28.07.2013 Aufrufe

gmp,haccp,iso9001:2008, iso22000:2005 , 1 , 20 , 50 1000 ... - LEAN

gmp,haccp,iso9001:2008, iso22000:2005 , 1 , 20 , 50 1000 ... - LEAN

gmp,haccp,iso9001:2008, iso22000:2005 , 1 , 20 , 50 1000 ... - LEAN

MEHR ANZEIGEN
WENIGER ANZEIGEN

Sie wollen auch ein ePaper? Erhöhen Sie die Reichweite Ihrer Titel.

YUMPU macht aus Druck-PDFs automatisch weboptimierte ePaper, die Google liebt.

ประวัติองค์กร<br />

บริษัท นําตาลครบุรี นําตาลครบุรี นําตาลครบุรี จํากัด<br />

เป็ นผู ้ผลิตนํ าตาลมีทีตั<br />

งอยู ่ทีอําเภอครบุรี<br />

จังหวัดนครราชสีมา โดยบริษัทมุ ่งเน้นในการคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและ<br />

ระบบบริหารจัดการสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื อง ทําให้ผลการดําเนินงาน<br />

ของบริษัท เมือเทียบกับมาตรฐานการผลิตนํ<br />

าตาลในประเทศไทยแล้วจะอยู ่ในระดับ<br />

แนวหน้าทั งในด้านการเพิ มมูลค่าของผลิตภัณฑ์และการลดต้นทุนของการผลิต จนได้<br />

รางวัลหลายๆ ครั งจากสํานักงานคณะกรรมการอ้ อยและนํ าตาลกระทรวง<br />

อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ยั ง ไ ด้ ก า ร รั บ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล ม า ก ม า ย เ ช่ น<br />

GMP,HACCP,ISO9001:<strong><strong>20</strong>08</strong>, ISO2<strong>20</strong>00:<strong><strong>20</strong>05</strong><br />

ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัท เป็ นการแปรรูปอ้อยให้กลายเป็ นนํ าตาลซึ งมีทั ง<br />

นํ าตาลทรายดิบ, นํ าตาลทรายขาวและนํ าตาลทรายขาวบริสุทธิ มีการบรรจุในรูปแบบ<br />

1 กิโลกรัม, <strong>20</strong> กิโลกรัม , <strong>50</strong> กิโลกรัม จัดจําหน่ายให้กับผู ้บริโภคและมีการบรรจุใน<br />

กระสอบขนาดใหญ่ 1,000 กิโลกรัม สําหรับลูกค้าในต่างประเทศและสําหรับใช้ในงาน<br />

อุตสาหกรรม<br />

ผลพลอยได้จากการผลิตบริษัท ได้มีการนํามาเพิ มมูลค่าโดยนํากากอ้อยมา<br />

ผลิตไฟฟ้ า ทําให้ระบบพลังงานไฟฟ้ าในแถบจังหวัดนครราชสีมาเกิดความมั นคงมี<br />

เสถียรภาพ นอกจากนี ยังมีการนําเอาตะกอนนํ าอ้อยมาพัฒนาให้ได้เป็ นอาหารเสริม<br />

สําหรับอ้อย ช่วยลดต้นทุนให้กับเกษตรกรและลดการพึ งพิงการซื อปุ ๋ ยเคมีจาก<br />

ต่างประเทศ<br />

ความภาคภูมิใจอย่างมากของบุคลากรทุกคนคือ การส่งเสริมให้<br />

เกษตรกรชาวไร่อ้อยมากกว่า 3,000 ครอบครัวได้มีอาชีพและฐานะด้านการเงินที <br />

มันคง<br />

สร้างและบูรณาการงานด้านเกษตรกรรมให้เข้ากับงานอุตสาหกรรม ด้าน<br />

แนวคิดการมีส่วนร่วมพัฒนารูปแบบการปลูกอ้อยเพือเพิมผลผลิตให้มีศักยภาพ<br />

ในการแข่งขันในระดับเวทีการค้าโลก ตามวิสัยทัศน์ของบริษัทที กําหนดไว้ว่า<br />

“องค์กรทีมีความเป็<br />

นเลิศในการสร้ างคุณค่าด้านอุตสาหกรรมเกษตรแบบครบ<br />

วงจร ระดับชั นนําของประเทศ ภายใต้หลักธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อ<br />

สังคม”<br />

คณะที ปรึกษา อาจารย์ที ปรึกษาโครงการ<br />

1. นายภราดร จินดาวงศ์ 1. ผศ.สมจิตร ลาภโนนเขวา<br />

2. นางสาวเอมจิต วิจักขณ์เศรณี 2. นายพงศ์ศักดิ สายธัญญา<br />

3. นายฐิติโชติ มิงแก้ว<br />

4. นายอุกฤษฏ์ สัตย์นาโค<br />

ผู ้ประสานงานโครงการ<br />

นายวราพงษ์ พุทธิพันธ์


สมาชิกในทีม <strong>LEAN</strong><br />

ยุทธนา บุญกัณฑ์<br />

หัวหน้าทีม<br />

สราวุธ ศรีโพธิ สุชาติ ปราบบํารุง จักรภัทร อูมกระโทก เกรียงไกร รายณะสุข สุรศักดิ ปิ นะการัง<br />

