13.09.2019 Views

Annual Report 2018 TH

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>Annual</strong> <strong>Report</strong> <strong>2018</strong><br />

รายงานประจำาปี 2561 | สำานักงานส่งเสริมเศราฐกิจดิจิทัล 1


สารรัฐมนตรี<br />

ว่าการกระทรวงดิจิทัล<br />

เพื่อเศรษฐกิจและสังคม<br />

2 รายงานประจำาปี 2561 | สำานักงานส่งเสริมเศราฐกิจดิจิทัล


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ดร. พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์<br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม<br />

การดำเนินงานของ ดีป้า ในปี 2561 ที ่ผ่านมาได้ขับเคลื ่อนผลงาน<br />

สำคัญให้กับประเทศมากมาย สามารถเดินแผนปรับเปลี ่ยนประเทศไทยเข้าสู่<br />

ยุคดิจิทัล ตามแผนแม่บทส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล พ.ศ. 2561 - 2564 ของ<br />

รัฐบาลอย่างเต็มที ่ ประสบความสำเร็จตามพันธกิจที ่ได้รับมอบหมายในการ<br />

ส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดการประยุกต์ใช้และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล<br />

ได้อย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม รวมถึงก่อให้เกิดการกระตุ้นและรับรู้ด้านดิจิทัลต่อ<br />

ภาคอุตสาหกรรมและภาคสังคมทั ้งในและต่างประเทศผ่านกิจกรรมดำเนินงาน<br />

การดำเนินการด้านโครงสร้างพื ้นฐาน (I = Infrastructure) ได้แก่ การดำเนิน<br />

งานพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) และการจัดตั้งสถาบันไอโอที ด้านการ<br />

พัฒนาคนให้เข้าถึงและรู้เท่าทันการใช้ประโยชน์ของดิจิทัล (M = Manpower)<br />

ผ่านการพัฒนากำลังคนและการเพิ ่มศักยภาพบุคลากรของประเทศ<br />

และโครงการ Coding Thailand การพัฒนาเทคโนโลยีและโครงการที ่มี<br />

ผลกระทบสูง (A = Application) อาทิ การขับเคลื ่อนและผลักดันให้เกิด<br />

Digital Startup การพัฒนาศักยภาพในการเติบโตของเศรษฐกิจด้วย<br />

เทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้กับอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ การเกษตร, อาหาร,<br />

การท่องเที่ยว, การบริการ, ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ และดิจิทัลคอนเทนต์<br />

ตลอดจนการยกระดับเศรษฐกิจฐานรากในระดับชุมชนเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดชุมชน<br />

ดิจิทัล และอุตสาหกรรมด้านการเกษตรให้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล<br />

การเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) ของประเทศ<br />

ในช่วงนี้ จึงเป็นจังหวะก้าวที่สำคัญยิ ่ง และด้วยความร่วมมือกันอย่างมีเอกภาพ<br />

ของภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม จะทำให้สังคมไทยในอนาคตอันใกล้มี<br />

คุณภาพ มีความทันสมัย น่าอยู่ นำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน<br />

3


4<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

สารประธาน<br />

คณะกรรมการกำกับ<br />

สำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

นายธีรนันท์ ศรีหงส์<br />

ประธานคณะกรรมการกำกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในโลกทุกวันนี้เทคโนโลยีดิจิทัลได้ท ำให้ทุกอย่างเปลี่ยนไป<br />

การเปลี ่ยนแปลงได้รุกคืบเข้ามาในทุกมิติ และทุกภาคส่วนต้องเตรียมพร้อม<br />

เพื่อรับมือกับDigital Disruption ซึ่งองค์กร บุคคล และภาคส่วนที่กล้าตัดสินใจ<br />

เปลี่ยนแปลงตัวเอง สามารถปรับตัวเองได้ไว กล้าทิ ้งของเก่าเพื่อสร้างของใหม่<br />

อย่างได้ผล ก็จะมีโอกาสอยู่รอดและรุ่งเรืองได้ในอนาคต<br />

การเปลี ่ยนผ่านสังคมไทยไปสู่วิถีชีวิตและการทำงานที ่ยึดโยงอย่าง<br />

ใกล้ชิดกับเทคโนโลยีนั้น ไม่สามารถเปลี ่ยนแปลงได้ในระยะเวลาอันสั้น ดีป้า<br />

ได้ตั ้งเป้าประสงค์ที่จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการผลักดันการพัฒนาคน พัฒนา<br />

องค์กร และพัฒนาโครงสร้างพื ้นฐานที ่สำคัญของประเทศในการก้าวเข้าสู่ยุค<br />

ของเศรษฐกิจดิจิทัลในทศวรรษหน้าได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้หลักการ<br />

พื ้นฐาน 4 ข้อ ได้แก่ 1. การสร้างความรู้ความเข้าใจระดับพื ้นฐานในเทคโนโลยี<br />

2. การสร้างคนที ่มีทักษะในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ 3. การบริหารกลยุทธ์<br />

และรูปแบบการจัดการองค์กร และ 4. การสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อรองรับ<br />

การเปลี ่ยนแปลงสู่อนาคต<br />

5


6<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

สารผู้อำนวยการ<br />

สำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ผศ.ดร. ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์<br />

ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ผลการดำเนินงานของสำนักงานฯ ประจำปี พ.ศ. 2561 นับว่าเป็นที ่น่า<br />

พอใจเป็นอย่างมาก โดยพันธกิจหลักของดีป้า ได้แก่ การส่งเสริมและสนับสนุน<br />

ให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล รวมถึงพัฒนาและ<br />

ส่งเสริมให้เกิดการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม<br />

และวัฒนธรรม และความมั ่นคงของประเทศ ซึ่งเป็นไปตามแผนแม่บทการ<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล พ.ศ. 2561 - 2564 ที ่รัฐบาลได้วางกรอบไว้อย่าง<br />

ครบถ้วน ทั้งนี้ คาดว่าผลจากการดำเนินงานตามภารกิจทั ้งหมด สามารถสร้าง<br />

การรับรู้และการตระหนักถึงความสำคัญด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม<br />

และดิจิทัลให้กับอุตสาหกรรมและธุรกิจด้านดิจิทัลอย่างกว้างขวางทั ้งในระดับ<br />

ประเทศและระดับภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งนี้ คาดว่าผลของกิจกรรม<br />

ต่าง ๆ ที่ได้ส่งเสริมและสนับสนุนไป จะก่อให้เกิดการขยายตัวในด้านการลงทุน<br />

ในด้านดิจิทัลให้กับอุตสาหกรรมและธุรกิจด้านดิจิทัลอย่างกว้างขวาง และ<br />

คาดว่าจะเกิดมูลค่ารวมได้กว่า 15,000 ล้านบาท<br />

และต้องขอขอบคุณ คณะกรรมการกำกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัล เครือข่ายความร่วมมือจากทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาชน<br />

คณะผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ที ่ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ มุ่งมั่นขับเคลื ่อน<br />

ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างเต็มที่ตลอดมา ซึ่งในอนาคตผมยังมุ่งหวัง<br />

เป็นอย่างยิ่ง ที ่จะร่วมแรงร่วมใจในการสร้างสรรค์ผลงานเพื ่อประโยชน์ของ<br />

ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนตลอดไป<br />

7


สารบัญ<br />

01<br />

02<br />

03<br />

04<br />

05<br />

10 14 20 24<br />

36<br />

ประวัติสำนักงาน<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัล (depa)<br />

วิสัยทัศน์ พันธกิจ<br />

ค่านิยมและกลยุทธ์<br />

รายนามคณะ<br />

กรรมการกำกับ<br />

และผู้บริหาร<br />

โครงสร้างองค์กร<br />

และอัตรากำลัง<br />

ข้อมูลสำคัญ<br />

ทางการเงินปี 2561


06<br />

07<br />

08<br />

09<br />

10<br />

42<br />

58<br />

66<br />

70 74<br />

ความสำเร็จที ่โดดเด่น<br />

ในปี 2561<br />

บทวิเคราะห์สถานภาพ<br />

และมูลค่าอุตสาหกรรม<br />

ดิจิทัลของไทย ปี 2560<br />

การขับเคลื ่อนองค์กร<br />

ดิจิทัลให้เป็นองค์กร<br />

สมรรถนะสูง<br />

ตัวอย่างหน่วยงาน<br />

ร่วมดำเนินงาน<br />

ที ่สำคัญ<br />

อนุกรรมการ<br />

สำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล


01<br />

ประวัติสำนักงาน<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

(depa)<br />

10 รายงานประจำาปี 2561 | สำานักงานส่งเสริมเศราฐกิจดิจิทัล


่<br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) หรือดีป้า ได้จัดตั ้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการพัฒนา<br />

ดิจิทัลเพื ่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 ให้ไว้ ณ วันที ่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560 ปีที่ 2 ในรัชกาลปัจจุบัน<br />

มีสถานะเป็นหน่วยงานของรัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคล และไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วย<br />

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื ่น<br />

เพื ่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล พัฒนาและส่งเสริมให้เกิด<br />

การนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความมั่นคงของประเทศ<br />

ตามมาตรา 34 และให้มีคณะกรรมการกำกับสำนักงานฯ คณะหนึ่ง ประกอบด้วยผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั ้ง<br />

ทำหน้าที ่กำกับและติดตามการดำเนินงานของสำนักงานฯ<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

สำนักงานฯ มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการ<br />

ตามมาตรา 34 ดังต่อไปนี้<br />

1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัลให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติ<br />

ว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม<br />

2. ส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุนหรือประกอบ<br />

กิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล<br />

3. ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือกับบุคคลอื ่นใน<br />

การพัฒนาอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล<br />

4. ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเกี ่ยวกับ<br />

การพัฒนาบุคลากรด้านอุตสาหกรรมและ<br />

นวัตกรรมดิจิทัล<br />

5. เสนอแนะ เร่งรัด และติดตามการปรับปรุง<br />

แก้ไขกฎหมายหรือกฎระเบียบหรือมาตรการ<br />

เกี ่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา<br />

ของอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัลต่อ<br />

หน่วยงานที ่เกี ่ยวข้อง<br />

6. ปฏิบัติหน้าที ่อื ่นตามที ่คณะกรรมการ<br />

คณะกรรมการเฉพาะด้าน หรือคณะกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

มอบหมาย หรือตามที ่กฎหมายกำหนด<br />

สำนักงานฯ มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการ<br />

ตามมาตรา 43 ดังต่อไปนี้ด้วย<br />

1. ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครองและมีทรัพย์<br />

สิทธิต่าง ๆ<br />

2. ก่อตั้งสิทธิหรือทำนิติกรรมทุกประเภทเพื ่อ<br />

ประโยชน์ในการดำเนินกิจการของสำนักงาน<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

3. ทำความตกลงและร่วมมือกับองค์การหรือ<br />

หน่วยงานอื ่นทั้งภาครัฐและภาคเอกชน<br />

ทั้งในประเทศและต่างประเทศในกิจการที<br />

เกี่ยวกับการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของ<br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

4. ถือหุ้น เข้าเป็นหุ้นส่วนหรือเข้าร่วมทุนกับบุคคล<br />

อื่นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 34<br />

5. กู้ยืมเงินเพื ่อประโยชน์ในการดำเนินการ<br />

ตามวัตถุประสงค์ของสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

6. เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าบำรุง ค่าตอบแทน<br />

หรือค่าบริการในการดำเนินกิจการต่าง ๆ<br />

ตามวัตถุประสงค์ของสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

7. ดำเนินการอื่นใดที่จำเป็นหรือต่อเนื่องเพื่อให้<br />

บรรลุวัตถุประสงค์ของสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

11


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

12<br />

ตราสัญลักษณ์ประจำ ดีป้า<br />

คณะกรรมการกำกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

มีอำนาจหน้าที่ให้ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัลที ่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจัดทำ ออกระเบียบ<br />

หรือข้อบังคับมุ่งให้เกิดความคล่องตัว ความมีประสิทธิภาพ และ<br />

ตรวจสอบได้ และให้ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

เป็นเลขานุการคณะกรรมการกำกับฯ โดยมีอำนาจหน้าที ่บริหาร<br />

งานของสำนักงานฯ และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างทุก<br />

ตำแหน่งตามพระราชบัญญัติ<br />

ในวาระเริ่มแรก 180 วัน หลังจากพระราชบัญญัตินี ้ให้ใช้<br />

บังคับตั ้งแต่ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป<br />

ให้มีคณะกรรมการกำกับสำนักงานฯ และผู้อำนวยการสำนักงานฯ<br />

ที่รัฐมนตรีแต่งตั ้งปฏิบัติหน้าที่ไปจนกว่าจะมีคณะกรรมการกำกับและ<br />

ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ตามพระราชบัญญัตินี ้ ซึ่งภายในวาระเริ่มแรก ผู้อำนวยการ<br />

สำนักงานฯ ผศ. ดร. ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ได้ดำเนินการจัดทำ<br />

โครงสร้าง กรอบอัตรากำลังพนักงาน จำนวน 303 อัตรา ข้อบังคับฯ<br />

ว่าด้วยการเงินและการบริหารกิจการของสำนักงานฯ พ.ศ. 2560<br />

ข้อบังคับฯ ว่าด้วยการบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ. 2560 และระเบียบ<br />

เกี ่ยวกับการดำเนินงานของสำนักงานฯ<br />

ต่อมาได้มีการออกแบบและประกาศใช้ตราสัญลักษณ์<br />

ของสำนักงานฯ โดยมีแนวความคิดจากการมุ่งไปข้างหน้า<br />

การส่งเสริมเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สีที ่แสดงถึงความ<br />

