14.03.2018 Views

วารสารสาธิตศิลปากร สร้างสรรค์ DSU41 : มัณฑนศิลป์ สถาปัตยกรรม จิตรกรรมฯ

DSU41 ปีการศึกษา 2560 15/03/2018

DSU41 ปีการศึกษา 2560 15/03/2018

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>สถาปัตยกรรม</strong><br />

<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

จิตรกรรม<br />

<strong>วารสารสาธิตศิลปากร</strong><br />

<strong>สร้างสรรค์</strong> ดีเอสยู 41<br />

คณะที่ใช่...มหาวิทยาลัยในฝัน<br />

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย<br />

รายวิชา ท32102 ภาษาไทย 4 ปีการศึกษา 2560


LINE-UP<br />

PRAEWA NOEY TONPAI MOMILD<br />

MEK TAWAN MON MILK<br />

JAMES EYE BAM PIM<br />

OAK PHONE MAY OHM<br />

LENG PAT AOMAAM ROCK


บทบรรณาธิการ<br />

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรมีแผนการเรียนที ่หลากหลาย<br />

เอกลักษณ์มากที ่สุด คงหนีไม่พ้นแผนการเรียนศิลปกรรม<br />

แต่แผนการเรียนที ่เป็น<br />

ศิลปะเป็นวิชาที ่ทุกแผนการเรียนต้อง<br />

เรียนรู้ เพราะศิลปะเป็นส่วนหนึ ่งของชีวิตมนุษย์ ศิลปะท าให้ชีวิตมนุษย์มีการพัฒนาการการใช้ชีวิต<br />

ที ่ดีขึ ้น จากค ากล่าวของ<br />

อย่างเดียว แต่สอนให้นายใช้ชีวิต ”<br />

อ.ศิลป์ พีระศรี ที ่ว่า “ ศิลปะไม่ได้สอนให้นาย วาดรูปหรือเขียนรูปเป็น<br />

วารสาธิตศิลปากร <strong>สร้างสรรค์</strong><strong>DSU41</strong> ในฉบับนี ้ น าเสนอเรียงตามและบทสัมภาษณ์ของ<br />

นักเรียนที ่สนใจในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> <strong>สถาปัตยกรรม</strong> และ<strong>จิตรกรรมฯ</strong> โดยมีความฝันในอนาคตที ่<br />

อยากเป็นนักออกแบบ สถาปนิก ท างานเกี ่ยวกับแฟชั่น ดีไซเนอร์หรือมีธุรกิจเป็นของตัวเอง โดย<br />

ผู้จัดท ามีดังนี ้<br />

นายนราวิชญ์ แสงศิริวุฒิ นายฐิติพงศ์ ต่อเศวตพงศ์ นายปัญจณต เรืองศรี<br />

และ นายวัชนันท์ นันทผาสุข ได้รวบรวมผลงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 5 ที ่มีหัวใจรักใน<br />

ศิลปะ มาน าเสนอในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพื ่อความสะดวกในการศึกษาค้นคว้า<br />

วารสารฉบับนี ้ได้รับค าปรึกษาและดูแลเนื ้อหาจากอาจารย์กฤษณะ ล าทะแย อาจารย์ประจ า<br />

รายวิชา ท32102 ภาษาไทย 4 ปีการศึกษา 2560 ขอขอบคุณอาจารย์ ที ่ท าให้วารสารเล่มนี ้สมบูรณ์<br />

ทีมบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้อ่านจะได้รับสาระความรู้ ความเพลิดเพลิน และแนวทาง<br />

ในการศึกษาต่อไป<br />

E-mail: por2626@hotmail.com<br />

สุดท้ายนี ้หากท่านมีข้อติชมประการใดท่านสามารถติดต่อบรรณาธิการได้ทาง<br />

- ก -


~ 1 ~<br />


~ 2 ~<br />


~ 3 ~<br />


ความชอบ<br />

ออกแบบ<br />

ไม่ได้<br />

โดย น.ส. ลฎาภา อัครกิจปรีชา เลขที่ 13 ม.5/3<br />

“<br />

ตอนที่ฉันเป็นเด็กไม่ค่อยรู้ประสีประสา<br />

อะไรเท่าไหร่ ฉันถูกคุณแม่ดุบ่อย ๆ เพราะฉันนั้นได้<br />

ละเลงสีสันและศิลปะอันบริสุทธิ์ลงบนก าแพงบ้านสี<br />

เขียวอ่อน นอกจากผลงานจิตรกรรมชิ้นโบว์แดงบน<br />

ผนังบ้านแล้วฉันยังเป็นนักปั ้ นตัวน้อยที่<strong>สร้างสรรค์</strong><br />

ผลงานด้วยดินน ้ามันหลากสีสันที่ตั้งอยู่บนพื้น<br />

กระเบื้องเซรามิค “ท าอะไรเลอะเทอะไปหมด เก็บให้<br />

เกลี้ยงเลยนะ!” เสียงโกรธระดับสิบของแม่ท าให้ฉัน<br />

หวาดกลัวและมีอนุภาพท าให้ฉันหยุดความฝันที่จะ<br />

เป็นศิลปินตัวน้อยในทันทีแต่ยังแอบวาดรูปในสมุด<br />

โรงเรียนอยู่เสมอ<br />

ฉันเติบโตขึ้นจนอายุ14 ปี ฉันมีโอกาสได้ลองวาด<br />

รูปอย่างจริงจังมันท าให้ฉันหวนนึกถึงความรู้สึกที่ได้<br />

วาดรูปและได้<strong>สร้างสรรค์</strong>ผลงานศิลปะ ฉันรู้สึกว่ามัน<br />

เป็นความรู้สึกที่มีความสุขและเราก็หลงใหลไปกับมัน<br />

โอ้! มันเป็นสิ่งที่ฟ้าลิขิตมาแล้วหรอเนี่ยออกแบบให้เป็น<br />

อย่างอื่นไม่ได้ด้วยสิ นับตั้งแต่ตอนนั้นฉันเลือกที่จะ<br />

เดินเส้นทางนี้มาโดยตลอด ฉันเลือกจะสอบเข้าแผน<br />

ศิลปกรรมเพื่อที่จะได้เรียนพื้นฐานทางศิลปะอย่างอัด<br />

แน่น


ตอนที่ฉันได้เข้ามาเรียนแผนศิลปกรรมฉันได้รับความรู้ ได้<br />

ฝึกฝน ได้ลองท าอะไรใหม่ๆโดยฉันเริ่มคิดถีงแผนการเรียนต่อใน<br />

อนาคตซึ่งฉันตัดสินใจที่จะเรียนในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong>เพราะฉันคิดว่า<br />

การออกแบบเป็นสิ่งที่เราต้องคิด ต้องพัฒนาออกมาเพื่อตอบโจทย์<br />

ความต้องการของมนุษย์และไม่ลืมที่จะเพิ่มรสนิยมและคุณค่าให้แก่<br />

สิ่งที่เราออกแบบด้วยหลักการทางศิลปะ การออกแบบเป็นสิ่งที่ท้า<br />

ทายและท าให้เราเป็นคนกระตือรือร้นที่จะขวนขวายหาข้อมูล พัฒนา<br />

ความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong>และตามโลกให้ทันอยู่เสมอ จึงท าให้คณะ<br />

<strong>มัณฑนศิลป์</strong>เป็นคณะที่ฉันใฝ่ฝันจะเข้าศึกษาฉันคิดว่าถ้าฉันได้เข้า<br />

ศึกษาที่นี่ฉันจะเก็บเกี่ยวความรู้ให้มากที่สุด พัฒนาตนเองอยู่เสมอ<br />

เพื่ออนาคตของฉันจะน าสิ่งที่ได้เรียนรู้มาสานต่อความต้องการของ<br />

มนุษย์อย่างสมบูรณ์แบบและส่งต่อให้แก่คนอื่น ๆ ต่อไป<br />

ฉันตัดสินใจที่จะสอบเข้าสาขาเครื่องเคลือบดินเผา หลาย<br />

คนอาจจะคิดว่าเซรามิคมีแค่ถ้วยจานชาม แต่เซรามิคมีมากกว่า<br />

นั้น มีทั้งสุขภัณฑ์ ประติมากรรม กระเบื้องมุงหลังคา เป็นต้น<br />

โดยคุณสมบัติของมันสามารถทนความร้อนได้สูง โดยการท า<br />

เซรามิคเราต้องอาศัยความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ<br />

ประดิษฐ์ด้วย นอกจากนี้เซรามิคสามารถมาใช้<strong>สร้างสรรค์</strong><br />

ผลงานประติมากรรมชั้นเลิศได้ และสามารถน ามาประยุกต์ใช้ได้<br />

ในหลาย ๆ ด้าน เช่น การท าฟันปลอม การท าวัสดุก่อสร้าง<br />

การท าเครื่องประดับ เป็นต้น งานเซรามิคสามารถสร้างมูลค่าได้<br />

หลายล้านอย่าง เช่น ชามกระเบื้องตราไก่ที่เห็นกันบ่อย ๆ ใน<br />

ร้านก๋วยเตี๋ยวรายได้ของผู้ผลิตชามตราไก่มีมากถึงพันล้านบาท<br />

เลยทีเดียว จึงท าให้เซรามิคกลายเป็นสิ่งที่ฉันสนใจและอยากจะ<br />

ท าออกมาให้มีอัตลักษณ์เฉพาะตัวของฉันเอง<br />

ฉันว่าความชอบเราออกแบบไม่ได้แต่ถ้า<br />

เป็นความฝันฉันคิดว่าฉันออกแบบมันได้ด้วย<br />

ตัวของฉันเอง<br />



น.ส.รัตนพรรณ คงอินใหญ่ ๕/๓ เลขที่ ๑๑<br />

จากค าถามข้างต้น คงเป็นค าถามจากหลายสถาบันที่ไว้ถามเพื่อคัดเลือกนักเรียนนักศึกษาเข้าศึกษาต่อ<br />

ในสถาบันการศึกษาของตน และฉันจะขอพิสูจน์ความเหมาะสมของตัวเองต่อสถาบันการศึกษามหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ด้วยข้อความต่อจากนี้<br />

ฉันสนใจศิลปะมาตั้งแต่เล็กๆ เวลาท ากิจกรรมอะไรฉันมักจะให้<br />

ความส าคัญกับงานศิลปะ ทั้งครอบครัวต่างเห็นและสนับสนุนมาอย่างดี<br />

จนฉันวางเป้าหมายว่าอยากจะเอาดีด้านนี้อย่างจริงจัง แต่พ่อของฉันเคย<br />

กล่าวว่า “เรามีหน้าที่ก็จริงแต่จงท างานได้หลากหลาย พ่อว่าเราทุก ๆ<br />

คนสามารถท าได้ทุก ๆ อย่าง ถ้าเราตั้งใจและเชื่อในฝีมือตัวเอง” ท างาน<br />

ได้หลากหลาย ไม่ได้หมายถึง แค่การที่เราเรียนคณิตศาสตร์เก่งแล้วยัง<br />

ท าอาหารเป็น แต่พ่อก าลังหมายถึงความหลายหลายทางสายอาชีพ<br />

ฉันเริ่มลองท าหลายอย่าง เพื่อเพิ่มตัวเลือกให้กับตัวเอง<br />

เริ่มจากการเข้าร่วมโครงการเผยแพร่วัฒนธรรมไทยในต่างแดน<br />

ตั้งแต่ขึ้น ม.๑ เป็นอย่างแรก ฉันมุ่งมั่นให้กับการร าอยู่หนึ่งปี<br />

เต็ม เมื่อฉันได้ขึ้น ม.๒ ฉันเริ่มหากิจกรรมท าควบคู่ไปกับการร า<br />

และศิลปะ นั้นคือการเล่นกีฬาวอลเล่ย์บอลกับพี่ ๆ และเพื่อน<br />

ๆ ในโรงเรียนเพื่อไปแข่งกีฬาสาธิตสามัคคีที่จัดขึ้นในทุกปี ฉัน<br />

ท าอย่างนี้จนถึง ม.๓ ช่วงที่ก าลังตัดสินใจเลือกแผนการเรียน<br />

ต่อในชั้น ม.๔ ฉันย้อนกลับไปคิดถึงสิ่งต่างๆที่ได้ท ามาตลอด<br />

ทั้งร าและเล่นวอลเล่ย์บอล กิจกรรมพวกนี้ไม่ได้ท าให้ฉันลังเลที่<br />

จะเลือกเข้าเรียนแผนศิลปกรรมเลยแม้แต่น้อย กลับช่วยตัด<br />

ตัวเลือกต่าง ๆ ได้ดีทีเดียว เพราะไม่ว่าจะท ากิจกรรมอะไรท า<br />

ให้ฉันนึกอยากจะวาดรูปและท างานศิลปะมากขึ้นไปด้วย<br />

-5-


การเลือกเส้นทางศิลปะอย่างเต็มตัว เป็นเพียงแค่<br />

จุดเริ่มต้นเท่านั้น เพราะหลังจากได้เข้ามาในเส้นทาง<br />

ศิลปะแล้ว ฉันต้องปรับตัวเองจากความขี้เกียจต้องขยัน<br />

มากขึ้น แม้ฉันจะใฝ่เรียนรู้เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว มันก็ไม่<br />

พอที่เราจะเก่งจนเป็นระดับต้นๆของสายได้ เพราะเมื่อ<br />

ฉันเลือกเรียนแล้วฉันคิดว่าการท าได้ดีจนเป็นที่น่าพอใจ<br />

ส าคัญมาก<br />

ฉันเคยตั้งใจว่าอยากเรียนต่อปริญญาเอกศออกแบบใน<br />

คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> มหาวิทยาลัยศิลปากร เพราะหลังจากได้<br />

ศึกษาผ่านทางอินเตอร์เน็ตมาฉันทราบว่า ในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร มีเปิดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต<br />

สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ (หลักสูตรนานาชาติ) ซึ่งเป็นการ<br />

เรียนออกแบบเพรียว ๆ เป็นสิ่งที่ฉันต้องการ แต่ก่อนจะไปถึง<br />

ตรงนั้นฉันต้องเลือกสาขาจากความถนัดของตัวฉันเองก่อน ซึ่ง<br />

สาขาออกแบบนิเทศศิลป์เป็นสาขาที่ฉันถนัดมากที่สุด ฉันชอบ<br />

ดูโฆษณาผ่านบนจอโทรทัศน์ เพียงเพราะเรามักจะเป็น font<br />

หนังสือที่ดึงดูดความน่าสนใจของฉันมาก ฉันชอบโปสเตอร์<br />

หนังในโรงภาพยนตร์เพราะโปสเตอร์ในแต่ละเรื่องจะออกแบบ<br />

ทั้งสี ภาพ และ font ให้แตกต่างกันออกไปตามเรื่องราว<br />

ความตั้งใจของฉันที่จะเข้าเรียนในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร มีมากพอเทียบเท่าคนอื่นได้ แต่ฉันเชื่อ<br />

ในความสามารถที่ได้เรียนรู้ และ ฝึกฝนมาตลอดสามปีในแผน<br />

ศิลปกรรม ฉันมีมากกว่าคนอื่น และพร้อมที่จะใช้ความคิด<br />

<strong>สร้างสรรค์</strong> เพื่อพัฒนาการศึกษาด้านการออกแบบนิเทศศิลป์<br />

ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ตามปรัชญาที่ว่า “เป็นเลิศด้าน<br />

ความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong> มุ่งมั่นพัฒนาการศึกษาด้านการออกแบบ<br />

นิเทศศิลป์" ดังนั้นฉันคงต้องย้ าว่า ฉันเหมาะสมที่จะศึกษาต่อ<br />

ในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยใช้ข้อพิสูจน์<br />

ด้านบนเป็นค าตอบของโจทย์ในข้อนี้<br />

-6-


รุ่นพี่ขอแชร์<br />

POONPUN<br />

นายภูมิพัฒน์ วรรธนะศิริกุล<br />

นายภูมิพัฒน์ วรรธนะศิริกุล คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร...<br />

POONPUN<br />

นายภูมิพัฒน์ วรรธนะศิริกุล<br />

#แรงบันดาลใจที่ท าให้อยากเรียน<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

เพราะรู้สึกว่าศิลปะมันอยู่รอบๆตัวเราแล้วก็<br />

ไม่ใช่แค่ของใคร เลยอยากเรียนคณะที่เกี่ยวกับ<br />

การออกแบบที่น าศิลปะมาปรับใช้และสื่อสาร<br />

ท าไมต้อง<strong>มัณฑนศิลป์</strong>ศิลปากร เพราะเป็น<br />

มหาลัยที่มีชื่อด้านศิลปะและเป็นคณะที่สร้างนัก<br />

ออกแบบแถวหน้าๆของไทย<br />

-<br />

POONPUN<br />

นายภูมิพัฒน์ วรรธนะศิริกุล<br />

#ความรู้สึกก่อนเรียนในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

รู้สึกว่าเป็นคณะที่เท่ ทุกคนดูเท่ไปหมดเลย ฝัน<br />

ว่าจะได้เจออะไรแปลกใหม่หาความรู้เจอคนเก่ง<br />

ๆ เยอะ ๆ เพื่อที่จะพัฒนาตนเอง<br />

ดูทั้งหมด<br />

เขียนความคิดเห็น...


POONPUN<br />

นายภูมิพัฒน์ วรรธนะศิริกุล<br />

#ความรู้สึกหลังจากเรียนในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

หลังจากเข้าเรียนในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> เรารู้สึกว่าที่ทุกคน<br />

ประสบความส าเร็จได้ต้องไม่ใช่แค่รอใครมายื่นโอกาสให้<br />

แต่เราต้องเป็นคนเดินเข้าหาโอกาส อะไรหลาย ๆ อย่างที่<br />

ไม่เหมือนที่คิดไว้แต่เราชอบสังคมเพราะเจอเพื่อนที่ดี<br />

สภาพแวดล้อมที่ดีท าให้รู้สึกว่าอยากจะพัฒนาตนเอง<br />

POONPUN<br />

นายภูมิพัฒน์ วรรธนะศิริกุล<br />

#<strong>มัณฑนศิลป์</strong>เรียนไม่ยาก<br />

เราชอบสาขาที่เรียนแต่ปีหนึ่งก็ยัง<br />

ไม่ได้เรียนอะไรมากส่วนใหญ่ก็จะเป็น<br />

พวกทฤษฎีในงานออกแบบเบื้องต้น<br />

(ดรออิ้ง สีน้ า ปั้น ออกแบบ และวิชา<br />

ตามสาขา) ถ้าฝึกมาเยอะแล้วก็พอท าได้<br />

วิชาที่ชอบตอนนี้ยังบอกไม่ได้ว่าชอบ<br />

อะไรเป็นพิเศษให้เท่าๆกัน 55555<br />

รัตนพรรณ พี่ปูนปั้น เรียนเหนื่อยไหมคะ หนูกลัวเรียนไม่ไหวค่ะ<br />

ถูกใจ ตอบกลับ<br />

poonpun เราว่ามันแล้วแต่คนเลย อยู่ที่ว่าชอบไม่ชอบ<br />

ถูกใจ ตอบกลับ<br />

poonpun แต่เรามีความสุขดี<br />

ถูกใจ ตอบกลับ<br />

poonpun ลองมาดูเองๆ 55555<br />

ถูกใจ ตอบกลับ<br />

เขียนความคิดเห็น...