นพรัตน์ ศรีวาปี รุ ่งนภา บุญเชิญ กุสุมาลย์ พุทธกลาง พัชฌา โขนกระโทก<br />

ความสําคัญของการส่งเสริมการปลูกอ้อย<br />

บริษัท นํ าตาลครบุรี จํากัด ได้มีแนวคิดประยุกต์ใช้ <strong>LEAN</strong> ให้เข้ากับงานด้าน<br />

เกษตร ซึงแทบจะไม่มีต้นแบบหรือตัวอย่างให้ศึกษาเพิมเติม<br />

อันเป็ นความท้าทายคณะทํางาน <strong>LEAN</strong> เป็ นอย่างมากทั งนี เนืองจาก<br />

หากบริษัท สามารถปรับปรุงระบบการส่งเสริมการปลูกอ้อยให้เกิดประสิทธิผลแล้วจะช่วยทําให้วัตถุดิบที ป้ อนเข้าสู ่ระบบการผลิต<br />

นํ าตาลเกิดความมั นคง รวมทั งการช่วยทําให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยได้รับการบริการที ดี สร้ างฐานะและความมั นคงในอาชีพ<br />

เกษตรกรรม<br />

ห่วง ห่วงโซ่คุณค่าการส่งเสริมการปลูกอ้อย<br />

ห่วง โซ่คุณค่าการส่งเสริมการปลูกอ้อย<br />

ภารกิจหลักของทีมงานในการทีต้องพัฒนาระบบ<br />

<strong>LEAN</strong> จะมีขอบเขตงานและตัววัดผลงานต่างๆ ดังต่อไปนี <br />

การขยาย<br />

แปลงปลูก<br />

การบํารุง<br />

รักษาแปลง<br />

การเก็บเกี ยว<br />

ผลผลิต<br />

การประเมิน<br />

ผลผลิต<br />

*ตันอ้อยต่อปี<br />

*ตันอ้อยต่อไร่<br />

*ค่าความหวานอ้อย<br />

*ต้นทุนบาทต่อตัน<br />

*หนีคงค้างต่อปี<br />

จากห่วงโซ่คุณค่าการส่งเสริมการปลูกอ้อยนี บริษัทพบว่าในทุกๆ ปี จะเกิดปัญหาในด้านการส่งเสริม ส่งผลกระทบไปยังชาวไร่<br />

อ้อยและปริมาณวัตถุดิบทีเข้าสู<br />

่การผลิต โดยหากภาระกิจการขยายแปลงปลูกทําได้ล่าช้าแล้วจะมีผลกระทบที ค่อนข้างรุนแรงตามมา<br />

ทําให้การแก้ไขปัญหาโครงการ <strong>LEAN</strong> ในครั งนี พุ ่งเป้ าหมายการปรับปรุงในกระบวนการขยายแปลงปลูกอ้อยอย่างชัดเจน เพือให้การ<br />

เริมต้นการปลูกอ้อยทําได้อย่างถูกต้อง<br />

อันจะส่งผลไปยังกิจกรรมอืนๆ<br />

ให้บรรลุผลต่อเนืองกัน


การนําแนวคิด LLEEAAN<br />

WASSTTEE<br />

ANALLYSSI ISS<br />

ประยุกต์เข้ากับการปรับปรุงส่งเสริมการปลูกอ้อย<br />

ทีมงาน <strong>LEAN</strong> ได้นําเอาเครืองมือการจัดการหลายๆ<br />

อย่างมาเลือกใช้และปรับปรุงให้เกิดความเหมาะสม<br />

ซึงสามารถจัดลําดับการวิเคราะห์และการใช้เครืองมือ<br />

<strong>LEAN</strong> ในโครงการต้นแบบดังนี <br />

VSM<br />

VA<br />

NVA<br />

KAIZEN<br />

VC<br />

55ส. ..<br />

ปลูกอ้อยตํ ากว่าแผนงาน<br />

อัตราการงอกต่อไร่ไม่ดี<br />

ต้นทุนการปลูกสูง<br />

ช่วงฤดูการปลูกอ้อย<br />

ตันอ้อยต่อไร่ตํ า<br />

ค่าความหวานตํ า<br />

ชาวไร่มีหนีค้าง<br />

ช่วงฤดูการเก็บเกี ยว<br />

นํามาใช้ในการจัดลําดับการทํางานหาปัจจัยต่างๆ ทีเกียวข้องกับการส่งเสริมการปลูกอ้อย<br />

นํามาใช้เพือวิเคราะห์งานทีมีคุณค่าและงานทีไม่สร้างคุณค่า<br />

ทําให้เห็นแนวโน้มของความสูญ<br />

เปล่าของแต่ละงานทีชัดเจน<br />

นํามาใช้เพือค้นหาความสูญเปล่าต่างๆ<br />

มีการค้นหาเพิมเติมความสูญเปล่าปรกติจาก<br />

7<br />

Wastes เป็ น 8 Wastes<br />

นํามาใช้เพื อต่อยอดและเติมเต็มระบบการจัดการให้เกิดความถูกต้องเหมาะสมโดยให้ทุกๆ<br />

ฝ่ ายได้มีส่วนร่วม<br />

นํามาใช้เพื อควบคุมการทํางานให้เกิดความชัดเจนและมันใจว่างานมีการนําไปปฏิบัติอย่างเป็<br />