ก้าวหน้าและบ่งบอกถึงสำนักงานฯ ที ่กำหนดให้วันก่อตั้งเป็นวัน<br />

จันทร์ที่23 มกราคม พ.ศ. 2560 จนได้ตราสัญลักษณ์ของสำนักงานฯ<br />

ชื ่อ ทวิชา (Tawicha) ที ่มีลูกศร 3 เหลี ่ยม แสดงถึง เศรษฐกิจ<br />

สังคม และวัฒนธรรม ซ้อนทับกัน 2 ลูกศรแสดงถึงการก้าวหน้า<br />

อย่างไม่หยุดยั้ง (Move Forward) และยังรวมกันเป็นลูกศรเดียว<br />

ที่แสดงถึงความเป็นหนึ่งเดียวและความสามัคคีในการทำงานกับการ<br />

ใช้สีเหลืองซึ่งเป็นสีของเทคโนโลยีและวันจันทร์ โดยการออกแบบ<br />

เป็นผลงานของ นายอรรณพ นิราธร


ในช่วงสุดท้ายของวาระเริ ่มแรกของการจัดตั ้งสำนักงานฯ<br />

ได้เสนอเรื ่องการจัดกลุ่มประเภทของหน่วยงานต่อสำนักงานคณะ<br />

กรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เพื ่อพิจารณา ได้แก่ กลุ่ม 1<br />

พัฒนาและดําเนินการตามนโยบายสําคัญของรัฐเฉพาะด้านที่จะต้อง<br />

ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี หรือกลุ่ม 2 บริการที่ใช้เทคนิค<br />

วิชาการเฉพาะด้านหรือสหวิทยาการ หรือกลุ่ม 3 บริการสาธารณะ<br />

ทั่วไปตามลำดับ และต่อมาคณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การ<br />

มหาชน (ก.พ.ม.) มีมติเห็นชอบให้สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัล หรือดีป้า เป็นหน่วยงานกลุ่ม 1 และสำนักงาน ก.พ.ร. ได้เสนอ<br />

คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบผลในวันที ่ 11 กรกฎาคม<br />

พ.ศ. 2560 ในช่วงเวลาเดียวกันได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ<br />

สรรหาผู้อำนวยการสำนักงานฯ เพื ่อดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน<br />

180 วันหลังจากพระราชบัญญัตินี ้มีผลใช้บังคับ<br />

สุดท้ายได้ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ท่านแรก ผศ.ดร. ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ เมื ่อวันที ่ 20 กรกฎาคม<br />

พ.ศ. 2560 และทีมรองผู้อำนวยการตามมาตรา 50 ได้แก่<br />

นายฉัตรชัย คุณปิติลักษณ์<br />

ดร. รัฐศาสตร์ กรสูต<br />

ดร. กษิติธร ภูภราดัย<br />

ดร. ภาสกร ประถมบุตร<br />

ต่อมาได้มีการแต่งตั ้งคณะอนุกรรมการสรรหาคณะกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลโดยมีผู้อำนวยการ<br />

เป็นเลขานุการจนได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับขึ้นมา<br />

เมื ่อวันที ่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2560<br />

จวบจนช่วงปี พ.ศ. 2561 ได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ<br />

ด้านต่าง ๆ ขึ้น เพื่อช่วยพิจารณา กลั่นกรอง และให้ข้อเสนอแนะที่เป็น<br />

ประโยชน์ต่อการบริหารจัดการสำนักงานฯ ให้เกิดประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผล เช่น คณะอนุกรรมการกำกับด้านการเงินและทรัพย์สิน<br />

คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร คณะอนุกรรมการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล และคณะอนุกรรมการพิจารณาการส่งเสริมและ<br />

สนับสนุน เป็นต้น<br />

จากการเริ่มก่อตั้งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ได้กำหนดปรัชญาในการทำงานไว้ที ่การทำงานเพื ่อพี ่น้องประชาชน<br />

คนไทย (People First) และเปิดทำการตั้งแต่วันที ่ 23 มกราคม<br />

พ.ศ. 2560 โดยได้รับความอนุเคราะห์ให้ใช้พื ้นที ่บางส่วน<br />

เลขที่ 120 ชั้น 9 อาคารรัฐประศาสนภักดีศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ<br />

80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง<br />

เขตหลักสี ่ กรุงเทพมหานคร 12100<br />

และต่อมาได้ย้ายสถานที ่ทำการมาที ่ อาคารลาดพร้าวฮิลส์<br />

ถนนลาดพร้าว ซอย 4 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

ตั้งแต่วันที ่ 23 มกราคม พ.ศ. 2562 จนถึงปัจจุบัน<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

13


02<br />

วิสัยทัศน์<br />

พันธกิจ<br />

และกลยุทธ์<br />

14 รายงานประจำาปี 2561 | สำานักงานส่งเสริมเศราฐกิจดิจิทัล


ภารกิจตามกฏหมาย<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

วิสัยทัศน์<br />

“<br />

องค์กรแถวหน้า<br />

ในการส่งเสริม<br />

และนำไทยสู่<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

“<br />

จัดทำแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

นโยบาย ดัชนี รายงานสถานการณ์และ<br />

ติดตามความก้าวหน้าเทคโนโลยีและ<br />

นวัตกรรมดิจิทัล<br />

ลงทุนร่วมมือกับบุคคลอื ่นหรือประกอบ<br />

กิจการเกี ่ยวกับอุตสาหกรรมหรือ<br />

นวัตกรรมดิจิทัล<br />

พัฒนาการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์<br />

ใช้ในธุรกิจหรืออุตสาหกรรมและชุมชน<br />

สังคมและท้องถิ่น<br />

พัฒนากำลังคนและบุคลากรด้าน<br />

อุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายหรือกฎระเบียบ<br />

หรือมาตรการเกี ่ยวกับการคุ้มครอง<br />

ทรัพย์สินทางปัญญา<br />

15


16<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

EQSSS<br />

ค่านิยมองค์กร<br />

CORE VALUES


ค่านิยมของสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

E Q S S S<br />

EQUALITY<br />

“<br />

กล้าแสดงออก<br />

ทางความคิด<br />

เอางานเป็นหลัก<br />

“<br />

QUALITY SMART SERVICE SIMPLIFIED<br />

- MINDED<br />

“<br />

ทำงานบนพื้นฐาน<br />

ของคุณภาพ<br />

และธรรมาภิบาล<br />

“<br />

“<br />

มีความเฉียบคม<br />

ในการตอบโต้เจรจา<br />

เพื่อประโยชน์<br />

ของส่วนรวม<br />

“<br />

“<br />

มีใจรักบริการ<br />

จิตอาสา<br />

“<br />

“<br />

กระบวนการทำงาน<br />

สะดวก ง่ายและเป็น<br />

Digitized<br />

Organization<br />

“<br />

ความเท่าเทียมกันใน<br />

การได้แสดงออกทาง<br />

ความคิดเห็นอย่าง<br />

สร้างสรรค์ มีสิทธิและ<br />

ความเสมอภาคในการ<br />

แสดงออกทางความคิด<br />

เห็นได้อย่างเท่าเทียม<br />

มุ่งเน้นประโยชน์ของ<br />

ประเทศเป็นสำคัญ<br />

มุ่งส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์<br />

บริการที่มีคุณภาพด้วยหลัก<br />

จริยธรรมและธรรมาภิบาล<br />

เพื ่อสร้างคุณค่า และความ<br />

คุ้มค่าที ่ส่งผลกระทบต่อ<br />

เศรษฐกิจและสังคมของ<br />

ประเทศให้เป็นที ่ประจักษ์<br />

อย่างเป็นรูปธรรม<br />

บุคลากรมีทักษะความ<br />

สามารถเป็นที ่ยอมรับใน<br />

วงกว้าง มีความเชี่ยวชาญ<br />

ความรู้ ความสามารถ<br />

และมีความเฉียบคมใน<br />

การตอบข้อซักถามและให้<br />

ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์<br />

ต่อสังคม<br />

ให้บริการด้วยหัวใจ ด้วย<br />

ความยิ้มแย้มแจ่มใส<br />

สร้างความรู้สึกเป็นมิตร<br />

กับบุคคลทั ่วไป มีจิตอาสา<br />

อ่อนน้อมถ่อมตน ส่งมอบ<br />

คุณค่าการบริการที่สร้าง<br />

ความประทับใจให้กับผู้รับ<br />

บริการทั ้งภายในและ<br />

ภายนอกได้อย่างดี<br />

มุ่งเน้นกระบวนงานที่ท ำให้<br />

เรียบง่ายสามารถเข้าถึงได้<br />

สะดวก รวดเร็ว ลดความ<br />

ซับซ้อนของกระบวนการ<br />

ทำงาน มีประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผล<br />

17


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

แผนกลยุทธ์ ดีป้า ระยะ 4 ปี (ปีงบประมาณ 2561 - 2564)<br />

เพื ่อให้การขับเคลื ่อนดิจิทัลเพื ่อเศรษฐกิจและสังคมมีความสำเร็จเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม ดีป้าจึงได้จัดทำ<br />

แผนกลยุทธ์สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 ขึ้น เพื ่อเป็นกรอบในการดำเนินงานตามนโยบาย<br />

ของประเทศ ในการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาดิจิทัลเพื ่อเศรษฐกิจและสังคมตามภารกิจขององค์กร โดยยึดหลัก<br />

ความสอดคล้องกับแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล พ.ศ. 2561 - 2564 และแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงดิจิทัล<br />

เพื่อเศรษฐกิจและสังคม มากำหนดกรอบแนวคิดและทิศทางเป้าหมายการดำเนินงาน โดยพิจารณาจากประเด็นที่เกี่ยวข้องทั ้งด้าน<br />

การพัฒนากำลังคน อุตสาหกรรมการผลิตและบริการ การยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนและสังคม รวมทั้งการลดความเหลื่อมล ้ำ<br />

ในการเข้าถึงความเจริญ ความทันสมัยในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ เป็นสำคัญ<br />

มุ่งให้ความสำคัญกับการดำเนินงานให้มีความ<br />

สอดคล้องภารกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั ้ง<br />

เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายการดำเนินงานตอบโจทย์<br />

ความต้องการของประเทศ ให้เห็นผลสัมฤทธิ ์อย่างเป็น<br />

รูปธรรม มีการพัฒนาการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิผล<br />

และประสิทธิภาพ มีความสอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน<br />

มองเป้าหมายไปที ่จุดเดียว (Focus and Alignment)<br />

สามารถบริหารจัดการทรัพยากรที ่มีอยู่อย่างจำกัด<br />

ให้เกิดผลประโยชน์ต่อประเทศได้อย่างสูงสุดและคุ้มค่า<br />

กลยุทธ์<br />

4 ปี<br />

18<br />

กลยุทธ์ที่ 1<br />

การพัฒนากำลังคนและการ<br />

เพิ ่มศักยภาพบุคลากรดิจิทัล<br />

ของประเทศ<br />

กลยุทธ์ที่ 2<br />

การส่งเสริมและสนับสนุนสังคม<br />

ดิจิทัลบนฐานความรู้อย่างทั ่วถึง<br />

และตอบสนองวิถีชีวิตในอนาคต<br />

ของประชาชนส่วนใหญ่<br />

กลยุทธ์ที่ 3<br />

การส่งเสริมและสนับสนุนการ<br />

พัฒนาศักยภาพในการเติบโต<br />

ของเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีและ<br />

นวัตกรรมดิจิทัล<br />

กลยุทธ์ที่ 4<br />

การพัฒนาระบบนิเวศดิจิทัลเพื ่อ<br />

สนับสนุนการปรับตัวประเทศไทย<br />

สู่ 4.0 และอนาคต<br />

กลยุทธ์ที่ 5<br />

การสร้างและเพิ ่มประสิทธิภาพ<br />

การบริหารจัดการองค์กร<br />

กลยุทธ์ที่ 6<br />

การเพิ่มขีดความสามารถของ<br />

ประเทศด้วย Mega Program<br />

เพื ่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมดิจิทัล


เป้าหมาย<br />

ระยะ 4 ปี<br />

เพื่อสร้างผลงานด้าน<br />

ดิจิทัลที ่สามารถนำไปใช้<br />

ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ<br />

และสังคมได้จริง คิดเป็น<br />

มูลค่าไม่ต่ำกว่า 2 เท่า<br />

ของค่าใช้จ่ายสํานักงาน<br />

กลุ่มอุตสาหกรรม<br />

กลุ่มธุรกิจ<br />

เกษตร อาหาร หุ่นยนต์<br />

ระบบอัตโนมัติ ท่องเที ่ยว<br />

และดิจิทัล<br />

การค้าและบริการขนาดใหญ่<br />

วิสาหกิจขนาดกลางและ<br />

ขนาดย่อม (SME)<br />

วิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้น<br />

(Digital Startup)<br />

สศด.<br />

ตัวชี้วัดเป้าหมายระยะ 4 ปี<br />

1.<br />

2.<br />

3.<br />

4.<br />

5.<br />

6.<br />

7.<br />

Digitalized Village 40 ชุมชน<br />

ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5<br />

7 เมืองอัจฉริยะ<br />

ผลิตภาพขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3<br />

สร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้ดิจิทัลเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5<br />

Digitalized Enterprise 2,000 ราย<br />

Digital Startup Series A 20 ราย<br />

8.<br />

9.<br />

10.<br />

11.<br />

12.<br />

13.<br />

Digital Startup จดจัดตั้งธุรกิจ 400 ราย<br />

2 สถาบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

Digital Citizen 5,000,000 คน<br />

Digital Literacy 400,000 คน<br />

เยาวชนมีทักษะ Coding 100,000 คน<br />

มีผู้เชี่ยวชาญดิจิทัล 50,000 คน<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ปัจจุบัน<br />

1. Digitalized Village 10 ชุมชน<br />

2. 1 เมืองอัจฉริยะ<br />

3. Digitalized Enterprise 300 ราย<br />

4. Digital Startup Series A 2 ราย<br />

5. Digital Startup จดจัดตั้งธุรกิจ 100 ราย<br />

6. Digital Startup ระยะเริ่มต้น 200 ราย<br />

7. จัด 1 กิจกรรมประชุมระดับนานาชาติ<br />

8. Digital Literacy 100,000 คน<br />

9. เยาวชนไทยมีทักษะ Coding 13,000 คน<br />

10. มีผู้เชี่ยวชาญดิจิทัล 2,000 คน<br />

1.<br />

2.<br />

3.<br />

4.<br />

5.<br />

6.<br />

7.<br />

8.<br />

9.<br />

10.<br />

11.<br />

12.<br />

13.<br />

14.<br />

15.<br />

16<br />

Digitalized Village 10 ชุมชน<br />

ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5<br />

2 เมืองอัจฉริยะ<br />

ผลิตภาพขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1<br />

สร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้ดิจิทัลเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1<br />