WANNA GET IN<br />

… ?<br />

ธนันทธรณ เอี่ยมขจรชัย ม.5/3 เลขที่ 4<br />

DECO<br />

RATIVE<br />

ARTS.<br />

-<br />

FASHION<br />

DESIGN.<br />

“ถาเราชอบวาดรูปทําไมไมเรียนคณะจิตกรรมละ” เชื่อวาคนที่<br />

ชอบศิลปะหลายคนมักโดนคําถามแบบนี้ แตตัวผมรูดีวามันไมใชคณะที่ผมอยาก<br />

เรียน เพราะถึงแมเราจะชอบศิลปะขนาดไหน แตมันก็เทียบไมไดกับคนที่เขา “รัก”<br />

ศิลปะจริงๆ ผมจึงเริ่มมองหาหนทางอื่นที่ตัวผมอยากเรียนจริงๆ<br />

ในตอนแรกก็ยังไมรูหรอกวาจะไปตอทางไหนกันแน เพราะเอา<br />

จริงๆ ศิลปะมันไปตอไดเยอะมาก แตก็ตองขอบคุณคน 3 คนที่ทําใหผมรูวา<br />

อยากเรียนอะไร<br />

คนแรกคือญาติคนหนึ่งของผม วัน<br />

นั้นเขาไดบังเอิญเห็นรูปที่เราวาดและก็<br />

บอกวา “วาดสวยนะ แบบนี้คงเหมาะกับ<br />

แฟชั่น”<br />

คนตอมาคืออาจารยที่สอนศิลปะให<br />

ตอนมัธยมศึกษาตอนตน ทานบอกวา<br />

“ลายเสนแบบนี้ เหมือนเด็กที่เรียน<br />

แฟชั่น”<br />

และคนสุดทายคืออาจารยที่สอนใน<br />

แผนศิลปกรรม ทานบอกวา “ลายเสน<br />

แบบนี้นาจะไปเรียนแฟชั่นนะ”<br />

-9-<br />

ซึ่งบุคคลเหลานี้ทําใหผมรูวา แฟชั่น<br />

มันก็นาสนใจนะ และยิ่งมั่นใจมากขึ้นวา<br />

เรานาจะมาถูกทางแลว


หลังจากนั้นผมก็เริ่มศึกษากับการเรียนออกแบบเครื่องแตงกาย<br />

อยางจริงจัง ทั้งหาขอมูลจากในอินเทอรเน็ต หรือไปงานที่ทางคณะมัณฑณศิลปจัด<br />

และไดมีโอกาสพูดคุยกับรุนพี่ที่เรียนอยูในคณะ ซึ่งสาขาออกแบบเครื่องแตงกาย<br />

ก็เปนหนึ่งในภาควิชาของคณะนี้<br />

ตอนมัธยมศึกษาปที่ 4 ผมไดมีโอกาสคุยกับรุนพี่คนหนึ่งซึ่ง<br />

สนใจจะเขาสาขานี้เหมือนกัน และพอเขารูวาผมสนใจก็เลยชวนกันไปติว ซึ่งเอาจริงๆ<br />

มันยากกวาที่คิดไวเยอะมาก เพราะการออกแบบเปนเรื่องที่ละเอียดออน<br />

ตองดูเทรนด ความเหมาะสมตางๆ และที่สําคัญคือ มันสวมใสไดจริงหรือไม แตพี่<br />

เขาก็บอกวา ตอนที่เราเรียนในระดับปริญญาตรีจะมีความยากมากกวานี้และเรียน<br />

ลึกกวานี้หลายเทา เพราะเครื่องแตงกายไมไดมีแค เสื้อ กางเกง หรือกระโปรง เราจะ<br />

ไดเรียนตั้งแตการทอผา การตัดเย็บชุดชั้นใน การออกแบบชุดที่สวมใสใน<br />

ชีวิตประจําวัน ไปจนถึงการออกแบบชุดที่ตองอาศัยการตัดเย็บชั้นสูง หรือที่เรียกวา<br />

โอกูตูร และที่สําคัญเราจะไดมีโอกาสทําชุดจริงดวย การที่เราไดออกแบบและไดทําให<br />

มันออกมาเปนสิ่งที่สวมใสไดจริง ซึ่งแนนอนวามันตองมีความเหนื่อยมากๆ แตก็<br />

คุมคามากๆ ดวยเชนกัน<br />

และหากใครที่คิดวาจะไดเรียนแคตัดเย็บและออกแบบ ผมบอกเลย<br />

วาไมใช เพราะยังมีวิชาอื่นๆอีกมากมาย ทั้งสไตลลิ่ง การถายภาพ การตลาด<br />

การวางแผนธุรกิจ และอื่นๆอีกมากมาย ที่ทางคณะมัณฑณศิลปสั่งสม<br />

ประสบการณใหนักศึกษาทุกคนกอนจะออกไปสูโลกภายนอก ที่มีแรงกดดัน และ<br />

กระแสสังคมที่เปลี่ยนไปอีกมาก<br />

แตถึงแมตัวผมจะรูวาอยากเรียนคณะมัณฑณศิลป สาขาการออกแบบเครื่องแตงกาย แตก็<br />

มักจะมีคําถามที่ตามมาดวยเชนกัน นั่นคือ “เรียนจบไปแลวจะทําอาชีพอะไร” ในมุมมองของผม เราสามารถ<br />

ประกอบอาชีพไดหลากหลาย ทั้งอาชีพในวงการแฟชั่นเอง เชน ดีไซเนอร สไตลลิสต นักออกแบบ ชางภาพ<br />

เปนตน หรือถาอยากทํางานในเสนทางศิลปะ ก็มีสิ่งที่จะใหเราไดทําอีกมากมาย<br />

หนทางของอนาคตในวงการแฟชั่นดีไซนของผมมีเสนทางสูฝนที่ผมไดวาดฝนและ<br />

วางแผนไวหลากหลายเสนทาง และทุกเสนทางที่จะตองกาวเดิน ก็ตองอาศัยความเพียรพยายามและ<br />

ความพรอมที่จะตองรับมือกับอุปสรรคและปญหา แมวาใครจะมองไมเห็นเสนทางในอนาคตอยางที่ผมเห็น สิ่ง<br />

ที่ทําไดก็มีแครับฟง กําหนดเสนทาง และทําตามสิ่งที่วางแผนไวใหสําเร็จก็พอ<br />

-10-


WANNA<br />

KNOW<br />

ABOUT<br />

… ?<br />

ธนันทธรณ เอี่ยมขจรชัย ม.5/3 เลขที่ 4<br />

วิ้ง - พัชมณฑ วรรธไกรวัฒน<br />

ชั้นปที่ 1 ภาควิชาออกแบบเครื่องแตงกาย<br />

คณะมัณฑนศิลป<br />

facebook : Patchamon Watakraiwat<br />

Instagram : winkdictator<br />

Q : คณะมัณฑณศิลปเปนอยางไรบาง<br />

พี่วิ้ง : คณะมัณฑนศิลป เปนคณะที่มีการเรียน<br />

การสอนเกี่ยวกับการออกแบบเปนคณะแรก<br />

ของประเทศไทยคะ จึงเปนคณะที่เราใฝฝน<br />

มากๆ ที่จะมาเรียน แลวก็เปนคณะที่พี่สาวของ<br />

เราจบมาดวย ประกอบกับคุณแมก็เคยอยาก<br />

เรียนที่นี่แตสอบไมติดค ะ (หั ว เ ร า ะ )<br />

Q : สาขาแฟชั่นที่เรียนอยูเปนอยางไร เรียนอะไรบาง<br />

พี่วิ้ง : สาขาที่เรียนอยูจะเรียนเกี่ยวกับการดีไซน<br />

การออกแบบเสื้อผา จริงๆ สามารถประกอบอาชีพไดหลาย<br />

อยางเลยคะแลวแตความถนัด ไมวาจะเปนสไตลิสต<br />

ชางภาพแฟชั่น ทํางานนิตยสาร (VOGUE) นักออกแบบ<br />

ลายผา ออแกไนซเซอรเกี่ยวกับแฟชั่นโชว (BIFW / ELLE<br />

Fashion week) หรือจะไปทํางานกับแบรนดเสื้อผาชั้นนํา<br />

ของประเทศไทยก็ไดคะ


อืม... ยกตัวอยางงายๆ เลยก็รายการเดอะเฟซไทยแลนด<br />

รายการคอนขางคาบเกี่ยวกับวงการแฟชั่น รายการก็<br />

ตองอาศัยสไตลลิสตในแคมเปญตางๆ คะ หรือเครื่อง<br />

แตงกายของพี่ลูกเกดแตละฉากก็ใชสไตลลิสตเชนกันคะ<br />

แตในสวนที่เราเรียนอยูตอนนี้(ปหนึ่ง) จะเรียนเปนพื้นฐาน<br />

ศิลปะ (ดรออิ้ง สีน้ํา ปนคอมโพส)<br />

ตามที่อาจารยศิลป พีระศรีไดกําหนดหลักสูตรไวคะ<br />

Q : แลวชีวิตในมหาลัยละ เปนอยางไรบาง?<br />

พี่วิ้ง : ชีวิตในมหาลัยฯ จริงๆแอบคิดวา<br />

ตัวเองจะดูโตมากๆเลยนะตอนเรียนมหา<br />

ลัยฯ แตเอาเขาจริงๆก็รูสึกวาตัวเอง<br />

เหมือนเดิม อาจจะดวยชินดวยมั้ง<br />

(หัวเราะ) แตตื่นไปเรียนนี่เราตื่นเชากวา<br />

ไปโรงเรียนอีกนะ เพราะตื่นมาแตงหนา<br />

แตงตัว เรื่องสังคมก็ไมเหมือนที่คิดไว<br />

เทาไหร แตพออยูไปก็รับไดและเริ่มเขาใจ<br />

วาไมมีอะไรไดดั่งใจเราทุกอยางหรอก<br />

ตอนเรียนที่นี ่คือเรากับอาจารยเหมือน<br />

พูดกันไดเสรีมากขึ้นคะ เหมือน<br />

นักศึกษาไมพึงพอใจอะไรก็พูดไดเลย<br />

แตยังมีความเคารพซึ่งกันและกัน<br />

คอนขางที ่จะเปดกวางกวามัธยม<br />

Q : แพลนในอนาคต? เรียนจบแลวจะทาํ อะไรตอ?<br />

พี่วิ้ง : แพลนในอนาคต ตอนนี้สนใจ<br />

ทางดานเปนสไตลลิสตคะ คอนขาง<br />

ที่จะชอบ mix&match เสื้อผา<br />

มากกวาออกแบบ (หัวเราะ) แตอยาง<br />

วาอีกตั้ง 3 ปคะกวาจะจบ ตอนนั้น<br />

อาจจะไดลองอะไรใหมๆ แลวติดใจ<br />

แลวก็ตั้งใจจะมีธุรกิจสวนตัว<br />

ดวยคะ อาจจะเปดโรงแรมเล็กๆไมก็<br />

บารแจส อาจจะทําแบรนดเสื้อผา<br />

ดวยคะ หรือถาเปนไปไดก็อยากไป<br />

เรียนตอแลวมาเปนอาจารยสอน<br />

ศิลปะตอไปอีกทีคะ


ลายเส้นสู่<br />

<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

นางสาว สราญรัช ชิงนวรรณ์ ม5/3<br />

เลขที15<br />

“ถามกับตัวเองว่าท าไมเรา<br />

อยากเรียน คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

ออกแบบภายใน”จริงๆตอบกับ<br />

ตัวเองเสมอว่าเราไม่เหมาะกับ<br />

เรียนอะไรเลย เพราะเราท า<br />

อะไรไม่ได้เรื่องสักอย่าง” แต่<br />

ยังไงเราก็ยังเชื่อว่าการที่เรา<br />

ตั ้งใจท าอะไรสักอย่างจริงๆ<br />

มัน ส า ม า ร ถ อ อ ก แ บ บ ชีวิต<br />

ตัวเองได้<br />

เอาจริงๆแล้วแรงบันดาลใจแรกที่อยาก<br />

เรียนคณะนี้ก็คงหนีไม่พ้นตัวเรา ตอนแรกคือ<br />

ฉันอยากเรียนคณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong> เพราะเรา<br />

เองก็เป็ นคนที่ชอบการออกแบบอาคารบ้าน<br />

เราเลยลองไปติวดู พอเอาเข้าจริงๆแล้วเรา<br />

กลับรู้ สึ ก ว่า ตัว เองไม่ไ ด้อ ยากเรีย นคณะ<br />

<strong>สถาปัตยกรรม</strong> ก็เลยพูดคุยกับคนอื่นจนมีคน<br />

แนะน าคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

เราก็ เริ ่มหาข้อมูลคณะมัณฑนศิ ลป์<br />

อย่างจริงจัง ทั ้งหาข้อมุลจากอินเตอร์เน็ต ดู<br />

ผลงานของรุ่นพี่ที่เรียนอยู่คณะในทุกแขนง<br />

สาขา และ สาขาที่ฉันสนใจคือ สาขา<br />

ออกแบบภายใน<br />

-13-


เหตูผลที่อยากเรียนสาขานี ้เพราะ อย่างที่บอกไปว่าเราชอบการออกแบบพวกอาคาร<br />

บ้านเรือน ทั ้งภายนอกและภายใน อีกทั ้งฉันเองคิดว่าบ้านเรือนเป็ นสิ่งที่เราอยู ่อาศัยทุกวัน การ<br />

ตกแต่งภายในจึงเป็ นสิ่งที่จ าเป็ นมาก ถ้าบ้านเราน่าอยู ่ คนในบ้านก็จะมีความสุขตามไปด้วย<br />

ความฝันของฉัน<br />

ฉั น อ ย า ก เ ป็ น มั ณ ฑ น า ก ร<br />

เ พ ร า ะ ว่ า อ า ชี พ นี้ ฉั น ว่ า มั น<br />

ค่อนข้างที่จะมั ่งคง เพราะบ้าน<br />

เป็ นสิ ่งที่เราอาศัยอยู่ทุกวัน บ้าน<br />

ทุกหลังก็ต้องมีการ renovate<br />

เรื่อยๆ อีกทั ้งคนสมัยนี้จะสร้าง<br />

บ้ า น ยั ง ไ ง ก็ ต้ อ ง จ้ า ง ค น ม า<br />

ออกแบบภายในให้อยู่แล้ว<br />

“ การเรียนออกแบบภายในก็เหมือนกับ<br />

การที่เราออกแบบชีวิตตัวเองนี้แหละค่ะ เรา<br />

จะออกแบบมันดีหรือไม่ดีทุกอย่างขึ้นอยู่กับ<br />

ตัวเราเองทั ้งนั ้น ทุกอย่างต้องมีความเพียร<br />

พยายาม และอดทน เพื่อแลกกับสิ ่งที่เรา<br />

อยากได้มา “<br />

-14-


่<br />

่<br />

พูดคุยหา<br />

ประสบการณ์<br />

ชื ่อ ตอง อภิญญา พฤกษา<br />

เกษมสุข ท ำอำชีพ มัณฑนำกร<br />

ออกแบบภำยใน<br />

Q:รู ้ตัวว่าชอบตั้งแต่อายุเท่าไหร่:<br />

รู ้ ตั้งแต่เด็กๆแล้ว ชอบขีดเขียน<br />

ชอบวาดรูป ตอนเรียนประถมก็มีโอกาส<br />

ไปแข่งขันวาดรูปเริ่มจากการอ่านหนังสือ<br />

การ์ ตูนเรื่องโดเรม่อน ได้เห็นบ้านข้างในเลย<br />

ชอบและตอนมอสี่ มีโอกาสไปติวทางด้ าน<br />

ศิลปะเลยแน่ใจว่าอยากเรียนออกแบบภายใน<br />

จริงๆและก็อยากเข้ามหาวิยาลัยศิลปากรอยู<br />

แล้วด้วย<br />

Q:เรียนจบมาพี ่จะหางานท าเลยไหมค่ะ:<br />

ตอนเรียนจบมายังไม่ได้ท างานเลย เพราะสนใจอยู<br />

สองด้านคือด้านที ่เราเรียนจบมากับการแต่งหน้า เลยลอง<br />

ไปเรียนแต่งหน้าไปฝึ กงานเกี ่ยวกับทางด้านแฟชั ่นดูพอ<br />

ท าๆไปแล้วไม่รู ้สึกอิน เพราะด้านสังคมการท างาน ผู ้คน<br />

ด้วย เราเลยหันกลับมาทท างานด้านที ่เราเรียนมา เราก็<br />

ไปสมัครงานตามบริษัทก่อน ด้วยเหตุผลที ่เรา<br />

อยากรวยอยากมีเงินเราก็รับจ๊อบเสริมกับเพื ่อน<br />

บวกกับงานบริษัท เราก็รวมเก็บเงินกับเพื ่อน และ<br />

ต่อมาก็มาเปิ ดบริษัทเอง(หุ ้นกับเพื ่อน)เราก็มองหา<br />

ธุรกิจเพิ ่มคือ การลงทุนขายพวกมือจับประตู และ<br />

ยังเปิ ดร้านกาแฟน่ารักๆอีกด้วย<br />

-15-


Q:ถ้ า อ ย า ก เ รี ย น ค ณ ะ นี้<br />

จ าเป็ นต้องวาดรูปสวยไหม:<br />

พี่ว่าไม่จ าป็ นนะ แค่<br />

วาดให้เราสามารถถ่ายทอด<br />

ความคิดเราออกมาให้ได้ก็<br />

พอ พี่ว่าสิ ่ งส าคัญเลยคือ<br />

เ ร า ต้ อ ง มี ค ว า ม คิ ด<br />

สามารถ creative งาน<br />

ออกมาให้ได้ก็พอ<br />

Q:คณะนี้สามารถต่อยอดท าอาชีพอะไร<br />

ได้บ้างค่ะ:<br />

สายนี้คนส่วนมากจบมาเขาก็จะเรียนเป็ น<br />

มัณฑนากรกันและพี ่ว่ าคนที ่จบคณะนี้มาก็<br />

สามารถต่อยอดไปท าอย่างอื ่นได้อีก<br />

Q:เรียนคณะนี้ดีอย่างไร:<br />

คณะนี้ดีที่ว่าความต้องการสูง<br />

สามารถหางานได้เรื่อยๆ คน<br />

ยังไงเพราะทุกๆปียังไงก็ต้องมีคน<br />

renovate บ้านเรื่อยๆ นับวันตึก<br />

บ้านเรือนก็มากขึ้นโอกาสที่จะรับ<br />

งานก็มีเรื่อยๆอยู่แล้ว<br />

-16-


นางสาว พัชญ์ธนัน โล่ห์อมรเวช เลขที่ 25 ม.5/3<br />

ในสังคมเรา มีทั ้งศาสตร์และศิลป์<br />

อยู่รวมกัน แต่บางคนอาจมองว่าไม่ใช่ทุกคนที่เข้าใจ<br />

หรือชอบในศิลปะ แต่ดิฉันมองว่าศิลปะนั ้นอยู่รอบ<br />

กาย แน่นอนว่าทุกคนไม่อาจจะเข้าใจศิลปะโดยเนื ้ อ<br />

แท้ได้ แต่นักออกแบบจะประยุกต์ศิลปะให้เข้ากันได้<br />

กับทุกคน และคณะที่ดิฉันใฝ่ ฝัน คณะที่ฉันจะ<br />

ออกแบบศิลปะให้สามารถเข้าได้กับทุกคน คือ คณะ<br />

<strong>มัณฑนศิลป์</strong> มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> นั ้น แบ่งออกเป็ น 7 สาขา<br />

ได้แก่ สาขาออกแบบและตกแต่งภายใน สาขา<br />

ออกแบบเครื่องประดับ สาขาออกแบบเครื่องแต่ง<br />

กาย สาขาประยุกต์ศิลป์ สาขาออกแบบเครื่อง<br />

เคลือบดินเผา สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ และสาขา<br />