น<br />

รูปธรรม<br />

นํามาใช้เพือให้ระบบการทํางานมีการปฏิบัติอย่างต่อเนืองรักษาและปรับปรุงมาตรฐานการทํางาน<br />

สําหรับตัวชี วัดความสําเร็จของโครงการต้นแบบการพัฒนาระบบการส่งเสริมการปลูกอ้อยนี ในเบื องต้นกําหนดไว้ดังต่อไปนี


1. ระยะเวลาการอนุมัติการส่งเสริม<br />

2. พื นทีปลูกอ้อยใหม่ต่อคน<br />

3. ค่าใช้จ่ายการปลูกต่อไร่<br />

: ตัวชี วัดนี จะทําให้เกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้ปลูกอ้อยอย่างรวดเร็วทําให้<br />

ขยายพื นทีปลูกอ้อยและจัดสรรทรัพยากรต่างๆ<br />

เช่น ปุ ๋ ย,พันธุ ์อ้อย,อุปกรณ์<br />

การเกษตร เป็ นต้น<br />

: ตัวชี วัดนี จะทําให้นักเกษตรซึ งเป็ นตัวแทนของบริษัทถูกพัฒนาให้การทํางาน<br />

เกิดประสิทธิภาพสามารถสร้างผลงานรายคนและรายกลุ ่มได้ชัดเจน<br />

: เป็ นตัวชี วัดทีสืบเนืองจากการลดระยะเวลาการอนุมัติส่งเสริม<br />

หากเกษตรกร<br />

ได้รับทรัพยากรสนับสนุนอย่างเพียงพอก็จะลดความเสียหายในการปลูกอ้อย<br />

เช่น ปลูกอ้อยเร็วทําให้อ้อยโตเมื อฝนตกจะลดปัญหานํ าท่วมอ้อย เป็ นต้น ซึง<br />

ต้นทุนของเกษตรกรจะลดลง<br />

ข้อมูลการประยุกต์โครงการ <strong>LEAN</strong> สําหรับงานด้านเกษตรกรรมที บริษัท นํ าตาลครบุรี จํากัด ได้มีการจัดทําเป็ นต้นแบบมี<br />

การนําเอาเครืองมือ<br />

<strong>LEAN</strong> หลายๆ อย่างมาประยุกต์ใช้สามารถอธิบายให้เห็นแนวคิดได้ดังต่อไปนี <br />

การส่งเสริมการปลูกอ้อยจะมีลักษณะรูปแบบงานทีหลายๆ<br />

ฝ่ ายทั งภายนอกและภายในองค์กรต้องผสมผสานกระบวนการ<br />

ทํางานให้สอดคล้องกันอันประกอบด้วย ความพร้อมด้านนโยบายการส่งเสริมชาวไร่อ้อยซึ งจะมีการกําหนดเกณฑ์จากฝ่ ายบริหารใน<br />

แต่ละปี , การเตรียมวงเงินส่งเสริมร่วมกับธนาคารให้กับชาวไร่อ้อยปลูกอ้อย, การจัดหาปุ ๋ ยและปัจจัยการปลูกอ้อยร่วมกับผู ้ขาย<br />

วัตถุดิบ, การจัดเตรียมแรงงานและจักรกลการเกษตรในการปลูกอ้อย, การจัดหาพันธุ ์อ้อยให้เหมาะสมกับลักษณะพื นทีปลูก,การหา<br />

พื นทีทีเหมาะสมต้องการปลูกอ้อยของเกษตรกร<br />

รวมทั งการทีต้องนําเอาผลด้านการพยากรณ์อากาศมาจัดตารางการทํางาน<br />

ซึง<br />

ค่อนข้างเป็ นเรืองทีซับซ้อน<br />

ภาพของแนวคิด VSM ทีจัดทําไว้สามารถกําหนดได้ดังนี<br />

<br />

นโยบายการ<br />

ส่งเสริมปลูกอ้อย<br />

ของฝ่ ายบริหาร<br />

การแสวงหาพื นที<br />

เหมาะสมของ<br />

นักเกษตร<br />

การจัดสรรเงินใน<br />

การปลูกอ้อยของ<br />

ธนาคาร<br />

ระบบงานด้านธุรการ<br />

ในการจัดเตรียมเอกสาร<br />

ประกอบการรับ<br />

ส่งเสริมปลูกอ้อย<br />

การจัดเตรียมปุ ๋ ย<br />

และปัจจัยในการ<br />

ปลูกอ้อย<br />

การจัดเตรียม<br />

แรงงานและ<br />

จักรกลเกษตร<br />

แปลงอ้อยของ<br />

เกษตรกรทีรับ<br />

การส่งเสริม<br />

การเตรียมพันธุ ์<br />

อ้อยเข้าสู ่แปลง<br />

ปลูกอ้อย<br />

สภาพฝนและ<br />

อากาศที<br />

เหมาะสม<br />

ในแต่ละกิจกรรมของ VSM มีการนําเอาหลักการของการวิเคราะห์ความสูญเปล่า 7 ประการมาประยุกต์ใช้ ตัวอย่างของ<br />

