24.05.2013 Views

Re-accreditation 3

Re-accreditation 3

Re-accreditation 3

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สาส์นคุณภาพ<br />

ปีที่<br />

7 ฉบับที่<br />

2 ประจําเดือน พ.ค.-มิ.ย. 55<br />

เตรียมระบ <strong>Re</strong>-<strong>accreditation</strong> คระ้งที่<br />

3<br />

เนื้อหาสารั<br />

ยะงคะบเลมเหมือนเดิมจา


คณะที่ปรึกษา<br />

พ.อ.สุรัตน์ ประเสริฐสุข<br />

พ.อ.สายชล สิงห์ทน<br />

พ.อ.สิมา เมืองเจริญ<br />

พ.อ.หญิงพรรณิภา สมบูรณ์<br />

บรรณาธิการอํานวยการ<br />

พ.ท.สงคราม โชคชัย<br />

บรรณาธิการ<br />

พ.ต.หญิง ทิพาพร สุดาจันทร์<br />

กองบรรณาธิการ<br />

พ.อ.พงษ์ศักดิ์<br />

จรัสรังสีชล<br />

พ.ท.หญิงฉัตรมณี คูณเรือง<br />

พ.ท.หญิงอุไรพร อิ่มอาเทศ<br />

พ.ท.หญิงวาริศา สิงห์ทน<br />

พ.ต.หญิงเบญจวรรณ์ ลอศิริกุล<br />

พ.ต.หญิงสิรวีร์ ชิตทรงสวัสดิ์<br />

พ.ต.หญิง กฤติกา โพนทัน<br />

พ.ต.หญิงเพชรนภา พรหมชนะ<br />

ร.อ.หญิงกฤติกา สวัสดิภาพ<br />

ภญ.ธิดารัตน์ ตระกาลจันทร์<br />

2<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

<br />

่<br />

่<br />

เป้าหมายสู HA<br />

เรื่อง<br />

น่ารู้คู<br />

RMC<br />

1<br />

3 <br />

อินไซต์ ESC 11<br />

มุมเภสัช HA ก 12 1-3<br />

สาส์นจาก NUR 14<br />

ชุมชนคนรักสุขภาพ PMQA GURU 16 4-5<br />

ก<br />

RMC 6-9<br />

10<br />

ก...ก IC 11<br />

บก.แถลง....<br />

<br />

หน้า<br />

IPD 12<br />

สวัสดีจนท.ทุกท่านคับ สาส์นคุณภาพฉบับนี้<br />

นําสาย<br />

ฝนอันเย็นฉ่ ํา ESC ทําให้บรรยากาศการทํางานสดชื่น<br />

เย็นสบายแม้ 13<br />

ต้องเปียกกันบ้าง<br />

ก... ช่วงนี้<br />

รพ.ค่ายฯของเรามีกิจกรรมคุณภาพเข้ามา<br />

NUR 14<br />

มากมายเลยนะครับ ทั้งภายในและจากภายนอก<br />

ทั้งที่ผ่านไป<br />

แล้วอย่างราบรื ่นและที่กําลังมาถึงในอนาคตอันใกล้นี<br />

้ เช่น<br />

กิจกรรม “อยากแข็งต้องออกแรง” ทุกวันพุธของ HRF การ<br />

อบรมการใช้งานคอมพิวเตอร์ของศคว. การเข้าตรวจเยี ่ยม<br />

จากสํานักงานป้องกันและควบคุมโรคที ่ 7 เพื่อเตรียมรับการ<br />

รับรองมาตรฐานอาชีวอนามัยในเดือน ก.ค. นี้<br />

การเข้าตรวจ<br />

เยี่ยมเพื่อรับรองมาตรฐานจากสปสช.<br />

และการเตรียมรับรอง<br />

มาตรฐานสายใยรักในเวลาอันใกล้นี้<br />

นอกจากนี้<br />

เพื่อเป็นการกระตุ้นบรรยากาศการเตรียม<br />

รับ <strong>Re</strong>-<strong>accreditation</strong> ครั้งที่<br />

3 จาก สรพ. ประมาณปลายปี<br />

นี้<br />

ทาง QIC ทีม FA และ RMC ได้ร่วมมือจัดกิจกรรมดีๆ เพื่อ<br />

ติดตามความก้าวหน้างานคุณภาพความเสี่ยงและประเมินการ<br />

ด้านแผนยุทธศาสตร์ ผ่านทางกิจกรรม “ทีม FA มาหานะ<br />

เธอ” “ผู้พิทักษ์ความปลอดภัย<br />

Safety Man Look Round”<br />

และ “ Look Like รอด” ซึ่งพบกันได้เร็วนี้ๆ<br />

สุดท้ายนี้<br />

ใกล้เวลาที ่พวกเราต้องส่งข้อมูลให้กับ<br />

สรพ. เพื่อตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ภายใน<br />

สิ้น<br />

มิ.ย.<br />

55 จึงขอให้ทุกคนและทุกกรรมการร่วมมือกันอย่างสุด<br />

ความสามารถอีกครั้ง<br />

เพื่อให้การ<br />

<strong>Re</strong>-<strong>accreditation</strong> ครั้งนี้<br />

เป็นไปอย่างราบรื่น<br />

เพื่อเป็นของขวัญปีใหม่<br />

2556 ให้กับทุก<br />

คนและรพ.ค่ายฯ ของเรา<br />

แล้วพบกันฉบับหน้า รักษาสุขภาพด้วยนะครับ<br />

Dr.K


เป้าหมายสู่......HA<br />

3<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

บทความนี้อาจเป็นเรื่องเก่านํามาเล่าใหม่<br />

หลายท่านคงทราบแล้วว่า HA เป้าหมายที่แท้จริงคืออะไร<br />

รพ.ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ผ่านการรับรองไปแล้ว และได้มีการประเมินซ้ําครั้งที่<br />