ออกแบบนิเทศศิลป์ โดยจะให้เลือกสาขาที่อยากเข้า<br />

ตั ้งแต่ตอนที่สอบเข้า โดยต้องทดสอบทั ้งวิชาการ<br />

วาดเส้น และสอบแยกเฉพาะสาขาที่ตนเองจะเข้า<br />

ศึกษา ดิฉันมีความประสงค์เข้าเรียนในสาขา<br />

ออกแบบเครื่องประดับ ทางสาขามีการจัดสอบ<br />

ออกแบบเครื่องประดับ โดยทางมหาวิทยาลัยจะให้<br />

โจทย์มา ใช้เวลา 3 ชั่งโมง ในแต่ละปี จะมีหัวข้อที่<br />

แตกต่างกันออกไป เช่น ออกแบบเครื่องประดับ<br />

ส าหรับเด็กที่เป็ นโรคดาวน์ซินโดรม ออกแบบ<br />

เครื่องประดับเพื่อใช้ป้องกันตัวเอง เป็ นต้น<br />

ค<br />

ณ ะสี<br />

ส้<br />

ม<br />

ดิฉันอยากเรียนออกแบบเครื่องประดับเพราะ<br />

เครื่องประดับเป็ นงานประติมากรรมที่ทุกคนสามารถเข้าถึง<br />

เครื่องประดับเป็ นงานศิลปะ ประยุกต์ศิลป์ ที่มีเสน่ห์มาก อีก<br />

ทั ้งเครื่องประดับสามารถท าได้หลายอย่าง เช่น นกหวีดที่<br />

ผ่านการออกแบบมาเป็ นสร้อยคอ เมื่อมีเหตุฉุกเฉินก็<br />

น ามาใช้เรียกขอความช่วยเหลือได้ เป็ นต้น ทั ้งเป็ น<br />

คุณค่าทางจิตใจ ยกระดับการแต่งกาย เป็ นสัญลักษณ์ และ<br />

ยังสามารถบ่งบอกลักษณะ บุคลิก รสนิยมของผู้คนได้อีก<br />

ด้วย เป้าหมายในการท างานของดิฉัน คือ การเป็ นนัก<br />

ออกแบบเครื่องประดับ และหน้าที่ของนักออกแบบ คือ<br />

สร้างสิ่งใหม่ ขับเคลื่อน ศิลปะประยุกต์ ให้ไปข้างหน้าบน<br />

พื ้ นฐานของความต้องการของสังคม เทคโนโลยีที่ไม่ท าลาย<br />

ทรัพยากรทางธรรมชาติ


ดิฉันอยากเป็ นคนเก่งในสาขาการออกแบบ<br />

หนทางของการเลือกเดินบนถนนศิลปะในสาขา<br />

ออกแบบมีหลานเส้นทางทั ้ง ไปเรียนตามโรงเรียน<br />

สอนศิลปะหรือการออกแบบส าหรับเข้าเรียนคณะ<br />

เกี่ยวกับงานออกแบบ ฯลฯ ดิฉันเห็นงานคนอื่นมา<br />

พอสมควร แต่เท่าที่เห็นมาเป็ นเพียงส่วนหนึ่ ง<br />

นอกเหนือจากที่ดิฉันเห็นคงมีคนเก่งอีกมากมาย<br />

เพราะฉะนั ้น ดิฉันจะต้องพยายามให้เต็มที่และมาก<br />

ขึ ้ นทุกๆวัน มีจุดบกพร่องจะพยายามแก้ไขอย่าง<br />

เต็มที่ โดยการขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติม ฝึ กท า<br />

โจทย์ที่ยากขึ ้ น ท างานให้เร็วตามเวลาที่ก าหนด<br />

ทั ้งหมดนี ้ เพื่อคณะสีส้มของดิฉัน คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สุดท้ายแล้วดิฉันเป็ นเพียงเด็กมัธยมคน<br />

หนึ่ง ที่มีความฝันเหมือนเด็กทุกๆคน อยากจะ<br />

ท าอาชีพในฝัน มีความสุขกับการใช้ชีวิต แต่<br />

ก่อนที่จะไปถึงจุดนั ้ นเป้าหมายที่ใกล้ที่สุด<br />

ตอนนี ้ คือ คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> ดิฉันจะตั ้งใจเรียน<br />

ฝึกวาดภาพให้ดีขึ ้ นและไม่ยอมแพ้ที่จะเข้าคณะ<br />

ที่ใฝ่ ฝัน เพื่ออนาคตของดิฉัน


รู ้จักกับเด็กจิวเวอร์รี่<br />

ถาม – พี่ช่วยแนะน าตัวเองหน่อยค่ะ<br />

ตอบ – ชื่อ จุฑารัตน์ สุดสงวน อายุ 28 จบจาก คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> สาขาออกแบบเครื่องประดับมหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ถาม – ท าไมถึงเลือกเรียนคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong> สาขาออกแบบเครื่องประดับคะ<br />

ตอบ – มันเป็ นคณะออกแบบ ไม่ใช่คณะแบบจิตรกรรม มันเน้นเพื่อให้เราใช้ความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong> มากกว่า ก็เลยเลือกสาขา<br />

นั ้น บางทีการวาดรูปทุกวันมันอาจจะเบื่อ ตอนนั ้นก็เลยคิดว่า เข้าในสาขาที่คิดว่าเกี่ยวกับงานดีไซน์ มันไม่ได้ก าหนด<br />

ขอบเขตความคิดเราก็ได้สามารถท าไปได้เรื่อยๆ เราคิดอะไรก็วาดออกมา ก็เลยเลือกสาขานั ้นถาม – ท าไมถึงเลือกเข้าที่<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากรคะ<br />

ตอบ – เพราะว่าถ้าเกิดว่าในประเทศไทย ในความคิดพี่คือก็ต้องเป็ นศิลปากรเท่านั ้น เพราะว่ามันก็เป็ นมหาลัยแรกที่รองมา<br />

จากช่างศิลป์ ที่มันสร้างเป็ นมหาลัยที่เกี่ยวกับศิลปะ แล้วก็อาจารย์ที่สอนอย่างเช่นสาขาที่พี่เรียน จิวเวอร์รี่ 90 % อาจารย์ก็จะ<br />

จบจากต่างประเทศทั ้งหมด เราก็จะได้มีความรู้จากงานดีไซน์อะไรใหม่ๆเพิ่มเติม<br />

ถาม – เรียนจิวเวอร์รี่แล้วน าไปต่อยอดยังไงได้อีกคน<br />

ตอบ –โดยทั่วไปคนอื่นก็จะเอาไปท างานในสาขาที่เค้าเรียนมา อย่างเพื่อนพี่ก็จะท างานบริษัท ส่วนตัวพี่ พี่ไม่ค่อยชอบ<br />

ท างานบริษัท คือเราเคยลองแล้วตอนช่วงฝึ กงาน เรารู้สึกว่ามันไม่ชอบ ไม่ชอบระบบบริษัท ก็เลยออกมาข้างนอก จริงๆแล้ว<br />

ก็ไม่ได้ผลิตขาย แต่ถ้าเกิดว่าเพื่อนๆอยากได้หรือว่าคนรู้จักอยากได้ เราก็ท าให้ได้ เพราะเราจะรู้จักเครือข่ายทั ้งหมดว่า ช่าง<br />

ท าอะไร ที่ไหน ยังไง วิธีเลือกพลอยดูยังไง เนื ้อเงินท ายังไง เรารู้กระบวนการทุกอย่าง


ถาม – ตอนแรกคิดว่าจบแล้วจะท าอะไรคะ<br />

ตอบ – พี่เคยลองไปท างานเกี่ยวกับจิวเวอร์รี่ แต่ว่ามันมีแก๊ก แก๊กหนึ ่งที่พี่ไม่ชอบ แต่ยังบอกไม่ได้ว่าท าไมถึง<br />

ไม่ชอบหรืออาจจะเป็ นเพราะคนที่เจอช่วงนั ้น พวกคนต่างๆที่เราท างานร่วมด้วยแล้วมันไม่โอเค เราก็เลยแบบ<br />

ว่าไม่เอาดีกว่า ออกมาท าธุรกิจตัวเองดีกว่า<br />

ถาม – ปัจจุบันท าอาชีพอะไรคะ<br />

ตอบ – เปิ ดร้านกาแฟแล้วก็สอนพิเศษเกี่ยวกะงานวาดรูป แต่ไม่ได้เปิ ดจริงจัง สอนกะเฉพาะคนที่พ่อแม่เค้าให้<br />

ช่วยสอนหน่อย อีกอย่างที่ท าก็งานตกแต่งโรงแรม<br />

ถาม – คิดยังไงกับการเรียนจิวเวอร์รี่คะ<br />

ตอบ – จิวเวอร์รี่เป็ นของสวยงามนะ เป็ นของที่แบบว่าคู่กับผู้หญิงอยู่แล้ว มันไปได้เรื่อยๆ จริงๆแล้วงาน<br />

จิวเวอร์รี่มันก็มีมาตั ้งแต่ยุคดึกด าบรรพ์ที่ท าเครื่องประดับจากพวกหิน ในปัจุจันเราได้เพิ่มการดีไซน์เข้าไปให้<br />

ทันสมัยมากขึ ้น งานจิวเวอร์รี่มันไม่มีวันตายเหมือนงานศิลปะ ขึ ้นอยู่กับว่ายุคนี ้คนส่วนใหญ่นิยมอะไร หรือ<br />

นิยมแบบไหน


มนพร พงศกรรังศิลป์ ชั้นม.5/3 เลขที่ 35<br />

เราทุกคนล้วนแล้วก็ต้องเคยเจอกับค าถามที่ว่า “โตไปอยากเป็น<br />

อะไร” ตอนเด็กๆเรามองทุกอย่างกว้างมาก ฝันไปไกลถึงไหนต่อไหน แต่โตมา<br />

ความฝันยิ่งแคบลงเรื่อยๆ เพื่อเข้าไปหาจุดที่ใช่ที่สุด แต่พูดกันตรงๆความ<br />

ตายตัวในชีวิตก็หายไปเหมือนกัน เราไม่ได้รู้สึกว่าเราจะต้องไปมั่นคงกับอาชีพ<br />

ขนาดนั้น เราสามารถท าได้หลายอย่าง ส่วนหนึ่งมาจากสังคมที่เปลี่ยนไปด้วย<br />

แต่เอาเป็นว่าตอนนี้เราเป็นเด็กมัธยมคนหนึ่ง ความฝันที่ใกล้ที่สุดคงเป็น ได้เรียน<br />

คณะที่ใฝ่ฝัน<br />

นิเทศศิลป์ คณะมันฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หรือจะ<br />

เป็นนิเทศศิลป์ คณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าเจ้า<br />

คุณทหารลาดกระบัง ขอเรียกสั้นๆว่านิเทศศิลป์ คนอยากเรียนคณะนี้มี<br />

มากมาย เพราะทุกคนที่อยากเรียนทางด้านนี้ก็มีพื้นฐานมาจากที่ชอบวาด<br />

รูป วาดการ์ตูน จริงๆเราทุกคนต่างรู้อยู่แล้วว่าคุณสมบัติที่เขาต้องการคือ<br />

อะไร ทักษะในการวาดรูป ไอเดียความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong> การออกแบบ เรา<br />

ไม่ได้หวังว่าเราจะต้องเก่งที่สุด ส าหรับเรา เราคิดว่า สิ่งส าคัญที่สุดในการ<br />

เรียนด้านนี้คือ สร้างเอกลักษณ์ในงานของตัวเองให้ได้ เพราะการเรียนนิเทศ<br />

ศิลป์เป็นการเรียนศิลปะในเชิงพาณิชย์ แน่นอนว่าผู้บริโภคหรือลูกค้า<br />

ต้องการงานออกแบบที่แปลกใหม่ ไม่ซ้ าใคร และมีเอกลักษณ์เป็นของตัวนัก<br />

ออกแบบเอง คือนักออกแบบมีมากมายอยู่แล้ว แต่อะไรเป็นสิ่งที่ท าให้ลูกค้า<br />

ตัดสินใจจ้างงานเรา อย่างแรกก็ต้องเป็นลายเส้นและเอกลักษณ์ที่ตรงกับที่<br />

เขาต้องการ


พอเรารู้ว่าเราชอบอะไร ได้ลองลงมือท า ได้สนุก<br />

กับมัน สิ่งไหนที่เราท าแล้วเราจะสามารถเต็มที่และทุ่มเทกับมัน<br />

ได้โดยไม่ต้องสนปัจจัยอื่น แค่เรามีความสุขกับสิ่งที่ท า เราก็ไม่<br />

เสียเวลาสับสนตัวเอง ไม่ต้องมานั่งคิดว่าเราจะเรียนอะไรดี ใน<br />

เมื่อความชอบเป็นตัวบ่งบอกอยู่แล้ว เราไม่เคยสนใจปัจจัยเรื่อง<br />

ต้องหางานที่ได้เงินดีๆ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ เคย<br />

พูดไว้ว่า “...ในโลกนี้ไม่มีไส้แห้งทุกอาชีพ แต่ที่มึงไส้แห้ง ก็<br />

เพราะมึงกระจอกไง ไอ้กระจอก!!...”<br />

มันยากที่กว่าคนคนหนึ่งจะหาตัวเองเจอ บางคนใช้เวลาทั้ง<br />

ชีวิตยังหาตัวเองไม่เจอ ความจริงก็คือเราไม่ได้เหมาะกับสิ่งที่ชอบไปหมด<br />

ทุกอย่าง มันเป็นอะไรที่เราท าได้แค่ชอบ แต่เราอาจท าในสิ่งนั้นได้ไม่ดี เป็น<br />

แค่เพียงความชอบเท่านั้น เราเป็นคนหนึ่งที่เคยอยากเป็นสัตวแพทย์เพราะ<br />

ชอบแมว โตมาอีกหน่อยก็อยากเป็นหมอ มีเด็กอีกกี่คนที่ไหลไปตาม<br />

กระแสสังคมนิยมแล้วไปไม่รอด เราอาจโชคดีที่ได้มาเรียนในสิ่งที่ชอบ ได้<br />

ค้นพบตัวเอง ท าให้เรามีเป้าหมายที่จะเข้าคณะในฝัน อนาคตจึงไม่ได้เป็น<br />

อะไรก็ไม่รู้อีกต่อไป<br />

แต่เราจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เราใฝ่ฝัน<br />

ทุกคนมีเส้นทางชีวิตไม่เหมือนกัน ต้องเอาชนะสิ่งต่างๆมากมาย<br />

แต่สิ่งที่ส าคัญที่สุดคือเอาชนะใจตัวเอง มีพี่นักศึกษาคนหนึ่งเคยบอกเราไว้ว่า<br />

“ก่อนที่น้องจะสอบติดได้ น้องต้องชนะใจตัวเองให้ได้ก่อน” ถ้าเราคิดว่าเราท าได้<br />

เราก็ต้องท าได้ เพราะชีวิตนี้มันสั้น เราคงไม่รอให้สิ่งที่ชอบที่อยากผ่านเลยไป<br />

แต่เราจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เราใฝ่ฝัน


สไตล์ กิ๊กกรี้ อิส แฮปปี้<br />

0<br />

1<br />

》<br />

0<br />

3<br />

》<br />

0<br />

2<br />


04<br />

》<br />

0<br />

5<br />

》<br />

0<br />

6<br />

》<br />

0<br />

7<br />


นายวัชรินทร์ เถลิงศักดาเดช ชั้นม.5/3<br />

ทุกคนมีความคิด มีการเรียนรู้<br />

มีจินตนาการ ผมก็มีเหมือนกันครับแต่<br />

ทุกคน แตกต่างกันตรงที่ เราจะสื่อสาร<br />

กับคนอื่น เพื่อให้คนอื่นเข้าใจในสิ่งที่เรา<br />

คิด สิ่งที่เราต้องการสื่อสารได้อย่างไร<br />

ทุกคนมีวิธีการบอกหลายอย่างครับ แต่<br />

ผมเลือกที่จะสื่อสารโดยใช้ศิลปะ เพราะ<br />

ผมรัก และชอบศิลปะ ผมจึงใช้มันใน<br />

การสื่อสารในสิ่งที่ผมอยากให้คนอื่นได้<br />

รับรู้ และเข้าใจในสิ่งที่ผมต้องการบอก<br />

นี่แหละครับคือความหมายของคณะใน<br />

ฝันของผม "นิเทศศิลป์ครับ"<br />

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ เป็นหลักสูตรซึ่ง<br />

ผลิตบัณฑิตที่เป็นเลิศด้านการคิด วิเคราะห์และการสื่อสารอย่าง<strong>สร้างสรรค์</strong> สามารถ<br />

บูรณาการศาสตร์ต่างๆ เข้ากับหลักการออกแบบนิเทศศิลป์ เพื่อสร้างผลงานออกแบบ<br />

ที่มีประสิทธิภาพ เต็มเปี่ยมด้วยความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong> ตอบสนองความต้องการของ<br />

ตลาด ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ เป็นแรงผลักดันเศรษฐกิจของชาติให้เติบโต<br />

ควบคู่กับการปลูกฝังจรรยาบรรณ จิตส านึกรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม


นิเทศศิลป์ คือการสื่อสารโดยการใช้ศิลปะมาเป็นตัวช่วย การโฆษณา<br />

สื่อสิ่งพิมพ์ หรืออีกหลายๆอย่างในสังคมไทย ผมคิดว่าสังคมไทยทุกวันนี้น่า<br />

กลัว คนดีไม่มีที่อยู่ คนรวยก็ไม่มีความผิด ตรงกันข้ามคนจน แม้ว่าจะเป็นคนดี<br />

ก็ไม่มีที่ยืน ผมคิดว่าพวกเราควรเปลี่ยนความคิดใหม่ การเป็นคนวาดรูปที่ไม่มี<br />

คนรู้จัก ไม่มีรายได้เป็นประจ าเดือนที่คงที่ แต่การได้ท าสิ่งที่ตนรัก และอยากท า<br />