Digitalized Enterprise 500 ราย<br />

Digital Startup Series A 5 ราย<br />

Digital Startup จดจัดตั้งธุรกิจ 100 ราย<br />

Digital Startup ระยะเริ่มต้น 200 ราย<br />

1 สถาบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

จัด 1 กิจกรรมประชุมระดับนานาชาติ<br />

มี 1 Digital Platform ระดับชาติ<br />

Digital Citizen 1,000,000 คน<br />

Digital Literacy 100,000 คน<br />

เยาวชนไทยมีทักษะ Coding 17,000 คน<br />

มีผู้เชี่ยวชาญดิจิทัล 5,000 คน<br />

1. Digitalized Village 10 ชุมชน<br />

2. ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5<br />

3. 2 เมืองอัจฉริยะ<br />

4. ผลิตภาพขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1<br />

5. สร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้ดิจิทัลเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2<br />

6. Digitalized Enterprise 600 ราย<br />

7. Digital Startup Series A 5 ราย<br />

8. Digital Startup จดจัดตั้งธุรกิจ 100 ราย<br />

9. Digital Startup ระยะเริ่มต้น 200 ราย<br />

10. จัด 1 กิจกรรมประชุมระดับนานาชาติ<br />

11. Digital Citizen 2,000,000 คน<br />

12. Digital Literacy 100,000 คน<br />

13. เยาวชนไทยมีทักษะ Coding 25,000 คน<br />

14. มีผู้เชี่ยวชาญดิจิทัล 13,000 คน<br />

1.<br />

2.<br />

3.<br />

4.<br />

5.<br />

6.<br />

7.<br />

8.<br />

9.<br />

10.<br />

11.<br />

12.<br />

13.<br />

14.<br />

15.<br />

16<br />

Digitalized Village 10 ชุมชน<br />

ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5<br />

2 เมืองอัจฉริยะ<br />

ผลิตภาพขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1<br />

สร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้ดิจิทัลเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2<br />

Digitalized Enterprise 600 ราย<br />

Digital Startup Series A 8 ราย<br />

Digital Startup จดจัดตั้งธุรกิจ 100 ราย<br />

Digital Startup ระยะเริ่มต้น 200 ราย<br />

1 สถาบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

จัด 1 กิจกรรมประชุมระดับนานาชาติ<br />

มี 1 Digital Platform ระดับชาติ<br />

Digital Citizen 2,000,000 คน<br />

Digital Literacy 100,000 คน<br />

เยาวชนไทยมีทักษะ Coding 45,000 คน<br />

มีผู้เชี่ยวชาญดิจิทัล 30,000 คน<br />

19


20<br />

03<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

รายนาม<br />

คณะกรรมการกำกับ<br />

และผู้บริหาร


รายนามคณะกรรมการกำกับ ดีป้า<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

นายธีรนันท์ ศรีหงส์<br />

ประธานกรรมการกำกับ<br />

นางสาวอัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชัย<br />

กรรมการกำกับ<br />

นางวรรณพร เทพหัสดิน ณ อยุธยา<br />

กรรมการกำกับ<br />

นายศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร<br />

กรรมการกำกับ<br />

นายอภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล<br />

กรรมการกำกับ<br />

นายสมประสงค์ ปัญจะลักษณ์<br />

กรรมการกำกับ<br />

นายอนุพร อรุณรัตน์<br />

กรรมการกำกับ<br />

นายสุเทพ พันธุ์เพ็ง<br />

กรรมการกำกับ<br />

21


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

รายนามคณะผู้บริหาร ดีป้า<br />

22<br />

ผศ.ดร. ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์<br />

ผู้อำนวยการ<br />

ดร. กษิติธร ภูภราดัย<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มยุทธศาสตร์และบริหาร)<br />

นายฉัตรชัย คุณปิติลักษณ์<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มงานเศรษฐกิจดิจิทัล)


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ดร. ภาสกร ประถมบุตร<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มงานโครงการพิเศษ)<br />

ดร. รัฐศาสตร์ กรสูต<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มสังคมและกำลังคนดิจิทัล)<br />

นายมีธรรม ณ ระนอง<br />

ผู้ช่วยผู้อำนวยการอาวุโส<br />

(กลุ่มงานกิจการสาขา)<br />

นายพรชัย หอมชื่น<br />

ผู้ช่วยผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มงานบริหารสำนักงาน)<br />

23


04<br />

โครงสร้างองค์กร<br />

และอัตรากำลัง<br />

24 รายงานประจำาปี 2561 | สำานักงานส่งเสริมเศราฐกิจดิจิทัล


โครงสร้างองค์กรสานักงาน<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ฝ่ายนโยบาย<br />

และยุทธศาสตร์<br />

ฝ่ายกลยุทธ์<br />

องค์กร<br />

ดร.กษิติธร ภูภราดัย<br />

รองผู้อํานวยการ กลุ่มยุทธศาสตร์<br />

และบริหาร<br />

ฝ่ายตรวจสอบ<br />

ภายใน<br />

สถาบันไอโอที<br />

และนวัตกรรม<br />

ดิจิทัล<br />

นายฉัตรชัย คุณปิติลักษณ์<br />

รองผู้อํานวยการ<br />

กลุ่มงานเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ฝ่ายส่งเสริมและ<br />

สนับสนุนการพัฒนา<br />

การเกษตรสมัยใหม่<br />

ฝ่ายส่งเสริมและ<br />

สนับสนุนการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมและธุรกิจ<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ฝ่ายส่งเสริม<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัล<br />

ฝ่ายส่งเสริม<br />

แพลตฟอร์ม<br />

และบริการดิจิทัล<br />

ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุน<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

และความมั่นคง<br />

ฝ่ายส่งเสริม<br />

เมืองอัจฉริยะ<br />

ดร.ภาสกร ประถมบุตร<br />

รองผู้อํานวยการกลุ่มงาน<br />

โครงการพิเศษและผู้อํานวยการ<br />

ศูนย์พัฒนาดิจิทัล<br />

และนวัตกรรม<br />

ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์<br />

ผู้อํานวยการสํานักงาน<br />

ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต<br />

รองผู้อํานวยการ<br />

กลุ่มสังคมและกําลังคนดิจิทัล<br />

ฝ่ายส่งเสริม<br />

และสนับสนุน<br />

การพัฒนาชุมชน<br />

ฝ่ายส่งเสริมและ<br />

พัฒนากําลังคนดิจิทัล<br />

ฝ่ายบริการ<br />

เขตพื้นที่ภาคเหนือ<br />

ฝ่ายบริการ<br />

เขตพื้นที่ภาคอีสาน<br />

นายมีธรรม ณ ระนอง<br />

ผู้ช่วยผู้อํานวยการอาวุโส<br />

ฝ่ายกิจการ<br />

สํานักงาน<br />

สถาบันส่งเสริม<br />

วิสาหกิจดิจิทัล<br />

เริ ่มต้น<br />

นายพรชัย หอมชื่น<br />

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ<br />

ฝ่ายอํานวยการ<br />

สํานักงาน<br />

ฝ่ายบริหารทรัพยากร<br />

องค์กรและบุคคล<br />

ฝ่ายบริการ<br />

เขตพื้นที่ภาคกลาง<br />

และตะวันออก<br />

ฝ่ายบริการ<br />

เขตพื้นที<br />

่ภาคใต้<br />

ฝ่ายบริหารการคลัง<br />

และบริการกลาง<br />

25


่<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

26<br />

การดำเนินงานของดีป้า ในช่วงการก่อตั ้งสำนักงานประจำปีงบประมาณ<br />

2560 ได้อัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นปรัชญานำในการ<br />

พัฒนาควบคู่การพัฒนาและสร้างคลังความรู้ขององค์กร เพื่อวางรากฐาน<br />

การพัฒนาองค์กรให้มีขีดความสามารถ ในการสร้างมูลค่าเพิ ่มทางเศรษฐกิจ<br />

ก่อให้เกิดสังคมคุณภาพ” โดยใช้ความต้องการของประเทศและตลาดเป็น<br />

ตัวนํา (Demand Driven) ด้วยการเร่งพัฒนาระบบการบริหารจัดการที<br />

คล่องตัว ยืดหยุ่น ทันสมัยตามมาตรฐานสากลและหลักธรรมาภิบาล มีการใช้<br />

เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล ตลอดจนมุ่งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้<br />

ส่งมอบงานที่มีคุณค่า ก้าวทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก สร้างงาน<br />

ให้เกิดผลลัพธ์และผลกระทบที่เป็นรูปธรรม รวมถึงเร่งรัดการประชาสัมพันธ์และ<br />

การตลาดเชิงรุก เพื ่อนําไปสู่การสร้างภาพลักษณ์และความเชื ่อมั่นต่อองค์กร<br />

ให้เป็นที ่ยอมรับในวงกว้าง<br />

โครงสร้างองค์กรของดีป้า มีการจัดกลุ่มงานที ่สอดคล้องกับภารกิจ<br />

ตามกฏหมาย ทั้งด้านการส่งเสริมการใช้ การลงทุน และการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล<br />

ในมิติด้านเศรษฐกิจดิจิทัล ด้านกำลังคนดิจิทัล และสังคมดิจิทัล ประกอบด้วย<br />

กลุ่มสังคมและกำลังคนดิจิทัล กลุ่มเศรษฐกิจดิจิทัล กลุ่มโครงการพิเศษ<br />

และศูนย์พัฒนาดิจิทัลและนวัตกรรม กลุ่มยุทธศาสตร์และบริหาร ตลอดจน<br />

กลุ่มงานสถาบันเฉพาะทางและกิจการสำนักงาน นอกจากนั้น ยังมีสำนักงานกิจการ<br />

สาขาเปิดให้บริการเพื่ออำนวยความสะดวก และสร้างการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัล<br />

ในพื ้นที ่ทุกภูมิภาคของประเทศ โดยมีบทบาทสำคัญดังต่อไปนี ้


่<br />

หน่วยงานที่ขึ้นตรงกับผู้อำนวยการดีป้า<br />

เพื่อให้การดำเนินงานของผู้อำนวยการดีป้า มีความกระชับ รวดเร็ว สามารถดำเนินการในกรอบภารกิจหลัก<br />

ที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการหลัก รวมทั ้งให้การปฏิบัติงานขององค์กรถูกต้องตามกฎหมาย<br />

ข้อบังคับ ระเบียบ และสอดคล้องกับนโยบายของชาติ มติคณะรัฐมนตรี ตามหลักธรรมาภิบาล จึงให้มี<br />

หน่วยงานในสังกัดที่ขึ้นตรงผู้อำนวยการ ประกอบด้วย<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

1<br />

1.1<br />

ฝ่ายตรวจสอบภายใน ทำหน้าที่ดำเนินงาน<br />

ตามวัตถุประสงค์และบทบาทหน้าที ่เพื่อสนับสนุน<br />

ผู้อำนวยการในการดำเนินงานขององค์กรให้มี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

1.3<br />

สถาบันไอโอทีและนวัตกรรมดิจิทัล เป็นสถาบันที<br />

ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุน เพิ ่มโอกาสและให้บริการ<br />

สถานที ่สำหรับเอกชน วิสาหกิจดิจิทัลเริ ่มต้น ในการ<br />

ร่วมกันดำเนินการต่อยอดการลงทุนหรือประกอบกิจการ<br />

เกี่ยวกับอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล และร่วมมือกับ<br />

บุคคลอื ่นในการพัฒนาอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล<br />

รวมถึงการดำเนินการเกี ่ยวกับการพัฒนาบุคลากร<br />

ด้านอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

1.2<br />

ฝ่ายกิจการสำนักงาน เป็นกิจการของ<br />

สำนักงานเพื่อการดำเนินงานโดยการจัดตั้งขึ้น<br />

ไม่ว่าจะเรียกชื ่อใดก็ตาม เช่น องค์การ บริษัท สถาบัน<br />

สำนักงาน เป็นต้น ซึ ่งมีรูปแบบพิเศษ ไม่ว่าเป็นการ<br />

เข้าถือหุ้น การเข้าเป็นหุ้นส่วน การเข้าร่วมทุนกับ<br />

บุคคลอื่น รวมถึงโครงการหรือกิจกรรมอันเกิดจาก<br />

ความร่วมมือต่าง ๆ หรือการดำเนินกิจการในลักษณะ<br />

ทำนองเดียวกันเพื ่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ตาม<br />

มาตรา 34 โดยไม่แสวงหาผลกำไร<br />

1.4<br />

สถาบันส่งเสริมวิสาหกิจดิจิทัลเริ ่มต้น เป็น<br />

สถาบันเพื ่อการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิด “ดิจิทัล<br />

สตาร์ทอัพ” หรือวิสาหกิจดิจิทัลเริ่มต้นใหม่ที่สร้าง<br />

ความเปลี ่ยนแปลงด้วยแนวคิดที ่แตกต่าง โดยใช้<br />

กระบวนการและนวัตกรรมที ่ไม่เหมือนใคร สามารถ<br />

ทำซ้ำ (Repeatable) ขยายตลาดได้ (Scalable)<br />

เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และเติบโตอย่างก้าวกระโดด<br />

(Exponential growth) และส่งเสริมให้เกิดนักธุรกิจ<br />

รุ่นใหม่เป็นผู้ริเริ่มความคิดสร้างสรรค์โดยการใช้<br />

เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลใหม่ๆ มาเป็นเครื ่องมือ<br />

และกลไกในการต่อยอดสู่ระบบเศรษฐกิจ<br />

27


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

กลุ่มงานยุทธศาสตร์<br />

เพื่อกำหนดทิศทางยุทธศาสตร์ระยะสั้น กลาง และยาว การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลและ<br />

เชื่อมโยงแผนกลยุทธ์สำนักงานฯ แผนบริหารความเสี ่ยง แผนงบประมาณ แผนการลงทุนในโครงการสำคัญ<br />

ที่มีระบบการติดตามผลการดำเนินงานและการประเมินการดำเนินงานตามช่วงระยะเวลาของแผนยุทธศาสตร์<br />

และแผนกลยุทธ์ เพื่อการปรับเปลี่ยนแผนงานให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานสูงสุด รวมทั้งเกิด<br />

การสื่อสารทางการตลาดสู่ประชาชนคนไทย พัฒนาให้เกิดการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา และการนำไป<br />