2 ไปแล้ว และในปลายปีนี้<br />

ก็<br />

จะเป็นการประเมินซ้ําครั้งที่<br />

3 อาจจะมีบางท่านที่คิดว่าเป้าหมาย<br />

HA คือการรับรองว่าผ่าน อยากจะบอกว่านี่<br />

คือ ความเข้าใจผิด จริงคะว่าเมื่อผ่านแล้วย่อมได้ใบประกาศบัตรว่าผ่าน<br />

แต่หากจะถามว่ายืนยันหรือไม่ขอฟัน<br />

ธงเลยว่า ไม่แน่นอนคะ เพราะเป้าหมายที่แท้จริงเราไม่ได้ยึดไว้ให้มั<br />

่น แต่ไปยึดเพียงส่วนเปลือกคือผ่านการ<br />

รับรอง ก็อาจทําให้เราหลงลืมว่าแท้จริงแล้วคืออะไร แล้วที่ว่าแก่นของเป้าหมาย<br />

HA มีอะไรบ้าง เรามาดูกัน<br />

เลยค่ะ.....<br />

HA<br />

กระตุ้นและส่งเสริมให้โรงพยาบาลสามารถบรรลุเป้าหมายที<br />

่องค์กรได้ตั้งไว้<br />

แต่มิติ<br />

ของเป้าหมาย ไม่ใช่การรักษาอย่างเดียว แต่เป็นการส่งเสริม ป้องกัน ให้ความรู้<br />

รวมทั้งเข้าสู่ชุมชน<br />

ให้กระบวนการดูแลเป็นแบบองค์รวม มิใช่เป็นเพียงการซ่อมแซม<br />

ร่างกายเท่านั้น<br />

โดยหัวใจที่จะทําให้บรรลุเป้าหมายนี้<br />

จะต้องเกิดจากการทํางานดังนี้<br />

ผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง<br />

: คือการทํางานที<br />

่ต้องไม่ยึดความต้องการของตัวเองเป็นหลัก<br />

(ความสบายของผู้ปฏิบัติ)<br />

แต่ยึดความต้องการของผู้รับผลงานเป็นหลัก<br />

นั่นคือทํางานถูกต้อง<br />

แต่อาจไม่ถูกใจผู้<br />

ปฏิบัติ และในความหมายของผู้รับผลงานมิใช่แค่ผู้ป่วยเท่านั้น<br />

แต่รวมถึงผู้ร่วมงาน<br />

องค์กร ชุมชน ครอบครัว<br />

และอื่น<br />

ๆ ที่ต้องรับ<br />

ช่วงต่อจากงานของเรา เพราะการมองผู้รับผลงานเป็นหลัก<br />

คือการมองแบบเอาใจเขามา<br />

ใส่ใจเรา หรือเราอยากให้ผู้อื่นดูแลตอนเราป่วยไข้อย่างไร<br />

ก็คือสิ่งที่เราต้องปฏิบัติต่อเค้าค่ะ<br />

การทํางานเป็นTeam Work : ทีมคือ การที่กลุ่มบุคคลมากกว่าหนึ่งคนด้วยกันมารวมกันและ<br />

ทํากิจกรรมอย่างหนึ่ง<br />

เช่น การดูแลผู้ป่วยเราปฏิเสธไม่ได้คะว่าเราต้องทํางานเป็นทีม<br />

ไม่สามารถทําคนเดียวได้<br />

เพราะต้องทําด้วยวิชาชีพที่แต่ละท่านถนัด<br />

แต่การส่งผ่านข้อมูลต่าง ๆ ต้องมีการส่งข้อมูลให้เชื่อมโยงต่อกัน<br />

ไม่<br />

ว่าเรื่องดี<br />

เรื่องร้าย<br />

การปฏิบัติและอื่น<br />

ๆ ต้องสื่อสารให้ทั่วถึงกัน<br />

พูดคุยปรึกษากัน แลกเปลี่ยน<br />

เรียนรู้<br />

ไม่ว่า<br />

ระดับบุคคล หน่วยงาน ทีม องค์กร และชุมชนนั่นคือผลลัพธ์ในการทํางานต้องมากกว่าการทํางานเพียงคน<br />

เดียว<br />

การประเมินตนเองและการพัฒนาต่อเนื ่อง : นั่นคือเราต้องกล้าบอกจุดดี<br />

จุดด้อยของ<br />

ตนเอง ถ้าเป็นจุดดีก็ชื่นชม<br />

ให้กําลังใจ แต่ถ้าเป็นจุดด้อยก็ต้องทําการมองตนเอง และปรับปรุงแก้ไข ทําแบบนี้<br />

ไปเรื่อย<br />

ๆ คือ ประเมินและพัฒนา ประเมินแล้วพัฒนาเชื่อว่าทุกอย่างจะดีขึ้นและมีความสุขมากกว่าที<br />

่จะให้<br />

บุคคลภายนอกมาคอยประเมินให้เราค่ะ<br />

สิ่งทั้งหลายที่กล่าวมานี้<br />

คือเป้าหมายและแนวทางไปสู่เป้าหมาย<br />

HA ส่วนการรับรองเป็นผลพลอยได้<br />

ผู้ป่วยที่ได้รับบริการที่ได้มาตรฐานและปลอดภัยต่างหากที่เป็นเป้าหมาย...ของจริงคะ


4<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

หน่วยงานทุกหน่วยงาน ให้จัดแฟ้มเตรียมรับตรวจ ตามหัวข้อด้านล่างค่ะ<br />

1. ก / ก .<br />

2. ก / ก<br />

3. <br />

4. <br />

5. . (BSC)<br />

6. ก, (Action Plan BSC ก / )<br />

7. Core Competency <br />

8. Job Description / Job Assignment / Job Competency<br />

9. กกกก<br />

10. กก<br />

11. กก,<br />

CPR<br />

12. One Page Summary<br />

13. (Service Profile)<br />

14. ก<br />

/ RCA / ก<br />

15. Internal Survey ก<br />

/ Clinic<br />

16. <br />

17. Indicator<br />

18. กก / กก<br />

18.1 <br />

18.2 ก<br />

18.3 Good / Best Practice<br />

18.4 ก Action Plan / BSC<br />

2553, 2554, 2555


5<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

การบริหารจัดการความเสี่ยงในหน่วยงาน<br />

Risk Management<br />

ขั้นตอนการหารจัดการความเสี่ยงในหน่วยงาน<br />

RISK management<br />

Before AE (Adverse event)<br />

1. Risk Profile (บัญชีความเสี่ยง)<br />

:รู้จักความเสี่ยง/Adverse<br />

event ของหน่วยงานเพื่อวางแนวทาง<br />

ป้องกัน/แก้ไข จัดทา CPG / Clinical tracer / Standing order ที่สอดคล้องกับบริบทและศักยภาพ<br />