แค่นี้ก็เป็นความสุข ความภาคภูมิใจได้แล้ว<br />

ปัจจุบันนี้ ผมเห็นศิลปิน<br />

หลายท่าน ออกมาวาดภาพในสิ่งที่<br />

ตัวเองต้องการสื่อสาร ให้คนมอง<br />

ได้รู้ และนั่นแหละครับ เป็นแรง<br />

บันดาลใจ อยากไห้ผมเข้าคณะนี้<br />

เพราะการที่จะได้แสดงออกผ่านสิ่ง<br />

ที่เรารัก และไม่ต้องอายใคร ผมว่า<br />

นี้แหละมันเป็นตัวผม มันเป็นสิ่งที่<br />

ผมรัก เป็นศิลปะที่สื่อว่าเป็นตัวผม<br />

ผมอยากเป็นนักวาดภาพประกอบ<br />

ครับ เพราะมันสามารถตอบโจทย์<br />

ของผมได้ดีครับ<br />

สุดท้าย ผมอยากฝากถึงคนที่<br />

อยากเข้าคณะนี้หรือจะเป็นคณะอื่นๆ ว่า<br />

ไม่ว่าจะเป็นคณะไหนก็ดีหมดแหละครับ<br />

แต่จงท าในสิ่งที่เรารักแล้วความสุขจะ<br />

เกิดขึ้นมาเอง


พี่ชื่อ พีค นายพุฒิพัฒน์ บุปผา<br />

-ศึกษาอยู่คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong><br />

สาขาออกแบบนิเทศศิลป์<br />

-มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

แรงบันดาลใจในการเข้าคณะนี้คืออะไรครับ<br />

-อยากเป็นนักเขียนภาพประกอบ และก็<br />

ออกแบบโฆษณา เพราะว่าตั้งแต่เด็กจนโต ได้<br />

เห็นโฆษณามาหลากหลายแบบ เลยอยากลอง<br />

มีแบบโฆษณาเป็นของตัวเองดูบ้าง<br />

เตรียมตัวในการสอบเข้าอย่างไรบ้างครับ<br />

-ฝึกท างานแนวนี้บ่อย พี่ชอบออกแบบฟ้อน ท างานคอม<br />

โพสบ่อยๆมันช่วยเยอะ<br />

ได้เข้าไปเรียนเเล้วเป็นไปตามที่ฝันไหมครับ<br />

-เป็นไปตามที่ฝันนะเพราะพี่ชอบมาแนวนี้ด้วยไงเลย<br />

เรียนละไม่เครียดมาก สนุกกับการท างาน


สังคมการใช้ชีวิตอยู่ในคณะ<br />

-แรกๆไปนี่ไม่รู้จัก ใครเลย555แต่สักพัก<br />

ก็สนิทกัน ปิดเทอมก็ไปเที่ยวกัน มีความสุขกับ<br />

เพื่อนๆมาก<br />

การเรียนแป็นอย่างไรบ้างครับ<br />

0<br />

-พี่เรียนพวก ออกแบบโฆษณา แต่พื้นฐานที่เรียนก็<br />

เรียนเหมือนๆกันคือ คอมโพส ดรออิ้ง<br />

จบไปอยากท าอะไรครับ<br />

-อยากเป็นคอลัมนิสต์ ไม่ก็ฟรีแลนซ์<br />

มีอะไรอยากฝากถึงน้องๆที่อยากเข้าคณะนี้ไหมครับ<br />

-ขยันๆท างาน หาดูงานละลองมาประยุกต์กับ<br />

0<br />

งานตัวเอง และก็ค้นหาสิ่งใหม่ๆเสมอ


มันใหญ่มาก...<br />

แต่มัณฑนฯ ใหญ่กว่า<br />

ดิฉันเชื่อว่าทุกคนต้องมีความฝันแต่ว่าความฝันนั้นจะเป็นจริงหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่<br />

กับว่าเราจะปล่อยให้ความฝันของเราถูกความจริงค่อยๆ ลบเลือนไป หรือเราจะ<br />

พยายามท าตามความฝันนั้น ปัจจุบันนี้คุณพ่อคุณแม่บางท่านจะปลูกฝังสร้างค่านิยม<br />

ให้กับลูกหลานว่า “โตขึ้นจะต้องเป็นหมอนะ จะได้มีเงินเดือนสูงๆ ” ซึ่งนั่นท าให้เห็น<br />

ว่าสมัยนี้คุณค่าของงานบางคนไม่ได้วัดกันที่ว่าเราชอบในสิ่งที่เราท าและมีความสุข<br />

กับมันจริงๆ หรือไม่<br />

ดิฉันเองรู้สึกว่าหากเราท าอะไรด้วยความชอบและมีความสุขกับการท ามันเราจะไม่รู้สึกท้อ<br />

ใจกับมันแต่เราจะรู้สึกเหมือนกับการท างานอดิเรกชิ้นหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไปคนเราเริ่มโตขึ้น<br />

และมีความคิดความฝันที่เปลี่ยนไป วันหนึ่งฉันไปงานเปิดบ้านรับน้องของคณะต่างๆ ภายใน<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากรแล้วไปพบกับรถคันหนึ่งสะดุดตากับค าว่า “คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong>” ในตอน<br />

นั้นดิฉันยังไม่รู้ว่าคณะนี้ศึกษาเกี่ยวกับอะไรหลังจากนั้นดิฉันจึงไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับคณะนี้<br />

ด้วยความสนใจใคร่รู้จึงพบว่าคณะนี้มีหลายๆ สิ่งที่ตรงกับความสนใจของดิฉันจึงได้<br />

ตั้งเป้าหมายที่จะศึกษาต่อในคณะนี้<br />

สาขาการออกแบบภายในคณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong>เป็นสาขาที่จะเน้นไปในทางออกแบบตกแต่ง<br />

ภายใน โดยจะไม่เปลี่ยนแปลงโครงสร้างอาคารมากเน้นให้คนอยู่หรือผู้อาศัยอยู่สบาย มีสิ่ง<br />

อ านวยความสะดวก สวยงามเหมาะแก่การใช้งานและใช้พื้นที่ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมสาขานี้<br />

จะเป็นศาสตร์ที่ผสมผสานกัน ระหว่างธรรมชาติ ศิลปะ และอารมณ์ของมนุษย์ให้ทั้งสามสิ่งอยู่<br />

ร่วมกันได้อย่างลงตัว ดิฉันเองมีความสนใจในศิลปะและชอบความแตกต่างที่ลงตัว จึงอยากจะ<br />

ศึกษาในสาขานี้เพื่อที่จะได้เข้าใจมันได้อย่างลึกซึ้งและดิฉันเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าคณะนี้จะท าให้<br />

ดิฉันประสบความส าเร็จกับอาชีพมัณฑนากรที่ฉันฝันไว้ในอนาคตอย่างแน่นอน


คณะ<strong>มัณฑนศิลป์</strong>ได้ให้อะไรหลายๆ อย่างไม่ได้ให้เพียงแค่<br />

ความรู้แต่ยังสอนให้รู้จักการใช้ชีวิตเหมือนกับการสอนให้หา<br />

ปลาแต่ไม่ได้ตกปลาขาย คณะนี้เมื่อส าเร็จการศึกษาทุกคน<br />

อาจจะนึกถึงแต่อาชีพมัณฑนากรแต่จริงๆ แล้วยังมีอาชีพอื่น<br />

อีก เช่น นักออกแบบภายใน สถาปนิกสาขา<strong>สถาปัตยกรรม</strong><br />

ภายใน อาจารย์ นักวิชาการด้านการออกแบบภายในผู้<br />

ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องต่างๆ เช่น ธุรกิจก่อสร้าง ธุรกิจ<br />

การค้าเครื่องเรือนและของตกแต่ง รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับ<br />

ความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong> ซึ่งเป้าหมายของดิฉันคือการออกแบบ<br />

ตกแต่งภายในบ้านเพื่อให้ตรงต่อความต้องการของลูกค้าและ<br />

สร้างความสวยงามสะดวกสบายอีกด้วย<br />

จากที่ได้กล่าวมาเมื่อดิฉันค้นพบสิ่งที่ตัวเองชอบแล้วจึง<br />

ศึกษาเกี่ยวกับมัน นอกจากนี้ยังตั้งเป้าหมายและเชื่อมั่นว่าจะ<br />

ท าตามความฝันนี้ให้เป็นจริงให้ได้ ไม่มีค าว่าสายที่จะท าตาม<br />

ความฝันถ้าหากเราไม่ยอมแพ้ ถ้าเรามุ่งมั่นที่จะท าตามความ<br />

ฝันตั้งแต่วันนี้สิ่งที่ฝันไว้ก็ไม่ได้อยู่ไกลเกินเอื้อม


ARCHITECTURE IS MIND<br />

ฉันเป็นเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ ๕ หลายปี<br />

ที ่ผ่านมา ฉันถูกผู้ใหญ่ถามมาตลอด ว่าในอนาคต อยากจะ<br />

เข้าคณะอะไร ฉันให้ค าตอบไปอย่างไม่เต็มใจ ว่าฉันอยาก<br />

เรียนคณะเภสัชศาสตร์ เหตุผลเหมือนเพื ่อนหลายๆคน ว่า<br />

เป็นความต้องการของคนในครอบครัว บ้านฉันเปิดร้านขาย<br />

ยาเป็นของตัวเอง ซึ ่งมันจะเป็นการดีมาก ถ้าลูกคนโตของ<br />

บ้านอย่างฉันจะได้ เป็นผู้ดูแลกิจการต่อจากครอบครัว แต่<br />

สุดท้ายแล้ว ฉันก็เลือกที ่จะท าตามความต้องการของตนเอง<br />

โดยมีเป้าหมายจะเข้าคณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์<br />

ในตอนแรก ฉันตั้งความหวังไว้ว่าครอบครัวจะเข้าใจ แต่เอาเข้าจริงพ่อ<br />

กับแม่ไม่เห็นด้วยเป็นอย่างมากกับการตัดสินใจของฉัน แม่บอกว่าทางบ้านปู<br />

ทางไว้ให้แล้ว หากเลือกเรียนคณะอื ่นต่อไปจะหางานยาก ส่วนพ่อที ่ปกติเป็น<br />

คนเงียบก็น้อยใจ และไม่พูดกับฉันเป็นสัปดาห์ ความผิดหวังครั้งนี ้ท าให้ฉัน<br />

นึกถึงตอนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ ๓ ที ่ต้องเลือกแผนการเรียน พ่อของฉันให้ เลือก<br />

วิทย์-คณิตเท่านั้น แต่ใจจริงแล้วฉันต้องการเรียนศิลปกรรม การตัดสินใจครั้ง<br />

นั้น ท าให้ฉันไม่มีความสุขกับการเรียน ฉันไม่ชอบเคมี ไม่ชอบชีวะ แต่พอมา<br />

เรียน กลายเป็นไม่ชอบทุกอย่าง ทุกวิชาดูหนักไปหมด ฉันเกรดตกมาตลอด<br />

ฉันไม่ได้วาดรูป ไม่ได้ท าในสิ ่งที ่ชอบ ฉันเครียดจนไปร้องไห้ต่อหน้าพ่อแม่<br />

อย่างไม่ตั้งใจ พวกท่านค่อนข้างตกใจ สุดท้ายท่านอนุญาตให้ฉันเลือกคณะ<br />

<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์ ตอนนี ้ฉันได้ก าลังใจในการเรียนจากครอบครัวมากขึ ้น


ความฝันที ่ฉันจะสอบเข้า<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์ มาจากการ<br />

ที ่ได้ไปวัดหลวงพ่อโสธร วัดนี ้ถูกออกแบบมาได้น่าอัศจรรย์ใจ ซึ ่ง<br />

เป็นผลงานชิ ้นเอกของอาจารย์ประเวศ ลิมปรังษี ฉันชอบสไตล์การ<br />

ออกแบบของท่าน ที ่มีความminimal(งานศิลปะที ่ใช้องค์ประกอบ<br />

น้อยชิ ้นแต่ให้คุณค่ามาก) ผสมผสานความเป็นไทย มองแล้วรู้สึก<br />

สบายตา ศิลปะสิ ่งปลูกสร้างในวัดมีประวัติความเป็นมา ทุกสิ ่งที ่<br />

ท่านออกแบบถูกจัดวางอย่างลงตัว วัดนี ้จึงถูกสร้างมาจากแก่นแท้<br />

ขององค์ความรู้<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์ทั้งสิ ้น อีกทั้งท่านยัง เป็น<br />

ผู้ออกแบบพระเมรุมาศ สมเด็จพระนางเจ้าร าไพพรรณีอีกด้วย<br />

ในทุกครั้งที ่ฉันตื ่นเต้นกับสิ ่งปลูกสร้างที ่ได้พบเห็น<br />

ฉันมี<br />

ความคิดว่า คนที ่ออกแบบวัด ร้านกาแฟ ตึก หรือบ้านเหล่านี ้เขา<br />

เป็นใคร เขาคิดมันได้อย่างไร คนคนหนึ ่งสามารถสร้างสิ ่งที ่อยู่ใน<br />

จินตนาการให้ เป็นรูปเป็นร่างขนาดนี ้ได้จริงหรือ ฉันเองอยากท าได้<br />

เหมือนคนเหล่านั้นบ้าง ฉันอยากเนรมิตในสิ ่งที ่ฉันต้องการขึ ้นมา<br />

อยากให้ เป็นประโยชน์ต่อผู้อื ่น ไว้ เป็นที ่พักผ่อน หรือให้การท างาน<br />

ของพวกเขาสะดวกสบายมากขึ ้น<br />

<strong>สร้างสรรค์</strong>งานอย่างเต็มความสามารถ<br />

เมื ่อมีโอกาสฉันจะตั้งใจ<br />

ฉันอยากเป็นสถาปนิกเพราะอยากสร้างบ้าน ฉันมีความเชื ่ออย่างหนึ ่ง<br />

ว่า “บ้านคือที ่ที ่หัวใจของฉันอยู่” เพราะทุกครั้งที ่ฉันเครียด ฉันจะกลับบ้าน<br />

การกลับไปหาแมว ได้รดน ้าต้นไม้ที ่บ้าน ท าให้ฉันมีแรงใจไปท าอะไรหลายๆ<br />

อย่างอีกครั้ง ฉันอยากสร้างบ้านให้ครอบครัวในแบบที ่ฉันออกแบบเอง บ้านที ่<br />

มีมุมนั่งเล่นน่ารักๆ ห้องครัวที ่แม่สามารถท าอาหารให้พวกเราทานได้ ห้องคา<br />

ราโอเกะให้พ่อร้องเพลงให้พวกเราฟัง สวนข้างบ้านเพิ ่มออกซิเจน ยิ ่งเวลาผ่าน<br />

ไปเร็ว ยิ ่งต้องเร่งความตั้งใจให้มากขึ ้น ฉันจะเตรียมพร้อมทั้งวิชาการและ<br />

ฝีมือทางศิลปะ เพื ่อฝันการเป็นสถาปนิกในอนาคต


TIME TO<br />

INTERVIEW<br />

1.ความรู้สึกก่อนและหลังเข้าคณะนี ้แตกต่างกันไหม<br />

2.แรงบันดาลใจที ่ท าให้ตัดสินใจเข้าคณะคืออะไร<br />

-ต่างกันนะ ตอนก่อนเข้าพี ่คิดว่ามันน่าจะเรียนเน้นออกแบบบ้าน สวยๆ<br />

เน้นศิลปะ ไม่ต้องคิดค านวณเหมือนพวกจิตกรรม <strong>มัณฑนศิลป์</strong> แต่พอ<br />

เข้ามามันก็ต่างกับที ่คิดลิบลับเลย ตอนเรียนเน้นพวกเรื ่องกระบวนการคิด<br />

การท างานยังกับนักวิทยาศาสตร์ เวลาออกแบบก็ต้องมีตรรกะนู่นนี ่<br />

เยอะแยะไปหมด ต้องเรียนเลข กับฟิสิกส์คล้ายๆกับวิศวะเลยแต่เบากว่า<br />

-พูดตามตรงคือพี ่ไม่มีคณะที ่ชอบ มีแต่เกลียดมากเกลียดน้อย<br />

ฮ่าๆ ตอนแรกพี ่สอบติดแพทย์จีน ที ่แม่ฟ้าหลวง แต่พี ่ไม่อยาก<br />

ไปเพราะมันไกล แล้วที ่โรงเรียนก็มีโควตาคณะนี ้พอดี ซึ ่งมันก็ดู<br />

เหมาะกับเราอยู่ พี ่เลยเลือกเรียนที ่นี ่เลย<br />

3.ในช่วงที ่เหนื ่อยและท้อกับการเรียน มีวิธีการ healตัวเองอย่างไร<br />

-ก็กลับบ้านมาอยู่กับครอบครัว เล่นหมา แมวที ่บ้าน อาจเป็นเพราะที ่บ้าน<br />

เป็นสวน เลยท าให้ช่วยท าให้สดชื ่น เรียกแรงกลับมาท างานได้ดี อีกอย่าง<br />

หนึ ่งคือ เล่นเกม พี ่เป็นคนติดเกมส์มาก แทบจะท างานสลับกับเล่น ฮ่าๆ<br />

แต่มันก็ดีนะ เวลาเหนื ่อยๆ หรือคิดงานไปออกก็พักงานมานั่งเล่นเกมสัก-<br />

พักมันก็ช่วยได้ดีเลย<br />

4.ถ้าย้อนเวลากลับไปได้ จะยังเลือกคณะนี ้ไหม<br />

-อาจจะไม่ พี ่คิดว่าตอนนั้นพี ่ตัดสินใจเร็วเกินไป บางทีอาจจะมีโอกาสที ่ดีกว่า<br />

รอพี ่อยู่ก็ได้ แต่พี ่ก็ไม่เสียใจนะที ่เลือกที ่นี ่เพราะทุกทีก็มีสิ ่งที ่ชอบและไม่ชอบ<br />

5.นอนวันละกี ่ชั่วโมง<br />

-ส่วนใหญ่4ชั่วโมงต่อวัน ถ้าอาทิตย์ไหนงานเยอะก็ไม่ได้นอนติดกัน<br />

3-4วัน อาจจะมีงีบเป็นพักๆบ้าง แล้วก็มานอนตายตอนงานเสร็จ


6.เสน่ห์ของคณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์ในมุมมองของคุณคืออะไร<br />

- หลายคนมองว่าคณะสถาปัตย์สอนคนให้สร้างบ้าน เป็นพวกเขียนภาพขายฝันให้<br />

คนอื ่น55 แต่ความจริงแล้วคณะนี ้สอนกว้างมาก ตั้งแต่กระบวนการคิด การท างาน<br />

การแก้ปัญหาอย่างมีระบบ สอนการเข้าสังคม การท างานร่วมกับคนอื ่น สอนให้ เห็น<br />

คุณค่าของเวลา และการท างานหนักสอนให้ เราเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจคน เพราะเรา<br />

ท างานรับใช้คน รับใช้ธรรมชาติ มันเลยท าให้ เรามองโลกแตกต่างออกไป


คณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>กับความฝัน<br />

ผมคิดว่ามนุษย์ทุกคนต้องมีความฝันที่แตกต่างกันไป เช่น อยากเป็นหมอ อยากมีธุรกิจ<br />

เป็นของตัวเอง หรืออยากเป็นคนที่มีความสุข เป็นต้น และความฝันเหล่านั้นจะท าให้เรามีเป้าหมาย<br />

และแรงบันดาลใจในชีวิตที่ต้องท าเพื่อไปสู่ความฝันที่เราต้องการ<br />

เริ่มแรกตอนผมมีอายุประมาณ5ขวบ ผม<br />

เป็นเด็กที่ชอบขีดเขียนวาดรูป และจะมีสมุดฉีกเล่มเล็ก ๆ<br />

และดินสอไม้หนึ่งแท่งติดตัวเสมอ ผมมักจะวาดรูปคน<br />

หุ่นยนต์ บ้าน และสัตว์ประหลาดต่าง ๆ เหมือนเด็กทั่วไป<br />

ที่ชอบวาดรูป คุณแม่ของผมเริ่มพูดถึงอาชีพต่าง ๆ ที่ผมไม่<br />

รู้จัก โดยเฉพาะอาชีพสถาปนิกถึงแม้ตอนนั้นผมจะยังไม่<br />

เข้าใจว่าสถาปนิกต้องท าอะไรบ้าง แต่ท าให้ผมเริ่มสนใจใน<br />

อาชีพนี้<br />

เมื่อผมโตขึ้นผมเริ่มรู้จักอาชีพใหม่ใหม่เพิ่มมากขึ้น ท าให้ผมมีตัวเลือกมากขึ้น จึงเริ่ม<br />

คิดถึงอาชีพอื่น ๆ เช่น นักวิทยาศาสตร์(นักวิจัย) คุณครู และวิศวกร ลองคิดทุกทวนกับตนเอง ลองถาม<br />

ตนเองว่า ผมเหมาะสมกับอะไร ผมมีความถนัดด้านใด อนาคตของเราจะเป็นอย่างไร ลองท า<br />

แบบสอบถามเรื่องความถนัด และปรึกษากับอาจารย์หลายท่านเกี่ยวกับคณะต่าง ๆ ลองหาแรงบันดาล<br />

ใจให้ตัวเอง และได้เริ่มท าสิ่งใหม่ ๆ ที่ผมไม่เคยท า จนเริ่มรู้สึกเข้าใจตนเองมากขึ้น<br />

