07.07.2017 Views

(รูปเล่ม) update

  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

จังหวัดนนทบุรี<br />

ประวัติและความเป็นมา<br />

จังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคกลางของประเทศไทย โดยจัดเป็นพื้นที่ในเขตปริมณฑลของ<br />

กรุงเทพมหานคร มีขนาดเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 74 ของประเทศ แต่มีประชากรหนาแน่นที่สุด<br />

เป็นอันดับที่ 2 รองจากกรุงเทพมหานคร<br />

ประวัติศาสตร์<br />

สภาพทั่วไปของจังหวัดนนทบุรีเป็นที่ราบลุ่มมีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีผู้คนมาตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชน<br />

หนาแน่นตามริมแม่น้าเจ้าพระยามาตั้งแต่อดีต เช่น บ้านวัดชลอ บ้านวัดเขมา บ้านบางม่วง<br />

บ้านตลาดขวัญ บ้านบางขนุน เป็นต้น<br />

สมัยอยุธยา<br />

หลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดนนทบุรีปรากฏที่วัดปรางค์หลวง ตั้งอยู่ในต้าบลบางม่วง<br />

อ้าเภอบางใหญ่ เป็นวัดที่มีพระปรางค์ลักษณะย่อมุมไม้ยี่สิบขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่า<br />

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นหลักแก่ชุมชนชาว<br />

เมืองอู่ทองที่อพยพหนีโรคระบาดมาตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณนี้ก่อนจะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยา<br />

เป็นราชธานี ชุมชนแห่งนี้ได้ขยายตัวและกระจัดกระจายออกไปตามพื้นที่ต่าง ๆ ในบริเวณนี้<br />

โดยมีชุมชนส้าคัญอีกแห่งหนึ่งคือ บ้านตลาดขวัญ ตั้งอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยา แต่ท้องที่จังหวัดนนทบุรี<br />

ทั้งหมดในสมัยนี้ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา<br />

จนกระทั่งปี พ.ศ. 2091 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัดแม่น้าเจ้าพระยา<br />

จากเหนือวัดชลอไปทะลุใกล้วัดมูลเหล็ก (ปัจจุบันคือวัดสุวรรณคีรี เขตบางกอกน้อย) เพื่อใช้เป็น<br />

เส้นทางลัดในการเดินทางและเพื่อเพิ่มปริมาณแหล่งน้าส้าหรับการเกษตรในพื้นที่<br />

ในปีเดียวกันนั้น พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ กษัตริย์พม่าได้ยกกองทัพเข้าตีกรุงศรีอยุธยา ผลจากสงคราม<br />

ท้าให้สมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์บนคอช้าง เมื่อพม่ายกทัพกลับไป และกรุงศรีอยุธยาได้จัดการ<br />

พระศพสมเด็จพระสุริโยทัยเรียบร้อยแล้ว สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึงทรงปรับปรุงกิจการทหาร<br />

ให้มั่นคงกว่าเดิม พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเมืองใหม่ขึ้นอีกหลายเมือง รวมทั้งให้ยกฐานะหมู่บ้าน<br />

ตลาดขวัญขึ้นเป็น เมืองนนทบุรี ในปี พ.ศ. 2092 เนื่องจากมีราษฎรจ้านวนมากหนีภัยสงครามครั้งนั้น<br />

ไปอยู่ตามป่าเขาและไม่ยอมกลับพระนคร หากตั้งเมืองใหม่ขึ้นจะเป็นประโยชน์ต่อการเกณฑ์ไพร่พล<br />

เมื่อเกิดสงคราม นอกจากนี้ยังสามารถเป็นเมืองท่าและเมืองหน้าด่านของกรุงศรีอยุธยาได้อีกด้วย<br />

ที่ตั้งของเมืองนนทบุรีในครั้งแรกนี้ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา มีวัดหัวเมืองเป็น<br />

เขตเหนือ (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า) และมีวัดท้ายเมืองเป็นเขตใต้<br />

1


ต่อมาในปี พ.ศ. 2179 รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัดตัดส่วน<br />

โค้งของแม่น้าเจ้าพระยาตั้งแต่ใต้วัดท้ายเมืองไปทะลุออกหน้าวัดเขมา (เดิมแม่น้าเจ้าพระยาไหลวกเข้า<br />

ไปทางบางกรวยและบางใหญ่) ซึ่งท้าให้กระแสน้าเปลี่ยนทางเดินไหลเข้าคลองที่ขุดใหม่ กลายเป็น<br />

แนวแม่น้าเจ้าพระยาหน้าศาลากลางจังหวัดหลังเก่าในปัจจุบัน ส่วนแม่น้าเดิมก็ตื้นเขินลงเป็นคลอง<br />

อ้อม คลองบางกอกน้อย และคลองบางกรวยตามที่ปรากฏในปัจจุบัน<br />

ในปี พ.ศ. 2208 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระราชด้าริว่า แนวแม่น้าเจ้าพระยาที่สั้นลงจะท้าให้<br />

ข้าศึกเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาได้ง่ายขึ้น จึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองนนทบุรีจากบ้านตลาดขวัญไปตั้ง<br />

บริเวณปากคลองอ้อม บ้านบางศรีเมือง (ที่ตั้งเมืองอยู่บริเวณนี้จนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุง<br />

รัตนโกสินทร์) และให้สร้างก้าแพงเมืองรวมทั้งป้อมปราการขึ้น 2 ป้อม คือ "ป้อมแก้ว" ตั้งอยู่ที่บ้าน<br />

ตลาดแก้ว (สันนิษฐานว่าอยู่ที่วัดปากน้าในปัจจุบัน) และ "ป้อมทับทิม" ตั้งอยู่บริเวณวัดเฉลิมพระ<br />

เกียรติในปัจจุบัน (ปัจจุบันก้าแพงและป้อมถูกรื้อไปหมดแล้ว) ในช่วงนี้สภาพเศรษฐกิจของเมือง<br />

นนทบุรีมีความมั่นคงมาก ทั้งการค้าขายและการท้าสวนผลไม้<br />

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2264 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัดเกร็ดขึ้นตัดความโค้ง<br />

ของแม่น้าเจ้าพระยาช่วงที่ไหลวกอ้อมไปทางบางบัวทอง ต่อมากระแสน้าเปลี่ยนทิศทางการไหล<br />

ชายฝั่งทั้งสองข้างของคลองลัดเกร็ดถูกกัดเซาะให้ห่างออกจากกันมากขึ้น พื้นที่ตรงกลางที่มี<br />

น้าล้อมรอบจึงกลายเป็นเกาะ เรียกว่า "เกาะเกร็ด"<br />

ปี พ.ศ. 2307 ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าเล็กน้อย พระเจ้ามังระ กษัตริย์พม่า โปรดเกล้าฯ ให้<br />

มังมหานรธาเป็นแม่ทัพเข้าตีเข้ากรุงศรีอยุธยาจากทางทิศใต้ ตีหัวเมืองรายทางเรื่อยมาจนถึงเมือง<br />

ธนบุรีและเมืองนนทบุรี ก็เข้ายึดเมืองทั้งสองได้เช่นกัน พม่าแบ่งก้าลังบางส่วนขึ้นมาตั้งค่ายอยู่บริเวณ<br />

วัดเขมา ขณะนั้นมีเรือก้าปั่นอังกฤษซึ่งมาค้าขายอยู่ที่เมืองธนบุรีได้อาสาช่วยรบโดยยิงปืนเข้าใส่ค่าย<br />

พม่าในเวลากลางคืน [ แต่ในที่สุดก็สู้กองทัพพม่าไม่ได้ จึงล่องเรือหนีไป<br />

จากนั้นกองทัพพม่าจึงบุกขึ้นไปทางทิศเหนือ เข้าล้อมกรุงศรีอยุธยาไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2309 และเข้ายึด<br />

ได้ในปี พ.ศ. 2310 ตลอดการสู้รบได้ส่งผลให้บ้านเมือง วัดวาอารามต่าง ๆ ถูกท้าลายและทิ้งร้าง<br />

ชาวเมืองนนทบุรีต้องอพยพจากถิ่นที่อยู่เดิม ข้ามแม่น้าไปหลบซ่อนในสวนบางกรวยและบางใหญ่<br />

เพื่อหนีภัยสงคราม<br />

สมัยรัตนโกสินทร์<br />

เมื่อบ้านเมืองได้รับการฟื้นฟูกลับสู่สภาพปกติในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ ชาวเมืองจึงค่อย<br />

ๆ ย้ายกลับสู่ถิ่นฐานเดิม พร้อมทั้งมีผู้คนจากถิ่นอื่นเข้ามาในพื้นที่ด้วย ได้แก่ ชาวมอญที่อพยพเข้ามา<br />

ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งถิ่นฐานที่ปากเกร็ด และอีกครั้งหนึ่งใน<br />

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองนนทบุรี<br />

เมืองปทุมธานี และเมืองนครเขื่อนขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชาวไทยมุสลิมเมืองปัตตานีที่ถูกกวาดต้อนเข้า<br />

มาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และชาวไทยมุสลิมเมืองไทรบุรีที่เข้ามา<br />

2


ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสองพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ชาวไทยมุสลิมเหล่านี้<br />

ตั้งถิ่นฐานที่บ้านท่าอิฐ (ปัจจุบันอยู่ในเขตอ้าเภอปากเกร็ด) และบ้านบางบัวทอง<br />

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนสร้อยชื่อเมือง<br />

จากเดิมคือ เมืองนนทบุรีศรีมหาสมุทร เป็น เมืองนนทบุรีศรีมหาอุทยาน และต่อมาเปลี่ยนเป็น<br />

เมืองนนทบุรีศรีเกษตราราม ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นนี้ เมืองนนทบุรีมีฐานะเป็นหัวเมือง<br />

ชายทะเล สังกัดกรมท่า<br />

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงปฏิรูปการปกครองหัวเมืองต่าง ๆ<br />

เป็นการปกครองส่วนภูมิภาค เมืองนนทบุรี จึงจัดอยู่ในมณฑลกรุงเทพ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น<br />

4 อ้าเภอ ได้แก่ อ้าเภอตลาดขวัญ อ้าเภอบางใหญ่ อ้าเภอบางบัวทอง และอ้าเภอปากเกร็ด ส่วนศาลา<br />

กลางเมืองนนทบุรีนั้นโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายจากปากคลองอ้อม บ้านบางศรีเมือง มาตั้งอยู่ที่ปากคลอง<br />

บางซื่อใกล้วัดท้ายเมือง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ<br />

ให้เปลี่ยนค้าว่าเมืองเป็น "จังหวัด" เมืองนนทบุรีจึงเปลี่ยนชื่อเรียกเป็น จังหวัดนนทบุรี<br />

นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลาง<br />

จังหวัดนนทบุรีมาตั้งที่โรงเรียนราชวิทยาลัยศาลากลางจังหวัดแห่งนี้ตั้งอยู่ห่างจากที่ท้าการเมืองและ<br />

ศาลากลางจังหวัดนนทบุรีในอดีตลงมาทางทิศใต้ ปัจจุบันก็คือศาลากลางจังหวัดหลังเก่าบริเวณท่าน้า<br />

นนทบุรีนั่นเอง<br />

สมัยปัจจุบัน<br />

ในปี พ.ศ. 2474 ทางราชการได้ตัดถนนประชาราษฎร์ ขึ้นเป็นเส้นทางเชื่อมการคมนาคมระหว่าง<br />

จังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดพระนครสายแรก และต่อมาจึงตัดถนนพิบูลสงครามเลียบแม่น้าเจ้าพระยา<br />

ขึ้นเป็นสายที่สองในท้องที่ต้าบลสวนใหญ่<br />

เมื่อปี พ.ศ. 2486 เกิดสภาวะเศรษฐกิจตกต่้าหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางราชการจึงยุบจังหวัด<br />

นนทบุรีลงเพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณ โดยโอนอ้าเภอเมืองนนทบุรีและอ้าเภอปากเกร็ดไป<br />

ขึ้นกับจังหวัดพระนครและโอนอ้าเภอบางกรวย อ้าเภอบางใหญ่ และอ้าเภอบางบัวทองไปขึ้นกับ<br />

จังหวัดธนบุรี จนกระทั่งนนทบุรีได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2489 อ้าเภอต่าง ๆ<br />

จึงกลับมาอยู่ในเขตการปกครองของทางจังหวัดตามเดิม<br />

ปี พ.ศ. 2499 กระทรวงมหาดไทยได้ยกกิ่งอ้าเภอไทรน้อยซึ่งแยกพื้นที่ปกครองจากอ้าเภอบางบัวทอง<br />

มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 ให้มีฐานะเป็นอ้าเภอไทรน้อยจังหวัดนนทบุรีจึงมีเขตการปกครองรวม 6<br />

อ้าเภอจนถึงปัจจุบัน<br />

ในปี พ.ศ. 2535 กระทรวงมหาดไทยย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีและหน่วยงานราชการอื่น ๆ<br />

ไปตั้งอยู่ที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี ถนนรัตนาธิเบศร์ ต้าบลบางกระสอ และใช้เป็นที่ท้าการมา<br />

จนถึงทุกวันนี้<br />

3


4


ค าขวัญจังหวัดนนทบุรี<br />

พระต าหนักสง่างาม ลือนาม<br />

สวนสมเด็จ เกาะเกร็ดแหล่งดินเผา<br />

วัดเก่านามระบือ เลื่องลือทุเรียน<br />

นนท์ งามน่ายลศูนย์ราชการ<br />

ตราประจ าจังหวัดนนทบุรี<br />

รูปหม้อน้าลายวิจิตร หมายถึงชาวจังหวัดนนทบุรีมีอาชีพท้าเครื่องปั้นดินเผา ซึ่งยึดถือเป็นอาชีพ และ<br />

มีชื่อเลียงมาช้านาน<br />

จังหวัดนนทบุรี ใช้อักษรย่อว่า "นบ"<br />

5


ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ<br />

จังหวัดนนทบุรีตั้งอยู่ในเขตที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศ<br />

ตะวันตกเฉียงเหนือค่อนทางเหนือ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ปกครองทั้งหมด 622.303 ตารางกิโลเมตร<br />

หรือประมาณ 388,939.375 ไร่ โดยมีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ละติจูดที่ 13 องศา 47 ลิปดาเหนือ<br />

ถึงละติจูดที่ 14 องศา 04 ลิปดาเหนือ และลองจิจูดที่ 100 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ถึงลองจิจูดที่<br />

100 องศา 34 ลิปดาตะวันออกและมีอาณาเขตจรดอ้าเภอและจังหวัดข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกา<br />

ดังนี้<br />

ทิศเหนือ ติดต่อกับอ้าเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ้าเภอลาดหลุมแก้ว<br />

และอ้าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตดอนเมือง เขตหลักสี่ เขตจตุจักร และเขตบางซื่อ<br />

กรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)<br />

ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางพลัด เขตตลิ่งชัน และเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี)<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ้าเภอพุทธมณฑลและอ้าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม<br />

ลักษณะภูมิประเทศ<br />

จังหวัดนนทบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีแม่น้าไหลผ่าน จึงแบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งตะวันตก มีพื้นที่ 3 ใน<br />

4 ของจังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีน้าท่วมถึง มีคูคลองขนาดต่าง ๆ เชื่อมโยงกันหลายสาย<br />

เหมือนใยแมงมุม มีการท้าเรือกสวนไร่นา และฝั่งตะวันออกมีพื้นที่ 1 ใน 3 ของจังหวัด ได้แก่พื้นที่ใน<br />

เขตเทศบาลนครนนทบุรีและเทศบาลนครปากเกร็ด เป็นเขตเมืองมีประชากรอยู่อย่างหนาแน่น อาจ<br />

ถือได้ว่าส่วนนี้เป็นส่วนหนึ่งของเมืองหลวง เพราะเขตแดนระหว่างนนทบุรีกับกรุงเทพมหานครนั้น<br />

แทบจะไม่เป็นที่รู้จัก<br />

การปกครองส่วนภูมิภาค<br />

จังหวัดนนทบุรีแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาค (ตามกฎหมายลักษณะปกครองท้องที่) ออกเป็น 6<br />

อ้าเภอ 52 ต้าบล 440 หมู่บ้าน แต่หากไม่นับรวมหน่วยการปกครองในเขตเทศบาลเมืองและเทศบาล<br />

นครซึ่งยุบเลิกต้าแหน่งก้านันและผู้ใหญ่บ้านแล้ว จะมีทั้งหมด 34 ต้าบล 328 หมู่บ้าน โดยอ้าเภอทั้ง<br />

6 อ้าเภอของจังหวัดนนทบุรี<br />

6


ผู้บริหารจังหวัดนนทบุรี<br />

\<br />

นายนิสิต จันทร์สมวงศ์<br />

ผู ้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี<br />

นายชลธี ยังตรง<br />

รองผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี<br />

นายสุธี ทองแย้ม<br />

รองผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี<br />

7


ผู ้บริหารองค์กรบริหารส่วนจังหวัด<br />

8


เทศบาลนครนนทบุรี<br />

9


10


ผู ้บริหารเทศบาลนครนนทบุรี<br />

11


ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ<br />

เศรษฐกิจ<br />

ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดนนทบุรีจากมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) ภาคเกษตรมีมูลค่าเพียง<br />

2 -3% แต่นอกภาคเกษตรมีมูลค่าถึง 97-98% (เป็นมูลค่าซึ่งมาจากสาขาอุตสาหกรรม<br />

(การผลิต) ถึง 42%)<br />

ภาคอุตสาหกรรม<br />

จังหวัดนนทบุรี มีโรงงานอุตสาหกรรมจ้านวน 2,003 โรง ประกอบด้วย โรงสีข้าว จ้านวน 24 แห่ง<br />