ของโรงพยาบาล<br />

2. Hospital risk management system : รู้<br />

และ สามารถบริหารจัดการเมื่อเกิด<br />

Adverse event<br />

ได้ถูกต้องตามระบบบริหารจัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาล<br />

3. Training / Practice :การฝึกซ้อมรับสถานการณ์จริงที่หน้างาน<br />

(สม่ําเสมอ<br />

/ เมื่อมีเจ้าหน้าที่ใหม่)<br />

เพื่อทบทวน<br />

ปรับปรุง แก้ไขปัญหา เตรียมความพร้อมสําหรับกรณีเกิด Adverse event จริง<br />

(อัตรากําลัง , Competency แพทย์ -พยาบาล ; การผ่าตัด ทําหัตถการ การแปลผลจากเครื่อง<br />

Monitor ต่างๆ, อุปกรณ์เครื่องมือ-<br />

ยา -Special set, การประสานกับทีม CPR / NCPR หรือ Rapid<br />

response team-ทีมช่วยเหลือก่อน CPR, ระบบปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาอื่นๆ-<br />

วิสัญญีแพทย์ /<br />

ศัลยแพทย์ การประสานกับหน่วยงานสนับสนุนอื่นๆ<br />

Lab / Blood Bank / OR / ICU / NICU ,<br />

ระบบ Fast tract ส่งต่อรพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่า)<br />

4. Screening :การคัดกรองผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง<br />

เพื่อการเฝ้าระวัง<br />

ประเมินซ้ํา<br />

: ข้อมูลจาก<br />

ANC/Lab , ข้อมูลแรกรับ การจัด Zoning , การ Monitoring (ประเมิน / ประเมินซ้ํา)<br />

, Progress<br />

และ Early Warning Sign / Pre Arrest Sign<br />

5. Informed consent / Consent form : จัดเตรียมแนวทางการให้ข้อมูลผู้ป่วย/ญาติDocument<br />

และการลงนามเพื่อการตัดสินใจยินยอม/ปฏิเสธการรักษาทั้ง<br />

(สําหรับผู้ป่วยและ/หรือญาติ)<br />

6. <strong>Re</strong>cord / Document :ระบบการบันทึกเวชระเบียน (แพทย์ พยาบาล แพทย์ที่ปรึกษา<br />

การผ่าตัด/<br />

ทําหัตถการ) รวมทั้ง<br />

<strong>Re</strong>cord จากเครื่องมือต่างๆ<br />

เช่น Monitor (EFM) , Defibrillation<br />

7. Safety Culture & Awareness :การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย โดยแพทย์-หัวหน้าพยาบาล<br />

(Grand round , Walk round) , Safety Brief / การส่งเวร แพทย์-พยาบาล , การส่งต่อข้อมูลผ่าน<br />

บันทึกเวชระเบียน<br />

8. Learning :ศึกษา / ทบทวน บทเรียนกรณีเกิดปัญหา Adverse event จากโรงพยาบาลอื่นๆ<br />

/<br />

เรียนรู้จาก<br />

Expert แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ


6<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

DURING AE (Adverse event)<br />

1. การจัดการแก้ไขขณะเกิด Adverse event<br />

-ผู้ป่วย<br />

: ช่วยเหลือแก้ไขตาม CPG / แนวทางที่กําหนด<br />

/ Standing Orderทั้งกายและใจ<br />

-แพทย์/พยาบาล เจ้าของไข้ :สภาพจิตใจ ความเครียด ขวัญกาลังใจ<br />

-ญาติ :การให้ข้อมูล สถานการณ์ แนวทางการดูแลรักษา Prognosis(ผู้ให้ข้อมูล<br />

ข้อมูลที่จะให้)<br />

การ<br />

ประคับประคองด้านจิตใจ<br />

2. การรายงานเพื่อการจัดการ<br />

:ตามทีมสนับสนุนเพื่อให้ความช่วยเหลือ<br />

(ทีม CPR / NCPR / Rapid<br />

response team) , ทีมไกล่เกลี่ย<br />

/ ผู้อํานวยการรพ.หรือผู้รับมอบอํานาจสูงสุด<br />

ตามระบบของ<br />

โรงพยาบาล เพื่อประสานการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วย/ญาติ<br />

เพื่อลดความรุนแรงลดโอกาสร้องเรียน<br />

ฟ้องร้อง<br />

3. การเขียนใบรายงานอุบัติการณ์ :ตามระบบของโรงพยาบาล (เช่นความรุนแรงระดับ G-H-I ภายใน 6<br />

ชั่วโมง)<br />

4. การทํา Autopsy / การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (เช่น Blood มารดากรณีสงสัย Amniotic Fluid<br />

Embolism , การส่งตรวจรก)<br />

AFTER Adverse event (<strong>Re</strong>view)<br />

1. การเตรียมความพร้อมกรณีอาจถูกร้องเรียน ฟ้องร้อง :ทบทวนเหตุการณ์/ปัญหาที่เกิดขึ้นกับทีม<br />

แพทย์/พยาบาลเจ้าของไข้(Informal), ทบทวนความสมบูรณ์ครบถ้วนของบันทึกเวชระเบียน และ<br />

ความสอดคล้องของข้อมูลในบันทึกของแพทย์/พยาบาล/วิชาชีพอื่นๆ<br />

<strong>Re</strong>cord จากเครื่อง<br />

Monitor<br />

ต่างๆ การขอคําปรึกษาจาก นิติกร ตํารวจ อัยการ ผู้เชี่ยวชาญ<br />

(ราชวิทยาลัยฯ แพทย์สภา) เพื่อ<br />

เตรียมหาแนวต่อสู้ในชั้นศาล<br />

การปรึกษากับเครือข่าย/รพ. ที่ส่งต่อ<br />

2. การเผยแพร่ข่าว ให้ข้อมูลกับสื่อมวลชน<br />

:ทีมผู้ให้ข้อมูล<br />

ข้อมูลที่จะให้<br />

3. การติดตามต่อเนื่อง<br />

:ติดตามดูแลให้การรักษาฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยทั้งกาย/ใจ<br />