เมื่อผมเริ่มขึ้นมัธยมปลายผมเริ่มพยายาม ค้นหาแรง<br />

บันดาลใจ จนได้เห็นภาพวาดภาพหนึ่งของคุณ Vi Luong มันคือ<br />

ภาพวาดตึกธรรมดา ๆ ที่วาดด้วยปากกาด า อย่างละเอียดในเมือง<br />

นิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่คนอื่นอาจจะมองผ่าน ๆ ว่า เป็น<br />

ภาพวาดที่สวยดีแต่ผมกลับมองว่ามันเป็นภาพที่ท าให้ผมได้รับแรง<br />

บันดาลใจ และมีความฝันซึ่งท าให้ผมรู้สึกว่า อยากจะสามารถท าได้<br />

เช่นเดียวกับเขา


ผลงาน<br />

คุณ Vi Luong<br />

แต่ไม่ใช่การลอกเลียนแบบจากเขา แต่ผมจะฝึกความสามารถ<br />

แบบเขาเพื่อท าในรูปแบบของตนเองเพราะฉะนั้นผมจึง<br />

ต้องการความรู้เพื่อมาเพิ่มความสามารถจุดเริ่มต้นเล็กๆใน<br />

คณะอันยิ่งใหญ่ในใจนักสถาปนิกคือ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์<br />

สิ่งที่ผมจะต้องศึกษาเมื่อได้เข้าศึกษาในคณะ<br />

<strong>สถาปัตยกรรม</strong>คือ การออกแบบเกี่ยวกับ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ทั่วไป<br />

ได้แก่ ที่อยู่อาศัย อาคาร สิ่งก่อสร้างประเภทต่างๆ ซึ่งต้อง<br />

ค านึงถึง ปรัชญาในการออกแบบ ประโยชน์ใช้สอย ความ<br />

สวยงาม พฤติกรรมและความรู้สึกของผู้อยู่อาศัย การเลือกวัสดุ<br />

ก่อสร้าง และกรรมวิธีในการก่อสร้าง ซึ่งผมก็เตรียมตัวโดยแบ่ง<br />

เวลาแต่ละวันในการฝึกวาดรูปให้มากขึ้น เพราะรุ่นพี่จากคณะ<br />

<strong>สถาปัตยกรรม</strong>มักจะบอกเสมอว่างานค่อนข้างเยอะมาก ๆ<br />

เป้าหมายหลังจากที่จบการศึกษาของผม ๆ<br />

ตั้งใจว่าจะท างานในบริษัทเพื่อสั่งสมประสบการณ์ไม่ต่ ากว่า 2<br />

ปี และออกมาสร้างธุรกิจของตนเอง เพราะผมได้เรียนรู้จากคุณ<br />

แม่ของผมว่า ท่านเคยท างานในบริษัทเป็นหัวหน้าฝ่าย แต่วัน<br />

หนึ่งบริษัทเกิดปัญหากับธนาคารท าให้ต้องเลิกกิจการโดยยังไม่<br />

ทันได้ตั้งตัว ซึ่งนั่นท าให้รายรับในบ้านของผมหายไปส่วนหนึ่ง<br />

และคุณแม่ก็ค่อนข้างเสียใจมากส่วนหนึ่งเพราะท างานที่นั่นมา<br />

นาน นั่นเป็นเหตุผลที่ท าให้ผมต้องประสบความส าเร็จผมจึง<br />

ต้องเรียนรู้ในสังคมให้มากกว่านี้ และปรับตัวกับมันให้ได้มาก<br />

ที่สุด เพราะผมสัญญากับตัวเองว่า ผมจะต้องเป็นคนที่ท าให้<br />

คุณพ่อกับคุณแม่มีความสุขที่สุด<br />

ทุกคนย่อมมีความฝันที่ตนเองต้องการ ซึ่งความฝันของผมคือการเป็นสถาปนิกคนหนึ่งที่<br />

มีความสุขกับการท างานและมีความเข้าใจในงานที่ตนเองท าผมจึงมีความเพียรทั้งกายและใจเพื่อการเข้าสู่<br />

คณะเพื่อเรียนรู้สิ่งต่างๆในการท างานและผมจะต้องพยายามท าตามเป้าหมายเพื่อให้ความฝันนั้นเป็นจริง


วาดบ้านเขียนแบบ...<br />

พี่มีแรงบันดาลใจอะไรในการเข้า<br />

คณะสถาปัตกรรมศาสตร์<br />

พี่อัต: คืออย่างงี้ มันอาจจะเริ่มจากที่เรา<br />

ชอบวาดรูป แล้วเวลาที่เรามองอาคาร<br />

หรือ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ไรเงี้ย มันก็จะมี<br />

ค าถามๆนึงเกิดขึ้นมานะว่าใครเป็นคน<br />

สร้างแล้วเขามีแนวความคิดอะไรในการ<br />

ท างานแบบนี้ เขาท างานกันยังไง นั่นคือ<br />

ก้าวแรกเลยที่เราเลือกที่จะเรียนสายนั้น<br />

พี่อัต...ธนวัฒน์ ชมยินดี<br />

จบปริญญาโท คณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong><br />

สาขาวิชา<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ม.6 โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย จังหวัด<br />

นครปฐม<br />

ปัจจุบัน สอนศิลปะที่@Perspective<br />

นครปฐม<br />

พี่อัตเล่าให้ฟังว่า สมัยเด็ก ๆ คุณแม่พี่อัตเป็นครู คุณแม่พี่อัตมักจะชอบซื้อหนังสือเกี่ยวกับแต่ง<br />

บ้านและต้นไม้ แต่ไม่ค่อยมีเวลาอ่านเพราะมักต้องเตรียมการสอนให้เด็กนักเรียน และต้นไม้ พี่อัตชอบเอา<br />

หนังสือของคุณแม่มานั่งอ่านเล่นบ้าง วาดรูปตามบ้าง จากนั้นพี่อัตก็ชอบวาดรูปบ้าน ท าให้พี่อัตเลือกที่จะเรียน<br />

ในคณะสถาปัตกรรมศาสตร์<br />

พี่มีเทคนิคหรือการเตรียมตัวอย่างไรในการเข้า<br />

คณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์<br />

พี่อัต: การเตรียมตัวหรอ? เตรียมตัวก็ต้อง ก็หนึ่งความรู้<br />

ทางด้านวิชาการเนี่ยส าคัญเพราะสัดส่วนมัน 60:40 วิชาการนี่ก็ คนิต ฟิสิกส์<br />

อังกฤษ สามวิชานะ เน้นไปเลยสามวิชา แล้วก็ความถนัดสถาปัตก็ต้องดี<br />

หน่อย นะครับเวลาเตรียมตัวนะ ความถนัดสถาปัตก็จะมี วาดรูป หัดเส<br />

ก็ตอะ ไม่ต้องวาดเหมือนก็ได้นะ แต่ต้องเสก็ตแบบ Perspective ได้ เก็บ<br />

มุมมองให้ได้ แล้วก็มิติสัมผัส


ต่างๆ ออกมาเป็นสามมิตินะครับ รวมถึงการออกแบบเบื้องต้น<br />

อย่างเช่นเวลาออกแบบโลโก้ การออกแบบโปสเตอร์ไรเงี้ยนะ<br />

แล้วก็พวกกราฟฟิกก็ต้องเป็นบ้าง แต่ว่าเวลาที่เราเองเตรียม<br />

ตัวเนี่ย มันก็จะแบบให้เราออกแบบนานอะ แบบนั้นมันก็เน้น<br />

ไปทาง Quick sketch กับไปทาง Design<br />

เมื่อเรียนจบมาสามารถน าความรู้ไปใช้ในชีวิตได้<br />

อย่างไรบ้าง<br />

พี่อัต: โหเยอะเลย สาขาวิชาชีพเนี้ย สถาปัตเนี่ยมันท าให้<br />

เรา เค้าฝึกให้เราคิดอะ เพราะงั้นโดยกระบวนการคิดเนี่ย<br />

เวลาที่ปกติสาขาอื่นเขาอาจจะคิด อาจจะพูด แล้วให้เราฟัง<br />

แต่สถาปัตเนี่ยเขาจะฝึกให้เราพูดด้วย แล้วอาจารย์จะฟังสิ่ง<br />

ที่เราพูดมากกว่า มันหมายความว่าถ้าเราจะพูดเราก็ต้อง<br />

เตรียมตัวก่อนพูดใช่ปะ มีการเตรียมตัวก่อนพูด มีการ<br />

เตรียมตัวก่อนถามข้อมูล มีการเก็บข้อมูล มีการสังเคราะห์<br />

ข้อมูล แล้วก็สรุป เพราะงั้นเมื่อเราจบสถาปัตมาเนี่ย หลาย<br />

ๆ คนก็จะประสบความส าเร็จเพราะเขาใช้กระบวนการคิด<br />

นี้ในการท างานไปด้วยในตัว และเขาไม่กลัวสิ่งที่สร้าง มันก็<br />

เลยเหมือนกับเมื่อท าอะไรมีเหตุผลมันก็จะง่ายกว่าปกติ<br />

หน่อย ๆ แต่มันก็เป็นกึ่งศิลปะนะ มันจะไม่ใช่ศิลปะทีเดียว<br />

เอาพูดง่าย ๆ ก็เหมือนกับสถาปัตเนี่ยท าเพื่อคน<br />

อื่น คือออกแบบบ้านก็จริงนะ แต่ไม่ใช่บ้าน<br />

ตัวเองหรอก แต่เหมือนเข้าใจว่า คนนั้นอะเขามี<br />

นิสัยอย่างไง ชอบอะไร ที่บ้านเขามีกี่คน ใน<br />

ขณะเดียวกันก็ต้องมีความรู้ทางด้านศิลปะด้วย<br />

คือเราออกแบบอย่างที่มันสวยแล้วก็ต้องเข้าใจ<br />

โครงสร้างทางวิศวกรรมด้วย มันก็เลยไปรวมกับ<br />

ภาควิศวกรรมหน่อย ๆ ต้องรู้โครงสร้างด้วย<br />

ต้องรู้ศิลปะด้วย ต้องรู้คนด้วย อย่างเงี้ย คือท า<br />

เพื่อคนอื่นอะแล้วก็จับทุกอย่างมาเกลี่ยให้ลงตัว<br />

เหมือนเป็นพ่อครัวอะครับ วัตถุดิบที่ได้มาก็จับ<br />

มาย ารวมกันเป็นอย่างเดียวกัน


“เรียนสถาปัตย์ดีไหม ป๊ าว่าเรามีแวว” ดิฉันจ าได้ว่าเป็นค าพูดของพ่อตอนฉันอยู ่วัย<br />

ประถมศึกษา เพราะพ่อเห็นว่าดิฉันสามารถมาทางนี ้ได้เนื่องจากที่ดิฉันสนใจวาดรูปตั ้งแต่<br />

ตอนเด็กๆ นอกจากเล่นเกมแล้วว่างเมื่อไหร่เป็นอันต้องค้นกระดาษหาดินสอปากกามาวาด<br />

รูป คณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์ยังคงเป็นค าแนะน าจากพ่อในปัจจุบันซึ่งดิฉันรู ้ สึกเห็นด้วย<br />

กับพ่อ และมีความใฝ่ ฝันที่จะสร้ างบ้านเป็นของตัวเอง นี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดิฉันจะเลือก<br />

เดินทางเข้าสู ่คณะนี ้<br />

คิดว่าการออกแบบและสร้ างสิ่งก่อสร้ างต่างๆ<br />

ขึ ้นมาได้มันคือความมหัศจรรย์ และถ้าเป็ นบ้าน<br />

หรืออาคารที่ฉันออกแบบได้ถูกสร้างขึ ้นมาตั ้งอยู ่ใน<br />

ส่วนใดบนโลกมันคงเป็ นความภาคภูมิของ<br />

เด็กผู ้หญิงคนหนึ่งคนนี ้ แต่กว่าจะเป็นแบบที่ว่านี ้<br />

ได้คงต้องผ่านอะไรมามากและมันไม่ง่ายเหมือน<br />

วาดฝัน<br />

<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ในความคิด<br />

น.ส.ธัญญลักษณ์ ฐานบัญชา ม.5/3 เลขที่ 5<br />

<strong>สถาปัตยกรรม</strong>เป็นศาสตร์ที่เป็นส่วนหนึ่ง<br />

ข อ ง ศิ ล ป ะ เ ร า จ า เ ป็ น ต้ อ ง มี ค ว า ม คิ ด<br />

สร้ างสรรค์ควบคู ่กับความรู ้ ทางวิทยาศาสตร์<br />

และต้ องเข้ าใจวัฒนธรรมการใช้ ชีวิตของ<br />

มนุษย์ ดิฉันซึ่งอยู ่สายการเรียนภาษาอังกฤษ-<br />

คณิตศาสตร์ที่ขาดความรู ้ทางวิทยาศาสตร์จึง<br />

ต้ องพยายามค้ นคว้ าในสิ่งที่ไม่มีสอ นใน<br />

ห้ องเรียนเพิ่มเติมเอง ถึงมันจะล าบากไป<br />

หน่อยแต่ดิฉันคิดว่านี่เป็นแค่เพียงจุดเริ่มต้น<br />

เท่านั ้น เมื่อเราเลือกแล้ วเพื่อที่จะเดินตาม<br />

ความฝันจึงต้องพยายามให้ถึงที่สุดเพื่อที่จะ<br />

ไปถึงจุดหมายที่ตั ้งไว้


ส าหรับวิชาที่ดิฉันต้ องศึกษาในชั ้นปี แรกคือสร้ างทักษะความงามสู ่การออกแบบ<br />

เบื ้องต้น ฝึกการเขียนภาพตามหลักการออกแบบทัศนศิลป์ การเขียนแบบ การสร้ าง<br />

หุ ่นจ าลอง ศึกษากระบวนการพื ้นฐานในการออกแบบและการรับรู ้ ทาง<strong>สถาปัตยกรรม</strong><br />

โดยเฉพาะที่ว่างและรูปทรง เรียนรู ้ประวัติศาสตร์<strong>สถาปัตยกรรม</strong> เรียนรู ้กฎหมายเบื ้องต้น<br />

สภาพภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และวัฒนธรรมที่มีผลกระทบต่อการออกแบบ และเรี ยน<br />

เพิ่มเติมในส่วนของคณิตศาสตร์ ฟิ สิกส์ และภาษาอังกฤษ อีกทั ้งดิฉันยังรู ้ มาว่าคณะนี ้<br />

เรียนไม่ง่ายเลย เป็นนักศึกษาที่เรียนกลางวัน ท าโปรเจคตอนกลางคืน ตื่นมาส่งงานตอน<br />

เช้า นอนหลังส่งโปรเจค และตื่นมาเข้าคลาสตอนบ่าย ดิฉันหวังว่าจะสามารถบริหารเวลา<br />

ตรงนี ้ได้เป็นอย่างดีและส่งงานครบตรงก าหนดครบทุกชิ ้นด้วยความ<strong>สร้างสรรค์</strong> ดิฉันชอบ<br />

ที่จะได้ สร้ างโมเดลที่ตัวเองออกแบบโดยเกมที่ชื่อเดอะซิมเป็ นเกมสร้ างบ้ านสร้ าง<br />

ครอบครัวที่เราจะสรรสร้ างบ้านได้ตามที่เราต้องการ ถึงตอนนี ้ฉันจะยังไม่เก่งมากแต่เชื่อ<br />

ว่าในอนาคตสิ่งที่ได้เรียนรู ้จะท าให้ฉันพัฒนาขึ ้นและมีความสามารถมากขึ ้นอย่างแน่นอน<br />

เมื่อดิฉันส าเร็จการศึกษาแล้วดิฉันมีความรู ้ มากเพียงพอ ดิฉันจะไปฝึกงานตาม<br />

บริษัทต่างๆก่อนสักระยะหนึ่งเพื่อเรียนรู ้งานจริงๆของการเป็นสถาปนิก และดิฉันใฝ่ ฝัน<br />

ว่าอยากจะไปท างานที่ต่างประเทศได้เรียนรู ้ การท างานกับคนต่างชาติต่างภาษา แล้ว<br />

หลังจากนั ้นดิฉันก็จะสร้างบริษัทเป็นของตัวเองขึ ้นมา จากแนวคิดของคอลลิน พาวเวล<br />

“ไม่มีความลับ ที่จะประสบความส าเร็จ มันเป็นผล จากการเตรียมการ ท างานอย่าง<br />

หนัก และการเรียนรู ้จากความล้มเหลว”<br />

พยายามเข้าล่ะ<br />

อย่าเพิ่งยอมแพ้


พูดคุยกับตัวจริงเสียงจริง<br />

แนะน าตัว<br />

นายณัฐดนัย บูชา ชื่อเล่น ณัฐ เพิ่ง<br />

จบจากคณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>ศาสตร์<br />

สาขา<strong>สถาปัตยกรรม</strong> มหาวิทยาลัย<br />

นเรศวร<br />

ต้องใช้เวลาเรียนทั ้งหมดกี่ปีคะ<br />

พี่ณัฐ: สถาปั ตยกรรมหลัก<br />

เรียน 5 ปีครับ แต่ก็มีบางสาขา<br />

บางมหาวิทยาลัยที่เรียน 4 ปี<br />

ท าไมถึงเลือกเรียนคณะนี ้<br />

พี่ณัฐ: ปกติชอบคิด ชอบเขียน<br />

ชอบวาดอะไรเล่นๆ ช่วงที่เลือก<br />

เ รี ย น ค ณ ะ นี ้ก็ มี ค ว า ม ส น ใ จ<br />

เกี่ยวกับการออกแบบอาคาร ว่า<br />

เค้ าท ายังไงมี วิธี คิดอะไรบ้ าง<br />

สุดท้ายก็ตัดสินใจเรียนคณะนี ้ครับ<br />

คณะ<strong>สถาปัตยกรรม</strong>เรียนอะไรบ้างคะ<br />

พี่ณัฐ : คณะสถาปัตย์ในแต่ละมหาวิทยาลัย มีหลายสาขา เช่น สถาปั ตยกรรม<br />

หลัก <strong>สถาปัตยกรรม</strong>ภายใน ภูมิ<strong>สถาปัตยกรรม</strong> และอื่นๆ ถ้าให้บอกคร่าวๆ สาขา<br />

<strong>สถาปัตยกรรม</strong>หลักที่พี่เรียนจะเน้นการออกแบบอาคารเป็นหลัก โดยค านึงถึง<br />

องค์ประกอบเกี่ยวกับการคิดพื ้นที่ว่างทั ้งภายในและภายนอกอาคาร ความ<br />

สวยงามของตัวอาคาร รวมถึงการวิเคราะห์ต่างๆ ส าหรับการออกแบบ ซึ่งแต่ละ<br />

สาขาก็จะเน้นการเรียนไปตามชื่อของสาขานั ้นๆ เลยครับ


คณะนีเรียนยากไหม<br />

้<br />

พี่ณัฐ: แล้วแต่คนนะ ส าหรับพี่ก็ไม่ง่าย ไม่ยากเกินไป ส่วนใหญ่เวลาจะหมดไปกับ<br />