ใช้ประโยชน์ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และการบริหารจัดการภายในองค์กรที ่มีประสิทธิภาพ<br />

และทันสมัย ประกอบด้วย<br />

28<br />

2<br />

2.1<br />

ฝ่ายนโยบายและยุทธศาสตร์ ทำหน้าที่จัดทำ<br />

นโยบายและแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้สอดคล้อง<br />

กับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล<br />

เพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการศึกษา เสนอแนะ<br />

เร่งรัด และติดตามการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายหรือกฎ<br />

ระเบียบ หรือมาตรการเกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สิน<br />

ทางปัญญาของอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล<br />

ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

2.2<br />

ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร ทำหน้าที่กำหนดทิศทาง<br />

การขับเคลื ่อนพร้อมจัดทำกลยุทธ์ขององค์กร ได้แก่<br />

การกำหนดเป้าหมาย แผนงาน/โครงการในการดำเนิน<br />

งาน ทั้งระยะสั้น กลาง ยาว การให้การสนับสนุนใน<br />

การจัดทำแผนปฏิบัติเพื ่อให้เป็นแนวปฏิบัติให้เป็นไป<br />

อย่างสอดประสานกันและเกิดผลสำเร็จ พร้อมทั้ง<br />

การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน<br />

จัดทำแผนงบประมาณ และจัดสรรงบประมาณ<br />

รายจ่ายประจำปีขององค์กร ตลอดจนโครงการ<br />

พิเศษ และดำเนินการพัฒนา ทบทวน ปรับปรุง<br />

แผนปฏิบัติการประจำปี เพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติเพื ่อ<br />

ให้เกิดผลสำเร็จให้เป็นไปในทิศทางที ่สอดคล้อง<br />

กับเป้าหมายขององค์กร ติดตามและประเมินผล<br />

ผลการดำเนินงานขององค์กร ทั ้งในระดับหน่วยงาน<br />

และระดับประเทศ


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

กลุ่มงานเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล พัฒนาและ<br />

ส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็น<br />

ประโยชน์ต่อภาค “เศรษฐกิจดิจิทัล” ของประเทศ<br />

สอดคล้องความต้องการตามนโยบายของชาติ<br />

และกลุ่มเป้าหมาย เพื่อการสร้างเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศที่มีเสถียรภาพและมีความมั ่นคงอย่างยั ่งยืน<br />

ประกอบด้วย<br />

3.1<br />

ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการเกษตร<br />

สมัยใหม่ ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการใช้<br />

เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื ่อพัฒนาการเกษตร<br />

สมัยใหม่และยกระดับอุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศ<br />

เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน สอดคล้องกับ<br />

การพัฒนาเกษตรกรรมแบบยั่งยืนตามหลักเศรษฐกิจ<br />

พอเพียง<br />

3<br />

3.2<br />

ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมและธุรกิจ ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุน<br />

ให้เกิดการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อการ<br />

พัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจของประเทศในกลุ่ม<br />

เป้าหมาย First S-Curve และ New S-Curve เพื่อสร้าง<br />

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของธุรกิจและอุตสาหกรรม<br />

ของประเทศ ด้วยการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศให้เป็นการผลิตฐาน Digital Economy<br />

3.3<br />

ฝ่ายส่งเสริมอุตสาหกรรมดิจิทัล ทำหน้าที่<br />

ส่งเสริม สนับสนุนการตลาดและการลงทุนเทคโนโลยี<br />

และนวัตกรรมดิจิทัล เพื ่อเพิ่มขีดความสามารถ<br />

ในการแข่งขันด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

ในการประยุกต์ใช้สำหรับธุรกิจหรืออุตสาหกรรมของ<br />

ประเทศ<br />

29


่<br />

30<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

4<br />

กลุ่มงานโครงการพิเศษและศูนย์พัฒนาดิจิทัล<br />

และนวัตกรรม<br />

กลุ่มงานโครงการพิเศษและศูนย์พัฒนา<br />

ดิจิทัลและนวัตกรรมมีเป้าหมายเพื ่อ “บริหารจัดการ<br />

โครงการพิเศษขนาดใหญ่ตามนโยบายรัฐบาล และ<br />

ตามแผนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที ่สอดคล้อง<br />

กับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนา<br />

ดิจิทัลเพื ่อเศรษฐกิจและสังคม” การดำเนินงานที<br />

เน้นความร่วมมือกับภาคเอกชนหรือบุคคลอื่นทั้ง<br />

เครือข่ายในประเทศและต่างประเทศ เน้นการทำงาน<br />

เชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานและผ่านกลไก<br />

ต่าง ๆ ตามอำนาจหน้าที่ของสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล เน้นการบริหารจัดการทรัพยากร<br />

ขององค์กรให้มีจุดเน้นและเกิดผลกระทบในวงกว้าง<br />

เน้นการทำงานเชิงรุกที่มีความยืดหยุ่นสามารถ<br />

ปรับตัวรองรับการเปลี ่ยนแปลงใหม่ ๆ ประกอบด้วย<br />

4.1<br />

ฝ่ายส่งเสริมแพลตฟอร์มและบริการดิจิทัล<br />

ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา<br />

นวัตกรรมบริการดิจิทัลและแพลตฟอร์ม ระบบปฏิบัติ<br />

การวิเคราะห์ข้อมูลดิจิทัล เพื ่อเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ<br />

และศึกษา ค้นคว้า วิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อ<br />

ให้การพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลเกิดประโยชน์ต่อ<br />

เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ<br />

4.2<br />

ฝ่ายส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ ทำหน้าที่<br />

ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการใช้เทคโนโลยีและ<br />

นวัตกรรมดิจิทัลเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ<br />

ประกอบด้วย การพัฒนา Smart People, Smart<br />

Mobility, Smart Living, Smart Economy, Smart<br />

Energy & Environment, Smart Governance<br />

เชื่อมโยงการกระจายความเจริญด้านดิจิทัลที ่เหมาะสม<br />

ตอบสนองความต้องการของพื้นที่ ชุมชน และท้องถิ ่น


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

กลุ่มสังคมและกำลังคนดิจิทัล<br />

5<br />

เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดการนำ<br />

เทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการ<br />

พัฒนาและความมั่นคงด้านสังคม รวมถึงการ<br />

สร้างและพัฒนากำลังคนดิจิทัลของประเทศ<br />

สอดคล้องความต้องการ ตามนโยบายของชาติ<br />

และกลุ่มเป้าหมาย เพื่อการสร้างสังคมคุณภาพ<br />

ที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประเทศ ประกอบด้วย<br />

5.2<br />

ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา<br />

ชุมชน ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนท้องถิ่น<br />

ให้สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

เพื่อพัฒนา/ปรับปรุงกระบวนการผลิต การควบคุม<br />

คุณภาพสินค้า/บริการ การสร้างอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์/<br />

บริการของชุมชน ขยายช่องทางการสื ่อสารผ่าน<br />

การตลาดไร้พรมแดนและการบริหารที ่ยั่งยืน นำไปสู่<br />

การเป็นชุมชนนวัตกรรมดิจิทัล<br />

5.1<br />

ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ<br />

ชีวิตและความมั ่นคง ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุน<br />

ให้เกิดการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรม<br />

ดิจิทัลเพื ่อยกระดับคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และการ<br />

สร้างรายได้ สร้างโอกาสทางอาชีพอย่างยั่งยืนต่อไป<br />

5.3<br />

ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนากำลังคนดิจิทัล<br />

ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเกี่ยวกับ<br />

การผลิต การพัฒนากำลังคนและยกระดับทักษะ<br />

ความเชี ่ยวชาญของบุคลากรด้านอุตสาหกรรมและ<br />

นวัตกรรมดิจิทัลให้สอดคล้องกับความต้องการของ<br />

ประเทศ<br />

31


่<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

หน่วยงานสังกัดผู้อำนวยการสำนักงานฯ<br />

กลุ่มงานกิจการสาขา พัฒนาและส่งเสริมให้เกิดการดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ในพื้นที่ตามอำนาจหน้าที ่ของสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามมาตรา 35 และขับเคลื ่อนการ<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลในพื้นที่ตามมาตรา 41 เพื่อการสร้างสังคมคุณภาพ ที ่มั่นคง และเศรษฐกิจที<br />

มั่งคั่ง และยั่งยืนในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศ ประกอบด้วย<br />

32<br />

6<br />

6.1<br />

6.3<br />

ฝ่ายบริการเขตพื้นที่ภาคเหนือ<br />

ประกอบด้วย 2 สาขา ดังนี้<br />

สาขาภาคเหนือตอนบน<br />

(เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพู น<br />

เชียงราย พะเยา น่าน แพร่)<br />

สาขาภาคเหนือตอนล่าง<br />

(พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์เพชรบูรณ์ ตาก<br />

กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี)<br />

ฝ่ายบริการเขตพื้นที่ภาคกลางและ<br />

ภาคตะวันออก ประกอบด้วย 4 สาขา ดังนี ้<br />

สาขาภาคกลางตอนบน<br />

(นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี<br />

ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง)<br />

สาขาภาคกลาง<br />

(ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก<br />

สมุทรปราการ)<br />

สาขาภาคกลางตอนล่าง<br />

(นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี<br />

เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร<br />

สมุทรสงคราม)<br />

สาขาภาคตะวันออก<br />

(ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด)<br />

6.2<br />

6.4<br />

ฝ่ายบริการเขตพื้นที่ภาคอีสาน<br />

ประกอบด้วย 3 สาขา ดังนี้<br />

สาขาภาคอีสานตอนบน<br />

(หนองคาย เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี บึงกาฬ<br />

สกลนคร นครพนม มุกดาหาร)<br />

สาขาภาคอีสานตอนกลาง<br />

(กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด)<br />

สาขาภาคอีสานตอนล่าง (อุบลราชธานี<br />

ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ นครราชสีมา<br />

ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์)<br />

ฝ่ายบริการเขตพื้นที่ภาคใต้<br />

ประกอบด้วย 2 สาขา ดังนี้<br />

สาขาภาคใต้ตอนบน<br />

(ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง<br />

ระนอง ภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง)<br />

สาขาภาคใต้ตอนล่าง<br />

(สตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส)


่<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

7<br />

กลุ่มงานบริหารสำนักงาน<br />

เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกลไกการบริหารสำนักงาน<br />

ให้ทันสมัย รวมถึงการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล<br />

ขององค์กร ให้มีขีดความสามารถ และมีทักษะที<br />

สอดคล้องกับการดำเนินงาน ของสำนักงานในการ<br />

เป็นองค์กรดิจิทัลสมรรถนะสูงต่อไป<br />

7.2<br />

ฝ่ายบริหารทรัพยากรองค์กรและบุคคล<br />

ทำหน้าที ่เสนอแนะนโยบาย กลยุทธ์ การจัดทำแผน<br />

บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล พัฒนาผลงานทาง<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนภารกิจองค์กร<br />

จัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื ่อสาร<br />

ของดีป้า ให้บริการสารสนเทศด้วยข้อมูลที ่ทันสมัย และ<br />

พัฒนา ดูแลความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ<br />

7.1<br />

ฝ่ายอำนวยการสำนักงาน ทำหน้าที่สนับสนุน<br />

การบริหารจัดการให้กับผู้บริหารระดับสูงและเป็น<br />

ผู้ประสานงานการติดต่อสื ่อสาร การประชาสัมพันธ์<br />

ที่สะท้อนถึงภาพลักษณ์องค์กรโดยใช้สื ่อที่เหมาะสม<br />

เป็นศูนย์กลางด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ โดยให้<br />

คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ และ<br />

ระเบียบต่าง ๆ ตลอดจนรับผิดชอบ ประสานงาน และ<br />

ดำเนินการในการกำกับดูแลกิจการที่ดีขององค์กร<br />

7.3<br />

ฝ่ายบริหารการคลังและบริการกลาง<br />

ทำหน้าที ่สนับสนุนการดำเนินงานด้านการบริหาร<br />

งบประมาณ การเงิน การบัญชี และคลังพัสดุ<br />

ให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี<br />

และกฎหมายที ่เกี่ยวข้อง รวมถึงจัดทำแผนควบคุม<br />

ภายในประจำปี<br />

33


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

กรอบอัตรากาลัง<br />

ของสานักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ข้อมูลระดับการศึกษาของพนักงาน<br />

จาแนกตามเพศ (หน่วย : ร้อยละ)<br />

9.52%<br />

17.46%<br />

2.38%<br />

19.04%<br />

กรอบอัตรากำลังของสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ในปี 2561<br />

มีจำนวนทั้งสิ้น 133 คน ไม่รวมผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัล 1 อัตรา และรองผู้อำนวยการ 4 อัตรา<br />

22.22%<br />

29.38%<br />

บรรจุจริง จำนวน 126 คน (ณ 30 กันยายน 2561)<br />

ป.ตรี<br />

ป.โท<br />

ป.เอก<br />

ป.ตรี<br />

ป.โท<br />

ป.เอก<br />

ข้อมูลระดับการศึกษาของพนักงาน<br />

จาแนกตามช่วงอายุ (หน่วย : ร้อยละ)<br />

เพศชาย<br />

เพศหญิง<br />

20 - 30 31 - 40 41 - 50 50 ปีขึ้นไป<br />

20<br />

15<br />

11.90%<br />

10.31%<br />

15.16%<br />

10<br />

5<br />

0<br />

7.93%<br />

5.55%<br />

3.17%<br />

0.79%<br />

8.73%<br />

0.79% 0.79%<br />

2.38%<br />

7.14%<br />

3.96%<br />

3.96%<br />

0.79%<br />

4.76%<br />

9.52%<br />

0.79%<br />

ป.ตรี<br />

ป.โท<br />

ป.เอก<br />

ป.ตรี<br />

ป.โท<br />

ป.เอก<br />

34<br />

เพศชาย<br />

เพศหญิง


ข้อมูลกรอบอัตรากาลัง<br />

จาแนกตามระดับของตาแหน่งงาน (หน่วย : อัตรา)<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