ติดตามให้ข้อมูลแก่ญาติ<br />

และสร้างปฏิสัมพันธที่ดีกับญาติอย่างต่อเนื่อง<br />

รวมทั้งการให้ความช่วยเหลืออานวยความสะดวก<br />

ติดตามร่วมในกิจกรรมต่างๆ หลังผู้ป่วย/เสียชีวิต<br />

4. การให้ความช่วยเหลือในเรื่องค่าใช้จ่ายและสินไหมทดแทน<br />

:ตามแนวทางของรพ.และ/หรือ ตาม<br />

กฎหมายมารตรา 41<br />

5. การทบทวน : ทํา RCA ราย Case(เพื่อป้องกันการเกิดซ้ํา)<br />

, ทบทวนรายกลุ่ม<br />

(กลุ่มผู้ป่วยที่เกิดปัญหา<br />

Adverse event เช่นเดียวกันทั้งหมด<br />

เพื่อดูแนวโน้มของอุบัติการณ์<br />

ประเมินหาสาเหตุของปัญหาและ<br />

หาแนวทางแก้ไขในภาพรวม)<br />

6. การป้องกันแก้ไข :ปรับปรุงแก้ไขปัญหาในเชิงระบบ<br />

7. การประเมินประสิทธิภาพการป้องกันแก้ไขปัญหา : ติดตาม ทบทวนอุบัติการณ์การเกิดซ้ําหลังทํา<br />

RCA (ไม่ควรเกิดซ้ํา)


7<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

จุดอ่อนที่พบจากการ<br />

Survey HA<br />

หน่วยงาน / หน้างาน<br />

• องค์ความรู้<br />

/ อัตรากําลัง/ Competency (แพทย์ต้องช่วย: Round , สื่อสารผ่านเวชระเบียน)<br />

• อุปกรณ์/เครื่องมือ/ยา<br />

: การเตรียมความพร้อมใช้ , สอบเทียบ , ความชํานาญในการใช้เครื่องมือ<br />

• การซ้อมสถานการณ์ฉุกเฉิน / CPR / NCPR (ณ. สถานที่จริง)<br />

• ระบบสนับสนุน Lab , Blood Bank , <strong>Re</strong>fer<br />

• การรายงานเพื่อการจัดการ<br />

/ การเขียนรายงานอุบัติการณ์ ตามระบบ RM ของโรงพยาบาล<br />

• การสื่อสารกับผู้ป่วย<br />

/ ญาติ / สื่อมวลชน<br />

• <strong>Re</strong>cord<br />

• การดูแลให้กําลังใจ แพทย์/พยาบาล เจ้าของไข้<br />

ทีมนําทางคลินิก<br />

• แนวทางการดูแลรักษา : CPG , Care Map ,Clinical Tracer , Standing Order<br />

• การประสานการดูแลผู้ป่วยระหว่างสหสาขาวิชาชีพ<br />

/ การสื่อสาร<br />

/ การปรึกษา<br />

• การทํา RCA (แพทย์ / ผู้เชี่ยวชาญ)<br />

ทีมบริหารจัดการความเสี่ยง<br />

• การวางระบบ (Policy maker)<br />

• การสื่อสารให้ทีม/หน่วยงาน<br />

เข้าใจ ปฏิบัติตามระบบ (Policy monitor)<br />

• การสร้างความตระหนักให้เจ้าหน้าที่<br />

ค้นหาจัดการและรายงานอุบัติการณ์ (Safety Culture &<br />

Awareness)<br />

ขั้นตอนใดที่ท่านคิดว่ายังมีปัญหา<br />

?<br />

• Risk Identification / Prevention<br />

• Training / Practice : สม่ําเสมอ<br />

จนเป็น <strong>Re</strong>flex<br />

• Screening<br />

• Monitoring : ประเมิน ประเมินซ้ํา<br />

Pre arrest sign<br />

• Critical Incidence Management : CPG / Standing order : ตามบริบท<br />

• Communication : ผู้ป่วย/ญาติ<br />

ทีม/หน่วยงานสนับสนุน<br />

• <strong>Re</strong>porting System<br />

• Documentation<br />

• RCA


8<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

Safety Man<br />

“ผู้พิทักษ์ความปลอดภัย”<br />

เมื่อวันที่<br />

8-9 มี.ค. 2555 ที่ผ่านมา<br />

คณะกรรมการ RMC ได้จัดอบรมผู้พิทักษ์ความปลอดภัย<br />

“Safety<br />

Man” โดยให้หน่วยงานส่งตัวแทนหน่วยละ 2 คน เพื่อให้รับทราบบทบาทผู้พิทักษ์ความปลอดภัย<br />

ช่วยค้นหา<br />

และป้องกันความเสี่ยง<br />

ตรวจสอบ สรุป และวิเคราะห์ความเสี่ยงในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

ความเสี<br />

่ยงคืออะไร ?<br />

คือ โอกาสที่จะพบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์<br />

ได้แก่ อันตราย<br />

การบาดเจ็บต่อร่างกายและจิตใจ เหตุร้าย ภาวะคุกคาม ความไม่แน่นอน<br />

exposure และการเปิดเผยความลับ<br />

ประเภทของความเสี่ยง<br />

- ความเสี่ยงทั่วไป<br />

(General Risk) เช่น น้ําท่วมขัง<br />

/เปิดน้ําทิ้งไว้<br />

ไฟฟ้าดับ<br />

เครื่องปั่นไฟไม่ทํางาน<br />

โทรศัพท์ใช้งานไม่ได้ อินเตอร์เน็ตใช้งานไม่ได้ ได้รับเงินเดือนไม่ครบ ล่าช้า ไม่ชําระค่า<br />

สินค้าเงินเชื่อ<br />

ตามกําหนด<br />

- ความเสี่ยงทางคลินิก<br />

(Clinical Risk) เหตุการณ์ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหาย<br />

ขึ้นกับผู้ป่วยอันมีเหตุจากกระบวนการบริการหรือกิจกรรมตรวจวินิจฉัย<br />

และการดูแลรักษาพยาบาลหรือ<br />

อุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์<br />

ทําไมต้องรู้เกี่ยวกับระบบบริหารความเสี่ยง


9<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

การบริหารความเสี่ยงในระดับหน่วยงานทําอย่างไร<br />

บทบาทของผู้พิทักษ์ความปลอดภัย<br />

- พิทักษ์ความปลอดภัยในหน่วยงาน<br />

- ตรวจสอบ ค้นหาแนวทางป้องกันความเสี่ยงในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