การท างาน พี่จะเครียดมากช่วงส่งงานไฟนอล เพราะจะมีหลายงานต้องส่งพร้ อมกัน<br />

เลยต้องอดหลับอดนอนท างานให้เสร็จทันเวลา<br />

จบแล้วสามารถไปประกอบอาชีพอะไรได้บ้างคะ<br />

พี่ณัฐ: ถ้าท างานตามสาขา จบมาก็เป็นสถาปนิก แต่ก็<br />

สามารถท างานเป็นนักออกแบบด้านอื่นๆ ได้ด้วย อยู ่ที่<br />

เราจะประยุกต์ความรู ้ที่เรียนมาไปใช้ในชีวิตยังไง<br />

มีอะไรที่อยากฝากถึงน้องๆที่จะเข้าเรียนคณะนี ้ไหมคะ<br />

พี่ณัฐ: ไม่ใช่แค่ชอบวาดรูป แต่ควรมีความชอบในการ<br />

คิด การออกแบบระดับนึงด้วย เพราะเราต้องคิดงาน<br />

แทบทุกวัน ต้ องท าโมเดล ต้ องท างานดีไซน์ไปส่ ง<br />

อาจารย์ครับ ถ้าไม่ชอบมันจะเครียดมากๆ สุดท้ายก็จะ<br />

ไม่ได้งานออกแบบดีๆ และท างานไม่ทันตามก าหนดส่ง<br />

งานครับ


“ ศิลปะไม่ได้สอนให้นายวาดรูปหรือเขียนรูปเป็นอย่างเดียว<br />

แต่……..สอนให้นายรู้จักชีวิต” ค ากล่าวของ อ.ศิลป์ พีระศรี<br />

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์<br />

นายธนรัชต์ ทองสิมา ม.5/3 เลขที่23<br />

ตอนเด็กๆผมเป็ นเด็กที่ซนมากๆ ชอบเอาปากกา มาขีดเขียนเล่น อยู่เสมอ ตั ้งแต่จ าความได้ชีวิตของผม<br />

ผมก็วาดแต่รูปมาตั ้งแต่เด็กเลย ตอนนั ้นผมยังไม่คิดจริงจังเพราะด้วยความเป็ นเด็กอยู่ จนถึงช่วงหนึ ่งตอนมัธยม<br />

ตอนต้น ผมมีโอกาสได้เข้ามาเรียนห้องที่มีผลการเรียนระดับดีเยี่ยม ตอนนั ้นผมเรียนหนักมาก จนมาถึงจุดที่ผม<br />

คิดว่ามันไม่ใช่ ผมเลยลองย้อนไปในอดีตผมนึกถึงอารมณ์ของผม ความสุขของผมในการได้วาดรูป ผมเลย<br />

ตัดสินใจที่จะมาเรียนทางด้านนี ้ เพราะผมคิดว่าผมท าในสิ่งที่ผมรัก อย่างไรผมก็มีความสุขกับสิ่งนี ้และท ามันได้<br />

ดีกว่า<br />

ผมเริ่มจริงจังมากขึ ้นจนผมเริ่มไปแข่งวาดรูปอยู ่บ่อยๆ จนผมได้<br />

ที่ 3 ระดับประเทศตอนมัธยมศึกษาตอนต้น ผมไปรับรางวัลผมมี<br />

โอกาสได้ไปนั่งคุยกับ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ และศิลปิ น<br />

แห่งชาติหลายๆท่าน ผมได้พูดคุย ผมเริ่มมีแรงบันดาลใจในตอนนั ้น<br />

ท าให้ผมรู ้จักคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์เพราะศิลปิ น<br />

แห่งชาติส่วนมากจบมาจากคณะจิตรกรรมเลยท าให้ผมอยากเข้า<br />

คณะนี ้


คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์<br />

ค ณ ะ จิ ต ร ก ร ร ม ป ร ะ ติ ม า ก ร ร ม แ ล ะ ภ าพ พิ ม พ์<br />

มหาวิทยาลัย ศิลปากร เป็ นคณะที่สอนเกี่ยวกับการวาดรูปทุก<br />

แขนงรวมไปถึงการปั ้ น การแกะสลัก ภาพพิมพ์ ผมอยากเข้า<br />

มาเรียนคณะนี ้ เพื่อจะมาเก็บความรู้ เทคนิคต่างๆให้ได้มาก<br />

ที่สุด และค้นหาสไตล์งานค้นหาตัวตนให้พบเพื่ออนาคตที่ผม<br />

ตั ้งใจไว้ว่าจะเป็ นช่างปั ้ น<br />

ผมเลือกที่จะเข้าคณะจิตรกรรมประติมากรรมและ<br />

ภาพพิมพ์ เพราะผมรักในสิ่งนี ้และมีความสามารถในด้านวาด<br />

รูปเพื่อที่จะเป็ นศิลปิ นที่โด่งดังและมีกิจการเป็ นของตัวเอง<br />

เพราะเป็ นอาชีพที่ผมไฝ่ ฝันและผมคิดว่าผมต้องท าฝันของผม<br />

ให้เป็ นจริงให้ได้ครับ<br />

ผมมีความฝันว่าผมอยากเปิ ดโรงปั ้ น เพราะปั ้ นเป็ น<br />

สิ่งที่ท าได้ยาก และผมชอบถ้าอยากปั ้ นได้ต้องมีพื ้นฐาน<br />

การวาดรูปให้แน่นที่สุด และผมอยากท ามันให้ได้ผมอยากท า<br />

ให้แม่ผมได้รู้ว่าสิ่งที่ผมเรียนคณะจิตรกรรมที่ผมอยากเข้า<br />

ไม่ได้ไร้สาระเสมอไป ผมเลยตั ้งใจมากที่อยากเข้าคณะ<br />

จิตรกรรม ผมอยากฝึ กฝนให้เยอะและผมจะเอาสิ่งที่ผมรัก มา<br />

เลี ้ยงดูครอบครัวผมได้ ผมรักในสิ่งนี ้ มีเหตุผลเดียวที่ผมอยาก<br />

เข้าคณะนี ้คือผม “รัก” ในสิ่งนี ้ครับ


Q<br />

อยากเรียนคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์<br />

นายพีระพงษ์ วงษ์ทวี (พี่แป๋ ง)<br />

จบมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปริญญาตรี คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพ<br />

พิมพ์สาขาเพนท์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปัจจุบันศึกษา ปริญญาโท สาขาทฤษฎีศิลป์<br />

-เยอะแยะนาย พีระพงษ์ วงษ์ทวี (พี่แป๋ ง)<br />

จบมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปริญญาตรี คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์<br />

ท าไมถึงอยากเข้าคณะจิตรกรรมครับและรู้ตัวว่าอยากเรียนตอนไหนครับ<br />

นายธนรัชต์ ทองสิมา ม.5/3 เลขที่23<br />

สาขาเพนท์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

A: ถ้าถามว่ารู้ตัวตอนไหน จริงๆก็ช้ามาก ม.5 ม.6ได้<br />

ปัจจุบันศึกษา ปริญญาโท สาขาทฤษฎีศิลป์ ครับ หลักๆก็<br />

เป็ นเรื่องความยากของบทเรียน Q เตียมตัวในกราสอบเข้าคณะจิตรกรรมยังไงบ้างครับ<br />

บางที่เราก็เจอสิ่งที่เราไม่<br />

ถนัด พอยากเราก็ขีเกียจท ้ A: าบ้างไม่อยากท ต้องหาที่เรียนวาดรูป ตอนเเรกก็เรียนกับพวกพี่ที่เขามาติว าบ้าง ใช้อุปสรรค พี่<br />

นักศึกษาที่เขารับติว คือตอนนั ้นยังไม่แน่ใจว่าเราจะเข้าอะไร<br />

ใหนการเรียนคณะจิตกรรมมีมีเยอะไหมครับ<br />

ยังไม่รู้ตัวว่าชอบอะไรเป็ นพิเศษแค่อยากจะวาดรูป ก็เลยดูคณะ<br />

จิตรกรรม <strong>มัณฑนศิลป์</strong> ที่ใกล้ตัวอยู่ที่ศิลปากร แต่พอรู้ว่าลึกๆ<br />

เวลานานดึกดื่น เที่ยงคืน จะเห็นว่าเด็กศิลปะชอบอดหลับ<br />

แล้ว อยากเข้าจิตรกรรมมากกว่า ก็รู้ว่าแค่ติววาดรูป วาดมือ<br />

อะไรที่ท าอยู่ก็คิดว่ามันไม่พอเลยไปปรึกษาอาจารย์ที่โรงเรียน<br />

อดนอนซึ่งเป็ นอุปสรรคอันใหญ่หลวง<br />

แล้วเขาบอกจะติวให้ ก็เลยได้ติวที่โรงเรียนหลังเลิกเรียนทุกวัน<br />

Q<br />

A:<br />

อุปสรรคในการเรียนคณะจิตกรรมมีเยอะไหมครับ<br />

เยอะแยะครับ หลักๆก็เป็ นเรื่องความยากของบทเรียน บางที่เราก็เจอ<br />

สิ่งที่เราไม่ถนัด พอยากเราก็ขี ้ เกียจท าบ้างไม่อยากท าบ้าง ใช้<br />

เวลานานดึกดื่น เที่ยงคืน จะเห็นว่าเด็กศิลปะชอบอดหลับอดนอน<br />

ซึ ่งเป็ นอุปสรรคอันใหญ่หลวง


Q:<br />

A:<br />

ตอนนี ้ที่เรียนอยู ่คณะจิตรกรรมเรียนเกี่ยวกับอะไรครับ<br />

ตอนนี ้เรียนปริญญาโท เรียนทฤษฎีศิลป์<br />

Q:<br />

เมื่อจบปริญญาโท ที่เรียนทฤษฎีศิลป์<br />

มีอาชีพไหนให้เลือกบ้างครับ<br />

A:<br />

ถ้า ต า ม ห ลัก สู ต ร ก็ จ ะ เ ป็ น นั ก ท ฤ ษ ฎี<br />

นักวิชาการ ครู อาจารย์ แล้วก็จะมีวิชา<br />

เกี่ยวกับการจัดการพิพิธภัณฑ์หรือหอศิลป์<br />

ไว้จัดแสดงงาน เพราะเวลาจัดแสดงงานก็<br />

ต้องมีเจ้าหน้าที่ค่อยจัดการ จะเป็ นวิชา<br />

ทฤษฎีศิลป์ รวมกันก็ถือว่าเยอะนะ<br />

Q:<br />

A:<br />

Q:<br />

A:<br />

เมื่อเรียนจบอยากท าอาชีพอะไรครับ<br />

อยากเป็ นครูโรงเรียนมัธยมสอนศิลปะ<br />

เรียนจบช่วงแรกๆหางานท าอยากไหมครับ<br />

คิดว่าไม่ได้ยาก จริงๆงานมีเยอะแยะ เห็นเพื่อน เห็นคนที่จบใกล้ๆกันได้งานหลากหลาย ไม่ได้ยากขนาดนั ้น<br />

ส่วนที่ยากก็คือไม่ท า ไม่อยากท า เจองานที่ไม่ถูกใจ ทุกคนต่างเลือกงานอยู่แล้ว แต่จะหางานจริงๆเนี่ยไม่<br />

ยาก


ฝันต้องเป็นจริง<br />

นายกฤษฏิ์ ประทุมนันท์<br />

มหาวิทยาลัย (University) เป็ นเป้ าหมายอีกก้าวหนึ ่งของใครหลายๆ คน ที่ก าลัง<br />

ศึกษาอยู่ในสายสามัญศึกษา หลายคนสามารถค้นพบความชอบของตนเอง และเดินไปตาม<br />

ความฝันได้ส าเร็จ แต่อีกหลายคนยังไม่รู้ว่าตัวเองชอบ หรืออยากศึกษาต่อในคณะอะไร จบมา<br />

จะท างานอะไร และจะประสบความส าเร็จหรือไม่<br />

ในวัยเด็ก ผมเรียนไปตามที่พ่อแม่บอกให้เรียนเพราะแม่บอกว่ามัน<br />

เป็ นพื ้นฐานที่จะท าให้ผมมีอาชีพ มีงานท าที่ดีในอนาคต ซึ ่งในตอนนั ้น<br />

ผมไม่รู้หรอกว่าท าไมต้องเรียน เรียนไปเพื่ออะไร ท าให้การเรียนของผม<br />

ไม่ค่อยจะสู้ดีนัก แต่ผมก็พยายามท าให้ดีที่สุดเท่าที่จะท าได้ ตอนนั ้นผม<br />

รู้อย่างเดียวคือชอบวาดรูป มันสนุกกว่าเรียนเป็ นไหนๆ และเป็ นสิ่งที่ท า<br />

ให้ผมรู้สึกว่าทุกคนภูมิใจ และมีความสุขที่ได้เห็นภาพวาดของผม ในช่วง<br />

วันหยุดแม่ผมจึงตัดสินใจส่งให้ผมเรียนวาดรูปกับอาจารย์หลายๆ ท่าน ซึ ่ง<br />

แต่ละท่านให้ความรู้ที่แตกต่างกันออกไป ท าให้ผมมีความรู้หลากหลาย<br />

นอกจากนี ้ผมยังส่งผลงานวาดภาพเพื่อแข่งขันในงานต่างๆ ได้รับรางวัล<br />

บ้าง ไม่ได้บ้าง ซึ ่งท าให้ผมได้เรียนรู้อะไรหลายๆ อย่าง ถึงแม้ผมจะไม่<br />

ชอบการแข่งขันมากนัก แต่มันท าให้ได้เรียนรู้ว่ายังมีคนที่เก่งและมีฝี มือ<br />

มากกว่าผมอีกมาก ซึ ่งผมต้องพัฒนาและปรับปรุงงานของผมไปเรื่อย ๆ<br />

จนมาถึงวันนี้ผมก าลังศึกษาอยู่ในระดับ<br />

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร สายศิลปกรรม ซึ ่งมันอาจจะเป็ นเพราะโชค<br />

หรือความสามารถของผม แต่มันคือความส าเร็จในระดับ<br />

หนึ ่งของผม ท าให้ผมได้ท าในสิ่งที่ชอบ สิ่งที่รัก ได้พบ<br />

เพื่อนที่ชอบศิลปะเหมือนกัน ท าให้ได้เรียนรู้เรื่องศิลปะ<br />

มากขึ ้น และเมื่อจบชั ้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ผมตั ้งใจจะ<br />

ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ ่ง<br />

ผมพยายามถามตัวเองตลอดว่าอยากเรียนคณะอะไร จน<br />

ในที่สุดจึงตัดสินใจว่าคณะจิตรกรรมประติมากรรม และ<br />

ภาพพิมพ์ น่าจะเหมาะสมกับผมมากที่สุด


การสอบเข้าคณะจิตรกรรม<br />

ประติมากรรมและภาพพิมพ์มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร เป็ นสิ่งที่ยาก เนื่องจากมีผู้เข้า<br />

สอบมากมายจากหลากหลายสถาบัน เช่น<br />

วิทยาลัยช่างศิลป์ วิทยาลัยเพาะช่าง เป็ น<br />

ต้น ซึ ่งมีการเรียนการสอนที่เน้นทางด้าน<br />

ศิลปะ เช่นเดียวกับโรงเรียนของผม ที่มี<br />

นักศึกษาที่มีฝี มือดีอีกมากมาย ซึ ่งเป็ น<br />

คู่แข่งที่ค่อนข้างน่ากลัวส าหรับผม และ<br />

นอกจากนี ้ยังมีนักเรียนโรงเรียนอื่นๆ ที่<br />

สนใจศิลปะอีกมากมาย ในขณะที่จ านวน<br />

ที่นั่งในมหาวิทยาลัยศิลปากรรับเข้าศึกษา<br />

ค่อนข้างจ ากัด การแข่งขันจึงสูง<br />

ซึ่งทางโรงเรียนของผมมีการให้โควตาส าหรับนักเรียนที่<br />

ดี มีระดับผลการเรียนเฉลี่ยตั ้งแต่ 3.00 ขึ ้นไป แม้ว่าตอนนี ้ผล<br />

การเรียนของผมยังไม่ถึง 3.00 แต่ อย่างไรก็ตามผมยังมีเวลา<br />

อีก 1 ปี ผมจะพยายามท าให้เต็มที่เพื่อให้ได้โควต้าเพื่อเข้า<br />

ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยศิลปากรให้ได้ เพราะมันเป็ นความฝัน<br />

ของผม และ ครอบครัว ซึ ่งหากผมสามารถท าได้ส าเร็จมันจะท า<br />

ให้ครอบครัวผมภูมิใจอีกครั ้งหนึ ่ง หลังจากที่ผมสามารถสอบ<br />

เข้าโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรได้ และจะได้เป็ น<br />

นักศึกษาคณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ์<br />

ผมเชื่อว่า คนเรามีสิทธิ ์ ที่จะฝันไม่ว่าฝันนั ้นจะ<br />

ไกลแค่ไหน ขอเพียงเรามีความตั ้งใจที่ไปให้ถึง ต่อให้มี<br />

อุปสรรคต่างๆ มากมายขนาดไหน ถ้าเราไม่ย่อท้อ เราก็<br />

จะประสบความส าเร็จได้ดั่งใจหวัง และเมื่อเราไปถึงจุด<br />

แห่งความส าเร็จนั ้นแล้วเราจะภาคภูมิใจกับสิ่งที่เราท า


สุรีพร ค าทรัพย์<br />

คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ์<br />

Q: คุณสมบัติที่ส าคัญของคนที่จะสามารถเรียน<br />

คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ์ได้ต้องเป็น<br />

อย่างไรครับ<br />

A:ส าหรับตัวเรามันไม่มีอะไรฟิ คแน่นอนว่ามันต้องเป็ นแบบ<br />

นี ้ ๆนะ แต่ส าคัญที่สุดเลยควรจะวาดรูปเป็ น นอกนนั ้นก็เป็ น<br />

คุณสมบัติพื ้นฐานที่ทุกคนควรมี แบบอดทนให้เป็ น ใฝ่ รู ้ แบบนี ้<br />

Q; การเรียนคณะจิตรกรรมประติมากรรม<br />

และภาพพิมพ์ มีความยาก หรือง่ายมากน้อย<br />

อย่างไร และเราควรต้องเตรียมความพร้อม<br />

อย่างไรบ้างครับ<br />

A: มันมีทั ้งส่วนที่ยาก และส่วนที่ง่าย สิ่งที่ง่ายก็คือสิ่ง<br />

ที่เราเคยเจอมาแล้ว ถนัดหรือชอบมันท ามันได้ดี แต่จะเป็ น<br />

ส่วนน้อยนะ555 ส่วนใหญ่สิ่งที่เจอจะยากเพราะเราไม่เคย<br />

เจอมาก่อน มันเปิ ดโลกราเหมือนกัน อันนี ้พูดรวมไปถึงงาน<br />

และการปรับตัวด้วย เตรียมความพร้ อมก็คงเป็ นการหาข้อมูล<br />

ศึกษาสิ่งรอบตัวให้มาก ๆ ดูงานเยอะ ๆ ข้อมูลแน่นเท่าไหร่มัน<br />

ก็ง่าย อย่างน้อย ๆ เราท าอะไรไปก็มีความรู ้


Q; พี่คิดว่าสิ่งที่ได้รับจากการเรียนคณะจิตรกรรมมี<br />

อะไรบ้าง และน าไปใช้ประกอบอาชีพอะไรได้บ้างครับ<br />

A: สิ่งที่พี่ได้รับคือ การเปิ ดโลกศิลปะไปในอีกระดับนึง<br />

มันเหมือนเราต้องเปิ ดใจยอมรับ ที่นี่มันกว้าง และหลากหลาย<br />

บางอย่างที่เราเคยคิดว่าไม่ได้ ท าแบบนี ้ไม่ได้ มาอยู ่นี่แล้วมัน<br />

ได้หว่ะ มันท าให้สนุกกับการท างานมากขึ ้นในระดับต้นที่ก าลัง<br />

เรียนรู ้ นะ มันสามารถเอาไปใช้ในอาชีพได้แน่นอน อย่างน้อย ๆ<br />

เราก็ต้องเปิ ดใจยอมรับตัวเอง ยอมรับสิ่งต่าง ๆ เพื่อการก้าวผ่าน<br />

สิ่งใดสิ่งหนึ่ง แล้วท าอะไรสักอย่างให้ประสบความส าเร็จตาม<br />

เป้ าหมายที่เราตั ้งใจ<br />

Q; พี่ช่วยเล่าความประทับใจ หรือเรื่องสนุก ๆที่เกิดขึ้นเมื่อ<br />

เข้ามาเรียนในคณะจิตรกรรม เพื่อให้คนที่ยังไม่กล้าตัดสินใจเข้า<br />

มาเรียน หันมาสนใจคณะ<br />

A: ความประทับใจเล็ก ๆของเราคือ การที่มี<br />

อะไรก็ช่วยเหลือกันของรุ ่นพี่รุ ่นน้อง เพื่อน ลูกศิลป์<br />

กับอาจารย์ คือมันจะมีมุมเล็ก ๆ ที่อบอุ ่นอยู ่ เราชอบ<br />

ตรงนี ้ แล้วก็เราชอบคณะตรงที่มาเรียนก็เหมือนไม่<br />

ได้มาเรียน คือเราเหมือนมาเจอมาทักทายคน ใช่ที่ว่า<br />

งานก็มีแต่มันได้ความสุขตรงนั ้น มันสบาย ๆ อันนี ้<br />

ส่วนตัวเราชอบความคณะตัวเองมากแบบประทับใจ<br />

555


“เราจะมุ่งมั่น”by นายจิรภัทร ตรีรัตนธรรมร ารง<br />

ม.5/3 เลขที่ 20<br />

“ในปัจจุบันนี้เป็นสมัยที่มีการแข่งขันกันสูงในการด ารงชีวิตในปัจจุบันซึ่งทุกคนก็จะรู้กันว่า<br />