16 อัตรา<br />

9 อัตรา<br />

7 อัตรา<br />

15 อัตรา<br />

5 อัตรา<br />

ผู้บริหารระดับสูง<br />

ผู้อำนวยการฝ่าย<br />

36 อัตรา<br />

ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส<br />

ผู้จัดการ<br />

เจ้าหน้าที่อาวุโส<br />

27 อัตรา<br />

เจ้าหน้าที่ 3<br />

เจ้าหน้าที่ 2<br />

เจ้าหน้าที่ 1<br />

18 อัตรา<br />

35


36<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

05<br />

ข้อมูลสำคัญ<br />

ทางการเงิน<br />

ปี 2561


สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล งบแสดงฐานะการเงิน<br />

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561<br />

สินทรัพย์<br />

30 กันยายน 2561<br />

หน่วย : บาท<br />

30 กันยายน 2560<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

สินทรัพย์หมุนเวียน<br />

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด<br />

2,470,543,603.71<br />

878,706,545.70<br />

ลูกหนี ้อื ่นระยะสั้น<br />

235,350.25<br />

130,289.71<br />

รายได้ค้างรับ<br />

5,743,063.13<br />

33,976,690.30<br />

เงินให้กู้ยืมระยะสั้น<br />

252,000.00<br />

-<br />

วัสดุคงเหลือ<br />

214,297.21<br />

200,449.65<br />

ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า<br />

1,335,050.46<br />

1,336,553.59<br />

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน<br />

2,478,323,364.76<br />

914,350,528.95<br />

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน<br />

เงินฝากธนาคารที ่มีภาระผูกพัน<br />

-<br />

1,800,000.00<br />

ลูกหนี ้ระยะยาว<br />

-<br />

-<br />

เงินให้กู้ยืมระยะยาว<br />

1,017,000.00<br />

-<br />

อาคารและอุปกรณ์<br />

36,829,386.56<br />

40,188,948.39<br />

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน<br />

48,696,254.88<br />

54,685,907.81<br />

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื ่น<br />

6,280.00<br />

9,880.00<br />

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน<br />

86,548,921.44<br />

96,684,736.20<br />

รวมสินทรัพย์<br />

2,564,872,286.20<br />

1,011,035,265.15<br />

37


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล งบแสดงฐานะการเงิน<br />

สำหรับปี ณ วันที่ 30 กันยายน 2561<br />

หนี้สิน<br />

30 กันยายน 2561<br />

หน่วย : บาท<br />

30 กันยายน 2560<br />

(ปรับปรุงใหม่)<br />

หนี้สินหมุนเวียน<br />

เจ้าหนี้การค้า<br />

67,867,824.47<br />

25,302,324.83<br />

เจ้าหนี ้อื ่นระยะสั้น<br />

2,123,379.64<br />

1,274,302.24<br />

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย<br />

4,372,740.86<br />

9,174,816.71<br />

เงินรับฝากระยะสั้น<br />

266,675,310.77<br />

283,500,320.49<br />

หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงินที ่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี<br />

5,489,223.74<br />

2,590,291.92<br />

หนี ้สินหมุนเวียนอื ่น<br />

249,906.54<br />

700,000.00<br />

รวมหนี้สินหมุนเวียน<br />

346,778,386.02<br />

322,542,056.19<br />

หนี้สินไม่หมุนเวียน<br />

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินระยะยาว<br />

10,928,506.43<br />

8,366,488.35<br />

ประมาณการหนี ้สินระยะยาว<br />

8,964,141.21<br />

15,042,570.20<br />

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน<br />

19,892,647.64<br />

23,409,058.55<br />

รวมหนี้สิน<br />

366,671,033.66<br />

345,951,114.74<br />

สินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน<br />

2,198,201,252.54<br />

665,084,150.41<br />

สินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน<br />

ทุน<br />

724,629,403.03<br />

724,629,403.03<br />

รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม<br />

1,473,571,849.51<br />

(59,545,252.62)<br />

รวมสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน<br />

2,198,201,252.54<br />

665,084,150.41<br />

38


สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน<br />

สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561<br />

รายได้<br />

30 กันยายน 2561<br />

หน่วย : บาท<br />

30 กันยายน 2560<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

รายได้จากงบประมาณ<br />

1,798,601,600.00<br />

133,913,400.00<br />

รายได้จากการขายสินค้าและบริการ<br />

40,230,523.18<br />

21,877,102.73<br />

รายได้จากการอุดหนุนและบริจาค<br />

98,686,000.00<br />

20,000,000.00<br />

รายได้อื่น<br />

13,877,972.61<br />

8,329,483.04<br />

รวมรายได้<br />

1,951,396,095.79<br />

184,119,985.77<br />

ค่าใช้จ่าย<br />

ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร<br />

113,726,271.88<br />

61,655,640.69<br />

ค่าตอบแทน<br />

2,395,400.00<br />

5,214,626.26<br />

ค่าใช้สอย<br />

262,660,764.17<br />

157,362,888.84<br />

ค่าวัสดุ<br />

2,183,138.57<br />

3,822,445.09<br />

ค่าสาธารณูปโภค<br />

5,998,157.12<br />

3,643,385.41<br />

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย<br />

30,010,107.76<br />

8,032,990.12<br />

ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค<br />

1,028,100.00<br />

161,401.00<br />

รวมค่าใช้จ่าย<br />

418,001,939.50<br />

239,893,377.41<br />

รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายก่อนต้นทุนทางการเงิน<br />

1,533,394,156.29<br />

(55,773,391.64)<br />

ต้นทุนทางการเงิน<br />

(277,054.16)<br />

(3,771,860.98)<br />

รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ<br />

1,533,117,102.13<br />

(59,545,252.62)<br />

39


40<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล


สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน<br />

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

หน่วย : บาท<br />

ทุน<br />

รายได้สูง (ต่ำ)<br />

กว่าค่าใช้จ่ายสะสม<br />

องค์ประกอบอื่น<br />

ของสินทรัพย์<br />

สุทธิ/ส่วนทุน<br />

รวมสินทรัพย์<br />

สุทธิ/ส่วนทุน<br />

ยอดคงเหลือ ณ วันที ่ 30 กันยายน 2560 - ตามที ่รายงานไว้เดิม<br />

724,629,403.03<br />

(59,545,252.62)<br />

-<br />

665,084,150.41<br />

ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาดปีก่อน<br />

-<br />

-<br />

-<br />

-<br />

ยอดคงเหลือ ณ วันที ่ 30 กันยายน 2560 - หลังการปรับปรุง<br />

724,629,403.03<br />

(59,545,252.62)<br />

-<br />

665,084,150.41<br />

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุนสำหรับปี 2561<br />

รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ<br />

724,629,403.03<br />

1,533,117,102.13<br />

-<br />

1,533,117,102.13<br />

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2561<br />

724,629,403.03<br />

1,473,571,849.51<br />

-<br />

2,198,201,252.54<br />

41


42<br />

06<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ความสำเร็จ<br />

ที่โดดเด่น<br />

ในปี 2561


การพัฒนากำลังคนและเพิ่มศักยภาพ<br />

บุคลากรดิจิทัลของประเทศ<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

DIGITAL CEO<br />

64 ราย<br />

พัฒนาหลักสูตรความปลอดภัย<br />

ด้านไอทีด้วยมาตรฐานสากล<br />

ระดับ Professional<br />

40 ราย<br />

พัฒนาหลักสูตร Digital Literacy<br />

แก่นักศึกษา<br />

500 ราย<br />

พัฒนากาลังคนดิจิทัลในระดับสากล<br />

3,875 ราย<br />

43


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

การพัฒนากำลังคน<br />

และเพิ่มศักยภาพบุคลากร<br />

ดิจิทัลของประเทศ<br />

44<br />

พัฒนาทักษะเด็กและเยาวชนผ่านระบบ<br />

Coding Thailand.org<br />

100,000 ราย<br />

มีการเรียนรู้ผ่านแพลตฟอร์ม<br />

Codingthailand.org และ Thaidigizen.com<br />

จำนวน 23,915 ครั้ง โดยมีการเข้าเรียนรู้ผ่าน<br />

แพลตฟอร์มไม่น้อยกว่า 200,000 ครั้งต่อปี


การส่งเสริมและ<br />

สนับสนุนสังคม<br />

ดิจิทัลบนฐาน<br />

ความรู้อย่างทั่วถึง<br />

และตอบสนองวิถี<br />

ชีวิตในอนาคต<br />

ของประชาชน<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ประชาชนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล<br />

อย่างเกิดประโยชน์ รู้เท่าทันและสร้างสรรค์<br />

100,000 ราย<br />

ชุมชนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล<br />

สร้างรายได้และขยายโอกาสทางอาชีพ<br />

สร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัล<br />

20 ชุมชน<br />

45


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

การพัฒนาศักยภาพ<br />

ในการเติบโตของเศรษฐกิจไทย<br />

ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล<br />

Digital Startup<br />

ระดับ Series A<br />

ส่งเสริมให้เกิด Series A 2 ราย<br />

บริษัท เอนนี่แวร์ ทู โก จำกัด<br />

บริษัท คิว คิว (ประเทศไทย) จำกัด<br />

คิดเป็นมูลค่ากว่า 100 ล้านบาท<br />

พัฒนา Digital Startup กว่า 400 ราย<br />

สู ่การจดจัดตั้งธุรกิจ<br />

20 บริษัท<br />

นำร่องสร้างต้นแบบธุรกิจดิจิทัลและ<br />

Smart Factory ให้ดำเนินธุรกิจด้วยเทคโนโลยี<br />

ดิจิทัล<br />

46<br />

สนับสนุนผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม<br />

ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกว่า 380 ราย<br />

และเกิดต้นแบบผู้ประกอบการที ่นำเทคโนโลยี<br />

ดิจิทัลไปประยุกต์ใช้15 ราย<br />

มูลค่าเพิ ่มกว่า 50 ล้านบาท


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

“ ปั ้ น Startup ข้ามชาติ “<br />

47


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

depa ร่วม Tus-Holding เปิดตัว<br />

China - Thailand Digital Incubator<br />

วางเป้าหมายปั ้ น Startup ข้ามชาติ<br />

ที ่งาน Digital Thailand Big Bang <strong>2018</strong> เริ่มด้วย ฯพณฯ รองนายกรัฐมนตรี<br />

ดร. สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ให้เกียรติเป็นประธานในการเปิดตัว “ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจดิจิทัลเริ ่มต้นไทย-จีน”<br />

หรือ “China-Thailand Digital Incubator” พร้อมด้วย ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล<br />

เพื ่อเศรษฐกิจและสังคม ดร. พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล ดร. ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ และ Mr. Herbert Chen Chief Operating Officer,<br />

Tus-Holdings Co.,Ltd.<br />

ถือเป็นการจัดตั ้งหน่วยบ่มเพาะธุรกิจร่วมกัน<br />

ระหว่างประเทศไทยและจีนเป็นครั ้งแรก สะท้อนถึง<br />

ความพร้อมของไทยและจีนที ่จะสานสัมพันธ์สู่การเป็น<br />

หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ในการขับเคลื ่อนการพัฒนา<br />

ผู้ประกอบการ สนับสนุนให้เกิดธุรกิจสตาร์ทอัพระหว่าง<br />

ไทยและจีน ให้เข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลชั ้นสูง เช่น<br />

การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analytics)<br />

และปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื ่อเตรียมความพร้อมและ<br />

สร้างศักยภาพผู้ประกอบการ ให้สามารถแข่งขันและ<br />

ขยายธุรกิจออกสู่ภูมิภาคและทั ่วโลก<br />

ทั้งนี้ ศูนย์ฯ ดังกล่าว มีภารกิจสำคัญ คือ<br />

1) ส่งเสริมการบ่มเพาะสตาร์ทอัพของประเทศไทย จีน<br />

รวมถึงประเทศในภูมิภาคอาเซียน ให้มีความพร้อมทาง<br />

เทคโนโลยี ตลอดจนความพร้อมทางธุรกิจ<br />

2) ส่งเสริมการอบรมและพัฒนาบุคลากรที ่มีทักษะ<br />

ก่อเกิดความเชี่ยวชาญในการบ่มเพาะ และให้คำปรึกษา<br />

แก่กลุ่มสตาร์ทอัพ<br />

3) ดำเนินโครงการแลกเปลี ่ยน เพื ่อให้วิสาหกิจเริ ่มต้น<br />

ไทยและจีน ให้เรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน<br />

4) ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนด้านสตาร์ทอัพไทยและจีน<br />

ที ่ผ่านการบ่มเพาะ<br />

48<br />

5) แสวงหาความร่วมมืออื ่นๆ ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนา<br />

ระบบนิเวศในการส่งเสริมผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ<br />

อย่างมีประสิทธิภาพ


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

การพัฒนาระบบ<br />

Digital Ecosystem<br />

แผนแม่บทการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

พ.ศ. 2561 - 2564<br />

ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ในการประชุมครั้งที่ 2/2561 วันที่ 5 มีนาคม<br />

2561 และการประชุมคณะกรรมการดิจิทัลเพื ่อ<br />

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ครั้งที่ 3/2561<br />

เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2561<br />

โดยครอบคลุมการดำเนินงานทั้งหมด<br />

4 พื้นที่ ได้แก่<br />

1) พื้นที่ภาคเหนือ<br />

2) พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

3) พื้นที่ภาคใต้<br />

4) พื้นที่ภาคตะวันออก<br />

49


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

การพัฒนาระบบ<br />

Digital Ecosystem<br />

พลักดันมาตรการลดหย่อนภาษี<br />

เงินได้ สำหรับผู้ประกอบการ SME<br />

ที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 200%<br />

ดีป้า ขับเคลื ่อนมาตรการภาษีซอฟต์แวร์<br />

200% ตามที ่ได้รับความเห็นชอบจาก<br />

คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560<br />

เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน<br />

ระดับสากล<br />

50<br />

ทั้งนี้ การหักภาษีต้องอยู่ในหลักเกณฑ์<br />

เงื่อนไขที ่กรมสรรพากรกำหนดในวงเงิน<br />

ไม่เกิน 100,000 บาท เพิ่มเติมถึงคำว่า<br />

ลดภาษี 200% ว่าหัก 100% เป็นค่าใช้จ่าย<br />

และหักค่าเสื่อมได้อีก 3 ปี รวมเป็น 200%


พันธมิตรด้าน<br />

Smart City<br />

ทั้งในและต่างประเทศ<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

80 หน่วยงาน<br />

เกิดเครือข่ายพันธมิตรร่วมขับเคลื ่อนการ<br />

พัฒนาเมืองอัจฉริยะทั้งภาครัฐและเอกชน<br />

จากต่างประเทศและในประเทศกว่า80 หน่วยงาน<br />

ผ่าน Smart City Alliance Thailand<br />

https://web.facebook.com/ThaiSmartCity<br />

51


52<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ดีป้า ร่วมมือกับเครือข่ายระดับโลก<br />