- มีการสื่อสารข้อมูลต่างๆ<br />

ด้านความเสี่ยง<br />

ความปลอดภัย ถึงผู้ปฏิบัติ<br />

-คณะกรรมการ RMC (Safety<br />

Briefing)<br />

- สามารถสรุปและวิเคราะห์ความเสี่ยงภายในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


10<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55


11<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55


12<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

My 5 Moments for Hand Hygiene<br />

สาส์น IC<br />

The My 5 Moments for Hand Hygiene approach defines the key moments when health-care<br />

workers should perform hand hygiene.<br />

This evidence-based, field-tested, user-centred approach is designed to be easy to learn,<br />

logical and applicable in a wide range of settings.<br />

This approach recommends health-care workers to clean their hands<br />

1. before touching a patient,<br />

2. before clean/aseptic procedures,<br />

3. after body fluid exposure/risk,<br />

4. after touching a patient, and<br />

5. after touching patient surroundings.<br />

Find out more about My 5 Moments for Hand Hygiene by clicking the links below.<br />

Capt. Peeranut Kaewkany<br />

( ICN Part time )


อินไซต์ ESC<br />

13<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

ในห้วงเดือน มิ.ย.-ก.ค. 55 นี้<br />

คณะกรรมการ ESC มีแผนจะดําเนินการตามมาตรฐาน HA<br />

ซึ่งต้องการแจ้งให้ทุกหน่วยได้รับทราบเพื่อเตรียมความพร้อมร่วมกันดังต่อไปนี้<br />

1-20 มิ.ย. 55 เป็นเดือนแห่งการทบทวนแผนอัคคีภัยของทุกหน่วยงาน โดยขอให้มีการ<br />

ปรับปรุงแผนอัคคีภัยให้ทันสมัยทั้งสถานที่และเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ<br />

รวมทั้งมีการซักซ้อมแห้งและส่ง<br />

แผนและผลการซักซ้อมกลับมาที่<br />

จ.ส.อ.อุทัยฯ แผนกส่งกําลัง ภายในวันที่<br />

20 มิ.ย. 55<br />

21 มิ.ย. 55 จะมีการซักซ้อมการเกิดอัคคีภัยในรพ.ที่ตึก<br />

OPD ใหม่ โดยในเวลา 14.00 น.<br />

จะเป็นการทบทวนการให้เครื่องดังเพลิงของเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยจึงขอให้ผู้มีหน้าที่ดับเพลิงและ<br />

เจ้าหน้าที่ใหม่ทุกคนเข้าร่วมซักซ้อมบริเวณ<br />

ลานแอโรบิกหลังฝ่ายช่าง เวลา 15.00 น. จะเป็นการ<br />

ซักซ้อมแผนการเกิดอัคคีภัยระดับรพ. เพื่อดูความพร้อมของหน่วยงานต่างๆ<br />

ตั้งแต่<br />

ศูนย์วิทยุฯ<br />

ขนส่ง กองร้อยฯ น.เวร OPD และหน่วยข้างเคียง (ปัจจุบันได้เลื่อนกําหนด<br />

จะแจ้งให้ทราย<br />

ภายหลัง)<br />

ในเดือน กรกฎาคม จะมีงานที่ต้องปฏิบัติคือ<br />

1. การสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ตามวงรอบประจําปี<br />

จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่<br />

5 จึง<br />

ขอให้หน่วยงานที่มีเครื่องมือแพทย์<br />

ได้เตรียมบัญชีคุมสป.ต่างๆไว้ให้เรียบร้อย<br />

2. การสํารวจเพื่อจัดทําป้ายบอกทางต่างๆ<br />

ให้ทันสมัยและไปในแนวทางเดียวกันท่านผู้ใดมี<br />

ข้อมูลต้องการเสนอแนะ แจ้งคณะกรรมการ ESC ได้เลยจ๊ะ (ร่วมด้วยช่วยกัน)<br />

3. การสํารวจจัดทําสถานที่วางถังขยะแบบแยกประเภท<br />

ตามนโยบายของผอ.รพ.ค่ายฯ โดย<br />

จะพลิกโครงการธนาคารขยะ ให้เป็นรูปธรรมอย่างจริงจัง<br />

สุดท้ายขอฝากธรรมะดีๆ ไว้ในวาระฉลองพุทธชยันตี 2600 ปี องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

• มีความสุขมากที่สุดในชีวิต<br />

คือ การมีศีลธรรมและความสงบสุข<br />

• โชคดีที่สุดของชีวิตคือ<br />

การมีสุขภาพ แข็งแรงทั้งใจ<br />

และกาย<br />

• การให้ที่มีคุณค่ามากที่สุดของชีวิตคือ<br />

การให้อภัยและให้ธรรมะ<br />

• ภาคภูมิใจที่สุด<br />

ของชีวิตคือ การช่วยเหลือผู้อื่น<br />

และชัยชนะที่สุดของชีวิต<br />

คือ ชนะสิ่งที่ไม่ดีของตนเอง<br />

สาธุ สาธุ สาธุ<br />

เลขาส้มจุก


14<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

มุมเภสัช Medication <strong>Re</strong>conciliation<br />

Medication <strong>Re</strong>conciliation เป็นการเชื่อมโยงข้อมูลในการใช้ยาของผู้ป่วย<br />

ตั้งแต่ก่อนมา<br />

รับบริการ ขณะรับบริการ จนถึงการจําหน่าย โดยใน รพ. ค่าย มีการดําเนินกิจกรรมมาได้ระยะ<br />

หนึ่งแล้ว<br />

และหลายๆ คนอาจเรียกมันว่า “การทํายาเดิม”<br />

ความหมาย<br />

Medication <strong>Re</strong>conciliation จะเป็นเรื่องของการเปรียบเทียบรายการของผู้ป่วยเมื่อแรกรับ<br />

เปรียบเทียบรายการยาที่แพทย์สั่งกับรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานยาอย่างต่อเนื่องที่บ้านก่อนมารับการรักษา<br />

ในกรณีที่ผู้ป่วยมีโรคประจําตัว<br />

เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หืด ลมชัก หรือแม้แต่วัณโรค จะดูว่ารายการ<br />

ยาที่แพทย์สั่งแรกรับนั้นครอบคลุมรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานยาต่อเนื่องที่บ้านหรือไม่<br />