โรงงานขนาดเล็ก จ้านวน 1,234 แห่ง โรงงานขนาดกลาง จ้านวน 651 แห่ง และโรงงาน<br />

ขนาดใหญ่ จ้านวน 94 แห่ง โดยมีอุตสาหกรรมหลักที่ส้าคัญ ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรม<br />

สิ่งทออุตสาหกร รมอา ห ารแล ะเ ครื่ อ งดื่ ม แล ะ อุตสาหกรรมเฟอร์ นิเจอร์ เป็นต้ น<br />

มูลค่าทางเศรษฐกิจจังหวัดนนทบุรี ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับ สาขาการอุตสาหกรรมมากที่สุด มีมูลค่า<br />

30,019 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.64 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์รวมจังหวัด รองลงมา ได้แก่ สาขา<br />

บริการ มูลค่า 19,034 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.23 , สาขาการค้าส่งและค้าปลีก มูลค่า 12,544<br />

ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.31 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์รวมของจังหวัด<br />

ข้อมูลด้านประชากรจังหวัดนนทบุรี<br />

ส้านักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง รายงานสถิติจ้านวนประชากรและผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ณ<br />

เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 จังหวัดนนทบุรี มีประชากรทั้งสิ้น 1,078,071 คน แบ่งเป็นเพศชาย<br />

507,972 คน เพศหญิง 570,099 คน จ้านวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น 822,196 คน แบ่งเป็นเพศชาย<br />

376,232 คน เพศหญิง 445,964 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้<br />

อ าเภอ<br />

ต าบล<br />

จ านวน จ านวนผู้มีสิทธิ<br />

ประชากร* เลือกตั้ง*<br />

เมืองนนทบุรี ทน.นนทบุรี 263,507 205,882<br />

ทม.บางศรีเมือง 29,416 22,425<br />

ทต.ไทรม้า 19,021 14,613<br />

ต.บางไผ่<br />

ต.บางกร่าง<br />

ต.บางรักน้อย<br />

8,395<br />

17,520<br />

18,294<br />

6,565<br />

13,654<br />

14,046<br />

รวม 356,153 277,185<br />

ปากเกร็ด ทน.ปากเกร็ด 176,742 131,657<br />

ต.บางตะไนย์<br />

ต.คลองพระอุดม<br />

ต.ท่าอิฐ<br />

ต.เกาะเกร็ด<br />

ต.อ้อมเกร็ด<br />

ต.คลองข่อย<br />

ต.บางพลับ<br />

4,022<br />

4,869<br />

13,736<br />

5,781<br />

2,069<br />

6,374<br />

5,988<br />

3,181<br />

3,779<br />

10,182<br />

4,555<br />

1,640<br />

4,909<br />

4,588<br />

รวม 219,581 164,491<br />

12


บางบัวทอง ทม.บางบัวทอง 46,428 34,586<br />

ต.บางบัวทอง<br />

ต.บางรักใหญ่<br />

ต.บางคูรัด<br />

ต.ละหาร<br />

ต.ล้าโพ<br />

ต.พิมลราช<br />

ต.บางรักพัฒนา<br />

42,440<br />

5,170<br />

33,621<br />

18,737<br />

5,820<br />

36,913<br />

45,367<br />

31,893<br />

3,987<br />

25,101<br />

13,181<br />

4,287<br />

27,775<br />

34,477<br />

รวม 234,496 175,287<br />

บางกรวย ทม.บางกรวย 41,742 33,454<br />

ทต.ปลายบาง 28,867 21,861<br />

ทต.ศาลากลาง 8,777 6,809<br />

ต.บางสีทอง<br />

ต.บางขนุน<br />

ต.บางขุนกอง<br />

ต.มหาสวัสดิ์<br />

8,953<br />

4,081<br />

7,789<br />

3,721<br />

7,045<br />

3,065<br />

6,185<br />

2,900<br />

รวม 103,930 81,319<br />

บางใหญ่ ทต.บางใหญ่ 9,655 7,163<br />

ทต.บางม่วง 5,104 3,928<br />

ต.บางม่วง<br />

ต.บางแม่นาง<br />

ต.บางเลน<br />

ต.เสาธงหิน<br />

ต.บางใหญ่<br />

ต.บ้านใหม่<br />

11,012<br />

27,291<br />

12,582<br />

27,220<br />

8,208<br />

6,644<br />

8,167<br />

20,797<br />

9,576<br />

20,484<br />

6,163<br />

5,213<br />

รวม 107,716 81,491<br />

ไทรน้อย ทต.ไทรน้อย 1,862 1,336<br />

ต.ไทรน้อย<br />

ต.ราษฎร์นิยม<br />

ต.หนองเพรางาย<br />

ต.ไทรใหญ่<br />

ต.ขุนศรี<br />

ต.คลองขวาง<br />

ต.ทวีวัฒนา<br />

18,476<br />

6,339<br />

6,908<br />

6,316<br />

4,801<br />

4,738<br />

6,755<br />

13,756<br />

4,864<br />

5,424<br />

4,856<br />

3,601<br />

3,399<br />

5,187<br />

รวม 56,195 42,423<br />

6 อ าเภอ รวมทั้งสิ้น 1,078,071 822,196<br />

13


ท าเนียบส่วนราชการจังหวัดนนทบุรี<br />

ผู ้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี<br />

นายกเหล่ากาชาดจังหวัดนนทบุรี<br />

รองผู ้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี<br />

รองผู ้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี<br />

เลขานุการผู ้ว่าราชการจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

เลขานุการรองผู ้ว่าราชการจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

เลขานุการรองผู ้ว่าราชการจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

หมายเลขโทรศัพท์<br />

ของ<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

***********************<br />

ที่ท างาน บ้านพัก / มือถือ<br />

0-2580-0711, 0-2580-8816<br />

02-526-1290,08-9203-<br />

0432<br />

สื่อสาร สป 14011,14111 สื่อสาร สป 14110<br />

0-2527-3878 09-1424-9511<br />

0-2580-0713 สื่อสาร สป<br />

14012,14112<br />

02-526-2139, 08-9203-<br />

1985<br />

0-2580-0730, สื่อสาร สป<br />

14013,14113 08-9203-0393<br />

0-2580-0711, 0-2580-8816 สื่อสาร 08-1613-5790 , 08-<br />

สป 14001<br />

1899-1894<br />

0-2580-0711, 0-2580-8816 สื่อสาร<br />

สป 14001 08-3122-0900<br />

0-2580-0713, สื่อสาร สป 14002 08-6899-8221<br />

0-2580-0713, สื่อสาร สป 14002 08-1926-3644<br />

0-2580-0730, สื่อสาร สป 14003 08-1422-0103<br />

0-2580-0730, สื่อสาร สป 14003 08-7362-2088<br />

14


ปลัดจังหวัดนนทบุรี<br />

- จ่าจังหวัดนนทบุรี<br />

- เสมียนตราจังหวัดนนทบุรี<br />

- ป้องกันจังหวัดนนทบุรี<br />

หัวหน้าส านักงานจังหวัดนนทบุรี<br />

- หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การ<br />

พัฒนาจังหวัด<br />

- หัวหน้ากลุ่มบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

กระทรวงมหาดไทย<br />

0-2580-0740 สื่อสาร สป.<br />

14030,14130 08-1174-6592<br />

0-2580-1659 สื่อสาร สป.14130 -<br />

0-2580-0722 สื่อสาร สป 14198 08-1753-3860<br />

0-2580-0748 สื่อสาร สป 14133 08-9748-4232<br />

0-2580-0752 สื่อสาร สป<br />

14020,14119 08-9203-4190<br />

0-2528-4700 สื่อสาร สป<br />

14023,14123 08-9203-4194<br />

0-2528-4700 สื่อสาร สป<br />

14024,14129 08-9684-6907<br />

- หัวหน้ากลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

0-2528-4700 สื่อสาร สป<br />

14022,14165 08-9203-4193<br />

- หัวหน้ากลุ่มงานอ านวยการ<br />

- หัวหน้าผู ้ตรวจสอบภายในจังหวัด<br />

โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

0-2528-4700 สื่อสาร สป<br />

14021,14121 08-1621-4245<br />

0-2528-4700 สื่อสาร สป 14125 08-9284-0914<br />

0-2580-0723-4 สื่อสาร สป 14153, 08-1935-7435<br />

15


14135<br />

พัฒนาการจังหวัดนนทบุรี<br />

เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี<br />

- เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี<br />

สาขาบางใหญ่<br />

0-2580-0704 สื่อสาร สป 14156<br />

08-4874-0618 , 08-<br />

1721-8483<br />

0-2525-3190 08-1563-5555<br />

0-2595-0441ต่อ18 08-1926-3533<br />

- เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี<br />

สาขาปากเกร็ด<br />

- เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาบางบัวทอง<br />

ท้องถิ่นจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2503-3734 08-1550-7106<br />

0-2924-2779 08-9927-7309<br />

0-2580-0715 ต่อ 101 08-1173-1097<br />

หัวหน้าส านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2591-2471 08-9969-6739<br />

16


อ าเภอ<br />

นายอ าเภอเมืองนนทบุรี<br />

- หัวหน้ากลุ่มบริหารงานปกครอง อ.เมืองนนทบุรี<br />

นายอ าเภอปากเกร็ด<br />

- หัวหน้ากลุ่มบริหารงานปกครอง อ.ปากเกร็ด<br />

นายอ าเภอบางบัวทอง<br />

- หัวหน้ากลุ่มบริหารงานปกครอง อ.บางบัวทอง<br />

นายอ าเภอบางกรวย<br />

- หัวหน้ากลุ่มบริหารงานปกครอง อ.บางกรวย<br />

นายอ าเภอบางใหญ่<br />

- หัวหน้ากลุ่มบริหารงานปกครอง อ.บางใหญ่<br />

นายอ าเภอไทรน้อย<br />

0-2591-5224 08-1867-2350<br />

0-2591-5224, 0-<br />

2589-0765<br />

08-1613-5790 , 08-<br />

1899-1894<br />

0-2583-8326 08-6971-6666<br />

0-2583-3400, 0-<br />

2583-9878 08-7065-4715<br />

0-2194-1098 08-1867-2366<br />

0-2571-7901-2 08-1816-4234<br />

0-2447-5123 08-1867-2357<br />

0-2447-5123, 0-<br />

2447-5762<br />

08-5848-8827<br />

0-2595-0245 08-1867-2359<br />

0-2595-0245 08-1489-9115<br />

0-2597-1322 ต่อ 10 08-1867-2372<br />

17


คณะกรรมการสมาคมก านัน ผู ้ใหญ่บ้าน จังหวัดนนทบุรี<br />

นายกสมาคมก านันผู ้ใหญ่บ้านจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ประธานชมรมก านัน ผู ้ใหญ่บ้าน อ าเภอเมืองนนทบุรี<br />

ประธานชมรมก านัน ผู ้ใหญ่บ้าน อ าเภอ<br />

ปากเกร็ด<br />

ประธานชมรมก านัน ผู ้ใหญ่บ้าน อ าเภอบางบัวทอง<br />

ประธานชมรมก านัน ผู ้ใหญ่บ้าน อ าเภอ<br />

บางกรวย<br />

ประธานชมรมก านัน ผู ้ใหญ่บ้าน อ าเภอ<br />

บางใหญ่<br />

ประธานชมรมก านัน ผู ้ใหญ่บ้าน อ าเภอ<br />

ไทรน้อย<br />

ผอ.ไฟฟ้าเขตนนทบุรี<br />

ผอ.ไฟฟ้าเขตบางใหญ่<br />

ผอ.ไฟฟ้าเขตบางบัวทอง<br />

- 08-1810-6884<br />

- 08-1557-6361<br />

- 08-3813-8302<br />

- 08-1801-2263<br />

- 08-1921-6988<br />

- 08-9780-8555<br />

- 08-1810-6884<br />

0-2902-5201,0-2902-5291 08-9968-6150<br />

0-2832-5201, 0-2832-5291 08-9203-1882<br />

0-2834-3201 08-1842-7960<br />

ผู ้จัดการส านักงานประปาสาขานนทบุรี<br />

ผู ้จัดการส านักงานประปาสาขาบางบัว<br />

ทอง<br />

0-2589-4111-2, 0-2580-5964 08-9775-1300<br />

0-2990-1499<br />

08-3666-6545<br />

18


รอง ผอ.รมน.จังหวัด น.บ.<br />

ประชาสัมพันธ์จังหวัดนนทบุรี<br />

ส านักนายกรัฐมนตรี<br />

0-2950-0748, 0-2580-7525 08-5914-4565<br />

0-2580-0751,0-2589-7615 08-1935-8516<br />

เจ้ากรมพลาธิการทหารบก<br />

สัสดีจังหวัดนนทบุรี<br />

คลังจังหวัดนนทบุรี<br />

ธนารักษ์พื้นที่นนทบุรี<br />

สรรพสามิตพื้นที่นนทบุรี<br />

สรรพากรพื้นที่นนทบุรี<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

0-2588-3383 -<br />

0-2580-0741 08-6258-3366<br />

กระทรวงการคลัง<br />

0-2580-0707-8 ต่อ 112 08-1752-9347<br />

0-2580-0729 08-1736-5954<br />

0-2589-7682 ต่อ 11<br />

0-2926-7988 08-1941-4455<br />

สรรพากรพื้นที่สาขาเมืองนนทบุรี 1<br />

ผจก.ธนาคารออมสิน สาขานนทบุรี<br />

ผอ.ธนาคารออมสิน ภาค 5<br />

ผจก.ธนาคารกรุงไทย จ ากัด (มหาชน) สาขานนทบุรี<br />

0-2580-1268, 0-2589-8945, 0-<br />

2591-6920<br />

08-1953-3486<br />

0-2525-0216 ต่อ 12 08-1858-2362<br />

0-2951-1573-6 08-5485-3649<br />

19


ผอ.สนง.ธกส.จังหวัด<br />

0-2527-1274,0-2525-0857 08-4075-5366<br />

0-2967-4776 08-6398-7274<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั ่นคงของมนุษย์<br />

พัฒนาสังคมและความมั ่นคงของมนุษย์จังหวัดนนทบุรี<br />

0-2580-0737-8 สื่อสาร สป<br />

14125 08-1173-0165<br />

ผอ.ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ 23 จังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ผอ.สถานคุ ้มครองและพัฒนาอาชีพบ้านเกร็ดตระการ<br />

ผอ.ศูนย์พัฒนาอาชีพคนพิการ<br />

0-2156-4314<br />

ผู ้ปกครองสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนพิการทางสมองและปัญญา<br />

0-2584-5115-6 08-1173-0161<br />

0-2583-8415 08-1919-0856<br />

0-2583-6815, 0-2582-4031 08-9920-5373<br />

ผู ้ปกครองสถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและปัญญา(ชาย) ปากเกร็ด<br />

0-2583-8426 09-2278-2196<br />

ผู ้ปกครองสถานสงเคราะห์เด็กพิการทางสมองและปัญญา(หญิง) ปากเกร็ด<br />

ผู ้ปกครองสถานแรกรับเด็กชายปาก<br />

เกร็ด<br />

ผู ้ปกครองสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปาก<br />

เกร็ด<br />

ผู ้ปกครองสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้าน<br />

ปากเกร็ด<br />

ผู ้ปกครองสถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด<br />

ผู ้ปกครองสถานแรกรับคนไร้ที่พึ่ง<br />

นนทบุรี<br />

0-2583-4246 08-9816-1061<br />

0-2583-8345 08-1940-7143<br />

0-2583-8314, 0-2583-3000 08-1915-5284<br />

0-2583-8343, 0-2583-4002 08-1174-9782<br />

0-2583-8396 08-1905-2680<br />

20


ผอ.ศูนย์สงเคราะห์และฝึ กอาชีพสตรี<br />

ภาคกลาง<br />

ผู ้ปกครองสถานสงเคราะห์เด็กอ่อน<br />

พญาไท<br />

หัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัว<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.ศูนย์บริการบุคคลออทิสติกจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

0-2583-0044 08-1922-9866<br />

0-2583-8350 08-1174-9794<br />

0-2584-7263,0-2584-7254-5 08-1849-5745<br />

0-2582-1267<br />

กระทรวงศึกษาธิการ<br />

ผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1<br />

ผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2<br />

ผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษา<br />

มัธยมศึกษา เขต 3<br />

อธิการบดี<br />

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช<br />

0-2583-5107 08-5485-4527<br />

0-2591-1301-4, 0-2591-1308 08-1551-4848<br />

0-2903-3087 08-1533-8155<br />

0-2966-5986 ต่อ 11 08-1842-1067<br />

0-2504-7777, 0-2503-3607 -<br />

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ<br />

0-3570-9091 08-1852-9448<br />

ผอ.สนง.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ผอ.ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจ าจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ผอ.วิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี<br />

0-2926-6810-2 08-1942-6760<br />

0-2195-7756 08-9790-2526<br />

0-2985-5050 08-3997-7880<br />

21


วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก<br />

ผอ.โรงเรียนศรีบุณยานนท์<br />

ผอ.โรงเรียนสตรีนนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม<br />

ผอ.โรงเรียนรัตนาธิเบศร์<br />

ผอ.โรงเรียนนนทบุรีพิทยาคม<br />

ผอ.โรงเรียนมัธยมวัดเพลง<br />

ผอ.โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิง<br />

หเสนี) นนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนเทพศิรินทร์นนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา<br />

พัฒนาการนนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์<br />

0-2525-4147-50 08-1372-5357<br />

0-2969-1402-3 08-5806-8198<br />

02-525-1506 08-1854-6090<br />

0-2525-3170<br />

0-2527-6128 ต่อ 102 08-9927-3465<br />

0-2588-2827 ต่อ 109 08-9770-8348<br />

0-2921-6877<br />

0-2447-5774ต่อ101 08-1748-1056<br />

0-2985-1995 ต่อ 101 08-1558-3830,08-<br />

7499-4278<br />

0-2926-2123,0-2595-1368 ต่อ<br />

411<br />

08-1875-8476<br />

0-2580-6675 08-1818-1319<br />

ผอ.โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย<br />

ผอ.โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนปากเกร็ด<br />

ผอ.โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย<br />

0-2446-0353 08-1984-0522<br />

0-2571-7052, 0-2571-4193 08-1833-6893<br />

0-2960-6060 08-1833-8975<br />

22


นนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อม<br />

เกล้า นนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง<br />

นนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม<br />

ผอ.โรงเรียนบางบัวทอง<br />

ผอ.โรงเรียนไทรน้อย<br />

ผอ.โรงเรียนราษฎร์นิยม<br />

ผอ.โรงเรียนราชวินิตนนทบุรี<br />

ผอ.โรงเรียนนนทบุรีวิทยาลัย<br />

ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.ททท. ส านักงานกรุงเทพมหานคร<br />

ผอ.ศูนย์การกีฬาแห่งประเทศไทย<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนนทบุรี<br />

0-2584-6888 08-1628-5231<br />

0-2501-7463-4 08-1985-4360<br />

0-2961-8891-3 ,0-2583-6158<br />

08-3811-9444 08-<br />

1566-3484<br />

0-2583-7345, 0-2584-3878, 0-<br />

2584-4860 08-1711-7198<br />

0-2571-7595 09-0985-3844<br />

0-2597-1199 08-1583-9933<br />

0-2985-5660 08-6308-6052<br />

0-2927-7239 ต่อ 222 08-1808-6213<br />

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

0-2196-8403 08-6096-3039<br />

0-2589-5479 08-1828-5479<br />

0-2276-2720 ต่อ 66201 08-1710-8474<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์<br />

0-2595-1784 08-6070-7009<br />

0-2589-9732, 0-2589-9580<br />

สื่อสาร สป 14160, 13866<br />

08-1735-9855<br />

23


เกษตรจังหวัดนนทบุรี<br />

สหกรณ์จังหวัดนนทบุรี<br />

ปศุสัตว์จังหวัดนนทบุรี<br />

ประมงจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.โครงการชลประทานนนทบุรี<br />

ผอ.โครงการส่งน ้าและบ ารุงรักษาพระ<br />

ยาบรรลือ<br />

ผอ.สนง.ชลประทานที่ 11<br />

หน.สนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี<br />

ผอ.สถานีพัฒนาที่ดินนนทบุรี<br />

0-2591-6928 08-1843-3295<br />

0-2580-7355 08-9744-1371 , 08-<br />

9856-1103<br />

0-2595-0687, 0-2595-0090 08-5660-9810<br />

0-2595-0982-3 08-1864-6322<br />

0-2583-3337, 0-2583-2257<br />

0-2571-2128, 0-2924-2162 08-4874-6202<br />

0-2962-5739, 0-2583-6851 08-1843-9689<br />

0-2580-7671 08-9897-1431<br />

0-2595-0626, 0-2595-0641 08-9919-5242<br />

ขนส่งจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.ทางหลวงชนบทจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.สนง.บ ารุงทางนนทบุรี<br />

ผอ.สนง.เจ้าท่าภูมิภาคสาขานนทบุรี<br />

กระทรวงคมนาคม<br />

0-2591-4079 08-9203-1104<br />

0-2447-7873-4, 0-2447-7087 08-1814-7201<br />

0-2527-2488 ต่อ 207 08-4979-9567<br />

0-2447-1731 08-1947-5347<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม<br />

ผอ.สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนนทบุรี<br />

24


หน.ศูนย์ประสานงานป่ าไม้นนทบุรี<br />

ผอ.สนง.สิ่งแวดล้อมภาคที่ 6<br />

ผอ.ส านักทรัพยากรน ้าบาดาล เขต ๒<br />

0-2580-0727-8 สื่อสาร สป<br />

14162 08-1752-0443<br />

0-2591-4137 08-1888-6350<br />

0-2968-8538 08-9969-1605<br />

0-3555-0715-6<br />

สถิติจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.สนง.กสทช.เขต 1 นนทบุรี<br />

ผู ้จัดการส่วนบริการลูกค้านครหลวงที่<br />

4.1.2 TOT<br />

ผู ้จัดการส่วนบริการลูกค้านครหลวงที่<br />

4.1.3 TOT<br />

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

หัวหน้าที่ท าการไปรษณีย์ศูนย์กลางจ่าย (พิเศษ)นนทบุรี<br />

ผู ้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศ<br />

ไทย<br />

พลังงานจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2580-0720, 0-2580-0749 08-4012-3446<br />

0-2588-3594, 0-2950-5879 08-4751-1029<br />

กระทรวงพลังงาน<br />

0-2526-9990 08-1494-2535<br />

0-2589-8841-2 08-1734-3932<br />

0-2591-7463 09-1772-0032<br />

0-2436-3000 -<br />

0-2589-8682 08-1174-7916<br />

พาณิชย์จังหวัดนนทบุรี<br />

กระทรวงพาณิชย์<br />

25


การค้าภายในจังหวัดนนทบุรี<br />

พัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2591-6936 08-9969-1911<br />

0-2591-6927 08-9969-1683<br />

0-2591-7881 08-9969-2596<br />

กระทรวงยุติธรรม<br />

ประธานกรรมการบริหารส านักงานยุติธรรมจังหวัดนนทบุรี<br />

ผู ้บัญชาการเรือนจ าจังหวัดนนทบุรี<br />

ผู ้บัญชาการเรือนจ ากลางบางขวาง<br />

ผอ.สนง.คุมประพฤติจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.สนง.บังคับคดีจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2589-0481 ต่อ 141 08-1909-0215<br />

0-2526-6480, 0-2525-3139 08-1908-6154<br />

0-2525-0482,0-2525-0486-8<br />

ผอ.สถานพินิจและคุ ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2580-3527 , 0-2580-0733 08-1909-0215<br />

0-2526-9000 ต่อ 200 08-9968-1715<br />

0-2525-0376-9 08-9968-1124<br />

แรงงานจังหวัดนนทบุรี<br />

จัดหางานจังหวัดนนทบุรี<br />

สวัสดิการและคุ ้มครองแรงงานจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ประกันสังคมจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.ศูนย์พัฒนาฝี มือแรงงานจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

กระทรวงแรงงาน<br />

0-2580-0726 สื ่อสาร สป 14150 08-9969-0078<br />

0-2580-1494 08-9814-1590<br />

0-2580-0716-8 08-1834-2374<br />

0-2950-9748, 0-2580-3013 08-5481-0310<br />

0-2595-4046-8 08-5483-8285<br />

26


วัฒนธรรมจังหวัดนนทบุรี<br />

นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.โรงพยาบาลพระนั ่งเกล้า<br />

ผอ.สถาบันโรคทรวงอก<br />

กระทรวงวัฒนธรรม<br />

0-2580-2764 08-1173-1868<br />

กระทรวงสาธารณสุข<br />

0-2580-1156 08-1857-5827<br />

0-2526-5589 08-1897-0690<br />

0-2547-0999 08-9945-0015<br />

ผอ.โรงพยาบาลศรีธัญญา<br />

ผอ.สถาบันบ าราศนราดูร<br />

หน.รพ.สาขาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 1<br />

ผอ.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี<br />

จังหวัดนนทบุรี<br />

0-2526-3339 08-1885-1969<br />

0-2590-3480 08-1838-6239<br />

0-2588-3088<br />

ผอ.ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ<br />

ผอ.สถาบันทันตกรรม<br />

ผอ.โรงพยาบาลชลประทาน<br />

ผอ.โรงพยาบาลปากเกร็ด<br />

ผอ.โรงพยาบาลบางบัวทอง<br />

0-2525-3136, 0-2526-2904 08-1824-4081<br />

0-2591-4242 08-1803-2326<br />

0-2588-4005-8 08-1721-9003<br />

0-2502-2345 ต่อ 1007-8 08-1844-1211<br />

0-2960-9900, 0-2960-9911 08-1489-6838<br />

0-2571-7899 ต่อ 300 08-1840-9506<br />

ผอ.โรงพยาบาลบางกรวย<br />

ผอ.โรงพยาบาลบางใหญ่<br />

0-2447-5582 08-1734-3543<br />

27


ผอ.โรงพยาบาลไทรน้อย<br />

0-2403-3350-5 08-1319-4099<br />

0-2597-1131-2 08-1550-1133<br />

อุตสาหกรรมจังหวัดนนทบุรี<br />

กระทรวงอุตสาหกรรม<br />

0-2595-0334-5 08-1994-0038<br />

ผู ้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดนนทบุรี<br />

ผอ.ส านักอ านวยการประจ าศาลจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ผู ้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงนนทบุรี<br />

ผอ.ส านักอ านวยการประจ าศาลแขวง<br />

นนทบุรี<br />

หน่วยราชการอิสระ<br />

ผู ้พิพากษาหัวหน้าศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2589-3508 08-4360-0353<br />

0-2588-4909 08-5485-1765<br />

0-2580-5048 08-4360-0650<br />

0-2580-4307 08-2164-8299<br />

0-2589-1250 08-4360-0587<br />

ผอ.สนง.ประจ าศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนนทบุรี<br />

0-2580-3224 08-9968-5930<br />

อัยการจังหวัดนนทบุรี<br />

อัยการจังหวัดคดีศาลแขวงนนทบุรี<br />

ส านักงานอัยการสูงสุด<br />

0-2591-0535-6 , 0-2591-5462 08-1653-9964<br />

0-2580-2115-6 08-9920-7586<br />

28


อัยการจังหวัดคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนนทบุรี<br />

02-580-2114, 0-2580-2113 08-9202-1389<br />

อัยการจังหวัดประจ าส านักงานอัยการสูงสุด (อจ.ศคช.)<br />

0-2591-0535-6 ต่อ 113 08-1732-5336<br />

ผู ้บังคับการต ารวจภูธรจังหวัดนนทบุรี<br />

รองผู ้บังคับการต ารวจภูธรจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ส านักงานต ารวจแห่งชาติ<br />

0-2591-7118 08-3059-5151<br />

0-2591-3738 08-1842-7579<br />

08-1697-1117<br />

08-1843-0451<br />

08-32203737<br />

08-1421-9249<br />

นายเวร ผู ้บังคับการต ารวจภูธรจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ผกก.อก.ภ.จว.นบ<br />

ผู ้ก ากับการสืบสวน ต ารวจภูธรจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.เมืองนนทบุรี<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.ปากเกร็ด<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.บางบัวทอง<br />

08-9126-3646<br />

0-2591-3243 08-9629-2929<br />

08-5138-2749<br />

08-1559-8469<br />

0-2591-3243 08-4533-5656<br />

0-2591-3096 08-1816-2772<br />

0-2526-9988 ต่อ 717 08-4773-1444<br />

0-2583-8812, 0-2584-0465 08-1333-8834<br />

0-2194-1052, 0-2194-1057 08-16286007<br />

29


ผู ้ก ากับการ สภ.บางกรวย<br />

0-2459-4554, 0-2459-4553 08-1903-2342<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.บางใหญ่<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.ไทรน้อย<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.บางศรีเมือง<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.ปลายบาง<br />

ผู ้ก ากับการ สภ.บางแม่นาง<br />

สารวัตรใหญ่สถานีต ารวจภูธรคลอง<br />

ข่อย<br />

ต ารวจสันติบาลนนทบุรี<br />

0-2595-0318 08-0423-5999<br />

0-2597-1411-5, 0-2597-1412<br />

ต่อ 0 08-1299-0606<br />

0-2595-4557 08-1936-1823<br />

0-2903-9494, 0-2903-9696 08-2322-4459<br />

0-2595-1265 08-1946-0171<br />

0-2195-2809 08-5960-6222<br />

0-2571-4252 08-6368-1313<br />

ต ารวจตรวจคนเข้าเมืองนนทบุรี<br />

0-2834-2223 08-9918-1133<br />

ต ารวจทางหลวงนนทบุรี<br />

0-2595-0998 08-3197-9798<br />

ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน<br />

ผอ.ส านักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

0-2580-2318-9 08-6068-2016<br />

ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ<br />

ผอ.ส านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

0-2950-3024 08-5236-4333<br />

ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ าจังหวัดนนทบุรี<br />

ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ าจังหวัดนนทบุรี<br />

30


0-2591-1486 08-1865-2493<br />

ตารางแสดงจ านวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ของจังหวัดนนทบุรี<br />

ตารางแสดงการออกใบอนุญาตท างานเรื่องงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติ พม่า ลาว กัมพูชา<br />

แรงงานต่างดาวตามบันทึกความเข้าใจ<br />

31


ตารางแสดงการออกใบอนุญาตท างานเรื่องงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติ พม่า ลาว กัมพูชา<br />

แรงงานต่างดาวผ่านการพิสูจน์สัญชาติ<br />

ข้อมูลต าบลในจังหวัดนนทบุรี<br />

ต าบลตลาดขวัญ<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลตลาดขวัญอยู่ในเขตเทศบาลเมืองนนทบุรี ได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 14<br />

กุมภาพันธ์ 2479 โดยครอบคลุม ต.ส่วนใหญ่ ทั้งต้าบล มีพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตร และด้วย<br />

32


ความเจริญจากสภาพพื้นที่อันเป็นเมืองปริมณฑลพื้นที่ติดต่อกับกรุงเทพมหานครความเหมาะสม<br />

ทางด้านผังเมือง เขตเทศบาลพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตรมีอาคารบ้านเรือนหนาแน่นเต็มพื้นที่แล้ว<br />

ความต้องการด้านสาธารณูปโภคสาธารณูปการของประชาชนมีมากขึ้น และความเหมาะสม<br />

ทางด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจการขยายตัวของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็วเทศบาล<br />

จึงได้รายงานกระทรวงมหาดไทยขอขยายเขตเทศบาลจากเดิมออกไปอีก 4 ต้าบล คือ ต.ตลาด<br />

ขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ทั้งนี้ เพื่อรองรับความเจริญของท้องถิ่น เป็นต้น<br />

ไป เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2531 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาล จากพื้นที่ 2.5<br />

ตารางกิโลเมตรเป็น 38.9 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่รวมทั้งสิ้น 5 ต้าบล คือ ต.สวนใหญ่<br />

ต.ตลาดขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ต่อมาเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2538 ได้มี<br />

พระราชกฤษฎีกายกฐานะเทศบาลเมืองนนทบุรีขึ้นเป็นเทศบาลนครนนทบุรีซึ่งมีผลบังคับใช้<br />

ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2538<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.สวนใหญ่ อ.เมือง จ.นนทุบรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 59,122 คน เป็นชาย 27,746 คน เป็นหญิง 31,376 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก อตุสาหกรรม ค้าขาย<br />

ต าบลท่าทราย<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลท่าทรายอยู่ในเขตเทศบาลเมืองนนทบุรี ได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 14<br />

กุมภาพันธ์ 2479 โดยครอบคลุม ต.ส่วนใหญ่ ทั้งต้าบล มีพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตร และด้วย<br />

ความเจริญจากสภาพพื้นที่อันเป็นเมืองปริมณฑลพื้นที่ติดต่อกับกรุงเทพมหานครความเหมาะสม<br />

ทางด้านผังเมือง เขตเทศบาลพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตรมีอาคารบ้านเรือนหนาแน่นเต็มพื้นที่แล้ว<br />

ความต้องการด้านสาธารณูปโภคสาธารณูปการของประชาชนมีมากขึ้น และความเหมาะสม<br />

ทางด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจการขยายตัวของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็วเทศบาล<br />

จึงได้รายงานกระทรวงมหาดไทยขอขยายเขตเทศบาลจากเดิมออกไปอีก 4 ต้าบล คือ ต.ตลาด<br />

ขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ทั้งนี้ เพื่อรองรับความเจริญของท้องถิ่น เป็นต้น<br />

ไป เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2531 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาล จากพื้นที่ 2.5<br />

33


ตารางกิโลเมตรเป็น 38.9 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่รวมทั้งสิ้น 5 ต้าบล คือ ต.สวนใหญ่<br />

ต.ตลาดขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ต่อมาเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2538 ได้มี<br />

พระราชกฤษฎีกายกฐานะเทศบาลเมืองนนทบุรีขึ้นเป็นเทศบาลนครนนทบุรีซึ่งมีผลบังคับใช้<br />

ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2538<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.บางกระสอ ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ แม่น้าเจ้าพระยา<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 72,733 คน เป็นชาย 34,581 คน เป็นหญิง 38,152 คน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดชมภูเวก<br />

2.วัดต้าหนักใต้<br />

ต าบลไทรม้า<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลไทรม้า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีการเดินทางระหว่างมณฑลกรุงเทพกับกรุงศรีอยุธยา ซึ่งใน<br />