ในการขับเคลื่อนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม อาทิ<br />

ธนาคารโลก (World Bank)<br />

องค์การส่งเสริมการค้าระหว่าง<br />

ประเทศของญี่ปุ ่น JETRO<br />

ดำเนินการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่เป็นรูปธรรม<br />

ระหว่างประเทศไทยและประเทศญี ่ปุ่น<br />

ดำเนินกิจกรรมเพื ่อส่งเสริมการตระหนักรู้เรื ่องอินเทอร์เน็ตเพื ่อ<br />

สรรพสิ่ง (IoT) ในประเทศไทย และนำการเปลี ่ยนผ่านไปสู่ยุคดิจิทัล<br />

ให้แก่ภาครัฐและภาคเอกชน


“Digital Thailand<br />

Big Bang <strong>2018</strong>“<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

มีผู้เข้าร่วมกว่า<br />

355,000 คน<br />

เกิดการลงทุนเจรจาธุรกิจของวิสาหกิจ<br />

เริ่มต้นด้านดิจิทัล (Digital Startup) กว่า<br />

500 ราย<br />

สร้างบทบาทการรับรู้ในเวทีโลกกว่า<br />

40 ประเทศทั่วโลก<br />

เกิดการจับคู่ธุรกิจระหว่าง Startup และ<br />

ผู้ประกอบการกว่า 100 ราย สร้างมูลค่า<br />

การลงทุนกว่า<br />

500 ล้านบาท<br />

53


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

การเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ<br />

ด้วยโครงการตามยุทธศาสตร์ประเทศ<br />

ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City)<br />

คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 267/2560 มอบหมายให้ดีป้า<br />

เป็นเลขานุการร่วมของคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง<br />

อัจฉริยะ โดยมี พล.อ.อ. ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี เป็น<br />

ประธานกรรมการขับเคลื ่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ<br />

ได้รับรางวัล IDC Smart City Asia Pacific (SCAPA) ประจำปี 2561<br />

โครงการเมืองอัจฉริยะจังหวัดขอนแก่น และจังหวัดภูเก็ตเป็นหนึ่งใน<br />

ผู้ได้รับรางวัลโครงการเมืองอัจฉริยะยอดเยี่ยมในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก<br />

(ยกเว้นญี ่ปุ่น) ในการประกาศรางวัล IDC Smart City Asia Pacific<br />

(SCAPA) ประจำปี 2561<br />

54<br />

โดยนำร่องพัฒนาเมืองอัจฉริยะในจังหวัดภูเก็ตในปี 2560<br />

โดยในปี 2561 ได้ดำเนินการพัฒนาในพื ้นที ่เป้าหมาย 7 จังหวัด<br />

เพิ่มเติม ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี ฉะเชิงเทรา<br />

ระยอง และ กทม.<br />

“ขอนแก่นสมาร์ทเฮลธ์” ได้รับรางวัลชนะเลิศโครงการด้านสาธารณสุข<br />

และการบริการสังคมดีเด่น และโครงการ “ภูเก็ตสมาร์ททัวริซึ่ม”<br />

ได้รับรางวัลชนะเลิศโครงการด้านการท่องเที่ยว ศิลปะ วัฒนธรรม<br />

หอสมุด และพื้นที่สาธารณะดีเด่น จาก 148 โครงการ


เมืองอัจฉริยะ<br />

Smart City<br />

@ภูเก็ต<br />

Smart Public Safety<br />

@ ป่าตอง อบจ. ภูเก็ต อบต. ไม้ขาว เฝ้าระวังอันตรายบนท้องถนน<br />

Smart Tourism<br />

เพื่อการวิเคราะห์และบริหารจัดการฐานข้อมูลนักท่องเที่ยว<br />

Smart People<br />

จัดตั้ง Phuket Smart City Innovation Park<br />

เพิ่มทักษะการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

Smart City<br />

@เชียงใหม่<br />

Smart Public Safety @ ถนนนิมมานเหมินท์<br />

Smart People ณ Chaing Mai Innovation Park<br />

เพิ่มทักษะการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล<br />

Smart City<br />

@ขอนแก่น<br />

Smart City<br />

@กรุงเทพฯ<br />

Smart Mobility เพื่อความปลอดภัย<br />

ในการเดินทาง ณ บริเวณกลางเมืองและรอบเมือง<br />

Smart Health ที่ทุกคนเข้าถึงได้ นำร่อง<br />

รพ. ศูนย์ขอนแก่น รพ. ศรีนครินทร์<br />

Smart People<br />

พัฒนาผู้นำการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ<br />

64 ท่าน (Digital CEO)<br />

55


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

การเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ<br />

ด้วยโครงการขนาดใหญ่<br />

จัดตั ้งสถาบันไอโอที เพื่ออนาคต (IoT Institute) ที่ศรีราชา<br />

เพื่อพัฒนานวัตกรรมดิจิทัลด้าน Data Science, IOT และ AI<br />

ผลักดัน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ผงาดในเขตเศรษฐกิจพิเศษ<br />

ตะวันออก (EEC) ในการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล<br />

เป็นสถาบันที ่เพิ่มโอกาสและให้บริการสถานที ่สำหรับเอกชน วิสาหกิจ<br />

ดิจิทัลเริ ่มต้นในการร่วมกันดำเนินการต่อยอดการลงทุนหรือประกอบ<br />

กิจการเกี ่ยวกับอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล และร่วมมือในการ<br />

พัฒนาอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล<br />

56


มีความร่วมมือกับธุรกิจ<br />

ดิจิทัลระดับโลก ได้แก่<br />

1<br />

Nokia Solutions and Networks (Thailand) Limited<br />

เพื่อสร้างความร่วมมือในการพัฒนา สนับสนุน บ่มเพาะ และพัฒนาทักษะ<br />

ด้านเทคโนโลยี 5G และ IOT ในระดับท้องถิ ่น ชุมชน อุตสาหกรรมและประเทศ<br />

ในเรื่อง IoT Device/Application Testing Lab<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

2<br />

Industry Platform Pte Ltd.<br />

(หรือ Asia IoT Business Platform) เป็นการสร้างเครือข่ายพันธมิตร<br />

ไอโอทีสากล (International IoT Alliance) เพื ่อส่งเสริมระบบนิเวศ<br />

กระบวนการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์กรในประเทศไทยและทั ่วภูมิภาค<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

Digital Park Thailand<br />

ดีป้า ได้ร่วมขับเคลื่อนการพัฒนา Digital Park<br />

Thailand ที่สำคัญ โดยชักชวนผู้ประกอบการต่าง<br />

ประเทศเข้ามาร่วมลงทุน ดังนี้<br />

1<br />

สาธารณรัฐประชาชนจีน<br />

ได้แก่ Huawei, China Mobile International<br />

และ China Aviation Cloud (CAC)<br />

2<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

ได้แก่ Aruba HP, Apple Inc., Facebook, Tesla,<br />

NASA Ames Research Center และ Cisco<br />

3<br />

ไต้หวัน<br />

ได้แก่ National Taiwan University (NTU), Asus,<br />

Microsoft (และ Partner ได้แก่ ITRI MOXA และ<br />

AVALUE), Institute for Information Industry<br />

(III) และ MIC (หน่วยงานภายใต้ III)<br />

57


58<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

07<br />

บทวิเคราะห์สถานภาพและ<br />

มูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัล<br />

ของไทย ปี 2560


กลุ่มอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์<br />

ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ<br />

(Hardware & Smart device)<br />

กลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์<br />

(Software)<br />

กลุ่มอุตสาหกรรมด้านการสื่อสาร<br />

(Communications)<br />

กลุ่มอุตสาหกรรมบริการด้านดิจิทัล<br />

(Digital Service)<br />

กลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์<br />

(Digital Content)<br />

เทคโนโลยีในปี 2561 ประเทศไทยได้พัฒนาอย่างจริงจังเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัล โดยมีแนวนโยบายด้านดิจิทัลของรัฐบาลที่ชัดเจนในการส่งเสริมการพัฒนาและ<br />

การใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล เพื ่อให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดักการพัฒนาทั้งใน<br />

เชิงเศรษกิจและสังคม นอกจากนี ้ พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื ่อเศรษฐกิจ<br />

และสังคม พ.ศ. 2560 ยังชี ้ประเด็นสำคัญในการส่งเสริมไปสู่เป้าหมายดังกล่าว<br />

ทั้งในเรื่องของการส่งเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรม การลงทุน การนำไปใช้ประโยชน์<br />

ทั้งเชิงเศรษฐกิจและสังคม รวมไปถึงการพัฒนากำลังคนดิจิทัลของประเทศ<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัลเป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามพลวัตร<br />

ของเทคโนโลยี โดยนิยามและขอบเขตได้วิวัฒนาการและขยายมาจากอุตสาหกรรม<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื ่อสาร (ICT) เดิม และสำหรับการส่งเสริมเศรษฐกิจ<br />

ดิจิทัลในครั้งนี ้ จะนิยามอุตสาหกรรมค่อนข้างกว้าง หมายถึง “อุตสาหกรรมการ<br />

ผลิต และบริการต่าง ๆ ที ่เกี ่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลหรือการใช้ประโยชน์จาก<br />

เทคโนโลยีดิจิทัล” แบ่งออกเป็น 5 สาขา ได้แก่ กลุ่มฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ<br />

(Hardware & Smart Device), กลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ (Software)<br />

กลุ่มอุตสาหกรรมด้านการสื่อสาร (Communications), กลุ่มอุตสาหกรรมบริการด้าน<br />

ดิจิทัล (Digital Service) และกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ (Digital Content)<br />

สำหรับขีดความสามารถของอุตสาหกรรมดิจิทัลไทยในภาพรวมนั ้น การลงทุนใน<br />

ด้านโครงข่ายโทรคมนาคมและการสื่อสาร ทั้งในระบบไร้สายจากภาคเอกชนและระบบสาย<br />

จากภาครัฐในพื้นที่ห่างไกลในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาได้ส่งผลบวกต่อเนื่องโดยธรรมชาติ<br />

ไปสู่ตลาดอุปกรณ์โครงข่าย Core Network ตลาดอุปกรณ์ Smart Device ตลาด<br />

Mobile Commerce ตลาด Data Center ตลาด Software Application และ<br />

Software-enable Service ไปจนถึงตลาด Digital Content โดยในปัจจุบัน<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัลของไทยนั ้นค่อนข้างเปิดกว้าง มีทั้งผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่าย<br />

ผู้ให้บริการ ที ่เป็นผู้ประกอบการจากต่างประเทศรายใหญ่ และผู้ประกอบการไทย<br />

หลายขนาด โดยตลาดดิจิทัลที ่โตขึ ้นจะทำให้ผู้ประกอบการทั้งระบบได้ประโยชน์ แต่<br />

ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมดิจิทัลที่เกิดและโตในไทยเองที่ส่วนใหญ่เป็น SME จะสามารถ<br />

เก็บเกี่ยวโอกาสทางธุรกิจได้มากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับศักยภาพในการแข่งขันของตัวเอง<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแข่งขันที ่อยู่บนฐานของนวัตกรรม<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

Supporting Infrastructure<br />

(Physical and Institutional<br />

Infrastructure )<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัล<br />

DIGITAL INDUSTRY<br />

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าในภาพรวมอุตสาหกรรมดิจิทัลของไทยจะมีการเติบโต<br />

ต่อเนื ่องทุกปี แต่ยังมีข้อจำกัดด้านการเติบโต เนื ่องจากผู้ประกอบการขนาดกลาง<br />

และเล็กขาดแคลนเงินทุนในการขยายธุรกิจ และไม่สามารถขอกู้ยืมเงินได้ง่ายนัก ด้วย<br />

ธุรกิจดิจิทัลส่วนใหญ่ถือว่ามีความเสี่ยงสูงเกินกว่าที่ธนาคารจะยอมรับได้ ยิ่งไปกว่านั ้น<br />

อุตสาหกรรมยังขาดการลงทุนในด้านนวัตกรรมที ่นำไปสู่สินค้าและบริการที ่มีมูลค่าสูง<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ ่งไม่มีการเชื่อมโยงการวิจัยและพัฒนาด้านดิจิทัลไปสู่ภาคอุตสาหกรรม<br />

เป้าหมายของประเทศ<br />

59


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

สถานภาพและมูลค่าตลาด อุตสาหกรรมดิจิทัลประจำาปี 2560<br />

Software<br />

78,818<br />

106,679<br />

Hardware &<br />

Smart device<br />

294,543<br />

Communications<br />

77,753<br />

78,818<br />

90,791<br />

294,543<br />

324,428<br />

355,851<br />

577,328<br />

600,541<br />

613,920<br />

629,673<br />

2559<br />

61<br />

2561<br />

2559<br />

61<br />

60<br />

Digital Content<br />

25,040<br />

21,981<br />

25,040<br />

2560<br />

27,005<br />

90,791<br />

62<br />

Digital Service<br />

36,326<br />

36,326<br />

2560<br />

48,677<br />

65,227<br />

62<br />

ภายใต้ภารกิจการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ในปี 2560 ดีป้า ดำเนินการสำรวจสถานภาพและ<br />

มูลค่าตลาด<br />

อุตสาหกรรมบริการด้านดิจิทัล (Digital Service)<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ (Digital Content)<br />

อุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ<br />

(Hardware and Smart Device)<br />

อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ (Software)<br />

ประจำปี 2560 คาดการณ์ 2561 - 2562<br />

เพื่อเป็นฐานข้อมูลที ่เป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม<br />

และผู้ที่เกี ่ยวข้องในการนำไปใช้วางแผนยุทธศาสตร์<br />

ขององค์กร ส่งผลให้เกิดการเติบโตและเข้มแข็งของ<br />

* จากการสำรวจข้อมูลประเมินสถานภาพอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ อุตสาหกรรม<br />