จะดูความแตกต่าง<br />

และมีการบอกแพทย์กรณีพบความแตกต่างดังกล่าว และในทุกๆ รอยต่อของการ transfer ผู้ป่วย<br />

จากหอผู้ป่วย<br />

หนึ่งไปหอผู้ป่วย<br />

จนกระทั่งกลับบ้าน<br />

ในช่วงรอยต่อเหล่านี้<br />

ผู้ป่วยได้รับรายการยาครบถ้วนตามที่ควรจะได้หรือไม่<br />

ลองดูว่าเมื่อเรารับผู้ป่วย<br />

เข้ามาจาก ER ที่<br />

ER เรามีการซักถามการใช้ยาของผู้ป่วยหรือไม่ว่าเคยได้รับยาอะไรมาก่อน<br />

สมมติว่าผู้ป่วย<br />

เคยเป็นวัณโรคมาก่อน วันนี้มาด้วย<br />

trauma แขนขาหักหรืออุบัติเหตุ ผู้ป่วยอาจถูกส่งไปผ่าตัดเพื่อต่อกระดูก<br />

เลยและ admit ต่อ ผู้ป่วยอาจไม่ได้รับยาวัณโรคระหว่างที่นอนอยู่ในหอผู้ป่วยเลยก็ได้<br />

เพราะไม่มีใครถาม<br />

และผู้ป่วยก็ไม่พูด<br />

หรือบางทีมีคนดูแลคนดูแลก็ไม่ได้บอกว่าคนไข้ได้ยาอะไรเพราะไม่มีคนถาม คนไข้ของเรา<br />

บางครั้งไม่กล้าพูดอะไร<br />

ระหว่างที่นอนในหอผู้ป่วยอาจไม่ได้ยา<br />

ถ้าคนไข้เป็นเบาหวานน้ําตาลอาจจะขึ้น<br />

หรือที่<br />

เคยพบระหว่างการเยี่ยมสํารวจ<br />

คนไข้เป็นลมชัก ทําไมคนไข้ชัก พอดูย้อนหลังกลับไปดูปรากฏว่าผู้ป่วยเคย<br />

ได้รับยาลมชักมาตลอด แต่มาที่โรงพยาบาลด้วยสาเหตุอื่น<br />

จึงไม่ได้รับประทนยา<br />

เหตุการณ์เหล่านี้มีแน่ในโรงพยาบาล<br />

ถ้าเราย้อนกลับไปดูเราจะเห็นและเราจะเริ่มเข้าใจว่าคนไข้ที่รับ<br />

ไว้นอนโรงพยาบาลนั้นได้รับยาไม่ครบถ้วน<br />

โดยเฉพาะกรณี chronic disease<br />

Medication <strong>Re</strong>conciliation คือความพยายามซักถามประวัติการใช้ยาที่ผู้ป่วยใช้ต่อเนื่องมา<br />

แล้ว<br />

เทียบกับยาที่ผู้ป่วยได้รับในโรงพยาบาล<br />

ดูว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และก็จะปรึกษาแพทย์ว่าจะ<br />

เปลี่ยนแปลงรายการยาตรงนี้หรือไม่<br />

อย่างไรยา จะยังให้ยาต่อไปเหมือนเดิม หรือจะปรับขนาดหรือจะเปลี่ยน<br />

ชนิดของยา นั่นก็คือเป็นเรื่องของสหสาขาวิชาชีพ


ประโยชน์<br />

15<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

ถ้าเราทํากระบวนการ reconcile ก็จะช่วยลดความคลาดเคลื่อน<br />

(medication error) ในประเด็น<br />

ต่างๆ ดังนี้<br />

1. การที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง<br />

ถ้าเรามีจุดที่จะซักประวัติผู้ป่วยถึงเรื่องของยาที่ผู้ป่วย<br />

ได้รับต่อเนื่องและเรายังให้เขาต่อ<br />

อันนี้จะลดความคลาดเคลื่อนจุดนี้ลงได้<br />

2. การที่ไม่ได้หยุดยาบางตัวก่อนเข้ารับการทําหัตถการบางอย่าง<br />

ผู้ป่วยมาผ่าตัดซึ่งอาจะเป็น<br />

elective<br />

case หรือกะทันหัน ถ้าผู้ป่วยได้รับยาที่ทําให้เลือดแข็งตัวช้าบางทีนัดมาผ่าตัดก็จะผ่าตัดไม่ได้<br />

เราไปดูที่ห้อง<br />

ผ่าตัดสิว่ามีการเลื่อน<br />

case ผ่าตัดมากน้อยแค่ไหน ต้นเหตุมากจากอะไร เราจะเห็นประเด็นว่ามาจาก<br />

Medication <strong>Re</strong>conciliation สักแค่ไหน<br />

3. การที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่หลังจากหยุดใช้ยาชั่วคราว<br />

สมมติว่าผู้ป่วย<br />

admit มาในหอผู้ป่วย<br />

อายุรกรรม แล้วเกิดต้องไปทําผ่าตัดผู้ป่วยอาจได้รับยา<br />

warfarin หรือ plavix อยู่<br />

หมอก็จะสั่งหยุดยาก่อน<br />

คนไข้จะถูกส่งไปผ่าตัด จากห้องผ่าตัดคนไข้ก็ไป ICU อาจจะไป ICU สักวันหนึ่งแล้วกลับมาอยู่หอผู้ป่วย<br />

ศัลยกรรม ไม่ได้ไปอยู่อายุรกรรมแล้ว<br />

ตรงนี้ถือเป็นรอยต่อแล้วใช่ไหม<br />

มาอยู่หอผู้ป่วยศัลยกรรมอาจได้แต่<br />

antibiotic หรืออะไรก็ตามที่หมอศัลย์สั่ง<br />

แต่ผู้ป่วยเพราะไม่ได้กิน<br />

warfarin หรือ plavix ที่เคยได้รับ<br />

ตรงนี้<br />

เป็นรอยต่อของการให้บริการ ดังนั้นรายการยาต้องตามผู้ป่วยไปตลอด<br />

ตรงนี้เราไม่ค่อยส่งต่อกัน<br />

แพทย์<br />

เฉพาะทางจะดูแต่ยาของตัวเอง จะไปเปิดเวชระเบียนก็แสนยากเพราะต่างคนต่างสั่งเอาไว้<br />