การเดินทางมีทั้งช้าง ม้า และทหาร ระหว่างการเดินทัพทหารจะน้าม้ามาพักในบริเวณที่มีป่าไทร<br />

ร่มรื่นที่ได้ชื่อว่า "ป่าไทรม้าพัก" ซึ่งตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ต่อมามีการ<br />

อพยพผู้คนมาตั้งบ้านเรือนหนาแน่นมากขึ้น จึงเรียกบริเวณดังกล่าวว่า "ต้าบลไทรม้า" อยู่ในเขต<br />

การปกครองของอ้าเภอเมืองนนทบุรี มีจ้านวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านวัดแดง<br />

หมู่ 2 บ้านคลองบางกก้าลัง หมู่ 3 บ้านคลองหลุมมะดัน หมู่ 4 บ้านไทรม้าเหนือ หมู่ 5 บ้านไทร<br />

ม้าใต้ หมู่ 6 บ้านบางประดู่<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีเนื้อที่ทั้งหมด 8.144 ตร.กม. หรือประมาณ 5,090 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม<br />

เหมาะแก่การเพาะปลูก<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.ท่าอิฐ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.บางศรีเมือง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.บางกระสอบ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

34


ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 11,300 คน เป็นชาย 5,302 คน เป็นหญิง 5,998 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ค้าขาย รับจ้าง<br />

อาชีพเสริม อุตสาหกรรมครัวเรือน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.ไทรม้า<br />

2. วัดบางนา<br />

3. วัดเพลง<br />

4. วัดไทรม้าเหนือ<br />

5. วัดไทรม้าใต้<br />

6. วัดแดงประชาราษฎร์<br />

ต าบลบางกระสอ<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางกระสออยู่ในเขตเทศบาลเมืองนนทบุรี ได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 14<br />

กุมภาพันธ์ 2479 โดยครอบคลุม ต.ส่วนใหญ่ ทั้งต้าบล มีพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตร และด้วย<br />

ความเจริญจากสภาพพื้นที่อันเป็นเมืองปริมณฑลพื้นที่ติดต่อกับกรุงเทพมหานครความเหมาะสม<br />

ทางด้านผังเมือง เขตเทศบาลพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตรมีอาคารบ้านเรือนหนาแน่นเต็มพื้นที่แล้ว<br />

ความต้องการด้านสาธารณูปโภคสาธารณูปการของประชาชนมีมากขึ้น และความเหมาะสม<br />

ทางด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจการขยายตัวของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็วเทศบาล<br />

จึงได้รายงานกระทรวงมหาดไทยขอขยายเขตเทศบาลจากเดิมออกไปอีก 4 ต้าบล คือ ต.ตลาด<br />

ขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และ ต.ท่าทราย ทั้งนี้ เพื่อรองรับความเจริญของท้องถิ่น เป็นต้น<br />

ไป เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2531 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาล จากพื้นที่ 2.5<br />

ตารางกิโลเมตรเป็น 38.9 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่รวมทั้งสิ้น 5 ต้าบล คือ ต.สวนใหญ่<br />

ต.ตลาดขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ต่อมาเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2538 ได้มี<br />

พระราชกฤษฎีกายกฐานะเทศบาลเมืองนนทบุรีขึ้นเป็นเทศบาลนครนนทบุรีซึ่งมีผลบังคับใช้<br />

ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2538<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

35


ทิศเหนือ ติดต่อ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.สวนใหญ่ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.ไทรม้า อ.เมืองจ.นนทุบรี และแม่น้าเจ้าพระยา<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 52,836 คน เป็นชาย 24,895 คน เป็นหญิง 27,941 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก อุตสาหกรรม ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดกลางบางซื่อ<br />

2.วัดแคนอก<br />

3.วัดแจ้งศิริสัมพันธ์<br />

4.วัดน้อยนอก<br />

5.วัดบัวขวัญ<br />

6.วัดสมรโกฎิ<br />

ต าบลบางกร่าง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางกร่าง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดนนทบุรี และอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้า<br />

เจ้าพระยา ห่างจากอ้าเภอเมืองนนทบุรี 12 กิโลเมตร<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางศรีเมือง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

36


ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 9,061 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 2,508 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่ รับจ้างทั่วไป<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดบางกร่าง<br />

2.วัดปราสาท<br />

3.วัดแคใน<br />

4.วัดขวัญเมือง<br />

5.วัดบางระโหง<br />

6.วัดโบสถ์ดอนพรหม<br />

7.วัดประชารังสรรค์<br />

8.สนามกีฬาจังหวัด<br />

9.สถานีอนามัยต้าบล<br />

ต าบลบางเขน<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางเขนอยู่ในเขตเทศบาลเมืองนนทบุรี ได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 14<br />

กุมภาพันธ์ 2479 โดยครอบคลุม ต.ส่วนใหญ๋ ทั้งต้าบล มีพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตร และด้วย<br />

ความเจริญจากสภาพพื้นที่อันเป็นเมืองปริมณฑลพื้นที่ติดต่อกับกรุงเทพมหานครความเหมาะสม<br />

ทางด้านผังเมือง เขตเทศบาลพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตรมีอาคารบ้านเรือนหนาแน่นเต็มพื้นที่แล้ว<br />

ความต้องการด้านสาธารณูปโภคสาธารณูปการของประชาชนมีมากขึ้น และความเหมาะสม<br />

ทางด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจการขยายตัวของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็วเทศบาล<br />

จึงได้รายงานกระทรวงมหาดไทยขอขยายเขตเทศบาลจากเดิมออกไปอีก 4 ต้าบล คือ ต.ตลาด<br />

ขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ทั้งนี้ เพื่อรองรับความเจริญของท้องถิ่น เป็นต้น<br />

ไป เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2531 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาล จากพื้นที่ 2.5<br />

ตารางกิโลเมตรเป็น 38.9 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่รวมทั้งสิ้น 5 ต้าบล คือ ต.สวนใหญ่ ต.<br />

ตลาดขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ต่อมาเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2538 ได้มีพระ<br />

ราชกฤษฎีกายกฐานะเทศบาลเมืองนนทบุรีขึ้นเป็นเทศบาลนครนนทบุรีซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่<br />

วันที่ 25 กันยายน 2538<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

37


ทิศเหนือ ติดต่อ ต.ท่าทราย ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.ตลาดขวัญ ต.สวนใหญ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางกระสอ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 43,627 คน เป็นชาย 20,588 คน เป็นหญิง 23,039 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก อตุสาหกรรม ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดกล้วย<br />

2.วัดก้าแพง<br />

3.วัดทางหลวง<br />

4.วัดฝาง<br />

5.วัดโพธิ์ทองล่าง<br />

ต าบลบางไผ่<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางไผ่ ในสมัยก่อนพื้นที่บริเวณริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา ฝั่งตรงข้ามวัดเขมาภิรดารามบริเวณนี้เป็น<br />

แหล่งผลิตตลุ่ม ซึ่งเป็นเครื่องใช้จากไม้ไผ่ด้วยเหตุว่าริมสองฟากคลองบริเวณนั้นมีไม้ไผ่ ซึ่งเป็นวัตถุดิบ<br />

ในการผลิตท้าให้ชาวบ้านที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงต่างพากันเรียกบริเวณนั้นว่า "บางไผ่" เมื่อทาง<br />

ราชการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นต้าบลจึงใช้ชื่อว่า "ต้าบลบางไผ่" มาจนถึงปัจจุบัน<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีเนื้อที่ทั้งหมด 5.5 ตร.กม. หรือประมาณ 3,467 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มติดแม่น้า<br />

เจ้าพระยา มีคลองไหลผ่านหลายสาย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางศรีเมือง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยา อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 7,816 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,287 หลังคาเรือน<br />

38


ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าเกษตรกรรม<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย รับจ้าง<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.บางไผ่<br />

2.สถานีอนามัยบ้านวัดโชติ<br />

3.สถานีอนามัยต้าบลบางไผ่<br />

4. วัดสังฆทาน<br />

5. วัดตึก<br />

6. วัดค้างคาว<br />

7. วัดทองนาปรับ<br />

8. วัดโชติการาม<br />

9. วัดเขียน<br />

10. วัดอมฤต<br />

11.วัดศาลารี<br />

ต าบลบางรักน้อย<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางรักน้อย มีเรื่องเล่าต่อ ๆ กันมาว่า มีเศรษฐีคนหนึ่งซึ่งรวยมาก มีทรัพย์สินมากมาย มี<br />

ภรรยา 2 คนแต่ไม่มีบุตร เมื่อแก่ชราลงก็อยากสร้างวัดไว้ในพระบวรพุทธศาสนา จึงน้าความคิดนี้<br />

ไปบอกแก่ภรรยาทั้ง 2 คน ภรรยาทั้งสองเห็นดีด้วย โดยภรรยาหลวงได้บอกเศรษฐีให้สร้างวัดให้<br />

เขาก่อนอยู่ทางทิศใต้และตั้งชื่อว่า "วัดบางรักใหญ่" และภรรยาน้อยให้สร้างวัดอีกวัดอยู่ทางทิศ<br />

เหนือ ตั้งชื่อว่า "วัดบางรักน้อย" ส่วนตัวเศรษฐีเองสร้างวัดอยู่ตรงกลางระหว่างวัดทั้งสอง ตั้งชื่อ<br />

ว่า "วัดดาวดึงษ์" และในช่วงสุดท้ายของชีวิตได้บวชอยู่ที่นั่นจนถึงแก่กรรม และวัดนั้นก็กลายเป็น<br />

วัดร้างไม่มีผู้ใดบูรณะ<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีเนื้อที่ทั้งหมด 3,780 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.ท่าอิฐ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางกร่าง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางศรีเมือง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

39


จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 9,990 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 5,219 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย รับจ้าง<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.บางรักน้อย<br />

2. วัดบางรักน้อย<br />

3. วัดคลองอ้อม<br />

ต าบลบางศรีเมือง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

เทศบาลต้าบลบางศรีเมืองได้ประกาศยกฐานะจากสุขาภิบาลต้าบลบางศรีเมือง เมื่อวันที่ 1<br />

ธันวาคม 2540 ตั้งอยู่เลขที่ 1/4-6 ถนนท่าน้านนท์-วัดโบสถ์ดอนพรม ต้าบลบางศรีเมือง อ้าเมือง<br />

จังหวัดนนทบุรี มีพื้นที่ทั้งหมด 6.36 ตารางกิโลเมตร<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นชุมชนริมฝั่งแม่น้า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บางรักน้อย ต.ไทรม้า อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ บางไผ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.สวนใหญ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางศรีเมือง ต.บางไผ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 26,854 คน เป็นชาย 12,963 คน เป็นหญิง 13,891 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร<br />

2.อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก<br />

3.วัดป่าเรไร<br />

40


4.วัดสลักใต้<br />

5.วัดบางศรีเมือง<br />

6.วัดพุฒิปรางค์ปราโมทย์<br />

7.วัดโตนด<br />

ต าบลสวนใหญ่<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลสวนใหญ่อยู่ในเขตเทศบาลเมืองนนทบุรี ได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2479<br />

โดยครอบคลุม ต.ส่วนใหญ่ ทั้งต้าบล มีพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตร และด้วยความเจริญจากสภาพพื้นที่อัน<br />

เป็นเมืองปริมณฑลพื้นที่ติดต่อกับกรุงเทพมหานครความเหมาะสมทางด้านผังเมือง เขตเทศบาลพื้นที่ 2.5<br />

ตารางกิโลเมตรมีอาคารบ้านเรือนหนาแน่นเต็มพื้นที่แล้ว ความต้องการด้านสาธารณูปโภคสาธารณูปการ<br />

ของประชาชนมีมากขึ้น และความเหมาะสมทางด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจการขยายตัว<br />

ของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็วเทศบาลจึงได้รายงานกระทรวงมหาดไทยขอขยายเขตเทศบาลจากเดิม<br />

ออกไปอีก 4 ต้าบล คือ ต.ตลาดขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ทั้งนี้ เพื่อรองรับความ<br />

เจริญของท้องถิ่น เป็นต้นไป เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2531 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขต<br />

เทศบาล จากพื้นที่ 2.5 ตารางกิโลเมตรเป็น 38.9 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่รวมทั้งสิ้น 5 ต้าบล คือ<br />

ต.สวนใหญ่ ต.ตลาดขวัญ ต.บางเขน ต.บางกระสอ และต.ท่าทราย ต่อมาเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2538 ได้<br />

มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเทศบาลเมืองนนทบุรีขึ้นเป็นเทศบาลนครนนทบุรีซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่<br />

25 กันยายน 2538<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

41


ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.บางเขน ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางศรีเมือง ต.บางไผ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 41,313 คน เป็นชาย 23,969 คน เป็นหญิง 17,344 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก อุตสาหกรรม ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดเขมาภิรตาราม 4.วัดนครอินทร์ 7.วัดบางแพรกเหนือ 10.วัดลานนาบุญ<br />

2.วัดท้ายเมือง 5.วัดบางขวาง 8.วัดปากน้า<br />

3.วัดทินกรนิมิต 6.วัดบางแพรกใต้ 9.วัดพลับพลา<br />

ต าบลบางกรวย<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางกรวยอยู่ในเขตเทศบาลบางกรวยจัดตั้งขึ้นตามพระราชชกฤษฏีกาการจัดตั้ง<br />

สุขาภิบาลวัดชลอ และสุขาภิบาลบางกรวย ขึ้นเป็นเขตเทศบาลต้าบลบางกรวย ตั้งแต่วันที่<br />

25 สิงหาคม 2537 เทศบาลบางกรวยมีพื้นที่ 8.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมต้าบลบางกรวย<br />

9 หมู่บ้าน และวัดชลอ 10 หมู่บ้าน ตั้งอยู่อ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บางไผ่ ต.ส่วนใหญ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางสีทอง ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้นในเขตเทศบาลบางกรวย 41,983 คน เป็นชาย 19,833 คน เป็นหญิง<br />

22,150 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่ ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดจันทร์<br />

2.วัดเชิงกระบือ<br />

3.วัดโพธิ์เผือก<br />

42


4.วัดลุ่มคงคาราม<br />

5.วัดส้าโรง<br />

ต าบลบางขนุน<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางขนุน เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ท้าสวนผลไม้<br />

และเพาะขยายกิ่งพันธุ์ไม้จ้าหน่าย ไม้ดอกไม้ประดับเป็นหลักทั้งนี้เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความ<br />

อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การ เพาะปลูกและไม่มีปัญหาเรื่องน้าการเกษตร ปัจจุบันราษฎรส่วนใหญ่<br />

สนับสนุนให้บุตรหลานได้รับการศึกษาส่งผลให้เยาวชนรุ่นใหม่เปลี่ยนแปลงหันไปประกอบอาชีพ<br />

อื่นๆ แทนอาชีพกาเกษตรกร เช่นรับราชการพนักงานรัฐวิสาหกิจ และลูกจ้างบริษัทห้างร้าน<br />

ต่างๆ รวมทั้งมีการย้ายถิ่นฐานไปอยู่ที่อื่น ประกอบกับราษฎรบางส่วนขายที่ดินให้แก่นักธุรกิจ<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่นท้าสวนไม้ผล และเพาะ<br />

ขยายกิ่งพันธุ์ไม้จ้าหน่าย ไม้ดอกไม้ประดับเป็นหลัก ทั้งนี้ เนื่องขาดความอุดมสมบูรณ์เหมาะสม<br />

แก่การเพาะปลูก และไม่มีปัญหาเรื่องน้าเพื่อการเกษตร<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางกร่าง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.มหาสวัสดิ์ ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางลีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางขุนกอง อ.บางกรวย จ.นนทุบรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 3,682 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,570 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย รับราชการ<br />

43


ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดบางขนุน<br />

2.วัดแก้วฟ้า<br />

ต าบลบางขุนกอง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางขุนกองเป็นต้าบลหนึ่งในจ้านวน 9 ต้าบล ของอ้าเภอบางกรวย จัดตั้งเมื่อใดไม่ปรากฎ<br />

หลักฐานแน่ชัด แต่เดิมเป็นต้าบลหนึ่งของอ้าเภอบางใหญ่และแยกมาเป็นอ้าเภอบางกรวยส้าหรับ<br />

พื้นที่เดิมประกอบด้วยต้าบลบางขนุนบางส่วน ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน และต่อมามีการจัดตั้ง<br />

หมู่บ้านเพิ่มอีก 1 หมู่บ้าน คือหมู่6 โดยแยกมาจากต้าบลบางคูเวียง ท้าให้ปัจจุบันต้าบลบางขุน<br />

กองประกอบไปด้วยจ้านวน 6 หมู่บ้าน<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูกและราษฎรส่วนมากมีอาชีพในการเกษตรกรรม<br />

ท้าสวนส่วนมากเป็นสวนผลไม้และส่วนไม้ดอกไม้ประดับ<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางกอกน้อย ต.บางกร่าง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.มหาสวัสดิ์ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางขนุน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุร<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

44


จ้านวนประชากรในเขต อบต. 5,897 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 3,378 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย รับจ้าง รับราชการ<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดจ้าปี/โรงเรียน 6.วัดอุทยาน<br />

2.วัดซองพลู/โรงเรียน 7.วัดโพธิยาน<br />

3.วัดไทยเจริญ<br />

4.วัดบางไกรนอก<br />

5.วัดบางไกรใน<br />

ต าบลบางคูเวียง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางคูเวียงตั้งอยู่ในอ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี มีพื้นที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของ<br />