การวิเคราะห์ความสูญเปล่า เช่น การปลูกอ้อยซ่อมเมื อนํ าท่วมหรือฝนแล้ง ,การใช้จักรกลเกษตร ซึงเนืองจากวัชพืชโตหรือพื<br />

นที<br />

เสียหายจากฝนชะ, การมีพันธุ ์อ้อยรอปลูกค้างในไร่อ้อย , การขอวงเงินจากธนาคารแล้วไม่ถูกนํามาใช้ , การเคลือนย้ายอุปกรณ์และ<br />

จักรกลเกษตรไปมาระหว่างแปลงอ้อย ,การไม่นําเอาความรู ้หรือภูมิปัญญาเกษตรกรที ประสบผลสําเร็จมาใช้ประโยชน์ , การมีปุ ๋ ยคง<br />

ค้างในโกดังทําให้เสียค่าใช้จ่าย,การส่งเอกสารล่าช้าทําให้การอนุมัติไม่เป็ นตามแผน เป็ นต้น เมือได้มีการวิเคราะห์ความสูญเปล่า<br />

ดังกล่าวแล้ว ก็จะมีการแก้ไขโดยใช้เครื องมือ <strong>LEAN</strong> อืนๆ<br />

เข้าดําเนินการ


VA<br />

VA<br />

กิจกรรมสร้างคุณค่า<br />

NVA<br />

NVA<br />

กิจกรรมสร้างคุณค่า<br />

กิจกรรมทั<br />

งหมด งหมด งหมด<br />

WASSTTEE<br />

WASSTTEE<br />

ความสูญเปล่าที<br />

ถูกแก้ไข ถูกแก้ไข ถูกแก้ไข<br />

การดําเนินการโครงการ <strong>LEAN</strong> ทีได้ปฏิบัตินี<br />

แนวคิดหลายเรื<br />

องทีถูกพัฒนาขึ<br />

นจะมีการระดมสมองร่วมกับเกษตรกรชาวไร่<br />

อ้อยและผู ้ขายอุปกรณ์จักรกลการเกษตร ซึงจะเรียกงานดังกล่าวว่า<br />

“โครงการภูมิปัญญา” อันเป็ นการดึงเอาศักยภาพของผู ้เกียวข้อง<br />

มาผนวกรวมกัน<br />

นอกจากนี บริษัท นํ าตาลครบุรี จํากัด ยังมีการตั งเป้ าหมายการทํางานในแต่ละกิจกรรมตามช่วงเวลาซึ งโครงการ <strong>LEAN</strong><br />

ต้นแบบจะประกอบด้วย 3 กิจกรรม ดังนี <br />

การประชุมร่วมกับเกษตรกร<br />

การให้ผู้ การให้ผู้ขายระบบนํ<br />

การให้ผู้ ขายระบบนํ าหยดมาอธิบาย<br />

าหยดมาอธิบาย<br />

าหยดมาอธิบาย<br />

การทําปุ<br />

๋ ๋๋ ยชีวภาพ<br />

1. การขยายพืนที ปลูกอ้อย เป้ าหมายการทํางานต้องการสร้ างอ้อยให้เพิ มมากขึ น เพือรองรับปริมาณอ้อยเข้าหีบในปี<br />

53/54 ให้ได้ไม่น้อยกว่า 2 ล้านตัน จึงต้องมีการวางแผนและปรับปรุงกระบวนการทํางาน โดยตั งเป้ าหมายมีพื นที<br />

อ้อยปลูกใหม่<br />

80,000 ไร่ต่อปี (ปลายฝน 40,000 ไร่ และต้นฝน 40,000 ไร่) ดังนั นจึงได้ ประยุกต์ใช้ Lean Tool เพือนํามาใช้เพิ<br />

มประสิทธิภาพการ<br />

ทํางาน โดยเริมต้น<br />

จากอ้อยปลายฝน ได้มีการวางแผนการทํางานล่วงหน้า เดิมจะเริมการทํางานเดือน<br />

ต.ค.- ม.ค. หลังจากทีนํา<br />

Lean Tool มาประยุกต์ใช้ พร้ อมกับการปรับเปลียนกระบวนการทํางาน<br />

จะเริมต้น<br />

เดือน ส.ค.-ม.ค. ซึงจะเริม<br />

มีการจองพื นที<br />

เพือ<br />

วางแผนและเตรียมความพร้อมในการทํางานล่วงหน้า<br />

วารสารอ้อยหวาน<br />

ภาพอ้อยค้างไร่<br />

ภาพอ้อยนํ<br />

าท่วม าท่วม าท่วม<br />

Lean Tool ทีนํามาประยุกต์ใช้<br />

ได้แก่ Lean Plant Location (การวิเคราะห์พื นทีปลูก)<br />

Competitiveness matrix ( การวิเคราะห์ศักยภาพพื นทีเป้<br />

าหมาย) , Lean Manpower (จัดสมดุลย์อัตรา<br />

กําลังคน) , Lean Work cell (จัดสมดุลกลุ ่มงาน/คน) , Lean Schedule Analysis (การจัดตารางการ<br />