ถ้าใครเรียนจบเกรดดีๆ ก็จะมีโอกาสได้เข้าท างานในที่ๆ เราต้องการท าหรือตามสาขาที่เราต้องการ ดังนั้น<br />

การศึกษาจึงเป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้ความฝันของแต่ละคนเป็นจริง”<br />

คณะใฝ่ฝันของผม นั้นคือ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพ<br />

พิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นความฝันของนักเรียนศิลปะ และ<br />

คณะที่เป็นเป้าหมายอันดับต้นของทุกๆ คน ผมได้เลือกเดินทางมา<br />

ทางนี้แล้ว หากไม่เลือกมาทางนี้แล้วจะให้ไปทางไหน เป็นหนทางที่<br />

เพียรพยายามเดินด้วยความตั้งใจ<br />

หากได้เข้าไปเรียนในคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพ<br />

พิมพ์ แล้ว จะได้เรียนพื้นฐานทั้งหมด ในช่วงปีแรกๆ (ปี๑-๒) จะ<br />

เรียนรู้ทั้งหมด ทั้งสามสาขา อาทิเช่น วิชาวาดเส้น วิชาจิตรกรรม<br />

วิชาภาพพิมพ์ วิชาประติมากรรม เป็นต้น พอมาในปี ๓ ก็เริ่มเลือกเอกที่จะเรียน โดยมีจิตรกรรม ประติ<br />

กรรม และภาพพิมพ์ นอกจากนั้น ยังมีวิชาอื่นอีกที่นอกเหนือจากวิชาเอก ทั้งวิชาการและอื่นๆที่จะช่วยให้<br />

เปลี่ยนมุมมอง ชุดความคิดทัศคติที่มีต่องานศิลปะออกไป สิ่งหนึ่งที่ชัดที่สุดคือ ท าให้เราเป็นคนมีเหตุผล<br />

มากขึ้นและคุณจะสามารถอธิบายความสวย แง่งาม และมุมมองที่คุณมีต่อมันได้ชัดเจนขึ้น ถ้าคุณพูดเพียง<br />

แค่ว่า มันคือจิตวิญญาณ หรือมันคือศิลปะ อาจารย์อาจจะไม่ให้คุณผ่าน เพราะจะได้เรียนวิชาวิจารณ์ศิลป์<br />

ที่ต้องถูกวิจารณ์และต้องวิจารณ์ผู้อื่น ดังนั้น หากคุณวิจารณ์คุณเองไม่เป็นคุณจะไม่สามารถวิจารณ์ผู้อื่นได้<br />

เช่นกัน<br />


ความฝันของทุกคนคือ ศิลปิน และผมคือคนหนึ่งคนในความคิดนั้น ศิลปะ ศิลปิน ชีวิตผมแต่ก็คง<br />

จะไม่ได้เป็นกันง่ายๆทุกคน เพราะฉะนั้นการประกอบอาชีพต่าง สามารถท าได้ทุกอาชีพแต่ การที่จบ<br />

ทางด้านไหน จึงต้องมีความสามารถทางด้าน<strong>สร้างสรรค์</strong> ทัศนคติในสิ่งต่าง และมุมมองของความคิด จะมี<br />

ความสามารถมากกว่าคนที่ไม่ได้เรียนมาทางด้านนี้ เช่น การเขียนรูปได้ ซึ่งคนอื่นที่ไม่ได้เรียนมาไม่<br />

สามารถท าได้ เหมือนที่ อ. ศิลป์ พีระศรี เคยได้กล่าวไว้ “ ศิลปะไม่สอนให้วาดรูปเป็นแต่สอนให้ใช้ชีวิต “<br />

การเรียนในคณะที่เราชอบ เรียนในคณะที่เราหวัง เราจะสามารถท าในสิ่งที่เราชอบได้อย่างเต็มที่<br />

และมีความสุข ดังนั้น ตัวผมจึงตั้งใจที่จะศึกษาในตอนนี้ เพื่อที่จะเตรียมตัวสอบเข้าในปีถัดไป หากเรา<br />

ตั้งใจเรียนและฝึกฝนในตอนนี้ สามารถท าให้ผม “ เพราะผมต้องการเป็น คนจิตรกรรมและสร้างชื่อให้<br />

จิตรกรรม ประติมากรรมและภาพ ศิลปากรให้<br />

คงสืบไป “<br />


่<br />

“กว่าจะมายืนตรงนี ้..”<br />

สัมภาษณ์ อ.กู๋ ธนาเทพ พรหมสุข<br />

อาจารย์ประจ าแผนศิลปกรรม<br />

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

และศิษย์เก่า คณะจิตรกรรม ประติมากรรม<br />

และ ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

Q : คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มีที ่มา<br />

อย่างไรครับ อาจารย์ ?<br />

A : “คณะจิตรกรรม ก่อตั ้งอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.<br />

2475ในยุคนั ้นเป็นยุคที ่บ้านเมืองมีการเปลื ่ยนแปลงมากมาย<br />

ก่อนอื ่นขอเท้าความก่อนว่าสมัยนั ้น<br />

เป็นยุคล่าอาณานิคม ประเทศไทยของเรา ถือเป็นประเทศตะวันออกไกล ซึ ่งคนตะวันตกมองเราเป็น<br />

ประเทศที ่ล้าหลัง ในสายพระเนตรของ ร.5 จนมาถึง ร.6 ท่านได้เล็งเห็นแล้วว่า สิ ่งที ่จะท าให้ประเทศ<br />

ของเรารอดจากการเป็นเมืองขึ ้นก็คือ การพัฒนาประเทศให้เจริญในทุกๆด้าน และนอกจากจะเจริญ<br />

ทางด้านวัตถุแล้ว ศิลปะ วัฒนธรรมต้องเจริญควบคู ่ไปด้วย ถึงจะเป็นสิ ่งที ่สะท้อนได้ว่า เป็นประเทศที<br />

มีอารยะหรือเป็นประเทศที ่เจริญแล้ว จึงได้ริเริ ่มให้มีนายช่างจาก ประเทศอิตาลี หลังจากที ่เสด็จ<br />

ประภาสยุโรป ของ ร.5 ก็เริ ่มน าศิลปะตะวันตกเข้ามาและเอาช่างศิลปินเข้ามาสั ่งสอน อบรมวิชา<br />

ศิลปะสมัยใหม่หรือด้านตะวันตก จนเป็นจุดก าเนิดมาถึง ร.6 ก่อตั ้งโรงเรียนเพาะช่าง ขึ ้นมาก็ยังไม่<br />

พอ เมื ่อมีโรงเรียนเพาะช่างขึ ้นมาแล้วก็เริ ่มที ่จะขยับขยายออกไป มีการน าศาสตราจารย์จากอิตาลี คือ<br />

ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (ในตอนนั ้นยังใช้ชื ่อ Corrado Feroci) ก็ได้เข้ามารับราชการในประเทศ<br />

ไทย นี ้เป็นจุดเริ ่มต้น เมื ่อมีลูกศิษย์จากโรงเรียนเพาะช่าง รู ้สึกว่าความรู ้ที ่ตัวเองได้เรียนที ่เพาะช่างมัน<br />

ยังไม่พอ และเกิดศรัทราอาจารย์ฝรั ่งคนนี ้ จึงก่อให้โรงเรียนปราณีตศิลปกรรม โดยเหมือนเป็น<br />

โรงเรียนทดลองนักเรียนศิลปะ รุ ่นแรกๆที ่จบมาก็กลายเป็นอาจารย์รุ ่นแรกในคณะจิตรกรรมในที ่สุด<br />

ก็ได้พัฒนา จนวันหนึ ่งได้เปิดเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากรขึ ้นมา มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย นับแต่นั ้นม.<br />

ศิลปากรก็กลายเป็นเสาหลักของศิลปะร่วมสมัยของประเทศไทยและเป็นสถาบันที ่ทรงพลังที ่สุดตั ้งแต่<br />

ที ่เคยมี สถาบันศิลปะขึ ้นมาในประเทศเรา และก็เป็นที ่ยอมรับในระดับโลก และเอเชียเราก็ติด 1 ใน<br />

5 ของมหาวิทยาลัยศิลปะที ่ดีที ่สุดในเอเชียอาคเนย์”


Q : วิชาหลักๆที ่ต้องใช้<br />

ในการสอบเข้าคณะ<br />

จิตรกรรมมีอะไรบ้าง<br />

ครับ ?<br />

A : “ในการสอบเราจะ<br />

ใช้วิชาวาดเส้น และก็วิชา<br />

องค์ประกอบศิลป์ วิชา<br />

วาดเส้นเป็นหัวใจหลัก<br />

ของการท างานศิลปะ<br />

ของการเรียนศิลปะการ<br />

วาดเส้นมันสอนให้ศิลปินมีการตอบโต้ที ่ไวขึ ้น มีความแม่นย า มีการกะ การคาดคะเนในสิ ่งที ่จะต้อง<br />

วาด และก็เป็นตัวแปรหลายๆอย่างที ่ส าคัญไปสู ่การพัฒนาศิลปะในเทคนิคอื ่น ในสาขาอื ่น ส่วนใน<br />

วิชาองค์ประกอบศิลป์ เป็นการชี ้วัดในเรื ่องของความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong> การออกแบบ การแก้ปัญหา การ<br />

รู ้จักความเหมาะสม พื ้นที ่ว่าง รูปทรงเป็นอย่างไร การรู ้จักตีความหมายเพื ่อจะเป็นนัก<strong>สร้างสรรค์</strong> ซึ ่ง<br />

วิชานี ้ก็เป็นอีกหนึ ่งวิชาที ่ส าคัญ จะทิ ้งไม่ได้ ตั ้งแต่สมัยอาจารย์ศิลป์ แล้ว เป็นวิชาที ่ควบคู ่กันมาตลอด<br />

เป็นพื ้นฐาน”<br />

Q : หากเข้าไปศึกษาในคณะแล้วในแต่ละปีจะเรียนอะไรบ้างครับ?<br />

A : “ในช่วงชั ้นปี 1-2 จะปูพื ้นฐานให้มีพื ้นฐานที ่เหมาะเสียก่อน ก่อนที ่จะไปเรียนศิลปะ<strong>สร้างสรรค์</strong><br />

เสียก่อน เรียนพื ้นฐานตั ้งแต่วิชาวาดเส้น วิชาทฤษฏีต่างๆ ทฤษฏีสี ทฤษฏีทัศนีย์วิทยา<br />

Q : แล้ววิชาการละครับ?<br />

A : “เราก็มีเรียนวิชาการกับเพื ่อนต่างคณะ เช่น วิชาภาษาอังกฤษ เราเรียนร่วมกับคณะโบราณคดี<br />

มัณฑณศิลป์ วิชา Management การจัดการก็เรียนรวมกัน


Q : ในปีไหนครับที ่เราจะต้องเลือกเอกที ่จะเรียน?<br />

A : “ในตอนปี 2 เราจะต้องเลือกแกนก่อน ว่าจะเป็นแกนเพ้นท์<br />

หรือแกนพิมพ์ แกนไทย ให้ทดลองเรียนดูก่อนว่า ใช่มั ้ย ใช่นิสัย<br />

เรามั ้ย แล้วเราจึงมาเลือกในตอนปี 3”<br />

Q : งานที ่อาจารย์มอบหมายในแต่ละชั ้นปี เยอะหรือเปล่าครับ?<br />

A : “ ก็เยอะพอสมควร แต่ก็ไม่ถึงขั ้นเยอะจนรับไม่ไหว “<br />

Q : แล้วถ้าเป็นงานจบ เค้าได้ Fix ขนาดว่าต้องใหญ่ขนาดไหน<br />

หรือเปล่าครับ?<br />

A : “ความใหญ่เล็กไม่ได้มีส่วนส าคัญเลย อยู่ที ่ความสมัครใจของนักศึกษามากกว่า เพราะอาจารย์<br />

ไม่ได้บังคับว่าจะต้องท าใหญ่ แต่สิ ่งที ่เน้นก็คือคุณภาพ งานที ่มีคุณภาพงานอาจจะไม่ต้องใหญ่ก็ได้ ถ้า<br />

ความคิด<strong>สร้างสรรค์</strong>เราดี เราก็น าเสนอได้ อันนั ้นเป็นการเข้าใจผิดว่าจะต้องให้มันใหญ่โต”<br />

Q : สุดท้ายนี ้อาจารย์มีอะไร<br />

อยากจะบอกคนที ่อยากจะเข้า<br />

คณะนี ้หรือเปล่าครับ?<br />

A : “ส าหรับคนที ่สนใจอยากจะ<br />

เรียนศิลปะที ่พัฒนาไปจนถึงขั ้น<br />

กลายเป็นศิลปินได้ เราจะต้องมี<br />

ความชัดเจน มีเป้ าหมาย ที ่เรา<br />

เตรียมมาเนิ ่นแล้ว เพราะอาชีพนี ้<br />

เป็นอาชีพที ่หลายๆคนมองว่าดู<br />

แล้วไม่มีความมั ่นคง มีความเสี ่ยง<br />

แต่จริงๆแล้ว มันก็ไม่ได้เป็นอย่างที ่เขาว่ากันทั ้งหมด มันขึ ้นอยู่กับตัวผู ้เรียนว่าจะรู ้จักน าไปใช้กับชีวิต<br />

อย่างไร ในอนาคตเราจะต้องมีความมุ ่งมั ่นและมีเป้ าหมาย และก็ต้องเป็นคนที ่ขยันมากๆ มุมานะ<br />

มากๆ เพราะการเป็นศิลปินต้องพิสูจน์ตัวเองอย่างหนัก เป็นอาชีพที ่ไม่มีฟลุค การจะแจ้งเกิดเป็น<br />

ศิลปินได้ จะต้องท างานหนักกว่าคนอื ่น ต้องทุ่มเทมากกว่าคนอื ่น ทั ้งแรงกาย แรงใจ และก็ระยะเวลา<br />

ก็ไม่สามารถจะบอกได้ว่า จะเห็นผลช้าหรือเร็ว มันก็อยู่ที ่ตัวของผู ้เรียน นอกจากจะเป็นศิลปินแล้ว


่<br />

สามารถเป็นได้หลายอย่าง<br />

เพราะว่าเราเรียน วิจิตรศิลป์<br />

หรือ FINE-ART เราสามารถ<br />

น าไปประยุกต์สู ่พาณิชย์ศิลป์ ได้<br />

ทุกแขนง มีค าพูดว่า เรียน<br />

จิตรกรรม จบไปแล้ว ท าได้ทุก<br />

อย่างนี เป็นค าพูดของ<br />

อ. ศิลป์ พีระศรี สามารถ<br />

ดัดแปลง ประยุกต์ แล้วก็<br />

ปรับตัวตัวเองได้ในทุกสภาพ<br />

เพราะฉะนั ้นเป็นสาขาที ่กว้างมาก เพราะมันลงลึกไปถึงใจกลางของความเป็นมนุษย์ เข้าใจปรัชญาของ<br />

มนุษย์ จะบอกไม่ได้หรอกว่าใครเป็นอย่างไร ต้องขึ ้นอยู่กับความเป็นปัจเจกชนของผู ้นั ้น”<br />

Q : ขอขอบคุณอาจารย์ มากนะครับที ่สละเวลามาให้เราสัมภาษณ์ในวันนี ้ครับ<br />

A : “ครับ หวังว่าการสัมภาษณ์ครั ้งนี ้จะมีประโยชน์กับผู ้อื ่นไม่มากกน้อยนะครับ”


“กว่าจะมายืนตรงนี ้..”สัมภาษณ์ อ.กู ๋ ธนาเทพ พรหมสุข<br />

อาจารย์ประจ าแผนศิลปกรรม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร และศิษย์เก่า คณะ<br />

จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


ศิลปะแสนบริสุทธิ์….ผุดผ่อง<br />

ดั ่งแสงจันทร์<br />

นางสาวเปี่ ยมรัก ศรีสุวัฒนานันท์ ม.๕/๓ เลขที่ ๓๐<br />

ดิฉันเชื่อว่าทุกคนต่างก็มีความใฝ่ ฝันและจุดมุ ่งหมายในชีวิตอนาคตของตนว่า<br />

“โตไปอยากท าอะไร” ซึ่งสิ่งเหล่านี ้ถือว่าเป็ นแรงผลักดันและความมุ ่งมั่นเพื่ออนาคตของตนให้<br />

เป็ นจริงและเป็ นส่วนหนึ่งที่ดิฉันใฝ่ ฝันที่อยากจะเข้าเรียนที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพ<br />

พิมพ์ ดิฉันคิดว่าถ้าได้ลงมือและได้พยายามอย่างเต็มที่แล้ว ผลที่ออกมาจะดีและเหมาะสมกับผู ้ที่<br />

พยายามเสมอ และจะท าให้เราประสบผลส าเร็จตามที่ใฝ่ ฝันก็ได้<br />

สมัยที่ดิฉันยังเด็กดิฉันชอบวาดรูปและชอบ<br />

ปั ้ นดินน ้ ามันมาก ทุกช่วงเวลาตอนปิ ดเทอมดิฉันจะไปช่วยแม่ท า<br />

บอร์ดศิลปะหรืออุปกรณ์สื่อการสอนต่างๆทุกครั ้ งโดยลักษณะเป็ น<br />

ลูกมือให้กับแม่ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ดิฉันก็ได้ลงสมัครแข่งขันวาดภาพ<br />

ที่โรงเรียนคงทองวิทยา ซึ ่งห่างหายการวาดภาพมานาน ดิฉันก็ได้มา<br />

ฝึ กฝนทุกช่วงเวลาเย็นเตรียมความพร้อมในการแข่งขัน และผลที่ได้<br />

รางวัลรองชนะเลิศมา จึงเป็ นแรงบันดาลใจท าให้ดิฉันจึงเกิดความ<br />

มุ่งมั่นในการขยันเรียนทบทวนทางด้านวิชาการให้มากขึ ้นเพื่อที่เกรด<br />

เฉลี่ยจะได้มากพอที่จะมีสิทธิสอบเข้าโรงเรียนสาธิตศิลปากร เพื่อ<br />

น าไปต่อยอด<br />

ในช่วงมัธยมศึกษาปี ที ่ 5 มีวิชาหนึ่งคือวิชาประติมากรรมดิฉันมีความรู ้สึกว่าชอบ<br />