แม่น้าเจ้าพระยา ร่วมกับต้าบลปลายบาง และต้าบลมหาสวัสดิ์ จัดตั้งเป็นสุขาภิบาลปลาย<br />

บาง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2537 และประกาศในราช<br />

กิจจานุเบกษา ลงวันที่ 13 ตุลาคม 2537 ต่อมาเนื่องจากสุขาภิบาลมีฐานะการคลังเพียง<br />

พอที่จะบริหารงานประจ้าของสุขาภิบาลได้ กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศให้สุขาภิบาล<br />

ปลายบาง เป็นสุขาภิบาลที่มีฐานะการคลังเพียงพอที่จะบริหารงานประจ้าของสุขาภิบาลได้<br />

ได้ลงในประกาศราชกิจจานุเบกาา เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2539 ในปี พ.ศ. 2542<br />

พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 ประกาศในราช<br />

กิจจานุเบกษา วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2542 เป็นผลให้สุขาภิบาลทั่วประเทศ เปลี่ยนแปลง<br />

ฐานะเป็นเทศบาลต้าบล สุขาภิบาลปลายบางจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาล<br />

ต้าบล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ปัจจุบันมีนายพงษ์ศักดิ์ อัจฉริยะประสิทธิ์ เป็น<br />

นายกเทศมนตรี มีสมาชิกสภาเทศบาล จ้านวน 12 คน เป็นเทศบาลระดับชั้นที่ 5<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ต้าบลบางคูเวียงตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอ้าเภอบางกรวย มีพื้นที่ทั้งหมด 3,385 ไร่ แบ่ง<br />

ออกเป็นสวนไม้ผล 2,492 ไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ 25 ไร่ ครัวเรือนเกษตร 410 ไร่ อื่น ๆ 458<br />

ไร่ ลักษณะภูมิประเภท โดยทั่วไปส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีน้าท่วมขังตลอดปี และมีล้าคลอง<br />

ผ่านเป็นจ้านวนมาก ในเขตพื้นที่ต่าง ๆ คลองที่ส้าคัญ ได้แก่ คลองบางคูเวียง คลองบาง<br />

ราวนก คลองขื่อขวาง และคลองหัวคู คลองส่วนใหญ่ใช้เป็นเส้นทางส่งน้าเข้าสวน ใช้สอย<br />

รวมทั้งคมนาคม แหล่งน้าที่ส้าคัญและมีผลต่อกิจกรรมการเกษตร ได้แก่ คลองบางกอก<br />

น้อย ไหลผ่าน ระหว่างเขตติดต่อระหว่างอ้าเภอบางกรวย อ้าเภอเมืองและอ้าเภอบางใหญ่<br />

ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และน้าชลประทาน ได้รับน้าจากโครงการส่งน้าและ<br />

45


บ้ารุงรักษาพระพิมล<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต้าบลบางม่วง อ้าเภอบางใหญ่<br />

ทิศใต้ ติดต่อกับ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต้าบลมหาสวัสดิ์ และต้าบลบางขุนกอง<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต้าบลปลายบาง อ้าเภอบางกรวย<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 5,705 คน เป็นชาย 2,712 คน เป็นหญิง 2,993 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน ท้าไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. คลองบางกอกน้อย 3. วัดสิงห์ 5.วัดโบสถ์<br />

2. โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี 4. วัดตะเคียน 6. วัดหูช้าง<br />

ต าบลบางสีทอง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ในปี 2390 พระยาประทุชินบริบาล เจ้าหน้าที่แบ่งเขตการปกครอง กรมมหาดไทย ได้<br />

แบ่งเขตการปกครอง ให้มีเขตต้าบล อ้าเภอที่ชัดเจน สถานที่บริเวณนี้มีคลองชื่อว่า"คลอง<br />

บางสีทอง" จึงน้าชื่อนั้นมาตั้งเป็นชื่อต้าบล เรียก"ต้าบลบางสีทอง" อ้าเภอบางกรวย เป็น<br />

ต้นมา ในสมัยเจ้าพระยานนทบุรีศรีเกษตราราม เป็นเจ้าเมืองนนทบุรี (จากจดหมายเหตุ-<br />

การแบ่งเขตการ กรมมหาดไทย)<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ต้าบลบางสีทองตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอ้าเภอบางกรวย ห่างจากอ้าเภอประมาณ 5 กม.<br />

สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ประมาณ 5.8 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,494 ไร่<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางกร่าง และ ต.บางศรีเมือง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางกรวย อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางไผ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางขนุน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

46


จ้านวนประชากรในเขต อบต. 7,146 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 2,805 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

ท้าสวน ท้าไร่ รับจ้าง ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

ต าบลมหาสวัสดิ์<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลมหาสวัสดิ์ เป็นต้าบลหนึ่งในความรับผิดชอบของอ้าเภอบางกรวย ซึ่งที่หมู่บ้านรวม 7<br />

หมู่บ้าน อยู่ในเขตความรับผิดชอบของ อบต. 3 หมู่บ้าน อยู่ในเขตความรับผิดชอบของเทศบาล<br />

ปลายบาง 4 หมู่บ้าน<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก ต้าบลมหาสวัสดิ์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอ้าเภอบาง<br />

กรวย ห่างจากอ้าเภอ 3.5 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 7.92 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,030 ไร่<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต้าบลบางขนุน และ ต้าบลบางขุนกอง อ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ เขตบางกอกน้อย จ.กรุงเทพฯ<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต้าบลบางกรวย อ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต้าบลปลายบาง และ ต้าบลบางคูเวียง อ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 3,287 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,089 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวนผัก ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ รับจ้างตามโรงงานอุตสาหกรรม<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. วัดโคนอน<br />

2. ที่ท้าการ อบต.<br />

47


3. โรงงานอุตสาหกรรม 2 แห่ง<br />

4. ศาลเจ้า 1 แห่ง<br />

5. โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง<br />

6. สถานีอนามัยต้าบล 1 แห่ง<br />

ต าบลวัดชลอ<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลวัดชลออยู่ในเขตเทศบาลบางกรวยจัดตั้งขึ้นตามพระราชชกฤษฏีกาการจัดตั้งสุขาภิบาลวัด<br />

ชลอ และสุขาภิบาลบางกรวย ขึ้นเป็นเขตเทศบาลต้าบลบางกรวย ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม 2537<br />

เทศบาลบางกรวยมีพื้นที่ 8.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมต้าบลบางกรวย 9 หมู่บ้าน และวัดชลอ<br />

10 หมู่บ้าน ตั้งอยู่อ้าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บางขนุน ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.บางกรวย อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.มหาสวัสดิ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้นในเขตเทศบาลบางกรวย 41,983 คน เป็นชาย 19,833 คน เป็นหญิง<br />

22,150 คน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดกระโจมทอง<br />

2.วัดกล้วย<br />

3.วัดเกดประยงค์เล็กตั้งตรงจิตร<br />

4.วัดชลอ<br />

5.วัดโตนด<br />

6.วัดท่า<br />

7.วัดพิกุลทอง<br />

48


8.วัดโพธิ์บางโอ<br />

9.วัดสนามนอก<br />

10.วัดสนามใน<br />

11.วัดสวนใหญ่<br />

12.วัดสักใหญ่<br />

ต าบลศาลากลาง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ได้มีผู้เล่าสืบต่อกันมาว่า แต่ก่อนบริเวณนี้ไม่มีผู้คนอาศัยมากนัก มีแต่ที่นาและล้าคลองสายต่างๆ<br />

ผ่าน การเดินทางใช้เรือเป็นหลัก ระยะเวลาเดินทางก็นานมาก ผู้ที่เดินทางผ่านบริเวณนี้เป็น<br />

ประจ้าจึงช่วยกันสร้างศาลาส้าหรับพักเหนื่อยระหว่างการเดินทาง ซึ่งอยู่ตรงกลางพื้นที่นี้ เมื่อ<br />

ชุมชนขยายจ้านวนมากขึ้นจนตั้งเป็นต้าบลได้ ก็เรียกต้าบลที่ตั้งขึ้นมาใหม่นี้ว่า"ต้าบลศาลากลาง"<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ที่ตั้งต้าบลศาลากลางเป็นพื้นที่ลุ่มมีลักษณะเป็นรูปอ่างกะทะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอ้าเภอ<br />

บางกรวย<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บ้านใหม่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานครฯ<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.ปลายยาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

49


จ้านวนประชากรในเขต อบต.7,699 คน แยกเป็นชาย 3,699 คน หญิง 4,000 คน มีความหน้า<br />

แน่นเฉลี่ย 521.00 คน / ตารางกิโลเมตร มีเนื้อที่ 14.78 ตารางกิโลเมตร และจ้านวนหลังคา<br />

เรือน 2,382 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าเกษตรกร ท้าสวนไม้ดอก ผลไม้ นาบัว<br />

รองลงมาคือ เลี้ยงปลา<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดใหม่ผดุงเขต<br />

2.องค์การบริหารส่วนต้าบลศาลากลาง<br />

3.ส้านักลานเร่งรัดพัฒนาชนบทจังหวัดนนทบุรี<br />

4.ฝ่ายพลับพลาพิธี กองก่อสร้างพลับพลาพิธี กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย<br />

ต าบลบางม่วง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางม่วง เมื่อในสมัยรัชกาลที่ 1 ได้มีการออกส้ารวจและได้พบว่าบริเวณนี้มีต้นมะม่วงขึ้น<br />

มากมาย จึงตั้งชื่อว่า "ต้าบลบางม่วง" เป็นต้าบลที่ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอ้าเภอบางใหญ่ มี<br />

จ้านวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 14 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านบางค้อ หมู่ 2 บ้านบางม่วง หมู่ 3 บ้านบาง<br />

ม่วง หมู่ 4 บ้านบางม่วง หมู่ 5 บ้านบางโสน หมู่ 6 บ้านบางโสน หมู่ 7 บ้านหัวคูใน หมู่ 8 บ้าน<br />

หัวคูนอก หมู่ 9 บ้านบางกร่าง หมู่ 10 บ้านนาคเกี้ยว หมู่ 11 บ้านบางม่วง หมู่ 12 บ้านบางม่วง<br />

หมู่ 13 บ้านบางม่วง หมู่ 14 บ้านคลองลัด<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม มีล้าคลองและแม่น้าไหลผ่าน<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางแม่นาง และ ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางใหญ่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 8,005 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,785 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

50


1. อบต.บางม่วง<br />

2. วัดพระเงิน<br />

3. วัดสังวรพิมลไพบูลย์<br />

4. วัดคงคา<br />

5. วัดปรางค์หลวง<br />

6. วัดบางม่วง<br />

7. วัดอัมพวัน<br />

8. วัดไผ่เหลือง<br />

ต าบลบางแม่นาง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางแม่นาง เป็นต้าบลหนึ่งในเขตบางใหญ่ มีประวัติความเป็นมา คือ เดิมบริเวณเขตต้าบล<br />

บางแม่นางเป็นกิ่งอ้าเภอบางแม่นางใช้สถานที่บริเวณวัดส้มเกลี้ยงเป็นสถานที่ท้าการ ภายหลังกิ่ง<br />

อ้าเภอบางแม่นาง ได้ยกฐานะเป็นอ้าเภอบางใหญ่และย้ายที่ว่าการอ้าเภอไปอยู่บริเวณริมปาก<br />

คลองบางใหญ่แยกคลองอ้อมนนท์ ( ภายหลังเป็นที่ท้าการเทศบาลบางม่วง ) เป็นที่ท้าการ ส่วน<br />

ต้าบลบางแม่นางก็ใช้ชื่อเดิมของกิ่งอ้าเภอ และขึ้นกับอ้าเภอบางใหญ่ จนถึงปัจจุบัน<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

พื้นที่ต้าบลบางแม่นางมีพื้นที่ประมาณ 14.4 ตารางกิโลเมตร มีสภาพเป็นพื้นที่ราบลุ่มต่้า<br />

มีล้าคลองธรรมชาติไหลผ่าน รวมทั้งคลองชลประทาน ท้าให้สภาพพื้นที่เป็นพื้นที่การเกษตร<br />

เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชผลเกษตรรวมทั้งไม้ดอกไม้ประดับเพื่อจ้าหน่าย สภาพภูมิอากาศ<br />

มีสภาพร้อนชื้น ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์สภาพอากาศปกติ<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อกับเขต อบต. บางคูรัตและต้าบลบางรักพัฒนา อ. บางบัวทอง จ . นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อกับเทศบาลต้าบลบางใหญ่ และต้าบลบาลม่วง อ .บางบัวทอง จ . นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อกับต้าบลเสาธงหิน อ . บางใหญ่ จ . นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขต อบต. บ้านใหม่ อ . บางใหญ่ จ . นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 18,104 คน เป็นชาย 8,320 คน เป็นหญิง 9,784 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน ท้าไร่ รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ<br />

51


อาชีพเสริม ผลิตภัณฑ์ดอกไม้ประดิษฐ์จากกลุ่มสตรีบางแม่นาง กลุ่มท้าเครื่องประดับรัตนชาติ<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1 . วัดส้มเกลี้ยง<br />

2 . วัดบางโค ( มีสถานที่ท่องเที่ยว วังมัจฉา รอยพระพุทธบาท พิพิธภัณฑ์ชาวบ้าน )<br />

3 . วัดดอนสะแก<br />

4 . องค์การบริหารส่วนต้าบลบางแม่นาง<br />

5 . สถานีต้ารวจภูธรต้าบลบางแม่นาง<br />

6 . สอ .ต้าบลบางแม่นาง<br />

7 . สอ. บ้านหนองกางเขน<br />

ต าบลบางเลน<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางเลน แต่เดิมพื้นที่ต้าบลบางเลนเป็นพื้นที่ราบลุ่มมีน้าขังตลอดปี พื้นที่เป็นโคลนเลน<br />

จ้านวนมาก ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท้านาท้าสวน เมื่อมีการตั้งชื่อต้าบลจึงเรียกตาม<br />

สภาพพื้นที่ว่า "ต้าบลบางเลน" มาจนปัจจุบัน มีจ้านวนหมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้าน<br />

บางเลน หมู่ 2 บ้านบางพลู หมู่ 3 บ้านบางมะซาง หมู่ 4 บ้านบางสะแก หมู่ 5 บ้านท่ารถ หมู่ 6<br />

บ้านหน้าวัดปรางค์หลวง หมู่ 7 บ้านวัดยุคันธราวาส หมู่ 8 บ้านบางสรีราษฎร์ หมู่ 9 บ้านบาง<br />

สะแก หมู่ 10 บ้านวัดน้อย หมู่ 11 บ้านหน้าโรงสี<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นที่ราบลุ่มมีล้าคลองไหลผ่านหลายสาย มีทางหลวงแผ่นดินผ่านต้าบล การเดินทางสามารถ<br />

ใช้ได้ทั้งทางรถยนต์และทางเรือ<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางกร่าง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางกร่าง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางกร่าง อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 10,305 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 4,138 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่ รับจ้างทั่วไป<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย<br />

52


ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. การไฟฟ้านครหลวงสาขาบางใหญ่<br />

2. วัดสวนแก้ว<br />

3. วัดปรางค์หลวง<br />

4. วัดยุคคันธราวาส<br />

5. วัดสะแก<br />

6. วัดน้อย<br />

7. วัดบางศรีราษฎร์<br />

8. อบต.บางเลน<br />

ต าบลบางใหญ่<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางใหญ่ อยู่ในเขตการปกครองของอ้าเภอบางใหญ่ มีจ้านวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 6 หมู่บ้าน<br />

ได้แก่ หมู่ 1 บ้านบางโสน หมู่ 2 บ้านคลองบางใหญ่ หมู่ 3 บ้านเจ้า หมู่ 4 บ้านตลาดบางคูลัด<br />

หมู่ 5 บ้านบางใหญ่ หมู่ 6 บ้านสี่แยกคลองโยง<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางแม่นาง และ ต.บ้านใหม่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.ศาลากลาง และ ต.ปลายบาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 2,755 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,020 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม<br />

53


ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.บางใหญ่<br />

2. วัดท่าบันเทิงธรรม<br />

3. ตลาดน้าบางคูลัด<br />

4. ถนนสายดอกไม้ (ถนนตลิ่งชัน - สุพรรณบุรี)<br />

ต าบลบ้านใหม่<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบ้านใหม่จากต้านานและค้าบอกเล่าที่ผ่านมา การสร้างวัดต้นเชือก เมื่อ พ.ศ. 2324 เป็นปี<br />

สุดท้ายในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แสดงว่ามีชุมชนดั้งเดิมมาก่อนหน้านี้ เพราะ<br />

สภาพภูมิประเทศต้าบลบ้านใหม่ ตั้งอยู่ริมคลองบางใหญ่ ซึ่งเป็นร่องน้าโบราณตามธรรมชาติ ที่<br />

ใช้เป็นเส้นทางสัญจร ระหว่างแม่น้านครชัยศรี -แม่น้าเจ้าพระยา เนื่องจากในสมัยนั้นยังไม่มีการ<br />

ขุดคลองสายอื่น คลองบางใหญ่จึงเป็นเส้นทางสัญจรทางน้าสายเดียวที่ประชาชนใช้สัญจรจากหัว<br />

เมืองนครชัยศรีและเมืองทางด้านตะวันตก เข้ามาเมืองหลวงคือบางกอกธนบุรี<br />

ในสมัยรัชกาลที่ 6 พ.ศ.2548 ต้าบลบ้านใหม่ขึ้นกับอ้าเภอบางบัวทองใช้ชื่อต้าบลศีรษะเชือก<br />