ทํางาน) และมีการประชาสัมพันธ์ชาวไร่ โดยใช้สือป้<br />

ายประชาสัมพันธ์ ,จุลสาร เพือให้สอดคล้องกับ<br />

เป้ าหมายและเพิมประสิทธิภาพการทํางาน<br />

2.กระบวนการจัดหาชาวไร่ เป็ นกระบวนการหลักเพือให้ได้มาซึ<br />

งพื นทีปลูกอ้อย<br />

การวิเคราะห์<br />

กระบวนการทํางาน เพือปรับปรุงและสร้างประสิทธิภาพการทํางาน<br />

จะทําให้เราสามารถบรรลุเป้ าหมาย


ดังนั นจึงมีการนํา Lean Tool มาประยุกต์ใช้ ดังนี <br />

Lean work โดยการจัดสมดุลย์ภาระงาน เช่น การวางแผนล่วงหน้า, การรวมกิจกรรมทํางาน<br />

ECRS, Multi Skill: การเพิมทักษะหลากหลายหน้าที<br />

งาน เช่น การกระจายอํานาจอนุมัติใช้ Eletronic<br />

เป็ นสือเพือช่วยในการรับ<br />

– ส่ง ข้อมูลให้เร็วขึ น เช่น Fax, E-mail เพือให้สอดคล้องกับเป้<br />

าหมายการ<br />

หาพื นทีปลูก<br />

และเพิมศักยภาพการทํางานให้ดีขึ<br />

น<br />

ป้ ายประชาสัมพันธ์การปลูกอ้อย<br />

ออวม<br />

3. ระยะเวลาอนุมัติวงเงิน การให้สินเชือชาวไร่เป็<br />

นหัวใจสําคัญในการส่งเสริมชาวไร่ การกระบวนการส่งเสริมทีมี<br />

ประสิทธิภาพทั งรวดเร็ว ถูกต้อง ทันเวลา จะนํามาสู ่ความสําเร็จในการขยายพื นทีปลูก<br />

การนํา Lean Tool มาประยุกต์ใช้สามารถลดเวลาการขออนุมัติวงเงินได้เร็วขึ นจากเดิม 13 วัน เหลือ 8 วัน โดยมีวิธีการ<br />

ทํางานและนํา Lean Tool มาประยุกต์ใช้ดังนี <br />

Lean work โดยการจัดสมดุลภาระงาน เช่น การวางแผนล่วงหน้า, การรวมกิจกรรมทํางาน ECRS, Multi Skill: การเพิม<br />

ทักษะหลากหลายหน้าที งาน เช่น การกระจายอํานาจอนุมัติ การวิเคราะห์ VA, NVA ในกิจกรรมการทํางาน<br />

ปรับปรุงกระบวนการทํางาน จากห่วงโซ่แห่งคุณค่าหลัก ของการขยายแปลงปลูก<br />

1. Value stream mapping การจัดหาชาวไร่<br />

2. ก่อนปรับปรุง(Current state)<br />

จัดประชุม<br />

ชาวไร่<br />

0.5 วัน 0.5 วัน 1 วัน 3 วัน 1 วัน 10วัน TLT=16วัน<br />

3. หลังปรับปรุง(Future state)<br />

จัดประชุมชาวไร่<br />

และทําสัญญา<br />

รวบรวมเอกสารการทําสัญญา<br />

เสนอหัวหน้าเขต<br />

1 วัน 1 วัน 5 วัน TLT=7วัน<br />

4. Value stream mapping การขออนุมัติวงเงิน<br />

ก่อนปรับปรุง(Current state)<br />

การจัดทําชุดเอกสารขอ<br />

วงเงิน(ฝ่ ายจัดหาฯ)<br />

โทรศัพท์นัด<br />

หมาย<br />

เดินทางไป<br />

พบชาวไร่<br />

ตรวจสอบข้อมูลและวิเคราะห์<br />

(ฝ่ ายส่งเสริม)<br />

รวบรวม<br />

เอกสารต่อ<br />

สัญญา<br />

เสนอหัวหน้า<br />

เขตอนุมัติ<br />

นําเอกสารส่งผู ้มีอํานาจอนุมัติ<br />

การอนุมัติ (ผู ้มีอํานาจ)<br />

6 วัน 1 วัน 6 วัน TLT=13วัน<br />

นําเอกสาร<br />

ส่งผู ้มีอํานาจ


การจัดทําชุดเอกสารขอ<br />

วงเงิน(ฝ่ ายจัดหาฯ)<br />

หลังปรับปรุง(Future state)<br />

ตรวจสอบข้อมูลและวิเคราะห์<br />

(ฝ่ ายส่งเสริม)<br />

การอนุมัติ (ผู ้มีอํานาจ)<br />

1 วัน 1 วัน 6 วัน TLT=8วัน<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

หัวข้อการปรับปรุง<br />

1.การหาพื นทีปลูกปลายฝน<br />

ปี<br />

สรุปการปรับปรุงการทํางาน<br />

ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง<br />

2553/54<br />

-Action Plan เริมเดือน<br />

ต.ค.-ม.ค. -ปรับเปลียนAction<br />

Plan เริมเดือน<br />

ส.ค.-ม.ค.<br />

1.1 ระยะเวลาดําเนินการ<br />

-ป้ ายประชาสัมพันธ์,วารสารอ้อยหวาย, -ป้ ายประชาสัมพันธ์,วารสารอ้อยหวาน,วิทยุ<br />