มากและสนุกที่ได้ท ามากกว่างานศิลปะด้านอื่นๆและท างานได้โดยไม่รู ้สึกเหนื่อย โดยงานชิ ้นแรก<br />

ดิฉันได้ A- เลยตั ้งใจ ใส่ใจและพยายามท าครั ้งใหม่ให้ดีขึ ้นกว่าเดิมและในครั ้งที่ 2 ได้ A+ ฉันดีใจ<br />

และภูมิใจเป็ นอย่างมากและเห็นว่า ไม่เสียแรงกายแรงใจที่ได้ทุ ่มเทกับสิ่งที่รักไป และ ดังนั ้นจึงเป็ น<br />

แรงผลักดันและเป็ นก าลังใจให้ฉันมุ ่งมั่นต่อไป ดิฉันจึงหาความรู ้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต การศึกษา<br />

จากงานและหาความรู ้จากบุคคลหรือ ศิลปิ นที่มีชื่อเสียงด้านนี ้รวมทั ้งไปเรียนเพิ่มเติม<strong>จิตรกรรมฯ</strong><br />

มหาวิทยาลัยศิลปากรในช่วงเวลาว่างหรือวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ทั ้งนีเพื่อเป็ ้ นประโยชน์และเตรียม<br />

ความพร้อมแต่เนิ่นๆ ของดิฉันในภายภาค ซึ่งบางครั ้งจะรู ้สึกกดดันบ้างแต่สิ่งที่ได้รับกลับมากคือท า<br />

ให้เราพยายามมากและยิ่งท าให้อยากเรียนด้านนี ้มากขึ ้นไปอีก


เหตุที่ดิฉันได้เลือกคณะจิตรกรรม<br />

ประติมากรรมและภาพพิมพ์นั ้นเป็ นเพราะความรัก<br />

และความสุขที่ได้ท า และคณะนี ้ก็ท าให้ดิฉันได้เรียน<br />

ศิลปะหลายสาขา เช่น ดรออิ้งค์ คอมโพสต์ สีน ้า<br />

เพ้นท์ landscape ประติมากรรม และ Artfun<br />

เป็ นต้น เนื่องจากคณะนี ้นอกจากจะท าให้ดิฉันมี<br />

ความสุขในการท างานแล้ว ยังท าให้บุคคลที่เรียนจบ<br />

นั ้นมีชื่อเสียงและมีงานท าที่ดีมากมาย แต่อย่างไรก็<br />

ตามเมื่อมีการแยกสาขาในปี 3 ดิฉันมุ่งหวังที่เรียนด้าน<br />

ประติมากรรม เพราะขนาดในการวาดภาพยังสามารถ<br />

สื่อความหมายและจินตนาการได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด<br />

แต่ประติมากรรมนั ้นดิฉันพบว่ามันสามารถท าให้<br />

ผู้<strong>สร้างสรรค์</strong>งานและผู้ชมงานศิลปะสามารถสัมผัสได้<br />

ในทุกๆ มิติ และที่ส าคัญมันไม่ได้สัมผัสได้เพียงการ<br />

มองเห็นด้วยตาเท่านั ้น แต่มันยังสัมผัสและรับรู้<br />

ความรู้สึกทางมือได้ด้วยเช่นกัน ดังนั ้นจึงเป็ นการ<br />

สัมผัสในลักษณะของรูปธรรมและนามธรรมไป<br />

พร้อมๆ กันได้อย่างสมบรูณ์<br />

ดิฉันขอยืนยันว่า ดิฉันมีเจตนารมณ์อย่างแน่วแน่และมีความพร้อมที่จะศึกษาเพื่อที่จะ<br />

ได้รับความรู้จากคณะนี ้เพื่อต่อยอดความรัก ความสุข และอนาคตของดิฉันที่ดีในอนาคตเกี่ยวกับงาน<br />

ด้านศิลปะ และยืนยันว่าเมื่อได้เข้าเรียนในคณะนี ้ ดิฉันจะตั ้งใจเรียนอย่างเต็มที่ จะไม่ย่อท้อ และจะท า<br />

ทุกวันให้มีค่ามากที่สุด ดั่งค าของท่านอาจารย์ศิลป์ ว่า “พรุ ่งนี้ก็สายเสียแล้ว” และเมื่อดิฉันเรียนจบจาก<br />

คณะนี ้ ดิฉันขอให้ค าปฏิญาณว่า “ดิฉันจะน าความรู้ที่ได้รับน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเอง<br />

มหาวิทยาลัยของดิฉัน สังคม และประเทศชาติต่อไปให้ได้มากที่สุด” เพราะศิลปะก็คือ “ชีวิตของ<br />

ดิฉัน” และไม่ว่าจะผ่านไปกี่ปี หรือกี่ยุคสมัยก็ตาม ศิลปะก็ยังคงอยู ่เพื่อประโยชน์กับมวลมนุษยชาติ<br />

ตลอดไป ดังค าของท่านอาจารย์ศิลป์ ว่า “ชีวิตสั ้น ศิลปะยืนยาว”


ประวัติส่วนตัว<br />

ค<br />

ณ<br />

ะ<br />

ชื่อ นางสาวภัฒฑิรพร พันโน<br />

ชื่อเล่น แมงปอ<br />

ศึกษาอยู ่ศิลปากร(สนามจันทร์)<br />

คณะจิตกรรม(รุ ่น74) ปี1<br />

เคยศึกษาที่สาธิตศิลปากร<br />

แผนศิลปกรรม (รุ ่น9)<br />

สี<br />

เ<br />

ห<br />

แรงบันดาลใจที่เรียน<br />

คณะนี้<br />

อยากพัฒนาตัวเองเพื่อที่จะเป็ นอาจารย์อนเด็กเล็กและ<br />

เด็กโต<br />

ลื<br />

อ<br />

ง<br />

หัวใจviridian


วามรู ้สึกที ่ได้เรียน<br />

อนาคต<br />

อยากเป็ นครูสอนศิลปะเด็ก (ครูสอนพิเศษ)


ประติมากรรม และ ภาพพิมพ์<br />

โอ้คณะที่ฉันใฝ่ฝันมาเนิ่นนาน จิตรกรรม ประติมากรรม และ ภาพพิมพ์<br />

กฤตพัฒน์ พึ่งถนอม 5/3 เลขที่ 16<br />

333<br />

“อย่าถือว่าเราเป็นคนเก่ง ต้องศึกษาเล่าเรียนอีกมาก ฉันเองก็ยังศึกษาหาความรู้อยู่ตลอดเวลา “<br />

คากล่าวของ อ.ศิลป พีระศรี<br />

ผมอยากเข้า คณะจิตรกรรมประติมากรรม และ ภาพพิมพ์ เพราะที่นี่มีการสอนด้วยหลักสูตร<br />

แบบ อคาเดมิค อย่างที่ใช้กันในยุโรปมาช้านาน โดยที่นี่มี ทั้งหมด 6 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาจิตรกรรม<br />

ภาควิชาภาพพิมพ์ ภาควิชาประติมากรรม ภาควิชา<br />

ศิลปะไทย ภาควิชาทัศนะศิลป ภาควิชาสื่อผสม แต่ชั้นป<br />

1-2 จะเรียนพื้นฐานทั้งหมดก่อน แล้วได้เลือกภาควิชา<br />

ตอนชั้นปที่ 3 โดยที่นี่จะเรียนทั้งหมด 5 ป มีสองวิทยา<br />

เขตด้วยกัน คือ ท่าพระ และสนามจันทร์ (แต่ปัจจุบันที่<br />

ท่าพระได้มีการปิดปรับปรุง) นอกจากจะได้ศึกษาหา<br />

ความรู้ซึ่งถือได้ว่าเป็นคณะศิลปะที่ดีที่สุดในประเทศไทย<br />

เลยก็ว่าได้ และ ยังเป็นคณะที่อบอุ่นมากๆ


‘คณะจิตรกรรมและประติมากรรม’ คือคณะวิชาแรกที่ก่อตั้งขึ้นมาพร้อมกับมหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร โดยในระยะเริ่มต้น เปิดให้มีการเรียนการสอนศิลปะหลักสูตร ‘ภาควิชาจิตรกรรม’ และ<br />

ภาควิชาประติมากรรม’ ซึ่งสืบต่อมาจากโรงเรียนประณีตศิลปกรรม โดยมี ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็น<br />

คณบดีคนแรก และเป็นผู้ส่งต่อองค์ความรู้ทั้งภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎี ตามมาตรฐานหลักวิชาการศิลปะ<br />

ตะวันตก (academic art) จาก<br />

สถาบันศิลปะ<br />

ฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี สู่เยาวชนไทย<br />

ในรั้วของคณะ<strong>จิตรกรรมฯ</strong><br />

ในเวลาต่อมา ด้วยรูปแบบ<br />

การ<strong>สร้างสรรค์</strong>และการแสดงออกที่<br />

น่าสนใจของศิลปะภาพพิมพ์ จึงเกิดการ<br />

ผลักดันให้จัดตั้ง ‘ภาควิชาภาพพิมพ์’ ขึ้น<br />

ซึ่งเป็นเหตุให้ชื่อคณะเปลี่ยนมาเป็น คณะ<br />

จิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์<br />

ดังเช่นในปัจจุบัน นอกจากนี้ ด้วยจุดมุ่งหมายที่จะอนุรักษ์ สืบสาน และพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับศิลปะไทย<br />

จึงก่อตั้ง ‘ภาควิชาศิลปะไทย’ รวมถึงตั้ง ‘ภาควิชาทฤษฎีศิลป’ ขึ้นเป็นลาดับถัดมา เพื่อรวบรวมจัดการเรียน<br />

การสอนในวิชาทฤษฎีให้เป็นระบบ และมีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น<br />

จนเมื่อศิลปะประเภทสื่อผสม รวมถึงศิลปะสื่อใหม่ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อ<br />

ความคิดความสนใจของนักศึกษามากขึ้น คณะ<strong>จิตรกรรมฯ</strong> จึงเปิด<br />

‘โครงการจัดตั้งภาควิชาสื่อผสม’ขึ้นมา เพื่อตอบรับกับความสนใจนั้น<br />

ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการ<strong>สร้างสรรค์</strong>ผลงานที่มีคุณภาพ อย่างไรก็ดี<br />

คณะ<strong>จิตรกรรมฯ</strong> ยังคงตระหนักถึงความสาคัญของพื้นฐานทักษะทาง<br />

ทัศนศิลป ซึ่งจะมีผลต่อการศึกษาศิลปะในระยะยาว จึงจัดตั้ง ‘โครงการ<br />

ภาควิชาแกนทัศนศิลป’ ขึ้นมาเสริมสร้างทักษะให้กับนักศึกษารุ่นใหม่ที่<br />

มีพื้นฐานความรู้ต่างกัน ซึ่งจะนาไปสู่การประยุกต์ใช้ความรู้ เพื่อสร้าง<br />

งานศิลปะในแขนงต่างๆ ได้อย่างโดดเด่นมีเอกลักษณ์


หลายคนสงสัยว่าจบมาทาไรอะไรได้? บอกเลยว่ามากมายหลายสิ่งเอามากๆ จากการที่เราได้เห็น<br />

เหล่าอาจารย์ในแผนศิลปกรรมที่ล้วนจบมากจากคณะนี้ บอกได้เลยว่าเราจะทาอะไรก็ได้ ตั้งแต่เขียนรูป ไป<br />

จนถึง ขายกวยเตียวเลยทีเดียว เพราะสิ่งเราได้นั้นมากกว่าแค่ฝมือ แต่เราได้แนวคิดดีๆ ที่มีต่อโลก เราชื่นชมใน<br />

ทุกสิ่งทุกอย่าง เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกล้วนเป็นศิลปะ ทาให้มันเกิดสิ่งที่เรียกว่าความสุข บางครั้งเรารู้สึก<br />

เหนื่อยท้อแท้ แต่พอได้ ชื่นชมธรรมชาติ ฟังเสียงนกร้อง มองทางรถไฟ ที่พระอาทิตย์ใกล้จะตกดิน เราไม่ได้เงิน<br />

ซักบาทแต่เรากลับได้ความสุขจากมันซึ่งผมคิดว่าความสุขนั้นมาก่อนเงิน แต่ถ้าการสร้างความสุขของเรานั้น<br />

สามารถสร้างงาน สร้างเงิน หาเลี้ยงครอบครัวได้ นั่นคือสิ่งบ่งชี้ตัวเราแล้วว่าเราประสบความสาเร็จ ผมมอง<br />

ศิลปะเป็นมากกว่าการสร้างชิ้นงานขึ้นมา อย่างที่อาจารย์หลายท่านเคยกล่าวไว้ว่า ”ศิลปะไม่ได้สอนให้เรา<br />

เขียนเป็นรูปเป็นอย่างเดียว มันสอนให้เราใช้ชีวิตด้วย”


ครอบครัว DSU ส่งต่อความรู้สู่น้องๆ<br />

กฤตพัฒน์ พึ่งถนอม 5/3 เลขที่ 16<br />

พี่มิกศิษย์เก่าสาธิต<br />

dasd<br />

ศิลปากร<br />

สาวแกร่งแห่งคณะ<br />

จิตรกรรม<br />

นางสาว กชพรรณ สินพรม<br />

ป 1 คณะจิตรกรรม<br />

ประติมากรรม และ ภาพพิมพ์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

พี่มิกรู้สึกอยากเข้าคณะจิตรกรรมตั้งแต่เมื่อไหร่ครับ<br />

จริงๆก็อยากเข้าตั้งแต่ม.4แล้ว แต่มอสี่ก็ยังเป็นช่วงที่มีอะไรให้<br />

ทดลองและหาความถนัดอีกมากก็เลยมีบางครั้งอาจจะรู้สึกว่าจะถนัด<br />

ในวิชาอื่นมากกว่าหรือในสไตล์งานที่ตรงกับคณะอื่น พอเวลาผ่านไปก็<br />

ทาให้มั่นใจมากขึ้นว่ามาถูกทางแล้ว<br />

แล้วทาไมต้องคณะนี้รู้สึกว่าคณะจิตรกรรมนี้มีอะไรดี<br />

ครับ<br />

ความที่เราก็อยู่ในรวมมหาลัยนี้อยู่แล้วด้วยรวมรวมแล้วก็รู้สึกว่า<br />

เหมือนบ้านเพราะว่าอยู่มานานเหมือนกัน อีกอย่างคือเรื่องหลักสูตรที่<br />

บอกได้เลยว่า แน่นมากๆ เรียกได้ว่าฝึกให้เราทาศิลปะทุกแขนงเลยก็ว่า<br />

ได้ ทั้งปั้นพิมพ์เพ้นท์งานจิตรกรรมไทยแล้วงานมิกซ์มีเตียต่างๆ ศิษย์<br />

เก่าที่จบมามีทั้งศิลปินดังอาจารย์รุ่นพี่ในสายการันตีได้เลยว่าดีแน่นอน


พี่มิกพยามมากแค่ไหนการสอบเข้าคณะนี้ ?<br />

ก็พยายามมากๆนะเพราะว่าเพิ่งได้มาเริ่มวาดฟิคเกอร์ หรือ วาดภาพมนุษย์ในท่าทางต่างๆ ก็ตอนม.6 นี้<br />

เอง มีน้องๆ คอยช่วยยืนเป็นแบบให้ อาจารย์ช่วยดูช่วยวิจารณ์ให้ กาลังใจจากทางบ้านก็ทาให้เราสู้อย่าง<br />

เต็มที่ การใช้ชีวิตในคณะจิตรกรรมเป็นยังไงบ้างครับ ก็คล้ายกับสาธิตนะ แต่เราต้องมีระเบียบมากกว่าเดิม<br />

มากเพราะว่างานจะเลทไม่ได้ เราถือว่ามีความสุขนะ เพราะว่าก็มีเพื่อนเก่าได้เข้าไปเรียนด้วยกันหลายคน ก็ได้<br />

เพื่อนใหม่ดีๆอีก มีอะไรค่อยปรึกษากันคุยกันเรื่องงานบ้าง เรื่องไร้สาระบ้าง มีคนแปลกๆตลกๆหลายคน<br />

อาจารย์ในคณะก็ดีเลยล่ะ<br />

รู้สึกว่างานยากหรือเยอะกว่าเดิมมากจากตอนเรียนสาธิตไหมครับ ?<br />

เรื่องงานก็หนักพอๆกันนะแต่ถ้าเราแบ่งเวลาดีดีก็มีเวลาไปเที่ยวเล่นอยู่แล้ว 555 ดีกว่าที่เราเคยเจองาน<br />

เยอะๆมา ก็เหมือนที่ทาให้เรามีภูมิต้านทาน แต่ยากไหมนี่ พี่ยังอยู่แค่ปหนึ่งเหมือนได้กลับมาเริ่มฝึกพื้นฐาน<br />

อย่างจริงจังมากขึ้น ใช้ความคิดมากขึ้น ก็เป็นความเหนื่อยที่สนุกดี<br />

พี่เคยคิดไว้หรือยังว่าอยากเข้าภาควิชาอะไร ?<br />

ก็ยังไม่ได้คิดเท่าไหร่เพราะว่าก็มีเวลาให้คิดให้ลองสิ่งต่าง ๆ<br />

อีก 1 ป ส่วนตัวพี่คิดว่าก็ทาได้ดีในหลายด้าน ลองทาอะไรหลาย<br />

อย่างแล้ว ถ้าเลือกได้พี่ว่าพี่ชอบประติมากรรมนะ<br />

พี่มิกจบไปอยากทางานอะไรครับ ?<br />

จริงๆ แล้วส่วนใหญ่คนที่จบจากคณะนี้ไปถ้าไม่ไปเป็นอาจารย์ส่วนใหญ่ก็จะเป็นฟรีแลนซ์นะ คาว่าฟรีแลนซ์นี่<br />

คือ มีอิสระในการรับงานเลือกทางานที่ถนัดได้ ว่าเราได้เรียนพื้นฐานมาทั้งหมดเราก็สามารถทาได้หลายด้าน<br />

มากๆขึ้นอยู่กับความถนัดของเรา เป็นตัวอย่างถ้าเป็นประติมากรรมเราอาจจะไม่ต้องปั้นก็ได้ อาจทางานพวก<br />

อีเวนท์ในห้าง หุ่นมาสค้อตร้านอาหาร ทาได้หลายอย่างมากๆ อยาก<br />

ฝากอะไรถึงน้องน้องที่อยากเข้าคณะจิตรกรรมบ้างครับ<br />

อยากให้น้องน้องทุกคนตั้งใจอดทนตอนนี้เค้ามาแล้วจะได้อะไรอีกเยอะทั้งเพื่อนๆ ความรู้ประสบการณ์<br />

ต่างๆ ที่ได้ โดยตรง ได้เข้ามาเป็นพี่เป็นน้อง ขณะที่เรารักเหมือนกัน ก็อยากให้ทุกคนเต็มที่กับการฝึกฝน ตั้งใจ<br />

เต็มที่ต้องติดขนาดนี้อย่างแน่นอน !!!


ทีมบรรณาธิการ<br />

1. อาจารย์กฤษณะ ล าทะแย ( ที่ปรึกษา )<br />

2. ปัญจณต เรืองศรี ม.5 ห้อง 2 เลขที่ 13<br />

3. วัชนันท์ นันทผาสุข ม.5 ห้อง 4 เลขที่ 17<br />

4. ฐิติพงศ์ ต่อเศวตพงศ์ ม.5 ห้อง 2 เลขที่ 5<br />

5. นราวิชญ์ แสงศิริวุฒิ ม.5 ห้อง 1 เลขที่ 12<br />

ปีการศึกษา 2560

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!