อ้าเภอบางบัวทอง ต่อมา พ.ศ.2460 ทางราชการได้โอนต้าบลบ้านใหม่ ให้มาขึ้นกับกิ่งอ้าเภอบาง<br />

แม่นาง และเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2464 ได้ยกฐานะจากกิ่งอ้าเภอบางแม่นางเป็นอ้าเภอบางแม่<br />

นาง และได้เปลี่ยนชื่อเป็นอ้าเภอบางใหญ่ และในส่วนต้าบลบ้านใหม่เองเมื่อมีการประกาศใช้<br />

พระราชบัญญัติสภาต้าบลและองค์การบริหารส่วนต้าบล พ.ศ.2537 ต้าบลบ้านใหม่ ได้ยกฐานะ<br />

เป็นสภาต้าบลและจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต้าบลบ้านใหม่ ครั้งแรกเมื่อวันที่ 28 เมษายน<br />

2539<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีเนื้อที่ทั้งหมด 31 ตร.กม. หรือประมาณ 19,296 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม มีล้า<br />

คลองไหลผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่การเกษตร<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.หนองเพรางาย อ.ไทรน้อย และ ต.บางคูรัด อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางใหญ่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางแม่นาง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

54


ทิศตะวันตก ติดกับ อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 5,342 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,443 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.บ้านใหม่<br />

2. วัดต้นเชือก<br />

ต าบลเสาธงหิน<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลเสาธงหินสันนิษฐานว่า ตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2464 ซึ่งเป็นปีที่กิ่งอ้าเภอบางแม่นางได้รับการยก<br />

ฐานะเป็นอ้าเภอบางใหญ่ ก้านันคนแรกชื่อ ขุนละออ นิราศพาน ส่วนชื่อต้าบลนั้น ได้รับการ<br />

แต่งตั้งตามชื่อวัดเสาธงหิน ที่มีการขุดพบเสาธงท้าด้วยหิน ในบริเวณดังเกล่า และอีกประการ<br />

หนึ่งที่คนเฒ่าคนแก่เล่าต่อๆกันมาว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินได้รวบรวมไพร่พลมาตั้ง ณ บริเวณดัง<br />

เกล่า และได้ปักธงไว้กับกองหิน เพื่อให้ทหารมองเห็นในระยะไกล จึงได้ชื่อว่าวัดเสาธงหิน และ<br />

ตั้งเป็นชื่อต้าบลเสาธงหินในที่สุด<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองไหลผ่านหลายสาย พื้นที่เหมาะแก่การเพาะปลูกไม้ผล<br />

ประชากรส่วนใหญ่จะตั้งบ้านเรือนริมแม่น้า โดยเดินทางไปมาด้วยเรือ ปัจจุบันมีถนนตัดผ่าน<br />

หลายสายประชาชนจึงเริ่มย้ายบ้านมาตั้งอยู่ริมถนนส้าคัญๆ(สายตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี)มากขึ้น<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางรักพัฒนา และ ต.บางรักใหญ่ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางแม่นาง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 19,324 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 11,513 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

ค้าขาย, รับจ้าง<br />

55


ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดเสาธงหิน<br />

2.วัดอินทร์<br />

3.วัดราษฎร์ประคองธรรม<br />

4.โรงเรียนวัดอินทร์<br />

6.ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน<br />

7.สถานีอนามัยต้าบล<br />

ต าบลบางคูรัด<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางคูรัด ประกอบด้วย 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านปลายคลองยางคูรัด หมู่ที่ 2 บ้าน<br />

หนองบกแฝก หมู่ที่ 3 บ้านหนองโสน หมู่ที่ 4 บ้านหนองกระดี่ หมู่ที่ 5 บ้านหนองอ้ายปรง หมู่ที่<br />

6 บ้านลาดกระเฉด หมู่ที่ 7 บ้านรางระกอ หมู่ที่ 8 บ้านเต็มรัก หมู่ที่ 9 บ้านคลองตาชม และหมู่<br />

ที่ 10 บ้านคลองนายหลีก<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ต้าบลบางคูรัดเป็นที่ราบลุ่มเหมาะส้าหรับท้าการเกษตร มีคลองหลายสายไหลผ่าน บางคูรัดห่าง<br />

จากอ้าเภอบางบัวทอง 12 กิโลเมตร มีรถตู้ผ่านหลายสาย<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต้าบลพิมลราช อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต้าบลบ้านใหม่ อ้าเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต้าบลบางรักพัฒนา อ้าเภอบางบัวทอง และต้าบลบางแม่นาง อ้าเภอบาง<br />

ใหญ่ จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต้าบลทวีวัฒนา และ ต้าบลหนองเพรางาม อ้าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 26,441 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 12,054 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา, ท้าสวน, ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย, รับจ้าง<br />

56


ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1) วัด 1 แห่ง<br />

2) โรงเรียน 3 แห่ง<br />

3) อนามัย 2 แห่ง<br />

4) สถานีต้ารวจชุมชน 1 แห่ง<br />

5) อบต.<br />

ต าบลบางบัวทอง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

มีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า ต้าบลบางบัวทอง มีชื่อบางบัวทอง เพราะเรียกตามนิทานที่ว่า ครั้งหนึ่ง<br />

มีพระราชาเสด็จประพาสทางเรือ มาบริเวณนี้และได้น้ากระบวยทอง ตักน้าในล้าคลองเพื่อใช้ล้าง<br />

หน้า แต่กระบวยทองได้หลุดจากมือจมไปในล้าคลอง จึงได้เรียกว่าคลองกระบวยทองเรื่อยมา<br />

ต่อมาชาวบ้านเรียกผิดเพี้ยนเป็น คลองบางบัวทอง และน้าชื่อคลองบางบัวทองนี้มาตั้งเป็นชื่อ<br />

ต้าบล<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นที่ราบลุ่ม มีล้าคลองหลายสายไหลผ่าน โดยเฉพาะคลองบางบัวทอง ซึ่งเป็นล้าคลองที่<br />

เชื่อมต่อกับแม่น้าเจ้าพระยา บ้านเรือนราษฎรกระจายกันอยู่ตามริมคลอง การสัญจรแต่เดิมก็ใช้<br />

เรือเป็นส่วนใหญ่ ต่อมามีการตัดถนนบางกรวย-ไทรน้อยผ่าน ประชาชนจึงหันมาใช้รถยนต์มาก<br />

ขึ้น<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต้าบลละหาร อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต้าบลพิมลราช อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต้าบลละหาร อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต้าบลไทรน้อย อ้าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

นวนประชากรในเขต อบต. 33,039 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 20,185 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

57


อาชีพหลัก ท้านา รับจ้าง<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.โรงเรียนประถมศึกษา 2 แห่ง<br />

2.โรงเรียนอนุบาล 1 แห่ง<br />

3.โรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม 6 แห่ง<br />

4.ศูนย์เยาวชนต้าบล 1 แห่ง<br />

5.มัสยิด 3 แห่ง<br />

6.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง<br />

7.สถานีอนามัย 3 แห่ง<br />

8.สถานีพยาบาลเอกชน 2 แห่ง<br />

9.โรงพยาบาลสัตว์ 1 แห่ง<br />

ต าบลบางรักพัฒนา<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางรักพัฒนา ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของ อ.บางบัวทอง ประกอบไปด้วย 8 หมู่บ้าน<br />

ได้แก่ บ้านหนองบัว บ้านคลองบางแพรก บ้านคลองนิ้วค่อม บ้านบางแพรก บ้านคลองบางไผ่<br />

บ้านอ่าวกระท้อน บ้านลาดปลาดุก บ้านคลองวัดลาดปลาดุก<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นชุมชนเมือง มีจ้านวนประชากรมากที่สุดของ อ.บางบัวทอง ตั้งอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพมากนัก<br />

ภายในมีโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าตั้งอยู่ไม่มากนัก<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.พิมลราช และ ต.โสนลอย อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางรักใหญ่ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางคูรัด อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 41,080 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 17,848 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

ท้าการเกษตรกรรม และรับจ้างทั่วไป<br />

58


ต าบลบางรักใหญ่<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

องค์การบริหารส่วนต้าบลบางรักใหญ่ ตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ 11 เลขที่ 32 ถนนรัตนธิเบศธ์ ต้าบลบางรัก<br />

ใหญ่ อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ปัจจุบันเป็นองค์กรขนาดใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 3.835<br />

ตร.กม. หรือ ประมาณ 2,397 ไร่ มีหมู่บ้านทั้งหมด 11 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1บ้าน บางไผ่ หมู่ที่ 2 บ้าน<br />

หนองบัว หมู่ที่ 3 บ้านคลองบางรักใหญ่ หมู่ที่ 4 บ้านบางรักใหญ่ หมู่ที่ 5 บ้านคลองบางมะขาม<br />

หมู่ที่ 6 บ้านคลองบางพลู หมู่ที่ 7 บ้านริมคลองแม่น้าอ้อม หมู่ที่ 8 บ้านคลองบางไผ่ หมู่ที่ 9<br />

บ้านคลองบางเดื่อ หมู่ที่ 10 บ้านบางเดื่อ หมู่ที่ 11 บ้านแพรกน้อย<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ต้าบลบางรักใหญ่ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา มีบริเวณพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะสมกับการ<br />

เพาะปลูก พื้นดินเป็นดินร่วน มีแหล่งน้าธรรมชาติหลายแห่ง เช่น คลองอ้อมนนท์ คลองบางเดื่อ<br />

คลองบางรักใหญ่ คลองมะขาม คลองบางแพรก คลองบางไผ่ คลองบางพลู คลองลัด เป็นต้น<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต้าบลบางรักพัฒนา อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต้าบลบางเลน ต้าบลเสาธงหิน อ้าเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต้าบลบางรักน้อยและเทศบาลเมืองบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต้าบลเสาธงหิน อ้าเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขตพื้นที่ต้าบลบางรักใหญ่ มีจ้านวน 5,110 คน และจ้านวนหลังคาเรือน<br />

1,970 หลังคาเรือน (ยังไม่รวมประชากรแฝง)<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน , ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย , รับราชการ ,รับจ้างทั่วไป<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1) สถานีอนามัย 2 แห่ง<br />

2) โรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง<br />

3) โรงเรียนขยายโอกาศถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ้านวน 1 แห่ง<br />

4) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 แห่ง<br />

5) อบต. 1 แห่ง<br />

6) วัด 4 แห่ง<br />

59


ต าบลพิมลราช<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

แต่เดิมต้าบลพิมลราชเป็นหมู่บ้าหนึ่งอยู่ในต้าบลบางบัวทอง ต่อมาปี 2532 ได้แยกตัวมาตั้งเป็น<br />

ต้าบลพิมลราช และมี 8 หมู่บ้าน เหตุที่ชื่อว่า ต้าบลพิมลราชนั้น เนื่องจากมีคลองพระพิมลราชา<br />

เป็นคลองที่ส้าคัญไหลผ่านต้าบล ชาวบ้านส่วนใหญ่อาศัยท้าการเกษตร เพาะปลูก ตลอดจนใช้<br />

บริโภค คลองนี้จึงเป็นเสมือนชีวิตของต้าบล จึงได้เรียกกันว่า พิมลราช<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ต้าบลพิมลราชอยู่ห่างจากอ้าเภอบางบัวทองประมาณ 7 กิโลเมตร ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ยกฐานะเป็น<br />

องค์การบริหารส่วนต้าบลเมื่อ 2539 มีเนื้อที่ทั้งหมด 9,429 ไร่ ประมาณ 15.08 ตารางกิโลเมตร<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต้าบลบางบัวทอง และต้าบลโสนลอย ต้าบลละหาร อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัด<br />

นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต้าบลบางคูรัด อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต้าบลบางพลับ และ ต้าบลอ้อมเกร็ด อ้าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต้าบลทวีวัฒนา อ้าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 31,134 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 6,614 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา , ท้าสวน/ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม รับจ้าง<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1) อบต. 1 แห่ง<br />

2) วัด 1 แห่ง<br />

3) โรงเรียน 1 แห่ง<br />

4) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง<br />

5) มัสยิด 1 แห่ง<br />

6) สถานีอนามัย 1 แห่ง<br />

60


ต าบลละหาร<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลละหาร ตั้งอยู่เขตการปกครองอ้าเภอบางบัวทอง มีหมู่บ้านทั้งสิ้นจ้านวน 9 หมู่ ได้แก่ หมู่ 1<br />

บ้านถนนรถ หมู่ที่ 2 บ้านปากคลองล้ารี หมู่ 3 บ้านเกาะลอย หมู่ 4 บ้านเกาะดอน หมู่ 5 บ้านคลอง<br />

ลากค้อน หมู่ 6 บ้านสุเหร่าลากค้อน หมู่ 7 บ้านสุเหร่าแดง หมู่ 8 บ้านสุเหร่าเขียว หมู่ 9 บ้านคลอง<br />

ล้ารี<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ห่างจากอ้าเภอบางบัวทอง 6 กิโลเมตร มีทั้งชุมชนดั่งเดิมที่ประกอบ<br />

อาชีพท้านาและหมู่บ้านจัดสรรที่มีประชาชนย้ายเข้ามาอยู่จ้านวนมาก<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.ล้าโพ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางบัวทอง อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.คลองข่อย อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ไทรน้อย อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 15,034 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 6,890 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลักได้แก่ ท้านา รับจ้างทั่วไป<br />

รองลงมาได้แก่ ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.สถานีอนามัย 2 แห่ง<br />

2.โรงเรียนประถมศึกษา 7 แห่ง<br />

3.มัสยิด 6 แห่ง<br />

61


ต าบลล าโพ<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

เดิมมีสภาพเป็นล้า (ทางน้าเล็ก ๆ) และมีต้นโพธิ์มาก ต่อมาได้มีการขุดคลองขึ้นมาแทนให้กว้าง<br />

ขึ้นไปอีก จึงเรียกเป็นล้าโพ แต่นั้นมา<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นที่ราบลุ่มภาคกลาง มีคลองส้าคัญ คือ คลองล้าโพ คลองลากฆ้อน ซึ่งเป็นล้าคลองสายหลัก<br />

เกษตรกรโดยทั่วไปสามารถใช้น้ามาประกอบอาชีพท้านา ซึ่งท้าได้ถึงปีละ 3 ครั้ง<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต้าบลคลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต้าบลละหาร อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต้าบลคลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต้าบลละหาร อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 2,473 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 619 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา<br />

อาชีพเสริม รับจ้าง<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1) วัดสามง่าม ม.8<br />

2) วัดล้าโพ ม.3<br />

3) สถานีอนามัย ม.3<br />

4) สถานีอนามัยเจริญรัญ ม.7<br />

5) โรงเรียนวัดล้าโพ ม.3 (ประถมศึกษา)<br />

6) โรงเรียนเจริญรัฐ ม.7 (ประถมศึกษา)<br />

7) โรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม ม.7<br />

62


ต าบลโสนลอย<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

เทศบาลเมืองบางบัวทอง จัดตั้งขึ้นโดยประกาศพระราชกฤษฎีกา การก้าหนดท้องที่บางส่วนของ<br />

ต้าบลบางบัวทองและต้าบลโสนลอย อ้าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ให้มีฐานะเป็นเทศบาล<br />

เมืองบางบัวทอง เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2480 มีอาณาเขต 1 ตารางกิโลเมตร โดยมีขุนพิทักษ์<br />

ปทุมมาศ เดิมเป็นก้านันต้าบลบางบัวทอง เป็นนายกเทศมนตรี นายเลี้ยง ทองไฮ้ และ<br />

หม่อมหลวงแจ่ม อิสรางกูล ณ อยุธยา เป็นเทศมนตรี ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาการ<br />

เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2538 สั่งประกาศในราชกิจจา<br />

นุเบกษา เลขที่ 112 ตอนที่ 22 ก. ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2538 โดยเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาล<br />

เมืองบางบัวทอง จาก 1 ตารางกิโลเมตร เป็น 13.5 ตารางกิโลเมตร<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

พื้นที่เขตเทศบาลเมืองบางบัวทอง เป็นพื้นที่ผสมผสานระหว่างชุมชนดั้งเดิมที่ประกอบอาชีพท้า<br />

สวน ท้านา และชุมชนใหม่ที่เข้ามาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านจัดสรร พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม อยู่ติดแม่น้า<br />

และน้าท่วมถึงมีแม่น้าล้าคลองไหลผ่านหลายสาย ได้แก่ คลองบ้านแถว คลองพระพิมลราช<br />

คลองบ้านกล้วย คลองบางบัวทอง คลองญวน คลองเขมร สภาพพื้นที่จึงเหมาะแก่การเพาะปลูก<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อกับ ริมคลองสามวัง ฝั่งเหนือไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้<br />

ทิศใต้ ติดต่อกับ ริมคลองบางไผ่ฝั่งตะวันตก<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ริมคลองล้าโพฝั่งตะวันออกไปทางทิศใต้<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ริมคลองบางไผ่ฝึ่งตะวันตก<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 35,999 คน เป็นชาย 17,133 คน เป็นหญิง 18,866 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน รับราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชน ธุรกิจส่วนตัว รับจ้างทั่วไป<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1) วัดละหาร<br />

2) วัดบางไผ่<br />

3) ส่วนสาธารณะเทศบาลเมืองบางบัวทอง<br />

63


ต าบลทวีวัฒนา<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลทวีวัฒนา ตั้งเป็นต้าบลขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2523 โดยแยกออกจากต้าบลไทรน้อย เป็นต้าบลที่<br />