1.2 การประชาสัมพันธ์<br />

วิทยุชุมชน<br />

ชุมชน,รถMobile,แจกแผ่นCD/Tap Classis<br />

ประจําหมู่บ้าน,ซื<br />

อช่วงเวลาประชาสัมพันธ์ทาง<br />

1.3 ปรับปรุงกระบวนการทํางานโดย<br />

วิทยุ<br />

ใช้ Lean Tool<br />

-ไม่ได้มีวิธีการวิเคราะห์ทีเป็<br />

นมาตรฐาน -Focus พื นทีที<br />

มีศักยภาพเพือเพิมพื<br />

นทีปลูก<br />

- Lean Plant Location<br />

อ้อย พื นทีทีเหมาะสมและลดความเสียงของ<br />

(การวิเคราะห์พื นทีปลูก)<br />

พื นทีปลูกอ้อย<br />

โดยใช้ข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์<br />

สารสนเทศช่วยวิเคราะห์ และสร้างมาตรฐาน<br />

- Matrix Competitiveness -จัดสรรเป้ าหมายตามเขตส่งเสริมไม่ได้ การวิเคราะห์<br />

( การวิเคราะห์ศักยภาพพื นที วิเคราะห์ศักยภาพโดยละเอียด, ขาดการ -การวิเคราะห์พื นที Star Zone โดยวางกลยุทธ์<br />

เป้ าหมาย)<br />

วางกลยุทธ์ทีชัดเจนในการคัดเลือกพื<br />

นที ลงสู ่พื นทีเป้<br />

าหมาย และผลักดันพื นทีให้เป็<br />

น<br />

ส่งเสริม<br />

-มีการปรับปรุงกําลังคนแต่ไม่ได้ มองถึง<br />

Star Zone ให้มากทีสุด<br />

ความเหมาะสมตามศักยภาพพื นที,การ<br />

-มีการปรับปรุงอัตรากําลังคนไปสู ่พื นที Star<br />

จัดสรรกําลังคนตามขนาดพื นทีโดยรวม<br />

Zone เพือให้เกิดศักยภาพและความสมดุลย์<br />

- Lean Manpower<br />

-ขาดการวางแผน การประสานงาน ของภาระงาน<br />

(การจัดสมดุลอัตรากําลังคน) ระหว่างหน่วยงานทีเกียวข้อง<br />

,ระยะเวลา -มีการจัดลําดับ ขั นตอนการทํางาน,การวางแผน<br />

ดําเนินงานกระชั นชิด ทําให้ไม่สามารถวาง การประชาสัมพันธ์ร่วมกัน เช่น<br />

แผนการทํางานล่วงหน้าได้<br />

ฝ่ ายจัดหาวัตถุดิบ ฝ่ ายส่งเสริมวัตถุดิบ ฝ่ าย<br />

จักรกลเกษตรและบริการ ,มีการวางแผนการ<br />

ทํางานกับคู ่ค้า (Supplier)<br />

2. กระบวนการจัดหาชาวไร่<br />

-มีการจัดประชุมเพือแจ้งนโยบายการรับ<br />

-มีการวางแผนการจัดประชุมเพือแจ้งนโยบาย<br />

ส่งเสริมเท่านั น โดยจัดทําการต่อสัญญา พร้อมกับสอบถามความพร้อม ความต้องการ<br />

ภายหลังรวบรวมสัญญา และอนุมัติ ของชาวไร่ และดําเนินการต่อสัญญาในเวลา<br />

สัญญา โดยใช้เวลา 5 วัน มาส่งส่วนกลาง เดียวกัน<br />

(โรงงาน) เพือบันทึกข้อมูลระบบ<br />

- ชาวไร่สามารถแจ้งการจองพื นทีล่วงหน้า<br />

โดย<br />

เริมตั<br />

งแต่เดือนสิงหาคมเป็ นต้นไป ทําให้<br />

มีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้า เช่น รถไถ<br />

พันธุ ์อ้อย


หัวข้อการปรับปรุง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง<br />

-การรวบรวมสัญญาและเอกสารสามารถส่ง<br />

Fax / E-Mail มาทีส่วนกลางได้ทุกวัน,เพิ<br />

ม<br />

อํานาจอนุมัติการต่อสัญญาให้หัวหน้าเขต<br />

3. ระยะเวลาการอนุมัติวงเงิน -การจัดทําวงเงินทําหลังจากมีการต่อ -การขอวงเงินพร้อมกับการต่อสัญญา ทําให้<br />

สัญญา ใช้เวลาประมาณ 13 วัน สามารถส่งเอกสารได้เร็วขึ น ซึงการรวบรวม<br />

สัญญาและเอกสารสามารถส่ง Fax / E-Mail มา<br />

ทีส่วนกลางได้ทุกวันทําให้การอนุมัติเร็วภายใน<br />

ไม่เกิน 8 วัน<br />

สรุปผลดําเนินงาน<br />

1.ลดระยะเวลาและลดความสูญเปล่าในกระบวนการส่งเสริมชาวไร่ต่อราย จากเดิม 16 วัน เหลือ 7 วัน และมีการปรับปรุง<br />