ตรงนี้จะเป็นหน้าที่<br />

ใครไม่บอก มันเป็น multidisciplinary ไปตกลงกันเองว่าใครจะทํา เพราะมันขึ้นกับบริบทโรงพยาบาล<br />

ขึ้นอยู่<br />

กับว่าเรามีอัตรากําลังส่วนไหนเท่าไร เราจะลดความคลาดเคลื่อนลงได้<br />

4. ผู้ป่วยได้รับยาซ้ําซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่งเปลี่ยนยาแล้ว<br />

เวลาจําหน่ายผู้ป่วย<br />

เราไม่เคยเอา<br />

รายการยาตอนที่ผู้ป่วยได้รับต่อเนื่องก่อนเข้า<br />

รพ. กับรายการยาที่ผู้ป่วยได้รับในระหว่างอยู่<br />

รพ. จนจําหน่าย<br />

พอจําหน่าย เราไม่เคยเอามาเปรียบเทียบกันเลย บางครั้งแพทย์เปลี่ยนยาไปแล้ว<br />

เช่น ยาลดความดันโลหิต<br />

อาจจะเปลี่ยนเป็นอีกตัวหนึ่ง<br />

หรือตัวเดียวกันแต่เปลี่ยนขนาด<br />

แล้วเราไม่มีการทํา D/C counseling ตรง<br />

สุดท้ายอาจพูดธรรมดาเหมือนส่งมอบยาผู้ป่วย<br />

กลับไปบ้านก็กินเหมือนเดิม แล้วฉันมียาอะไรเหลืออยู่ที่บ้าน<br />

ฉันก็กินด้วย ยาใหม่ก็กินด้วยอีก เกิดความซ้ําซ้อนในการได้รับยา<br />

ตรงนี้เป็นประเด็นที่ต้องเคลียร์ในเรื่องของ<br />

รายการยาให้ครบถ้วนก่อนที่จะจําหน่ายผู้ป่วยออกไป<br />

5. การได้รับยาซ้ําซ้อนกับยาที่ผู้ป่วยซื้อกินเอง<br />

บางที interaction กัน มีอะไรกัน เราไม่ได้ซักประวัติ ไม่รู้<br />

เรื่อง<br />

ผู้ป่วยก็ยังซื้อกินอยู่นั่น<br />

แล้วน่ากลัวมากถ้าผู้ป่วยได้รับ<br />

warfarin<br />

หากสหสาขาวิชาชีพเข้าใจเนื้อแท้ของกิจกรรมนี้<br />

ก็จะสามารถช่วยเชื่อมต่อข้อมูลการใช้ยาให้กับผู้ป่วย<br />

และ ลดความคลาดเคลื่อนทางยาได้<br />

กองเภสัชกรรม


16<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

สาสน์จาก NUR<br />

1. ตามที่ได้แจกจ่ายโจทย์ปัญหาด้านจริยธรรมทางการพยาบาลไปให้หอผู้ป่วยต่างๆ<br />

นั้นขอให้ทีม<br />

พยาบาลแต่ละหอผู้ป่วยเอาโจทย์ไปทําเพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติให้องค์กรพยาบาลของเรา<br />

ซึ่งขอ<br />

บอว่าเป็นเรื่องจริงทั้งหมด<br />

ที่อาจารย์พรจันทร์<br />

สุวรรณชาติ นี้มาให้เป็นโจทย์แก้ปัญหา<br />

และเป็น<br />

ข้อคิดในการทํางานด้านจริยธรรมต่อไป โดยจะให้แต่ละทีมนําเสนอในวันประชุมองค์กรพยาบาล วัน<br />

พุธที่<br />

20 มิ.ย. 55 เวลา 13.30 น. นี้<br />

2. ใกล้จะ <strong>Re</strong>-<strong>accreditation</strong> แล้ว ทีมบริหารการพยาบาลได้ดําเนินการทํากิจกรรมให้ครบถ้วน ขอให้<br />

ทีมพยาบาล PN, NCO, NA และ HW ทําหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด<br />

ปฏิบัติตามหัวหน้าหอผู้ป่วยบอก<br />

กล่าวไว้ อย่างน้อยขอให้ทราบประเด็นนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ของฝ่ายการพยาบาลต่างๆ ให้<br />

ครบถ้วน โดยจะมีทีมบริหารการพยาบาลลงสุ่มสอบถามในช่วงนี้<br />

• โครงการธรรมะของฝ่ายการพยาบาล ขอขอบคุณหัวหน้าหน่วยงานที่เข้าร่วมกิจกรรม<br />

ประจําเดือน พ.ค. ดังนี้<br />

• การพัฒนาวิสัยทัศน์กับการคิดนอกกรอบ<br />

การพัฒนาวิสัยทัศน์ ถือเป็นหัวใจสําคัญอย่างยิ่ง<br />

สําหรับองค์กรยุคปัจจุบัน ความสําเร็จของการพัฒนา<br />

วิสัยทัศน์ขององค์กร ขึ้นกับความรู้<br />

ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้บริหารเป็นสําคัญ<br />

ดํารง วัฒนา (ม.ป.ป.) กล่าวว่า โดยทั่วไปแล้วการพัฒนาวิสัยทัศน์จะถูกกําหนดเมื่อ<br />

1. องค์กรมีการริเริ่มสิ่งใหม่ๆ<br />

และผู้บริหารมีความต้องการเป็นผู้นําในการเปลี่ยนแปลง<br />

2. องค์กรมีผลงานลดลงไม่เป็นที่พอใจ<br />

จึงจําเป็นต้องมีการพัฒนาวิสัยทัศน์ ซึ่งอาจเป็นการสร้างหรือ<br />

ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์


17<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

Marguis & Huston, 2003 เน้นว่า การพัฒนาวิสัยทัศน์ เป็นสิ่งจําเป็นสําหรับผู้นําการเปลี่ยนแปลง<br />

(Transformation Leader) เพราะผู้นําการเปลี่ยนแปลงนอกจากจะเป็นผู้นําในการสร้างวิสัยทัศน์แล้ว<br />

ยังต้อง<br />

มีความสามารถในการเสริมสร้างพลังอํานาจ (empowerment) ผู้อื่นให้ดําเนินการเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ที่<br />

