +10.92<br />

13. สินค้าอื่น ๆ 620,682.00 733,379.00 731,752.02 829,806.77 +18.16 -0.22 +13.40<br />

รวม 1,533,643.35 1,833,546.33 1,807,786.50 2,110,848.22 +19.55 -1.40 +16.76<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา: กรมการท่องเที่ยว<br />

ความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของภาคการท่องเที่ยว<br />

รายการ หน่วย มูลค่า % การเปลี่ยนแปลง<br />

(Y-o-Y)<br />

2556 2557 2558P 2557/56 2558/57<br />

มูลค่าผลผลิตรวมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ล้านบาท 2,404,764.00 2,492,686.00 2,687,411.00 +3.66 +7.81<br />

การจ้างงานในภาคการท่องเที่ยว คน 4,069,378 4,089,382 4,168,083 +0.49 +1.92<br />

ภาษีทางอ้อมจากภาคการท่องเที่ยว ล้านบาท 63,901.39 63,079.62 63,632.56 -4.63 +0.88<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ล้านบาท 1,147,881.43 1,037,358.41 1,365,507.71 -9.63 +31.63<br />

% ต่อรายได้ภาคบริการ % 63.30 57.72 64.69 -8.82 +12.08<br />

การลงทุนด้านการท่องเที่ยว ล้านบาท 17,663.46 59,169.42 68,222.4 +234.98 +15.30<br />

มูลค่าเพิ่มภาคการท่องเที่ยว ล้านบาท 812,396.00 838,855.00 909,463.00 +3.26 +8.42<br />

บริการสถานพักแรม ล้านบาท 187,031.00 191,519.00 208,888.00 +2.40 +9.07<br />

อาหารและเครื่องดื่ม ล้านบาท 185,271.00 189,718.00 202,863.00 +2.40 +6.93<br />

การโดยสารทางบก ล้านบาท 63,892.00 65,872.00 70,286.00 +3.10 +6.70<br />

การจำหน่ายสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะ<br />

ด้านการท่องเที่ยวของประเทศ<br />

ล้านบาท 125,256.00 126,509.00 138,653.00 +1.00 +9.60<br />

สาขาอื่น ๆ ล้านบาท 227,409.00 250,946.00 288,773.00 +5.69 +8.87<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา: กรมการท่องเที่ยว<br />

68 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


LET’S GO<br />

Traveling<br />

Thailand<br />

มูลคาผลผลิตรวม<br />

อุตสาหกรรม<br />

การทองเที่ยว 2,687,411<br />

ลาน บาท<br />

$<br />

การจางงาน<br />

ในภาค<br />

การทองเที่ยว 4,168,083<br />

คน<br />

TAX<br />

TAX<br />

TAX<br />

TAX<br />

ภาษีทางออม<br />

จากภาค<br />

การทองเที่ยว 63,632<br />

ลาน<br />

บาท<br />

%ตอรายได<br />

ภาคบรโภค<br />

64.69%<br />

รายไดจาก<br />

นักทองเที่ยว<br />

ชาวตางชาติ<br />

การลงทุนดาน<br />

การทองเที่ยว 68,222<br />

มูลคาเพ่มภาค<br />

การทองเที่ยว 909,463<br />

1,365,507 ลาน บาท<br />

ลาน<br />

บาท<br />

ลาน บาท<br />

บรการสถาน<br />

208.8<br />

พักโรงแรม<br />

พันลานบาท<br />

อาหารและ<br />

การโดยสาร<br />

การจำหนายสินคาที่มี<br />

ลักษณะเฉพาะดาน<br />

202.8<br />

เคร่องดิม<br />

70.2<br />

ทางบก<br />

การทองเที่ยวของประเทศ<br />

138.6 288.7<br />

สาขาอื่นๆ<br />

พันลานบาท พันลานบาท พันลานบาท พันลานบาท


สำนักเศรษฐกิจการทองเที่ยวและกีฬา<br />

สำนักเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา<br />

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

เลขที่ 4 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร 10100<br />

เลขที่ 4 ถนนราชดำเนินนอก โทรศัพท แขวงวัดโสมนัส : 0-2283-1500 เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย โทรสาร : 0-2356-0746 กรุงเทพมหานคร 10100<br />

ภายใตโครงการรายงานภาวะเศรษฐกิจการทองเที่ยวรายไตรมาส<br />

โทรศัพท์ : 0-2283-1500 โทรสาร : 0-2356-0746<br />

เพ่อสนับสนุนขดความสามารถในการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายใต้โครงการรายงานภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยวรายไตรมาส(AEC)<br />

เพื่อสนับสนุนขีดความสามารถในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บรษัท เอ็กเซลเลนท บิสเนส แมเนจเมนท จำกัด (AEC)<br />

บริษัท เอ็กเซลเลนท์ บิสเนส แมเนจเม้นท์ จำกัด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!