Action plan .ในการทํางาน จากเดิมเริมต้นส่งเสริมปลูกอ้อยปลายฝน<br />

เดือน ต.ค.-ม.ค. หลังปรับปรุงเริมดําเนินการ<br />

ส.ค.-ม.ค.<br />

2.ระยะเวลาการอนุมัติวงเงินส่งเสริมชาวไร่ต่อราย จากเดิม 13 วัน เหลือ 8 วัน ทําให้ชาวไร่ได้รับปัจจัยการส่งเสริมต่างๆ เร็ว<br />

ขึ น<br />

3.คาดการณ์จะได้พื นทีปลูกอ้อยปลาฝนปี<br />

53/54 เพิมมากขึ<br />

น จากเดิมในปี ทีผ่านมาเคยทําได้<br />

<strong>20</strong>,543 ไร่ หลังจากปรับปรุง<br />

กระบวนการทํางานโดยประยุกต์แนวคิดLean คาดการณ์จะได้พื นทีปลูกอ้อย<br />

จํานวน 40,000 ไร่ เมือสิ<br />

นสุดโครงการ และคาดการณ์จะ<br />

สร้างมูลค่าเพิม<br />

ให้แก่องค์กรในด้านต่างๆดังนี <br />

3.1 มูลค่าด้านนํ าตาลทรายทีเพิมขึ<br />

น 19,457,000 กก. คิดเป็ นมูลค่าเงิน 155,656,000 บาท<br />

3.2 มูลค่าด้านกากอ้อย(ชานอ้อย) ทีเพิมขึ<br />

น 54,479,600 กก. คิดเป็ นมูลค่าเงิน 27,239,800 บาท<br />

3.3 มูลค่าด้านกากนํ าตาล (โมลาส) ทีเพิมขึ<br />

น 7,782,800 กก. คิดเป็ นมูลค่าเงิน 41,637,980 บาท<br />

รวมมูลค่าทีคาดว่าจะได้เพิมจากการดําเนินโครงการถ้าการดําเนินโครงการเป็<br />

นไปตามเป้ าหมาย จัดหาพื นทีปลูกอ้อยได้<br />

40,000 ไร่ คิดเป็นมูลค่ารายได้เพิ มขึ นจากปี ทีผ่านมา<br />

เป็ นเงิน ประมาณ 224 ล้านบาท<br />

กราฟแสดงผลการปรับปรุง (Summary cost saving)<br />

ไร่<br />

กก.<br />

40,000<br />

30,000<br />

<strong>20</strong>,000<br />

10,000<br />

-<br />

<strong>20</strong>,543<br />

พืนที<br />

(ทําได้)<br />

52/53 53/54<br />

40,000<br />

52/53 53/54<br />

40,000,000<br />

<strong>20</strong>,000,000<br />

-<br />

นําตาลทราย<br />

<strong>20</strong>,543,000<br />

40,000,000<br />

52/53 53/54<br />

52/53 53/54<br />

ปี การผลิต<br />

ปี การผลิต<br />

กก.<br />

400,000<br />

<strong>20</strong>0,000<br />

-<br />

<strong>20</strong>,000,000<br />

10,000,000<br />

-<br />

ปริมาณอ้อย(ตัน)<br />

<strong>20</strong>5,430<br />

52/53 53/54<br />

400,000<br />

52/53 53/54<br />

กากนําตาล<br />

8,217,<strong>20</strong>0<br />

52/53 53/54<br />

52/53 53/54<br />

16,000,000<br />

ปี การผลิต<br />

ปีการผลิต


กก.<br />

1<strong>50</strong>,000,000<br />

100,000,000<br />

<strong>50</strong>,000,000<br />

หมายเหตุ<br />

1. อ้อย 1 ไร่ = 10 ตัน 5. โมลาส 1 กิโลกรัม = 5.35 บาท<br />

2. อ้อย 1 ตัน = 100 กิโลกรัมของนํ าตาลทราย 6. อ้อย 1 ตัน = 280 กิโลกรัม (กากอ้อย)<br />

3. นํ าตาลทราย 1 กิโลกรัม = กําไร 8 บาท 7. กากอ้อย 1 กิโลกรัม = 0.5 บาท<br />

4. อ้อย 1 ตัน = 40 กิโลกรัม (โมลาส)<br />

จะเห็นได้ว่าแนวคิดด้านคุณภาพทีกล่าวไว้ว่า<br />

“การทําให้ถูกต้องตั งแต่ครั งแรก (Do it right at the first time)” เป็ นสิงทีจําเป็<br />

น<br />

และต้องปฏิบัติ หลังจากได้ดําเนินการประยุกต์ใช้ <strong>LEAN</strong> กับการส่งเสริมการปลูกอ้อยในครั งนี บริษัทได้พบกับการปรับปรุง<br />

เปลียนแปลงอย่างมากมาย<br />

และได้เห็นผลลัพธ์ในแต่ละด้าน และเกิดความสัมพันธ์ของแต่ละด้านกําหนดเป็ นตัวชี วัดนํา (Leading<br />

