08.06.2013 Views

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ - EHWM - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ - EHWM - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ - EHWM - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปุ๋ย…ให้คุณหรือโทษ<br />

PAGE 6 ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

สาระน่ารู้<br />

เกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เรื่องดินและปุ๋ย<br />

ถึงแม้ว่าความ<br />

รู้ทางวิชาการในด้านนี้จะมีอยู่เป็นจำานวนมาก<br />

แต่ก็ถูกจำากัดอยู่ในแวดวงของ<br />

นักวิชาการและเกษตรกรระดับผู้นำาเท่านั้น<br />

เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างองค์<br />

ประกอบของดิน ได้แก่ อินทรียวัตถุ แร่ธาตุ น้ำาและอากาศ<br />

มีความสลับซับซ้อนและ<br />

เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา<br />

จึงเป็นเรื่องที่อธิบายให้เข้าใจได้ยาก<br />

รวมทั้งปุ๋ยก็มีอยู่หลาย<br />

ประเภทและหลายสูตร เฉพาะปุ๋ยเคมีที่ขึ้นทะเบียนเพื่อผลิตขายในท้องตลาดเพียง<br />

อย่างเดียวก็มีเกือบ 800 สูตรแล้ว ในขณะที่ความอุดมสมบูรณ์ของดินจะผันแปรไป<br />

ตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน<br />

การใช้ปุ๋ย<br />

ภัยพิบัติต่างๆ เช่น อุทกภัย ซึ่งมีผลต่อสภาพดิน<br />

ดังนั้น<br />

เกษตรกรควรวิเคราะห์ดินก่อนการใส่ปุ๋ยในทุกๆ<br />

2 ปี<br />

ประเภทของปุ๋ย<br />

ปุ๋ยจำาแนกออกเป็น<br />

2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ปุ๋ยอินทรีย์<br />

และปุ๋ยอนินทรีย์<br />

1. ปุ๋ยอินทรีย์<br />

เป็นปุ๋ยที่ได้มาจากสิ่งที่มีชีวิตและสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพัง<br />

รวม<br />

ทั้งมูลสัตว์ต่างๆ<br />

ได้แก่ ปุ๋ยคอก<br />

ปุ๋ยหมัก<br />

ปุ๋ยพืชสด<br />

มนุษย์มีการใช้ปุ๋ย<br />

อินทรีย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ<br />

จนกระทั่งเริ่มมีการพัฒนาประสิทธิภาพใน<br />

ด้านธาตุอาหารของวัสดุธรรมชาติให้มีประโยชน์มากขึ้น<br />

ทำาให้เกิดการ<br />

พัฒนาปุ๋ยอนินทรีย์หรือปุ๋ยเคมี<br />

ซึ่งมีข้อได้เปรียบที่มีความเข้มข้นของธาตุอาหารพืชสูงกว่าปุ๋ยอินทรีย์<br />

ทำาให้เราลดการ<br />

ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ลงเรื่อย<br />

ๆ จนกระทั่งเกษตรกรบางรายเลิกใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือวัสดุอินทรีย์ไปเลย<br />

เราอาจจำาแนกปุ๋ยอินทรีย์ออกเป็นประเภทต่าง<br />

ๆ ดังนี้<br />

• ปุ๋ยคอก<br />

เป็นปุ๋ยที่ได้จากอุจจาระและปัสสาวะทั้งของคนและสัตว์<br />

เป็นของเหลือหรือผลพลอยได้จากฟาร์ม<br />

การใช้ต้องระมัดระวังพอสมควร เพราะหากเป็นปุ๋ยคอกใหม่<br />

ๆ อาจเป็นอันตรายต่อพืชได้ เนื่องจากความ<br />

เค็มและความร้อนที่เกิดขึ้นขณะย่อยสลายปุ๋ย<br />

นอกจากนั้นอาจมีปัญหาเรื่องเมล็ดวัชพืช<br />

โรค หรือแมลงที่<br />

ปะปนมากับปุ๋ยคอก<br />

จึงควรนำามาหมักหรือปล่อยให้ย่อยสลายก่อน<br />

• ปุ๋ยหมัก<br />

คือ ปุ๋ยที่ได้จากการนำาเศษซากพืชมากองหมักรวมกัน<br />

รดน้ำาให้ความชื้นสม่ำาเสมอและกลับกอง<br />

คลุกเคล้าเป็นครั้งคราว<br />

อาจมีมูลสัตว์ ปุ๋ยเคมีและสารเร่งร่วมด้วย<br />

เพื่อให้ได้ปุ๋ยหมักคุณภาพดีและนำามา<br />

ใช้ได้อย่างรวดเร็วขึ้น<br />

ปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพดี<br />

ได้มาตรฐาน ควรมีคุณลักษณะดังนี้<br />

1. มีเกรดปุ๋ยไม่ต่ำากว่า<br />

1:1:0.5 (ไนโตรเจน : ฟอสฟอรัส : โพแทสเซียม)<br />

2. มีความชื้นและสิ่งที่ระเหยได้ไม่มากกว่าร้อยละ<br />

35-40 โดยน้ำาหนัก<br />

3. ความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง<br />

6.0-7.5<br />

4. ปุ๋ยหมักที่ใช้ได้แล้วไม่ควรมีวัสดุเจือปนอื่น<br />

ๆ<br />

5. ปุ๋ยหมักที่ใช้ได้แล้วจะต้องไม่มีความร้อนหลงเหลืออยู่<br />

6. จะต้องมีปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ระหว่าง<br />

25-50 %<br />

7. จะต้องมีอัตราส่วนระหว่างธาตุคาร์บอนต่อไนโตรเจนไม่มากกว่า 20 ต่อ 1

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!