ซอฟต์แวร์ และอุตสาหกรรมบริการด้านดิจิทัล ปี 2560 คาดการณ์ปี 2561 - 2561 โดย ดีป้า<br />

** จากการสำรวจข้อมูลและประเมินสถานภาพอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ ปี 2560 และคาดการณ์<br />

ปี 2561 - 2562 โดย ดีป้า


อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์<br />

(Software)<br />

มูลค่าตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ปี 2560 มีมูลค่าการบริโภค<br />

ซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ 78,818 ล้านบาท โดยเติบโตจากปี 2559<br />

ร้อยละ 1.6 และมีมูลค่าการผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ 51,702<br />

ล้านบาท โดยเติบโตจากปี 2559 ร้อยละ 3.14<br />

ในมูลค่าการผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ แบ่งเป็นซอฟต์แวร์<br />

สำเร็จรูป มูลค่า 13,669 ล้านบาท เติบโตขึ้นร้อยละ 7.37 และบริการซอฟต์แวร์<br />

38,033 ล้านบาท เติบโตขึ้นร้อยละ 1.7 ทั้งหมดนี ้เป็นผลมาจากเป็นช่วงขาขึ้น<br />

ของอุตสาหกรรมไอทีหลังจากที ่ชะลอตัวในช่วง 2 ปีที ่ผ่านมา เหตุผลที ่สถิติ<br />

ในตลาดนี ้ดีขึ้นเพราะผู้ประกอบการมีการปรับตัวต่อการดำเนินธุรกิจเพื ่อให้<br />

สอดคล้องกับกระแสของเทคโนโลยีใหม่ เช่น Cloud, Big Data ฯลฯ และ<br />

ภาคธุรกิจมีการตื่นตัวเรื่องการทรานส์ฟอร์มองค์กรไปสู่ดิจิทัล ซึ่งส่วนหนึ่งเป็น<br />

ผลพวงจากนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล<br />

มูลค่าตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์<br />

ปี 2560 เปรียบเทียบกับปี 2559<br />

ปี 2560<br />

ปี 2559<br />

เติบโต (%)<br />

มูลค่าบริโภค<br />

มูลค่านำเข้า<br />

30,735<br />

31,158<br />

-1.4%<br />

ปี 2559<br />

77,573<br />

ปี 2560<br />

78,818<br />

หน่วย : ล้านบาท<br />

ผลิตเพื่อใช้<br />

ในประเทศ ส่งออก In-house<br />

48,083 3,619 17,088<br />

46,415<br />

+3.6%<br />

เติบโต(%)<br />

+1.6%<br />

3,714<br />

-2.6%<br />

15,834<br />

+7.92%<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

คาดการณ์ ปี 2561 และ 2562 ตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์<br />

ของไทยจะเติบโตขึ้นร้อยละ 15.2 และ 17.5 ตามลำดับ จากปัจจัยการลงทุน<br />

ด้าน Digital Transformation ยังคงต่อเนื ่องจากปีที ่ผ่านมา และการมาของ<br />

เทคโนโลยีใหม่อย่าง AI และ Big Data Analytics เพื ่อสร้างความได้เปรียบ<br />

ในการดำเนินธุรกิจ<br />

มูลค่าการผลิต<br />

ปี 2559<br />

50,129<br />

ปี 2560<br />

51,702<br />

เติบโต(%)<br />

+3.14%<br />

หน่วย : ร้อยละ<br />

แนวโน้มตลาดในปี 2561 คือการแข่งขันที ่สูงขึ้น เพราะอุตสาหกรรม<br />

ซอฟต์แวร์กำลังเผชิญกับความท้าทายจาก Digital Transformation<br />

ยังมีการเข้ามาของเทคโนโลยี Cloud Computing และบริการอย่าง SaaS<br />

(Software as a Service) ที ่ทำให้รูปแบบการขายซอฟต์แวร์เปลี ่ยนแปลงไป<br />

และผู้ใช้สามารถเลือกซื ้อซอฟต์แวร์จากที ่ใดก็ได้ นอกจากนี ้ยังมีแนวโน้ม<br />

เทคโนโลยี Mega Trends จำนวน 5 ด้าน คือ Internet of things, Blockchain,<br />

Robotics, Artificial Intelligence และ Quantum Computing ที ่คาดว่า<br />

จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมซอฟต์แวร์<br />

อัตราการเติบโต ปี 2561<br />

ปี 2562<br />

< 10 ล้านบาท<br />

> 10 - 50 ล้านบาท<br />

> 50 - 100 ล้านบาท<br />

> 100 - 500 ล้านบาท<br />

> 500 ล้านบาท<br />

12.00<br />

19.05<br />

19.00<br />

17.00<br />

8.88<br />

17.25<br />

26.45<br />

22.40<br />

11.17<br />

10.25<br />

รวม<br />

15.2<br />

17.5<br />

61


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

อุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์<br />

และอุปกรณ์อัจฉริยะ<br />

(Hardware and Smart Device)<br />

ภาพรวมมูลค่าตลาดฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะปี 2560 มีมูลค่า<br />

294,543 ล้านบาท อัตราการเติบโตของมูลค่าตลาดฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์<br />

อัจฉริยะถูกขับเคลื ่อนจากการเปลี่ยนผ่านด้านดิจิทัล (Digital Transformation)<br />

และผู้ประกอบการต้องเตรียมรับมือการแทรกแซงจากเทคโนโลยี (Disruptive<br />

Technology) รวมทั้งหลังจากชะลอการลงทุนเปลี่ยนเครื่องมาระยะหนึ่ง<br />

ปี 2560 จึงถึงเวลาต้องเปลี่ยนเครื่องใหม่<br />

คาดการณ์ว่าปี 2561 และ 2562 ตลาดฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ดิจิทัล<br />

ของไทยจะเติบโตร้อยละ 10.15 และ 9.69 เนื่องจากอุปกรณ์มีราคาถูกลง รูปแบบ<br />

การซื้อ หรือพฤติกรรมผู้บริโภคจะเปลี่ยนเป็นซื้อบริการมากขึ้น ใช้บริการ<br />

คลาวด์มากขึ ้น รวมถึง Internet of Things (IoT) ตัวเลขการลงทุนและขยายตัว<br />

จะยังคงมีอยู่ แต่จะย้ายเป็นการลงทุน Data Center และให้บริการจาก ISP<br />

หรือ Private Cloud ซึ่งจะมีเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

มูลค่าตลาดฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะปี 2560<br />

และคาดการณ์เติบโตปี 2561 - 2562<br />

(หน่วย : ล้านบาท)<br />

ปี 2560 คาดการณ์เติบโตปี 2561 คาดการณ์เติบโตปี 2562<br />

Hardware & Smart Device<br />

(มูลค่าอุปกรณ์ทั้งหมด) 294,543 10.15% 9.69%<br />

ล้านบาท<br />

62<br />

30%<br />

คาดการณ์เติบโตปี 2561<br />

Smart Device<br />

77,958<br />

ล้านบาท<br />

20%<br />

คาดการณ์เติบโตปี 2562<br />

Hardware<br />

96,154<br />

Peripherals<br />

216,585<br />

58,693<br />

Storage<br />

3% 5%<br />

ล้านบาท<br />

คาดการณ์เติบโตปี 2561 คาดการณ์เติบโตปี 2561<br />

54,372<br />

Computer<br />

7,366<br />

ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท<br />

Printer


อุตสาหกรรม<br />

บริการด้านดิจิทัล<br />

(Digital Service)<br />

ในปีนี ้การสำรวจอุตสาหกรรมบริการด้านดิจิทัล มูลค่าตลาดรวม 36,326 ล้านบาท โดยบริการ<br />

ด้านดิจิทัลแบ่งออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ e-Content, e-Entertianment, e-Payment, e-Retail,<br />

e-Transactions, e-Advertise, FinTech<br />

ผลสำรวจและศึกษาข้อมูลมูลค่าอุตสาหกรรมบริการด้านดิจิทัล ปี 2560 พบประเด็นสำคัญที่ทำให้<br />

อุตสาหกรรมมีการเติบโตขึ้น คือ กระแสของการใช้ดิจิทัลในทุกอุตสาหกรรม ทุกภาคบริการ และมีแนวโน้ม<br />

อัตราการใช้ดิจิทัลเติบโตขึ้นในทุกภาคส่วน โดยมีประเด็นสำคัญ เช่น Social Platform, Cashless Society,<br />

Blockchain, Chat Bot, 3D, Augmented Reality, และ Virtual Reality<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

มูลค่าของผู้ประกอบการดิจิทัลโดยตรง<br />

ประเภท<br />

e - Content<br />

e - Entertainment<br />

e - Payment<br />

e - Retail<br />

e - Transaction<br />

Fintech<br />

รวม<br />

*e - Advertise<br />

273 ล้านบาท<br />

640 ล้านบาท<br />

6,638 ล้านบาท<br />

11,356 ล้านบาท<br />

9,452 ล้านบาท<br />

7,913 ล้านบาท<br />

36,326<br />

4,384 ล้านบาท<br />

ล้านบาท<br />

*ผู้ให้บริการทั ่วไปที่ประกอบธุรกิจดิจิทัล<br />

63


่<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์<br />

(Digital Content)<br />

64<br />

ดิจิทัลคอนเทนต์เป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทในอุตสาหกรรมหลากหลาย<br />

แขนง ทั้งอุตสาหกรรมบันเทิง อุตสาหกรรมภาพยนตร์ โทรทัศน์ การศึกษา<br />

สื่อสิ ่งพิมพ์ และอื่น ๆ ประกอบกับอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์เป็นอุตสาหกรรม<br />

ที ่ถูกขับเคลื ่อนโดยปัจจัยด้านกระแสนิยม ความสนใจและพฤติกรรมของ<br />

ผู้บริโภค และการพัฒนาของเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งเปลี ่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว<br />

และต่อเนื ่อง ผลการสำรวจมูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ ปี 2560<br />

คิดเป็น 25,040 ล้านบาท มีอัตราการเติบโตโดยรวมร้อยละ 14 จากปี 2559<br />

และคาดการณ์ว่าจะมีแนวโน้มในการขยายตัวเพิ ่มขึ้นในปีถัดไป โดยแบ่งเป็นสาขา<br />

แอนิเมชัน มูลค่า 3,799 ล้านบาท อัตราการเติบโตลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 4<br />

สาขาคาแรคเตอร์ มูลค่า 1,960 ล้านบาท อัตราการเติบโตเพิ ่มขึ้น จากปี 2559<br />

ร้อยละ 16 และสาขาเกมมีมูลค่า 19,281 ล้านบาท อัตราการเติบโตเพิ ่มขึ้น จากปี 2558<br />

ร้อยละ 18<br />

แนวโน้มการเติบโตในปี 2561 มูลค่าดิจิทัลคอนเทนต์ในไทยคาดว่าจะแตะ<br />

ระดับกว่า 27,005 ล้านบาท และมีมูลค่ากว่า 29,358 ล้านบาทในปี 2562 โดยสาขา<br />

อุตสาหกรรมแอนิเมชันถูกคาดการณ์ว่าจะเติบโตประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ และยังคง<br />

การเติบโตเป็นร้อยละ 4 ในปี 2562 ขณะที ่สาขาเกมคาดการณ์ว่าจะเติบโตถึง<br />

ร้อยละ 9 และคาดว่าจะเติบโตขึ้นอีก ร้อยละ 9 ในปี 2562 สำหรับ<br />

สาขาคาแรคเตอร์คาดการณ์ว่าจะเติบโตถึงร้อยละ 12 ในปี 2561 และร้อยละ 11<br />

ในปี 2562 ทั้งนี้ ตัวเลขคาดการณ์ดังกล่าว เป็นไปตามการประเมินจากปริมาณ<br />

งานที ่ผู้ประกอบการกำลังผลิต รวมทั้งแนวโน้มและปัจจัยบวกของตลาดที<br />

คาดว่าจะส่งผลต่อการขยาตัวของอุตสาหกรรม<br />

ธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต์ในไทยได้ถูกขับเคลื ่อนด้วยธุรกิจประเภท<br />

การรับจ้างผลิตรับทั ้งในและต่างประเทศเป็นหลัก ซึ่งในปี 2560 ตัวเลข<br />

ผู้รับจ้างผลิตแอนิเมชันมีส่วนแบ่งการตลาดกว่าร้อยละ 54 ของมูลค่าแอนิเมชัน<br />

ทั้งหมด ส่วนผู้จัดจำหน่ายและนำเข้าเกมมีส่วนแบ่งการตลาดมากกว่า<br />

ร้อยละ 96 ของมูลค่าตลาดเกมทั ้งหมด ขณะที ่ผู้จัดจำหน่าย ผู้นำเข้าและ<br />

ดูแลสิทธิคาแรคเตอร์มีส่วนแบ่งการตลาดกว่าร้อยละ 92<br />

มูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์<br />

สาขาเกม<br />

สาขาแอนิเมชัน<br />

สาขาคาแรคเตอร์<br />

4,029<br />

14,228<br />

1,573<br />

2%<br />

7%<br />

3,965<br />

16,329<br />

15% 18%<br />

1,687<br />

หน่วย : ล้านบาท<br />

ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560<br />

19,830<br />

21,981<br />

25,040<br />

ล้านบาท<br />

ล้านบาท<br />

ล้านบาท<br />

4%<br />

3,799<br />

19,281<br />

16% 1,960<br />

+11% +14%


มูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์<br />

จำแนกตามสาขาของอุตสาหกรรมฯ<br />

และคาดการณ์ปี 2561 - 2562<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

สำหรับอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ ประเทศไทยยังคงพึ่งพา<br />

ตลาดต่างประเทศมากพอสมควร ไม่ว่าจะเป็นการนำเข้าลิขสิทธิ ์หรือรับจ้าง<br />

ผลิต ทั้ง ๆ ที ่ผู้ประกอบการไทยมีฝีมือและมีศักยภาพที ่ได้รับการยอมรับ<br />

จากทั ่วโลก การที ่ผู้ผลิตไทยจะมีผลงานที ่มีทรัพย์สินทางปัญญาเป็น<br />

ของตัวเองมากขึ้น จะช่วยลดปัญหาการถูกกดราคาจากต่างประเทศ<br />

ลดอัตราการนำเงินออกไปนอกประเทศ และสามารถเป็นรากฐานสำคัญของ<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ในระยะยาวได้เป็นอย่างดี<br />