Indicator) และตัวชี วัดตาม ( Lagging Indicator) ได้ดังนี <br />

มิติด้านการเงิน<br />

มิติด้านการหาชาวไร่<br />

มิติด้านการจัดการภายใน<br />

มิติด้านการเรียนรู ้<br />

-<br />

57,5<strong>20</strong>,400<br />

กากอ้ อย<br />

52/53 53/54<br />

52/53 53/54<br />

112,000,000<br />

ปี การผลิต<br />

- การลดลงของหนี สูญจากชาวไร่<br />

- การลดลงของต้นทุนการปลูกอ้อย<br />

- การขยายพื นทีปลูก<br />

- ปริมาณตันอ้อยต่อไร่<br />

บาท<br />

600,000,000<br />

400,000,000<br />

<strong>20</strong>0,000,000<br />

- การอนุมัติวงเงินทีรวดเร็ว<br />

- การลดความสูญเปล่าในการเคลือนย้ายจักรกลเกษตร<br />

- การเพิมความรู<br />

้ด้าน <strong>LEAN</strong> กับพนักงาน<br />

- การให้เกษตรกรและผู ้ขายได้มีส่วนร่วม<br />

-<br />

รายได้ (มูลค่ ารวม)<br />

237,066,2<strong>20</strong><br />

52/53 53/54<br />

461,600,000<br />

ผลต่าง = 224,533,780 บาท<br />

ปี การผลิต


ความเห็นของผู<br />

้บริหาร<br />

การทําโครงการ <strong>LEAN</strong> ของบริษัท นํ าตาลครบุรี จํากัด มีการพัฒนาอย่างต่อเนืองนับตั<br />

งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน กิจกรรม<br />

KAIZEN ถือเป็ นส่วนหนึงของการทํางานโดยมิได้แยกออกจากงานที<br />

ทําปรกติ ทั งนีเพื อปลูกฝังค่านิยมในการลดความสูญเปล่าและ<br />

การปฏิบัติงานทีไม่จําเป็<br />

นให้หมดไป <strong>LEAN</strong> จึงกลายเป็ นเครืองมือในการบริหารที<br />

สําคัญและมีการขยายผลทั งในรูปแบบของการทํา<br />

โครงการและการปฏิบัติเล็กๆ น้อยๆ ในทุกส่วนงาน<br />

ตัวอย่างงานเกียวกับการผลิต<br />

ทีมีการทําเป็<br />

นต้นแบบระดับโครงการที ผ่านมาจะเป็ นการเพิมประสิทธิภาพของกระบวนการ<br />

ผลิตนํ าตาลและการลดการใช้พลังงาน โดยนําเอาเครื องมือ <strong>LEAN</strong> มาผสมผสานกับการคํานวณในเชิงวิศวกรรมการออกแบบ<br />

เครืองจักร<br />

มีการลดคอขวดของกระบวนการทํางาน จัดสภาพสมดุลของงานใหม่ ซึงทําให้สามารถประหยัดเชื<br />

อเพลิงและเพิ ม<br />

ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้ า จนทําให้มีบุคลากรจากโรงงานนํ าตาลแห่งอืนๆ<br />

เข้ามาดูงานอย่างต่อเนือง<br />

การเก็บนํ<br />

าตาลในดัง าตาลในดัง<br />

าตาลในดัง<br />

กองกากอ้อย<br />

สําหรับการทําต้นแบบโครงการ <strong>LEAN</strong> ในการส่งเสริมการเกษตรนี ก็นับเป็ นสิงทีน่าสนใจและท้าทาย<br />

ในการทําให้เกิด<br />

ความสําเร็จเป็ นอย่างมาก เพราะจากการประเมินและการหยิบเอาเครืองมือ<br />

<strong>LEAN</strong> แต่ละตัวมาใช้จะพบว่างานด้านเกษตรกรรมแทบ<br />

จะไม่มีใครคิดหรือรู ้จักเครืองมือเหล่านี<br />

มาก่อนเลย จากการอบรมและการได้ทําโครงการ <strong>LEAN</strong> ทีผ่านมาทําให้เกิดเป็<br />

นจุดประกายใน<br />

การพัฒนา <strong>LEAN</strong> ให้เกิดความต่อเนือง<br />

ซึงคาดว่าผลลัพธ์ทั<br />

งหมดจะปรากฏในเชิงผลผลิตที มีมูลค่าค่อนข้างสูง อีกทั งจะส่งผลดีต่อ<br />

เกษตรกรชาวไร่อ้อยทั งในช่วงเวลาระยะสั นและระยะยาว ทําให้การพัฒนางานด้านเกษตรกรรมของประเทศไทยถูกยกระดับอีกครั ง<br />

หนึง<br />

ท้ายสุดคณะผู ้บริหารและบุคลากรของ ริษัท นํ าตาลครบุรี จํากัด ขอขอบคุณกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมและสมาคมส่งเสริม<br />

เทคโนโลยี (ไทย-ญีปุ<br />

่ น) ทีสนับสนุนให้ความรู<br />

้การทําโครงการ <strong>LEAN</strong> เกิดเป็ นโครงการต้นแบบและผลผลิตทั งในด้านการเกษตรกรรม<br />

และด้านอุตสาหกรรมอย่างเป็ นรูปธรรม ซึงในอนาคตโครงการปรับปรุงต่างๆ<br />

เหล่านี ก็พร้อมที จะขยายผลออกไปในทุกภาระกิจงาน<br />

ต่อไป

Hurra! Ihre Datei wurde hochgeladen und ist bereit für die Veröffentlichung.

Erfolgreich gespeichert!

Leider ist etwas schief gelaufen!