ขึ้นอยู่กับการปกครองของอ้าเภอไทรน้อย ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านคลองเจ้า<br />

ทวีวัฒนา หมู่ 2 บ้านคลองเจ้าทวีวัฒนา หมู่ 3 บ้านคลองสาม หมู่ 4 บ้านคลองสอง หมู่ 5 บ้าน<br />

คลองหนึ่ง หมู่ 6 บ้านคลองมะสง หมู่ 7 บ้านคลองตาชม หมู่ 8 บ้านคลองมะสง<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มภาคกลาง พื้นที่ส่วนใหญ่ท้าเกษตรกรรม<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.คลองขวาง อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ อ.ลาดหลุ่มแก้ว จ.ปทุมธานี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.ไทรใหญ่ อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 4,839 คน เป็นชาย 2,305 คน เป็นหญิง 2,534 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม แปรรูปอาหาร จักสาน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.ทวีวัฒนา<br />

2. สถานีอนามัยวัดคลองเจ้า<br />

3. สถานีอนามัยวัดมะสง<br />

4. วัดคลองเจ้า<br />

5. วัดมะสง<br />

64


ต าบลไทรน้อย<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

เดิมต้าบลไทรน้อย ขึ้นอยู่กับอ้าเภอบางบัวทอง ต่อมามีการแยกกิ่งอ้าเภอไทรน้อย ต้าบลไทร<br />

น้อยมาขึ้นกับกิ่งอ้าเภอไทรน้อย และประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งเป็นอ้าเภอไทรน้อย ต้าบล<br />

ไทรน้อยเดิมมี 16 หมู่บ้าน ในปี พ.ศ.2523 ประกาษกระทรวงมหาดไทย แบ่งเขตต้าบลไทรน้อย<br />

ออกเป็น 2 ต้าบลคือ ต้าบลไทรน้อยและต้าบลทวีวัฒนา ต้าบลไทรน้อย มี 8 หมู่บ้าน ตั้งเมื่อวันที่<br />

8 สิงหาคม 2523 จนถึงปัจจุบัน<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอ้าเภอไทรน้อย พื้นที่ไกลที่สุดอยู่ห่างจากอ้าเภอประมาณ 10 กิโลเมตร<br />

สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีพื้นที่ประมาณ 13,550 ไร่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ<br />

เกษตรกรรม เช่น ท้านา ท้าสวน (ท้าการเกษตรร้อยละ 65.83) พื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตเทศบาล<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.คลองขวาง อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.ทวีวัฒนา อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางบัวทอง อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.คลองขวาง อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 16,636 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 8,951 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา<br />

อาชีพเสริม ท้าสวน ท้าไร่<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัด 3 แห่ง<br />

2.โรงเรียนสังกัด สปช.<br />

3.โรงพยาบาล<br />

4.สถานีไฟฟ้าแรงสูง<br />

5.หมู่บ้านเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง<br />

6.โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซไทรน้อย<br />

65


ต าบลไทรใหญ่<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลไทรใหญ่ มีพื้นที่กว้างขวางมากเข้าไปในพื้นที่ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และ<br />

นครปฐม การปกครองขึ้นตรงกับอ้าเภอบางบัวทอง ต่อมาได้แยกพื้นที่ให้จังหวัด<br />

พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนครปฐม พร้อมกับขึ้นการปกครองกับกิ่งอ้าเภอไทรน้อย และ<br />

ได้เลื่อนฐานะเป็นอ้าเภอไทรน้อย และยังได้แบ่งแยกพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นต้าบลราษฎร์นิยม<br />

ปัจจุบันแบ่งเขตการปกครอง 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านกระทุ่มมืด หมู่ 2 บ้านเจ้าเฟื่อง หมู่ 3<br />

บ้านปลายคลองขุนศรี หมู่ 4 บ้านบางโอ หมู่ 5 บ้านไทรใหญ่ หมู่ 6 บ้านสามเมือง หมู่ 7 บ้านมิ่ง<br />

ขวัญ หมู่ 8 บ้านคลองสอง หมู่ 9 บ้านหม่อมแช่ม หมู่ 9 บ้านคลองหนึ่ง<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบภาคกลาง พื้นที่ส่วนใหญ่ท้าเกษตรกรรม<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.ขุนศรี อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.ราษฎร์นิยม อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ อ.บางเลน จ.นครปฐม<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 6,101 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,105 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม รับจ้าง เลี้ยงสัตว์<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.ไทรใหญ่<br />

2. สถานีอนามัยวัดปลายคลองขุนศรี<br />

3. สถานีอนามัยหม่อมแช่ม<br />

4. วัดปลายคลองขุนศรี<br />

5. วัดสโมสร<br />

66


ต าบลราษฎร์นิยม<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลไทรใหญ่ เป็นต้าบลที่ขึ้นอยู่กับการปกครองของอ้าเภอไทรน้อย ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน<br />

ได้แก่ หมู่ 1 บ้านคลองขุนศรี หมู่ 2 บ้านราษฎร์นิยม หมู่ 3 บ้านราษฎร์นิยม หมู่ 4 บ้านคลอง<br />

ลากค้อน หมู่ 5 บ้านคลองลากค้อน<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีเนื้อที่ทั้งหมด 21.57 ตร.กม. หรือ 21,669 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม พื้นที่ส่วน<br />

ใหญ่ท้าเกษตรกรรม<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.คลองขวาง อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ อ.ลาดหลุ่มแก้ว จ.ปทุมธานี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ไทรใหญ่ อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 6,076 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,122 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม เลี้ยงสัตว์<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.ราษฎร์นิยม<br />

2. สถานีอนามัย 2 แห่ง<br />

3. วัดราษฎร์นิยม<br />

4. วัดลากค้อน<br />

67


ต าบลหนองเพราราย<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

องค์การบริหารส่วนต้าบลหนองเพรางาย ตั้งอยู่ที่หมู่4 ต.หนองเพรางาย อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี มี<br />

พื้นที่ประมาณ 17,170 ไร่ มีจ้านวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 12 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่1 บ้านใหม่ หมู่2 บ้าน<br />

คลองประร้า หมู่3 บ้านตลาดมะเกลือ หมู่4 บ้านหนองทับ หมู่5 บ้านนราภิรมย์ หมู่6 บ้านนา<br />

หลวง หมู่7 บ้านหนองสามบาท หมู่8บ้านสหกรณ์ หมู่9 บ้านหนองทับ หมู่10 บ้านเขมร หมู่11<br />

บ้านคลองนราภิรมย์ หมู่12 บ้านกู๊ดคลองขวาง<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

สภาพทั่วไปของต้าบลหนองเพรางายเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การประกอบอาชีพเพาะปลูก เช่น<br />

ท้านา ท้าสวนผัก ท้าสวนผลไม้ และสวนไม้ดอกไม้ประดับ<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.ทวีวัฒนา อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บ้านใหม่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางคูรัด อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ จ.นครปฐม<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 5,896 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,097 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม เลี้ยงปลา เลี้ยงเป็ด ไก่<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดเพรางาย<br />

2.วัดเสนีย์วงศ์<br />

3.วัดอ่วมอ่อง<br />

68


ต าบลเกาะเกร็ด<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

เกาะเกร็ด เป็นเกาะขนาดใหญ่กลางล้าน้าเจ้าพระยามีฐานะเป็นต้าบล แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7<br />

หมู่บ้าน เกาะเกร็ดเกิดขึ้นจากการขุดคลองลัดล้าน้าเจ้าพระยา ตรงที่เป็นแหลมยื่นไปตามความโค้ง<br />

ของแม่น้าเจ้าพระยา ในสมัย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระแห่งกรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2265 เรียกคลองนี้ว่า<br />

"คลองลัดเกร็ดน้อย" ขนาดกว้าง 6 วา ยาว 39 เส้นเศษ ลึก 6 ศอก ต่อมากระแสน้า<br />

เปลี่ยนทิศทาง ท้าให้คลองขยายกว้างขึ้น เพราะถูกความแรงของกระแสน้าเซาะตลิ่งพัง จึงกลายเป็น<br />

แม่น้าลัดเกร็ด และเกาะเกร็ด จนมีสภาพเป็นเกาะเช่นทุกวันนี้<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เกาะเกร็ดเป็นเกาะขนาดใหญ่มีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้าตั้งอยู่กลางแม่น้าเจ้าพระยา อยู่ในเขตพื้นที่อ้าเภอ<br />

ปากเกร็ด จ.นนทบุรี มีฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต้าบล (อบต.) ขั้นที่ 5 อยู่ทิศใต้ของอ.ปากเกร็ด ระยะห่าง<br />

ประมาณ 2 กม. พื้นที่ตอนกลางว่างเปล่ามีน้าท่วมมาถึงทั้งเกาะในช่วงฤดูฝน<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยา และ ต้าบลคลองพระอุดม อ้าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยา และ ต้าบลท่าอิฐ อ้าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยา และ ต้าบลปากเกร็ด อ้าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยา และ ต้าบลอ้อมเกร็ด อ้าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 5,928 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,254 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน เครื่องปั้นดินเผา บางส่วนรับราชการ รัฐวิสาหกิจ รับจ้าง<br />

อาชีพเสริม รับจ้างทั่วไป ค้าขาย<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1) วัดต่างๆ เช่น วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร วัดฉิมพลี วัดไผ่ล้อม วัดเสาธงทอง<br />

2) พิพิธภัณฑ์วัดปรมัยยิกาวาสฯ<br />

3) พิพิธภัณฑสมัย ร.5<br />

4) ศูนย์วัฒนธรรมเกาะเกร็ด<br />

5) โบสถ์ เจดีย์<br />

6) วิถีชีวิตของชาวมอญ ม.1, ม.7, ม.6 (กลุ่มหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาต่างๆ)<br />

7) การท้าอาหาร คาวหวานแบบพื้นบ้าน (รามัญ)<br />

8) ศาลาริมเสด็จ<br />

9) พระนันทามุนินท์ (พระประจ้าจ.นนทบุรี)<br />

69


ต าบลคลองเกลือ<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลคลองเกลืออยู่ในการปกครองเทศบาลนครปากเกร็ด เดิมเป็นสุขาภิบาลปกาเกร็ดที่จัดตั้ง<br />

โดยประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2498 เริ่มแรก คลอบคลุม 4 ต้าบล<br />

จ้านวน 24 หมู่บ้านต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาล 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 20 พย.2514<br />

ครอบคลุมเขตการปกครอง 5 ต้าบล 34 หมู่บ้าน จึงอาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 25 แห่ง<br />

ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 มาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.<br />

2496 โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลต้าบลปากเกร็ด" ต่อมาเทศบาล ต.<br />

ปากเกร็ดได้พัฒนาขึ้นโดยล้าดับจนสมควรยกฐานะเป็น "เทศบาลเมืองปากเกร็ด" จึงอาศัยอ้านาจ<br />

ตามความในมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับ 5 พ.ศ.<br />

2538 และมาตรา 13 วรรค หนึ่ง แห่งพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระ<br />

ราชฤษฎีการ จนปัจจุบันเทศบาลเมืองปากเกร็ด ได้พัฒนาขึ้นตามล้าดับจนได้รับการยกฐานะเป็น<br />

เทศบาลนคร โดยประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลนครปากเกร็ด" จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.<br />

2543 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 117 ตอนที่ 10 ลงวันที่ 20<br />

กุมภาพันธ์ 2543<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.บ้านใหม่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ิทิศตะวันตก ติดต่อ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนครัวเรือนทั้งสิ้น 1,096 ครัวเรือน<br />

70


ต าบลคลองข่อย<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

เดิมต้าบลคลองข่อย มีสภาพเป็นล้าน้า (ทางน้าเล็กๆ)และมีต้นข่อยขึ้นอยู่ตามริมคลองเป็น<br />

จ้านวนมาก และได้มีราษฎรที่ใช้นามสกุลชื่อคลองข่อยได้อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น ต่อมาได้มีการขุด<br />

ขยายคลองให้กว้างขึ้น ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า "คลองข่อย" และได้ใช้เป็นชื่อของต้าบล<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา มีล้าคลองหลายสายผ่านพื้นที่ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นสวนผลไม้<br />

ล้มลุกและเป็นทุ่งนา<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.คลองพระอุดม อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.บางพลับ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.คลองพระอุดม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ล้าโพ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 5,360 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,974 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน รับราชการ รับจ้าง<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.โรงเรียนวัดท่าเกวียน<br />

2.โรงเรียนสามัคคีวิทยา<br />

3.วัดท่าเกวียน<br />

4.วัดศรีเขตนันทาราม<br />

5.ที่ท้าการองค์การบริหารส่วนต้าบล<br />

6.ที่ท้าการโครงการชลประทาน<br />

7.สถานีอนามัย หมู่6,10<br />

8.สถานีต้ารวจคลองข่อย<br />

71


ต าบลคลองพระอุดม<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลคลองพระอุดม ได้ชื่อตามล้าคลองพระอุดมที่ไหลผ่านพื้นที่ในต้าบล และประชากรในต้าบล<br />

มีเชื้อสายผสมผสานหลายเชื้อชาติ ไทย มอญ จีน โดยเดิมคนไทยอาศัยมาช้านาน ต่อมาชนชาติ<br />

มอญถูกกวาดต้อนมาในสมัยสงครามมาปักหลักอยู่พร้อม ๆ กับมอญสามโคก มอญเกาะเกร็ด<br />

ส่วนชาติจีนมาท้ามาค้าขายทางเรือ และปักหลักปลูกบ้านเรือนอยู่ที่ อ.ปากเกร็ด และใน ต.คลอง<br />

พระอุดม ปัจจุบันสภาพชีวิตความเป็นอยู่ผสมผสานกันหนึ่งเดียวไม่มีความขัดแย้งระหว่างเชื้อ<br />

สาย และการด้ารงค์ชีวิต<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นพื้นที่ราบลุ่มติดริมแม่น้าเจ้าพระยา ด้านตะวันออก มีล้าคลองพระอุดมพาดผ่านในต้าบล<br />

และคลองย่อยอีกหลายคลอง ดินอุดมสมบูรณ์ดี ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการ<br />

เกษตร ท้านา ท้าสวน<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.คลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยา<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางตะไนย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางพลับ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 4,560 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,170 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าการเกษตร<br />

อาชีพเสริม รับจ้าง ธุรกิจส่วนตัว<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. วัดสะพานสูง<br />

2. วัดโปรดเกษ<br />

72


ต าบลท่าอิฐ<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลท่าอิฐ เป็นชื่อเรียกติดปากชาวบ้านมาตั้งแต่ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ราวประมาณ 200 ปี<br />

กว่ามาแล้ว เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพปั้นอิฐก่อสร้างจากดินเผา มีท่าเรือส่งอิฐจ้าหน่าย<br />

ตามบริเวณริมฝั่งเจ้าพระยา จนเรียกติดปากว่า "ท่าอิฐ" สืบเรื่อยมา ต้าบลท่าอิฐ เป็นต้าบลที่อยู่<br />

ในเขตการปกครองของอ้าเภอปากเกร็ด ประกอบด้วย 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านคลองชมพู่<br />

หมู่ 2 บ้านคานเรือ หมู่ 3 บ้านคลองขวาง หมู่ 4 บ้านศาลเจ้าปากคลอง หมู่ 5 บ้านลาดสิงห์ หมู่<br />

6 บ้านสุเหร่าสวน หมู่ 7 บ้านสุเหร่าแดง หมู่ 8 บ้านหัวเตย หมู่ 9 บ้านล้าพูลาย หมู่ 10 บ้าน<br />

สุเหร่าใหญ่<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นพื้นที่ราบลุ่มติดริมแม่น้าเจ้าพระยา และคลองบางบัวทอง<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.อ้อมเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี และ คลองบางบัวทอง<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.ไทรม้า และ ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยา<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางรักใหญ่ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 10,941 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 2,985 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน<br />

อาชีพเสริม รับจ้าง<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1. อบต.ท่าอิฐ<br />

2. วัดแสงสิริธรรม<br />

3. ตลาดน้าวัดแสงสิริธรรม<br />

4. คลองขนมหวาน (คลองบางบัวทอง)<br />

73


ต าบลบางตลาด<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางตลาดอยู่ในการปกครองเทศบาลนครปากเกร็ด เดิมเป็นสุขาภิบาลปกาเกร็ดที่จัดตั้งโดย<br />

ประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2498 เริ่มแรก คลอบคลุม 4 ต้าบล จ้านวน<br />

24 หมู่บ้านต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาล 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 20 พย.2514 ครอบคลุม<br />

เขตการปกครอง 5 ต้าบล 34 หมู่บ้าน จึงอาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 25 แห่งธรรมนูญการ<br />

ปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 มาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้า<br />

ฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลต้าบลปากเกร็ด" ต่อมาเทศบาล ต.ปากเกร็ดได้<br />

พัฒนาขึ้นโดยล้าดับจนสมควรยกฐานะเป็น "เทศบาลเมืองปากเกร็ด" จึงอาศัยอ้านาจตามความ<br />

ในมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับ 5 พ.ศ.2538 และ<br />

มาตรา 13 วรรค หนึ่ง แห่งพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชฤษฎีการ จน<br />

ปัจจุบันเทศบาลเมืองปากเกร็ด ได้พัฒนาขึ้นตามล้าดับจนได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลนคร<br />

โดยประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลนครปากเกร็ด" จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2543 ซึ่ง<br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 117 ตอนที่ 10 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2543<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ ต.ปากเกร็ด ต.คลองเกลือ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี และแม่น้าเจ้าพระยา<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนครัวเรือนทั้งสิ้น 10,216 ครัวเรือน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดกลางเกร็ด<br />

2.วัดชลประทานรังสฤษดิ์<br />

74


ต าบลบางตะไนย์<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางตะไนย์แต่ดั้งเดิมเป็นชุมชนที่อยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยา เนื่องจากสมัยก่อนเดินทางโดยทาง<br />

เรือเพียงเส้นทางเดียวจึงมีบ้านเรือยอยู่ริมแม่น้าเจ้าพระยาเป็นจ้านวนมาก ต่อมามีถนนตัดผ่าน<br />

เข้ามายังชุมชนท้าให้มีคนมาอาศัยเพิ่มมากขึ้น จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการก่อตั้งต้าบลบางตะไนย์<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีเนื้อที่ประมาณ 4.12 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,575 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้า<br />

โดยมีแม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่านใจกลางจึงหวัด<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.คลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทุบรี และจ.ปทุมธานี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทุบรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.บางพูด และ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.คลองพระอุดม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 3,463 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,002 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดเตย<br />

2.วัดต้าหนักเหนือ<br />

3.วัดตาล<br />

75


ต าบลบางพลับ<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางพลับ เป็นต้าบลหนึ่งในอ้าเภอปากเกร็ดแบ่งการปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้าน ซึ่งเป็น<br />

ต้าบลที่จัดตั้งขขึ้นแยกออกจากต้าบลอ้อมเกร็ด ต้าบลคลองพระอุดม และต้าบลคลองข่อย<br />

ต้าบลบางพลับมีแม่น้าไหลผ่าน และมีคลองกั้นระหว่างหมู่บ้าน เช่นคลองขุนมหาดไทย คลอง<br />

บางพลับน้อย คลองบางพลับใหญ่ คลองบางภูมิ คลองหัวจิ คลองบางวัด ซึ่งคลองดังกล่าว<br />

ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตร การสัญจรไปมาทางเรือ และใช้น้าในการอุปโภค<br />

บริโภค และอื่นๆ โดยเฉพาะคลองบางพลับน้อย และคลองบางพลับใหญ่ จึงตั้งชื่อต้าบลตามชื่อ<br />

คลองที่ใช้ประโยชน์ในการด้ารงชีวิตประจ้าวัน คือ ต้าบลบางพลับ และเสนอชื่อเป็นทางการ<br />

จนถึงปัจจุบัน<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

องค์การบิหารส่วนต้าบลบางพลับ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 5,042 ไร่ หรือประมาณ 7.59 ตาราง<br />

กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มริมแม่น้าเจ้าพระยา มีล้าคลองตัดผ่านหลาย<br />

สายตลอดต้าบล พื้นที่โดยทั่วไปเป็นสวนผลไม้ ไม้ยืนต้น ไม้ล้มลุก และทุ่งนา<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.คลองข่อย อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.อ้อมเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.คลองพระอุดม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ล้าโพ ต.ละหาร และ ต.พิมลราช อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 4,151 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,244 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม ค้าขาย รับจ้างทั่วไป<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดสาลีโขภิตาราม<br />

2.โรงเรียนวัดสาลีโขภิตาราม<br />

3.สถานีอนามัยต้าบลบางพลับ<br />

4.องค์การบริหารส่วนต้าบลบางพลับ<br />

76


ต าบลบางพูด<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบางพูดอยู่ในการปกครองเทศบาลนครปากเกร็ด เดิมเป็นสุขาภิบาลปกาเกร็ดที่จัดตั้งโดย<br />

ประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2498 เริ่มแรก คลอบคลุม 4 ต้าบล จ้านวน<br />

24 หมู่บ้านต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาล 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 20 พย.2514 ครอบคลุม<br />

เขตการปกครอง 5 ต้าบล 34 หมู่บ้าน จึงอาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 25 แห่งธรรมนูญการ<br />

ปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 มาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้า<br />

ฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลต้าบลปากเกร็ด" ต่อมาเทศบาล ต.ปากเกร็ดได้<br />

พัฒนาขึ้นโดยล้าดับจนสมควรยกฐานะเป็น "เทศบาลเมืองปากเกร็ด" จึงอาศัยอ้านาจตามความ<br />

ในมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับ 5 พ.ศ.2538 และ<br />

มาตรา 13 วรรค หนึ่ง แห่งพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชฤษฎีการ จน<br />

ปัจจุบันเทศบาลเมืองปากเกร็ด ได้พัฒนาขึ้นตามล้าดับจนได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลนคร<br />

โดยประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลนครปากเกร็ด" จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2543 ซึ่ง<br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 117 ตอนที่ 10 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2543<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ จ.ปทุมธานี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.ปากเกร็ด ต.คลองเกลือ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทศตะวันออก ติดต่อ ต.บ้านใหม่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางตะไนย์ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนครัวเรือนทั้งสิ้น 7,436 ครัวเรือน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดกู้<br />

2.วัดบางพูดนอก<br />

3.วัดผาสุกมณีจักร<br />

4.วัดโพธิ์บ้านอ้อย<br />

5.วัดศรีรัตนาราม<br />

6.วัดหงษ์ทอง<br />

77


ต าบลบ้านใหม่<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบ้านใหม่อยู่ในการปกครองเทศบาลนครปากเกร็ด เดิมเป็นสุขาภิบาลปกาเกร็ดที่จัดตั้งโดย<br />

ประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2498 เริ่มแรก คลอบคลุม 4 ต้าบล จ้านวน<br />

24 หมู่บ้านต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาล 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 20 พย.2514 ครอบคลุม<br />

เขตการปกครอง 5 ต้าบล 34 หมู่บ้าน จึงอาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 25 แห่งธรรมนูญการ<br />

ปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 มาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้า<br />

ฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลต้าบลปากเกร็ด" ต่อมาเทศบาล ต.ปากเกร็ดได้<br />

พัฒนาขึ้นโดยล้าดับจนสมควรยกฐานะเป็น "เทศบาลเมืองปากเกร็ด" จึงอาศัยอ้านาจตามความ<br />

ในมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับ 5 พ.ศ.2538 และ<br />

มาตรา 13 วรรค หนึ่ง แห่งพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชฤษฎีการ จน<br />

ปัจจุบันเทศบาลเมืองปากเกร็ด ได้พัฒนาขึ้นตามล้าดับจนได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลนคร<br />

โดยประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลนครปากเกร็ด" จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2543 ซึ่ง<br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 117 ตอนที่ 10 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2543<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ จ.ปทุมธานี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.คลองเกลือ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนครัวเรือนทั้งสิ้น 3,889 ครัวเรือน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดช่องลม<br />

2.วัดโพธิ์ทองบน<br />

3.วัดเรืองเวชมงคล<br />

4.วัดสลักเหนือ<br />

78


ต าบลปากเกร็ด<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลบ้านใหม่อยู่ในการปกครองเทศบาลนครปากเกร็ด เดิมเป็นสุขาภิบาลปกาเกร็ดที่จัดตั้งโดย<br />

ประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2498 เริ่มแรก คลอบคลุม 4 ต้าบล จ้านวน<br />

24 หมู่บ้านต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาล 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 20 พย.2514 ครอบคลุม<br />

เขตการปกครอง 5 ต้าบล 34 หมู่บ้าน จึงอาศัยอ้านาจตามความในมาตรา 25 แห่งธรรมนูญการ<br />

ปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 มาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้า<br />

ฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลต้าบลปากเกร็ด" ต่อมาเทศบาล ต.ปากเกร็ดได้<br />

พัฒนาขึ้นโดยล้าดับจนสมควรยกฐานะเป็น "เทศบาลเมืองปากเกร็ด" จึงอาศัยอ้านาจตามความ<br />

ในมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับ 5 พ.ศ.2538 และ<br />

มาตรา 13 วรรค หนึ่ง แห่งพ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ.2496 โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชฤษฎีการ จน<br />

ปัจจุบันเทศบาลเมืองปากเกร็ด ได้พัฒนาขึ้นตามล้าดับจนได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลนคร<br />

โดยประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง "เทศบาลนครปากเกร็ด" จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.2543 ซึ่ง<br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่มที่ 117 ตอนที่ 10 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2543<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดต่อ จ.ปทุมธานี<br />

ทิศใต้ ติดต่อ ต.คลองเกลือ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดต่อ กรุงเทพมหานคร<br />

ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนครัวเรือนทั้งสิ้น 3,889 ครัวเรือน<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดช่องลม<br />

2.วัดโพธิ์ทองบน<br />

3.วัดเรืองเวชมงคล<br />

4.วัดสลักเหนือ<br />

79


ต าบลอ้อมเกร็ด<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

เดิมนั้นต้าบลอ้อมเกร็ดเป็นต้าบลบางบัวทอง อ้าเภอบางบัวทอง มีพื้นที่ยื่นเข้าไปในเขตอ้าเภอ<br />

ปากเกร็ดโดยมีคลองบางบัวทอง ซึ่งมีลักษณะคดเคี้ยวคล้ายถุงที่ปกคลองล้อมรอบบริเวณนั้น ซึ่ง<br />

อยู่ในพื้นที่ของอ้าเภอปากเกร็ด เพื่อให้เหมาะแก่สภาพทางภูมิศาสตร์และการปกาครองทาง<br />

ราชการจึงให้การปกครองขึ้นอยู่กับอ้าเภอปากเกร็ด เมื่อการปกครองขึ้นอยู่กับอ้าเภอปากเกร็ด<br />

แล้วยังคงใช้ชื่อต้าบลบางบัวทองอยู่ซึ่งชื่อซับซ้อนกับต้าบลในอ้าเภอบางบัวทอง ประชาชนจึงมี<br />

ความเห็นพ้องต้องกันให้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นต้าบลอ้อมเกร็ดตามลักษณะภูมิประเทศของต้าบล<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

มีเนื้อที่ทั้งหมด 2,900 ไร่ หรือเนื้อที่ประมาณ 3.97 ตารางกิโลเมตร<br />

สภาพภูมิประเทศ ลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม มีล้าคลองหลายสายผ่านพื้นที่ทั่วไป<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางพลับ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.ท่าอิฐ ต.บางรักพัฒนา อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ละหาร และ ต.พิมลราช อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 2,011 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 541 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน ค้าขาย<br />

อาชีพเสริม รับจ้าง<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.ที่ท้าการ อบต.<br />

2.วัดใหญ่สว่างอารมณ์<br />

3.วัดสิงห์ทอง<br />

4.โรงเรียนวัดใหญ่สว่างอารามณ์<br />

5.โรงเรียนวัดสิงห์ทอง<br />

6.สถานีอนามัยต้าบล<br />

7.แหล่งท่องเที่ยวหน้าวัดใหญ่<br />

80


ต าบลปลายบาง<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

แต่เดิม ต้าบลปลายบาง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่1 บ้านตลาดวัดศรี<br />

ประวัติ หมู่2 บ้านคลองขื่อขวาง หมู่3 บ้านคลองปลายบาง หมู่4 บ้านหัวคูนอก และหมู่5 บ้าน<br />

หัวคูนอก ต่อมาหมู่1,2,3,4 ได้จัดตั้งเป็นเขตเทศบาลต้าบลปลายบางจึงเหลือหมู่ที่ 5 จ้านวน 1<br />

หมู่ ซึ่งได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต้าบล ตาม<br />

พระราชบัญญัติสภาต้าบลและองค์การบริหารส่วนต้าบล พ.ศ.2537 ให้สภาต้าบลปลายบางเป็น<br />

องค์การบริหารส่วนต้าบลปลายบาง มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

ต้าบลปลายทางตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอ้าเภอบางกรวย มีระยะทางห่างจากอ้าเภอ 18<br />

กิโลเมตร มีพื้นที่ 1.5 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 937.89 ไร่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะท้า<br />

การเกษตร<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.มหาสวัสดิ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 3,529 คน เป็นชาย 1,678 คน เป็นหญิง 1,851 คน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้าสวน ท้าไร่<br />

อาชีพเสริม รับราชการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ<br />

81


ต าบลขุนศรี<br />

ประวัติความเป็นมา :<br />

ต้าบลขุนศรีอยู่ในเขตการปกครองของอ้าเภอไทรน้อย มีจ้านวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 8 หมู่บ้าน ได้แก่<br />

หมู่1 บ้านปลายคลองพิมล หมู่2 บ้านคลองโต๊ะ หมู่3 บ้านคลองขุนศรี หมู่4 บ้านวัดสโมสร หมู่5<br />

บ้านวัดสโมสร หมู่6 บ้านวัดยอดพระพิมล หมู่7 บ้านปากคลองเจ้า หมู่8 บ้านคลองทับ<br />

สภาพทั่วไปของต าบล :<br />

เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การประกอบอาชีพเพาะปลูก เช่นท้านา ท้าสวน ปลูกผัก<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.ไทรใหญ่ อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต้ ติดกับ ต.ทวีวัฒนา และ ต.ไทรน้อย อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.คลองขวาง อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ จ.นครปฐม<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ้านวนประชากรในเขต อบต. 3,375 คน และจ้านวนหลังคาเรือน 1,106 หลังคาเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อาชีพหลัก ท้านา ท้าสวน ท้าไร่<br />

ข้อมูลสถานที่ส าคัญของต าบล :<br />

1.วัดคลองขุนศรี<br />

2.วัดยอดพระพิมล<br />

3.วัดสโมสร<br />

4.มัสยิดอัลฮูดา<br />

5.โรงเรียนวัดยอดพระพิมล<br />

6.โรงเรียนบ้านคลองโต๊ะนุ้ย<br />

7.องค์การบริหารส่วนต้าบลขุนศรี<br />

82


ต าบลคลองขวาง<br />

ประว ัติความเป็ นมา :<br />

ต ำบลคลองขวำงอยู่ในเขตกำรปกครองของอ ำเภอไทรน ้อย มีจ ำนวนหมู่บ ้ำนทั้งสิ้น 9 หมู่บ ้ำน หมู่1<br />

บ ้ำนปกคลองห ้ำร ้อย หมู่2 บ ้ำนคลองห ้ำร ้อย หมู่3 บ ้ำนคลองขวำง หมู่4 บ ้ำนคลองขวำง หมู่5 บ ้ำน<br />

คลองขวำง หมู่6 บ ้ำนคลองขวำง หมู่7 บ ้ำนรำษฎรนิยม หมู่8 บ ้ำนคลองขุนศรีกระทุ่มรำย หมู่9 บ ้ำน<br />

คลองพระพิมล<br />

สภาพท่วไปของต ั าบล :<br />

สภำพทั่วไปเป็ นที่รำบลุ่มเหมำะแก่กำรเพรำะปลูก เช่นท ำนำ ท ำสวน ปลูกผัก<br />

อาณาเขตต าบล :<br />

ทิศเหนือ ติดกับ ต.รำษฎร์นิยม อ.ไทรน ้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศใต ้ติดกับ ต.ขุนศรี อ.ไทรน ้อย จ.นนทบุรี<br />

ทิศตะวันออก ติดกับ ต.ไทรน ้อย อ.ไทรน ้อย จ.นนทบุรี และจ.ปทุมธำนี<br />

ทิศตะวันตก ติดกับ ต.ขุนศรี อ.ไทรน ้อย จ.นนทบุรี<br />

จ านวนประชากรของต าบล :<br />

จ ำนวนประชำกรในเขต อบต. 4,445 คน และจ ำนวนหลังคำเรือน 1,231 หลังคำเรือน<br />

ข้อมูลอาชีพของต าบล :<br />

อำชีพหลัก ท ำนำ ท ำสวน ท ำไร่<br />

อำชีพเสริม เลี้ยงปลำ เลี้ยงเป็ ด เลี้ยงไก่<br />

ข้อมูลสถานที่ส าค ัญของต าบล :<br />

1.วัดคลองขวำง<br />

2.ที่ว่ำกำรอ ำเภอไทรน ้อย<br />

3.เทศบำลต ำบลไทรน ้อย<br />

83


หอการค้าจังหวัด<br />

ศาลากลางจังหวัด ถนนรัตนาธิเบศร์ ต้าบลบางกระสอ อ้าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000<br />

โทร. 02-591-7878-9 โทรสาร 02-591-7879<br />

84


แหล่งท่องเที่ยวอ าเภอเมือง<br />

พระที่นั่งมูลมณเฑียร<br />

วัดชมภูเวก<br />

วัดปราสาท<br />

วัดสังฆทาน<br />

วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร<br />

แหล่งท่องเที่ยวอ าเภอปากเกร็ด<br />

หมู่บ้านเครื่องปั้นดินเผา<br />

ศูนย์วัฒนธรรมพื้นบ้านชาวมอญ<br />

วัดต้าหนักใต้<br />

ตลาดผลไม้นนทบุรี<br />

วัดไผ่ล้อม<br />

เกาะเกร็ด<br />

สวนตาลน้อย<br />

วัดเสาธงทอง<br />

สวนทิพย์<br />

วัดชลประทานรังสฤษดิ์<br />

แหล่งท่องเที่ยวอ าเถอบางกรวย<br />

ตลาดน้าบางคูเวียง<br />

วัดชลอ<br />

วัดสวนแก้ว<br />

วัดโพธิ์บางโอ<br />

แหล่งท่องเที่ยวอ าเภอบางใหญ่<br />

วัดอัมพวัน<br />

แหล่งท่องเที่ยว<br />

85

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!