28.07.2013 Aufrufe

gmp,haccp,iso9001:2008, iso22000:2005 , 1 , 20 , 50 1000 ... - LEAN

gmp,haccp,iso9001:2008, iso22000:2005 , 1 , 20 , 50 1000 ... - LEAN

gmp,haccp,iso9001:2008, iso22000:2005 , 1 , 20 , 50 1000 ... - LEAN

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Erfolgreiche ePaper selbst erstellen

Machen Sie aus Ihren PDF Publikationen ein blätterbares Flipbook mit unserer einzigartigen Google optimierten e-Paper Software.

1. ระยะเวลาการอนุมัติการส่งเสริม<br />

2. พื นทีปลูกอ้อยใหม่ต่อคน<br />

3. ค่าใช้จ่ายการปลูกต่อไร่<br />

: ตัวชี วัดนี จะทําให้เกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้ปลูกอ้อยอย่างรวดเร็วทําให้<br />

ขยายพื นทีปลูกอ้อยและจัดสรรทรัพยากรต่างๆ<br />

เช่น ปุ ๋ ย,พันธุ ์อ้อย,อุปกรณ์<br />

การเกษตร เป็ นต้น<br />

: ตัวชี วัดนี จะทําให้นักเกษตรซึ งเป็ นตัวแทนของบริษัทถูกพัฒนาให้การทํางาน<br />

เกิดประสิทธิภาพสามารถสร้างผลงานรายคนและรายกลุ ่มได้ชัดเจน<br />

: เป็ นตัวชี วัดทีสืบเนืองจากการลดระยะเวลาการอนุมัติส่งเสริม<br />

หากเกษตรกร<br />

ได้รับทรัพยากรสนับสนุนอย่างเพียงพอก็จะลดความเสียหายในการปลูกอ้อย<br />

เช่น ปลูกอ้อยเร็วทําให้อ้อยโตเมื อฝนตกจะลดปัญหานํ าท่วมอ้อย เป็ นต้น ซึง<br />

ต้นทุนของเกษตรกรจะลดลง<br />

ข้อมูลการประยุกต์โครงการ <strong>LEAN</strong> สําหรับงานด้านเกษตรกรรมที บริษัท นํ าตาลครบุรี จํากัด ได้มีการจัดทําเป็ นต้นแบบมี<br />

การนําเอาเครืองมือ<br />

<strong>LEAN</strong> หลายๆ อย่างมาประยุกต์ใช้สามารถอธิบายให้เห็นแนวคิดได้ดังต่อไปนี <br />

การส่งเสริมการปลูกอ้อยจะมีลักษณะรูปแบบงานทีหลายๆ<br />

ฝ่ ายทั งภายนอกและภายในองค์กรต้องผสมผสานกระบวนการ<br />

ทํางานให้สอดคล้องกันอันประกอบด้วย ความพร้อมด้านนโยบายการส่งเสริมชาวไร่อ้อยซึ งจะมีการกําหนดเกณฑ์จากฝ่ ายบริหารใน<br />

แต่ละปี , การเตรียมวงเงินส่งเสริมร่วมกับธนาคารให้กับชาวไร่อ้อยปลูกอ้อย, การจัดหาปุ ๋ ยและปัจจัยการปลูกอ้อยร่วมกับผู ้ขาย<br />

วัตถุดิบ, การจัดเตรียมแรงงานและจักรกลการเกษตรในการปลูกอ้อย, การจัดหาพันธุ ์อ้อยให้เหมาะสมกับลักษณะพื นทีปลูก,การหา<br />

พื นทีทีเหมาะสมต้องการปลูกอ้อยของเกษตรกร<br />

รวมทั งการทีต้องนําเอาผลด้านการพยากรณ์อากาศมาจัดตารางการทํางาน<br />

ซึง<br />

ค่อนข้างเป็ นเรืองทีซับซ้อน<br />

ภาพของแนวคิด VSM ทีจัดทําไว้สามารถกําหนดได้ดังนี<br />

<br />

นโยบายการ<br />

ส่งเสริมปลูกอ้อย<br />

ของฝ่ ายบริหาร<br />

การแสวงหาพื นที<br />

เหมาะสมของ<br />

นักเกษตร<br />

การจัดสรรเงินใน<br />

การปลูกอ้อยของ<br />

ธนาคาร<br />

ระบบงานด้านธุรการ<br />

ในการจัดเตรียมเอกสาร<br />

ประกอบการรับ<br />

ส่งเสริมปลูกอ้อย<br />

การจัดเตรียมปุ ๋ ย<br />

และปัจจัยในการ<br />

ปลูกอ้อย<br />

การจัดเตรียม<br />

แรงงานและ<br />

จักรกลเกษตร<br />

แปลงอ้อยของ<br />

เกษตรกรทีรับ<br />

การส่งเสริม<br />

การเตรียมพันธุ ์<br />

อ้อยเข้าสู ่แปลง<br />

ปลูกอ้อย<br />

สภาพฝนและ<br />

อากาศที<br />

เหมาะสม<br />

ในแต่ละกิจกรรมของ VSM มีการนําเอาหลักการของการวิเคราะห์ความสูญเปล่า 7 ประการมาประยุกต์ใช้ ตัวอย่างของ<br />

การวิเคราะห์ความสูญเปล่า เช่น การปลูกอ้อยซ่อมเมื อนํ าท่วมหรือฝนแล้ง ,การใช้จักรกลเกษตร ซึงเนืองจากวัชพืชโตหรือพื<br />

นที<br />

เสียหายจากฝนชะ, การมีพันธุ ์อ้อยรอปลูกค้างในไร่อ้อย , การขอวงเงินจากธนาคารแล้วไม่ถูกนํามาใช้ , การเคลือนย้ายอุปกรณ์และ<br />

จักรกลเกษตรไปมาระหว่างแปลงอ้อย ,การไม่นําเอาความรู ้หรือภูมิปัญญาเกษตรกรที ประสบผลสําเร็จมาใช้ประโยชน์ , การมีปุ ๋ ยคง<br />

ค้างในโกดังทําให้เสียค่าใช้จ่าย,การส่งเอกสารล่าช้าทําให้การอนุมัติไม่เป็ นตามแผน เป็ นต้น เมือได้มีการวิเคราะห์ความสูญเปล่า<br />

ดังกล่าวแล้ว ก็จะมีการแก้ไขโดยใช้เครื องมือ <strong>LEAN</strong> อืนๆ<br />

เข้าดําเนินการ

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!