กําหนด<br />

1. กระบวนการพัฒนาวิสัยทัศน์ประกอบด้วย<br />

1.1 การสร้างทีมงานหรือคัดเลือกทีมงาน<br />

1.2 การกําหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์<br />

1.3 การสร้างองค์ความรู้ให้แก่งาน<br />

1.4 การหาจุดยืนในอนาคต<br />

ความสําเร็จ อยู่ที่การมีทักษะการคิดที่หลากหลาย<br />

เช่น<br />

- การคิดเชิงวิเคราะห์ (Critical thinking)<br />

- การคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking)<br />

- การคิดนอกกรอบ (Lateral thinking)<br />

2. กระบวนการของการคิดนอกกรอบ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน<br />

2.1 เปิดโอกาสให้แสดงความคิดอย่างอิสระ โดยไม่ปิดกั้นความคิด<br />

2.2 ปรับปรุงสถานการณ์ มีการออกแบบและสรุปแนวคิด<br />

2.3 ได้พบกับมุมมองและแนวคิดที่หลากหลาย<br />

2.4 ร่วมกันวาดภาพขึ้นใหม่จากการประมวลความคิดและแนวคิดหลากหลายที่เกิดขึ้น<br />

3. ตัวอย่างการคิดนอกกรอบ<br />

“ผู้ชายสองคนใช้เวลา<br />

2 ชั่วโมง<br />

ขุดหลุมได้ลึก 5 ฟุต คําถาม คือ หากใช้เวลา 2 ชั่วโมง<br />

และมีผู้ช่วย<br />

จํานวน 10 คน จะขุดหลุมลึกเท่าไร...?<br />

It took two hours for two men to dig a hole five feet deep How deep would it have<br />

been if ten men had dug the hole for two hours…? (de Bono, 2006)<br />

มีคําตอบเฉลยฉบับหน้า.....โปรดติดตามต่อไป 555…..<br />

คําภาษาอังกฤษที่ใช้ผิดบ่อยๆ<br />

(Correct wards)<br />

Advise Introduce suggest แนะนํา<br />

Advise ใช้ในความหมายของการให้คําแนะนําโดยผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์มากกกว่า<br />

The doctor advised me to get some more excurse<br />

Introduce ใช้ในความหมายของการแนะนําให้บุคคลรู้จักกัน<br />

I introduced John to Lin Suggest ใช้ในความหมายของการแนะนําเชิงชักชวนให้บุคคลอื่นทําสิ่งนั้น<br />

สิ่งนี่<br />

He suggested buying that cheap skirt<br />

NUR


18<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

ในวันที<br />

่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ แผนกเวชกรรมป้องกัน, แผนกประกันสุขภาพ และแผนกส่งเสริมสุขภาพ<br />

ร่วมกิจกรรมรับพลทหารใหม่ ผลัด ๑/๒๕๕๕ ในการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ โดยการฉีดวัคซีนป้องกัน<br />

บาดทะยักพลทหารใหม่ทุกนาย จํานวน ๙๑๑ นาย ณ พุทธศาสนสถานค่ายสรรพสิทธิประสงค์


19<br />

<br />

7 <br />

2 ..-.. 55<br />

เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕ ได้ดําเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพพลทหารทางแผนกส่งเสริมสุขภาพบูรณาการ<br />

กิจกรรมร่วมกับแผนกพยาธิวิทยาเจาะเลือด และได้ขอความร่วมมือจาก อสม.รพ.ค่ายฯ หน่วยละ ๒ คน<br />

เริ่มตั้งแต่เวลา<br />

๑๒.๓๐ น. เป็นต้นไป พร้อมดําเนินกิจกรรมการตรวจสุขภาพและคัดกรองความเสี่ยงด้าน<br />

พฤติกรรมประจําปีทหารใหม่ ผลัด ๑/๒๕๕๕ จํานวน ๖ หน่วย โดยมีรายละเอียดดังนี้<br />

๒.๑ วันจันทร์ที่<br />

๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ออกตรวจคัดกรองสุขภาพ ร.๖<br />

จํานวน ๖๘ คน<br />

๒.๒ วันอังคารที่<br />

๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ออกตรวจคัดกรองสุขภาพ ร.๖ พัน ๑<br />

จํานวน ๑๙๑ คน<br />

๒.๓ วันพุธที่<br />

๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ออกตรวจคัดกรองสุขภาพ ร.๖ พัน ๒<br />

จํานวน ๑๖๕ คน<br />

๒.๔ วันพฤหัสบดีที่<br />

๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ออกตรวจคัดกรองสุขภาพ ร.๖ พัน ๓<br />

จํานวน ๑๖๗ คน<br />

๒.๕ วันศุกร์ที่<br />

๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ออกตรวจคัดกรองสุขภาพ ป.พัน ๖<br />

จํานวน ๗๘ คน<br />

๒.๖ วันจันทร์ที่<br />

๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ออกตรวจคัดกรองสุขภาพ มทบ.๒๒ และ รพ.ค่ายฯ<br />

จํานวน ๒๑๐ คน<br />

รวมทั้งหมด<br />

๘๗๙ คน<br />

นอกจากนี ้ทางแผนกส่งเสริมสุขภาพ ได้นําข้อมูลสรุปผลการตรวจสุขภาพและคัดกรองความเสี ่ยง<br />

ด้านพฤติกรรม ประจําปีทหารใหม่ ผลัด ๑/๒๕๕๕ จํานวน ๖ หน่วย<br />

เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕ แผนกส่งเสริมสุขภาพจัดเจ้าหน้าที ่ในแผนกส่งเสริมสุขภาพพร้อมกับประสาน<br />

สหวิชาชีพในการลงเยี่ยมบ้านประชาชนกลุ่มเสี่ยง<br />

และผู้ป่วยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ<br />

รอบที่<br />

๑ เวลา ๐๙.๓๐–<br />

๑๑.๓๐ น. และรอบที่<br />

๒ เวลา ๑๓.๓๐–๑๖.๐๐ น. (ทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี) ต.แสนสุข อ.วารินชําราบ<br />

ผู้รับบริการ<br />

๒๑ คน<br />

เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕ แผนกส่งเสริมสุขภาพจัดกิจกรรมกลุ ่มเบาหวาน (มะดันหวาน) ในชุมชน หมู่<br />

๒,<br />

หมู่<br />

๑๑, หมู่ที่<br />

๑๗ และหมู่<br />

๑๙ ต.แสนสุข อ.วารินชําราบ ผู้รับบริการ<br />

๒๗ คน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!