5,000<br />

10,000<br />

3,965<br />

15,000<br />

20,000<br />

25,000<br />

30,000<br />

35,000<br />

ทั้งนี ้ ดีป้าพร้อมจะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม<br />

ดิจิทัลประเทศไทย ทั้ง 5 อุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และ<br />

อุปกรณ์อัจฉริยะ (Hardware & Smart Device), อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์<br />

(Software), อุตสาหกรรมด้านการสื่อสาร (Communications), อุตสาหกรรม<br />

บริการด้านดิจิทัล (Digital Service) และอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์<br />

(Digital Content) โดยดีป้าจะยกระดับคุณภาพผู้ประกอบการให้สามารถ<br />

แข่งขันและเติบโตในธุรกิจได้อย่างยั่งยืนอย่างครบวงจร ตั้งแต่การส่งเสริม<br />

ให้เกิดความสนใจในอุตสาหกรรม และการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการ<br />

ดิจิทัลในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง การพัฒนาตลาดผ่าน Digital Event<br />

and Marketing Fund การส่งเสริมให้เกิดผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลหน้าใหม่<br />

ผ่าน Digital Startup Fund การกระตุ้นให้เกิดความต้องการในตลาดผ่านทาง<br />

Digital Transformation Fund ไปจนถึงการส่งเสริมและสนับสนุนการไปทำ<br />

ตลาดต่างประเทศผ่าน Internationalization Voucher อีกด้วย<br />

Animation<br />

Game<br />

Character<br />

3,799 -4%<br />

3,877 +2%<br />

4,025 +4%<br />

1,687<br />

1,960 +16%<br />

2,201 +12%<br />

16,329<br />

19,281 +18%<br />

20,927 +9%<br />

22,885 +9%<br />

2,448<br />

+11%<br />

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562<br />

+11% +14% +7% +8%<br />

21,981 25,040 27,005 29,358<br />

หน่วย : ล้านบาท<br />

65


08<br />

66<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

การขับเคลื่อนองค์กรดิจิทัล<br />

ให้เป็นองค์กรสมรรถนะสูง<br />

(HPO: High Performance<br />

Organization)


ดีป้า ได้รับผลคะแนนการประเมิน<br />

คุณธรรมและความโปร่งใสในการ<br />

ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ<br />

(Integrity and Transparency<br />

Assessment : ITA)<br />

ประจาปีงบประมาณ 2561<br />

ประกอบด้วย<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ความโปร่งใส<br />

คุณธรรมการ<br />

ทางานในหน่วยงาน<br />

ความปลอด<br />

จากการทุจริต<br />

ในการปฏิบัติงาน<br />

วัฒนธรรม<br />

คุณธรรม<br />

ในองค์กร<br />

ความพร้อมรับผิด<br />

คะแนน ITA เท่ากับ<br />

84.63<br />

คะแนน<br />

67


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

Digital One Stop Service<br />

(DOSS)<br />

ดีป้า มีความมุ่งมั ่นพัฒนาคุณภาพการให้บริการ สามารถ<br />

เข้าถึงได้ง่าย สะดวก ด้วยการเปิดศูนย์บริการด้านดิจิทัลครบวงจร<br />

(Digital One Stop Service : DOSS) จำนวน 4 แห่ง ได้แก่<br />

สำนักงานส่วนกลาง สาขาภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้<br />

โดยมีจำนวนผู้ใช้บริการในปี 2561 แล้วทั้งสิ้น 1,305 คน<br />

ตัวอย่างการให้บริการ<br />

1. รับรองมาตรฐาน ISO/IEC 29110<br />

2. ขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการดิจิทัล<br />

3. การขอรับสิทธิส่งเสริมการลงทุน<br />

4. ขึ้นทะเบียนผู้เชี ่ยวชาญ<br />

5. Smart Visa<br />

68


ขับเคลื่อนการพัฒนาดิจิทัล<br />

เพื่อเศรษฐกิจและสังคมผ่าน<br />

7 กิจการสาขา 4 ภูมิภาคของไทย<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

เพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลให้กับประชาชนในพื้นที่ ได้อย่างทั่วถึง<br />

1. สาขาภาคเหนือตอนบน จังหวัดเชียงใหม่<br />

2. สาขาภาคเหนือตอนล่าง จังหวัดพิษณุโลก<br />

3. สาขาภาคอีสานตอนกลาง จังหวัดขอนแก่น 4. สาขาภาคอีสานตอนล่าง จังหวัดอุบลราชธานี<br />

5. สาขาภาคใต้ตอนบน จังหวัดภูเก็ต 6. สาขาภาคใต้ตอนล่าง จังหวัดสงขลา 7. สาขาภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี<br />

69


70<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

09ตัวอย่างหน่วยงาน<br />

ร่วมดำเนินงานที่สำคัญ


ลาดับ<br />

1<br />

2<br />

บริษัท เทคฟาร์ม จำกัด<br />

บริษัท อินฟิวส์ จำกัด<br />

Partner<br />

ประเภท<br />

Digital Agriculture<br />

Digital Agriculture<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

3<br />

ธนาคารเพื ่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)<br />

Digital Community<br />

4<br />

1. กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (DITP)<br />

2. สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งประเทศไทย (TFIT)<br />

3. สมาคมผู้ประกอบการแอนิเมชันและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ไทย (TACGA)<br />

4. สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เกมไทย (TGA)<br />

5. สมาคมอีเลิร์นนิ ่งแห่งประเทศไทย (e-LAT)<br />

6. สมาคมดิจิทัลคอนเทนท์ไทย (DCAT)<br />

7. สมาคมธุรกิจบางกอก เอซีเอ็ม ซิกกราฟ (BASA)<br />

Digital Transformation<br />

5<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

Digital Transformation<br />

6<br />

อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิเพื ่อสถาบันอาหาร<br />

Digital Transformation<br />

7<br />

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ<br />

Digital Transformation<br />

8<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ<br />

Digital Transformation<br />

9<br />

บริษัท ออโต้แพร์ จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

10<br />

บริษัท เจ็นเซิฟ จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

11<br />

บริษัท อรินแคร์ จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

12<br />

บริษัท แบร์คอน คอร์ปอเรชั่น จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

13<br />

บริษัท สปอร์ตไลซ์ (ประเทศไทย) จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

14<br />

บริษัท เอสพีสมาร์ทแพลนท์ จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

15<br />

บริษัท ค็อบ เทคโนโลยี จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

16<br />

บริษัท บีเอ็มจี แอดไวซ์เซอรี แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด<br />

Digital Transformation<br />

71


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ลาดับ<br />

17<br />

Partner<br />

1. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข<br />

2. กรมกิจการผู้สูงอายุกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั ่นคงของมนุษย์<br />

ประเภท<br />

Health care<br />

18<br />

INDUSTRY PLATFORM PTE. LTD.<br />

Internet Of Thing (IOT)<br />

19<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ<br />

Digital Manpower<br />

20<br />

มหาวิทยาลัยสยาม<br />

Digital Manpower<br />

21<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

Digital Manpower<br />

22<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ<br />

Digital Manpower<br />

23<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี<br />

Digital Manpower<br />

24<br />

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์<br />

Digital Manpower<br />

25<br />

มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

Digital Manpower<br />

26<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี<br />

Digital Manpower<br />

27<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล กาญจนบุรี (นักศึกษา)<br />

Digital Manpower<br />

28<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล กาญจนบุรี (บุคลากร)<br />

Digital Manpower<br />

29<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา<br />

Digital Manpower<br />

30<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก<br />

Digital Manpower<br />

31<br />

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (นักศึกษา)<br />

Digital Manpower<br />

32<br />

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (บุคลากร)<br />

Digital Manpower<br />

33<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

Digital Manpower<br />

34<br />

มหาวิทยาลัยพะเยา<br />

72<br />

Digital Manpower


ลาดับ<br />

35<br />

36<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต<br />

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

Partner<br />

ประเภท<br />

Digital Manpower<br />

Digital Manpower<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

37<br />

38<br />

39<br />

40<br />

41<br />

42<br />

43<br />

44<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)<br />

CODE.ORG<br />

บริษัท ซิตี ้ เดต้า อนาไลติกส์ จำกัด<br />

1. จังหวัดขอนแก่น<br />

2. มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

3. อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

4. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

5. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น (สปสช.)<br />

6. โรงพยาบาลขอนแก่น<br />

7. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น<br />

8. เทศบาลนครขอนแก่น<br />

9. สมาคมเฮลท์เทคประเทศไทย<br />

10. สมาคมการค้าซอฟต์แวร์และธุรกิจนวัตกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

11. ชมรมขอนแก่นเมกเกอร์คลับ<br />

บริษัท โจวิท โกลบอล จำกัด<br />

กรมทรัพย์สินทางปัญญา<br />

Digital Manpower<br />

Digital Manpower<br />

Digital Manpower<br />

Digital Manpower<br />

Smart city<br />

Smart City<br />

Smart City<br />

ทรัพย์สินทางปัญญา<br />

73


depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

10<br />

อนุกรรมการ<br />

สำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

74<br />

คณะอนุกรรมการกากับ ดีป้า<br />

ด้านการเงินและทรัพย์สิน<br />

คำสั่งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ที่ ค. 290/2561 เรื่องแต่งตั ้งคณะอนุกรรมการกำกับ<br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลด้านการเงินและทรัพย์สิน<br />

ประกอบด้วย<br />

1 นายสุเทพ พันธุ์เพ็ง<br />

ที ่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

2 นายสมประสงค์ ปัญจะลักษณ์<br />

ที ่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

3<br />

4<br />

นายอภิสิทธิ์ ไล่ศัตรูไกล<br />

ประธานอนุกรรมการ<br />

ผู้อำนวยการสำนักงาน<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

รองประธานอนุกรรมการ<br />

5<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

ผู้อำนวยการสำนักงบ<br />

ประมาณ หรือผู้แทน<br />

อนุกรรมการ<br />

นายปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง<br />

อนุกรรมการ<br />

นางลดาวัลย์ กระแสร์ชล<br />

อนุกรรมการ<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มยุทธศาสตร์และบริหาร)<br />

อนุกรรมการ<br />

ผู้ช่วยผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มงานบริหารสำนักงาน)<br />

อนุกรรมการและเลขานุการ<br />

คณะอนุกรรมการ<br />

บริหารความเสี่ยงองค์กร<br />

คำสั่งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ที่ ค. 291/2561 เรื่องแต่งตั้งคณอนุกรรมการบริหาร<br />

ความเสี่ยงองค์กร ประกอบด้วย<br />

1 นายอนุพร อรุณรัตน์<br />

ที ่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ประธานอนุกรรมการ<br />

นางลดาวัลย์ กระแสร์ชล<br />

อนุกรรมการ<br />

เลขาธิการคณะกรรมการ<br />

การพัฒนาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแห่งชาติ<br />

อนุกรรมการ<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มยุทธศาสตร์และ<br />

บริหาร) อนุกรรมการ<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

ผู้ช่วยผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มงานบริหารสำนักงาน)<br />

อนุกรรมการ<br />

ผู้อำนวยการ<br />

ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร<br />

อนุกรรมการและเลขานุการ<br />

ผู้จัดการส่วนกลยุทธ์<br />

และงบประมาณ<br />

ผู้ช่วยเลขานุการ<br />

ผู้จัดการส่วนติดตาม<br />

และประเมินผล<br />

ผู้ช่วยเลขานุการ


คณะอนุกรรมการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

คำสั่งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ที่ ค. 292/2561 เรื่องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย<br />

คณะอนุกรรมการพิจารณา<br />

การส่งเสริมและสนับสนุน<br />

คำสั่งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ที่ ค. 293/2561 เรื่องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ<br />

พิจารณาการส่งเสริมและสนับสนุน ประกอบด้วย<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัล<br />

เพื่อเศรษฐกิจและสังคม<br />

ที ่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ผู้อำนวยการสำนักงาน<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ประธานอนุกรรมการ<br />

นางยุพา บัวธนา<br />

อนุกรรมการ<br />

นายธีรวุฒิ คงปรีชา<br />

อนุกรรมการ<br />

นายเติมศักดิ์ สุวรรณศักดิ์<br />

อนุกรรมการ<br />

นางสาวรติอร เอื้อธรรมาภิมุข<br />

อนุกรรมการ<br />

7<br />

8<br />

9<br />

10<br />

11<br />

12<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มยุทธศาสตร์และบริหาร)<br />

อนุกรรมการ<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มเศรษฐกิจดิจิทัล)<br />

อนุกรรมการ<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มสังคมและกำลังคนดิจิทัล)<br />

อนุกรรมการ<br />

รองผู้อำนวยการ<br />

(กลุ่มโครงการพิเศษ)<br />

อนุกรรมการ<br />

ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร<br />

ทรัพยากรองค์กรและบุคคล<br />

อนุกรรมการและเลขานุการ<br />

ผู้จัดการส่วนบริหาร<br />

และพัฒนาบุคคล<br />

ผู้ช่วยเลขานุการ<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

นายสุเทพ พันธุ์เพ็ง<br />

ที ่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

นายสมประสงค์ ปัญจะลักษณ์<br />

ที ่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ<br />

กำกับสำนักงานส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ผู้อำนวยการสำนักงาน<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล<br />

ประธานอนุกรรมการ<br />

ปลัดกระทรวง<br />

อุตสาหกรรม หรือผู้แทน<br />

อนุกรรมการ<br />

นางฐิติภา สมิตินนท์<br />

อนุกรรมการ<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

10<br />

นายปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง<br />

อนุกรรมการ<br />

รองผู้อำนวยการที่<br />

ผู้อำนวยการมอบหมาย (1)<br />

อนุกรรมการ<br />

รองผู้อำนวยการที่<br />

ผู้อำนวยการมอบหมาย (2)<br />

อนุกรรมการ<br />

ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริม<br />

อุตสาหกรรมดิจิทัล<br />

อนุกรรมการและเลขานุการ<br />

ผู้จัดการส่วนส่งเสริม<br />

การลงทุน<br />

ผู้ช่วยเลขานุการ<br />

75


76<br />

depa annual report <strong>2018</strong><br />

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล


depa AR

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!