22.11.2016 Views

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 3 HEALTH TOURISM

แถลงข่าววันที่ 23 พฤษภาคม 2559 ดูวีดีโอวันแถลงข่าว: https://www.youtube.com/watch?v=SH0LYSHLBqc Download ISSUU: https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_3 Download Powerpoint สรุปรายงาน: http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-12559-3 Download Powerpoint สรุป Health Tourism: http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-health-tourism Thailand Tourism Economic Review 3. Press conference on May 23, 2016

แถลงข่าววันที่ 23 พฤษภาคม 2559 ดูวีดีโอวันแถลงข่าว:
https://www.youtube.com/watch?v=SH0LYSHLBqc

Download ISSUU:
https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_3

Download Powerpoint สรุปรายงาน:
http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-12559-3

Download Powerpoint สรุป Health Tourism:
http://www.slideshare.net/thailandtourismeconomicreview/powerpoint-health-tourism


Thailand Tourism Economic Review 3. Press conference on May 23, 2016

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism)<br />

(3) การเชื่อมโยงอาเซียน และภูมิภาคใกล้เคียงด้วยเส้นทาง<br />

การคมนาคมทั้งทางบก ทางอากาศ และทางน้า ทาให้การ<br />

เดินทางสะดวกรวดเร็วขึ้น<br />

(4) รัฐบาลให้ความสนใจ และมีนโยบายในการส่งเสริมการท่องเที่ยว<br />

เชิงสุขภาพ<br />

(5) หน่วยงานในระดับนโยบายมีการบูรณาการในการกาหนด<br />

นโยบายมากขึ้น<br />

อุปสรรคการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ แม้การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของ<br />

ไทยมีโอกาสที่สดใส แต่ก็ยังมีอุปสรรคอีกหลายประการ<br />

(1) การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมีรูปแบบการบริการที่หลากหลาย<br />

ทาให้มีหน่วยงานจานวนมากที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริม<br />

และพัฒนา<br />

(2) ในการนานโยบายสู่การปฏิบัติยังขาดเอกภาพในการดาเนินการ<br />

ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในด้านต่างๆ ได้แก่ การสื่อสาร<br />

การขับเคลื่อนการพัฒนา และการสนับสนุนด้านงบประมาณ<br />

เพื่อการพัฒนาอย่างเป็นระบบ<br />

(3) ในระดับนานาชาติต่างเล็งเห็นถึงความสาคัญของการท่องเที่ยว<br />

เชิงสุขภาพ จึงมีการกาหนดนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยว<br />

เพื่อสุขภาพของตนเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ ทาให้เกิด<br />

การแข่งขันที่รุนแรงในตลาดระหว่างประเทศ<br />

ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ<br />

ของไทย<br />

ประเทศไทยเริ ่มมีนโยบาย และมาตรการเกี่ยวกับการให้บริการ<br />

เชิงสุขภาพมากว่า 10 ปี ซึ่งปัจจุบันมีการปรับปรุงและถูกกาหนด<br />

ไว้ทั้งในระดับประเทศ และระดับกระทรวง<br />

ระดับประเทศ นโยบายการเป็นศูนย์กลางของบริการทางการแพทย์<br />

(Medical Hub) และเป็นศูนย์กลางการให้บริการทางด้านสุขภาพ<br />

(Health Hub) เป็นนโยบายที่เริ่มต้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 เรื่อยมา<br />

จนล่าสุดได้มีการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็น<br />

ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (พ.ศ. 2559-2568) โดยมีเนื้อหาหลัก<br />

ประกอบด้วย 7 ยุทธศาสตร์ 18 กลยุทธ์ ได้แก่<br />

1. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้วยการพัฒนา<br />

โครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอานวยความสะดวก และระบบบริหารจัดการ<br />

ที่มีประสิทธิภาพ และการบริหาร และขับเคลื่อนนโยบายโดยไม่เกิด<br />

ผลกระทบต่อระบบสุขภาพไทย<br />

2. การพัฒนาบริการรักษาพยาบาล และบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ<br />

ด้วยการส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานของสถานประกอบการและ<br />

บุคลากรสู่ระดับสากลการพัฒนาแหล่งน้าพุร้อนให้เป็นเมืองสปา<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

41

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!