29.06.2013 Views

Abstract of the Proceedings OR-NET2012 - AS Nida - สถาบันบัณฑิต ...

Abstract of the Proceedings OR-NET2012 - AS Nida - สถาบันบัณฑิต ...

Abstract of the Proceedings OR-NET2012 - AS Nida - สถาบันบัณฑิต ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

(National Operations Research Network Conference 2012 )<br />

ISBN: 978-974-456-727-7<br />

จัดโดย<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555<br />

ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ


สนับสนุนโดย


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ค าน า<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ประจ าปี 2555 (National Operations Research Network<br />

Conference 2012) หรือที่รู้จักกันว่า<br />

<strong>OR</strong>-NET 2012 เป็นการประชุมต่อเนื่องครั้งที่<br />

9 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนา<br />

คุณภาพของงานวิจัย การน าเสนอผลงานวิจัย เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์อันจะ<br />

น าไปสู่ความร่วมมือทางวิชาการและวิจัย<br />

รวมทั้งเป็นการเผยแพร่งานวิจัยของคณาจารย์<br />

นักวิจัย นักวิชาการ นิสิต และนักศึกษา สู่<br />

สังคม ส่งเสริมการน าความรู้ทางวิชาการไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ<br />

อันจะน าไปสู่การพัฒนาในระดับชุมชน<br />

สังคม และประเทศ<br />

ต่อไป ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้รับเกียรติ ให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการ<br />

ในครั้งนี้<br />

โดยก าหนดจัดการประชุมในวันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ทั้งนี้<br />

คณะกรรมการด าเนินการจัดการประชุม <strong>OR</strong>-NET 2012 ได้รวบรวมบทความวิจัย (Proceeding) ของผู้น<br />

าเสนอผลงาน<br />

ในครั้งนี้เป็นไฟล์อิเลคทรอนิกส์<br />

ให้กับผู้เข้าร่วมการประชุม<br />

รวมทั้งเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่สาธารณชนอย่างทั่วถึงและกว้างขวาง<br />

คณะกรรมการด าเนินงานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือรวมบทคัดย่อนี้<br />

จะเป็นประโยชน์ต่อนักวิชาการ นักวิจัย ผู้บริหาร<br />

ผู้ปฏิบัติงาน<br />

และผู้สนใจทั่วไป<br />

ทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม<br />

จะน าไปประยุกต์ใช้ และพัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่อไป<br />

คณะกรรมการด าเนินการจัดประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ประจ าปี 2555 ขอขอบคุณ คณาจารย์และ<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิที่ร่วมเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกบทความและประเมินผลงานวิจัย<br />

และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องกับการด<br />

าเนินงานจนส าเร็จบรรลุ<br />

ตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้<br />

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนการจัดงานทุกท่าน<br />

และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นโอกาสดีที่จะร่วมมือกันพัฒนา<br />

งานด้านวิจัยด าเนินงานให้ก้าวหน้าและเข้มแข็งต่อไป<br />

คณะกรรมการด าเนินการจัดประชุมวิชาการ<br />

ด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

i


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

ปจจุบัน สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษานอกจากจะมีบทบาทในการด้านจัดการเรียนการสอนแล้ว ยังมีบทบาทอย่าง<br />

กว้างขวางในการบริการวิชาการสูสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง<br />

การวิจัยเพื่อสรางองคความรูใหม<br />

ในสาขาต่างๆ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าธนบุรี ได้ตระหนักถึงการส่งเสริมสนับสนุน ในนักศึกษา และบุคลากรด าเนินการวิจัยอย่างต่อเนื่อง<br />

มีผลงานเป็นที่<br />

ประจักษ์และเป็นที่ยอมรับในสังคม<br />

มหาวิทยาลัยได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ซึ่งเป็นทิศทางของ<br />

มหาวิทยาลัยที่ก<br />

าหนดไว้ในวิสัยทัศน์ 5 ด้าน คือ มุ่งสู่ความเป็นเลิศในการเทคโนโลยีและการวิจัย<br />

นอกเหนือจากการส่งเสริมและ<br />

สนับสนุนการท าวิจัยแลว มหาวิทยาลัยยังตระหนักและใหความส าคัญอย่างยิ่งในการสร้างเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู<br />

และตอยอด<br />

การวิจัย<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มีความยินดีเปนอยางยิ่ง<br />

ที่ไดมีโอกาสเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม<br />

วิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติประจ าปี 2555 (Operations Research Network Conference 2012) ซึ่งเป็นเวทีที่มี<br />

ความส าคัญอย่างยิ่งต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ที่ท<br />

างานวิจัยในด้านนี้<br />

เพื่อใหคณาจารย<br />

นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา มี<br />

โอกาสในการเผยแพรผลงานวิจัยของตนเองสูวงการวิชาการและสาธารณชนทั่วไป<br />

ขอชื่นชมภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการที่ได้ด<br />

าเนินการจัดการประชุมวิชาการในครั้งนี้จนประสบความส<br />

าเร็จขึ้นมาได้<br />

ขอ<br />

ขอบคุณผูทรงคุณวุฒิอานผลงานวิชาการทุกทาน ที่สละเวลาใหขอคิดเห็นที่เปนประโยชนตอคณาจารย<br />

นักวิจัย นักวิชาการ นักศึกษา<br />

ในการปรับปรุงผลงานใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น<br />

และขอขอบคุณผูมีเกียรติทุกทาน ที่มีสวนท<br />

าใหเวทีการประชุมวิชาการในครั้งนี้เกิดขึ้น<br />

สุดทายนี้ขอใหการประชุมวิชาการในครั้งนี้ประสบความส<br />

าเร็จดังวัตถุประสงคทุกประการ<br />

(รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน)<br />

อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

ii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

สารจากหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นภาควิชาที่ด<br />

าเนินการสอนและด าเนินงาน<br />

วิจัยทางด้านการวิจัยด าเนินงาน (Operation Research) มาอย่างยาวนานและต่อเนื่อง<br />

ผมมีความยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ทาง<br />

ภาควิชาฯ ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติประจ าปี 2555 ในครั้งนี้<br />

เราได้ให้ความส าคัญอย่าง<br />

ยิ่งต่อการสร้างบุคลากรทางด้านการวิจัย<br />

การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการพัฒนาผลงานการวิจัยด้านการวิจัยด าเนินงาน ซึ่งเรา<br />

เชื่อว่าการวิจัยเป็นวิธีการวิเคราะห์ที่น<br />

าเอาแขนงวิชาต่างๆ เข้ามาประสานรวมกันในการวิเคราะห์แก้ไขอย่างเป็นระบบ ท าให้ผลลัพธ์<br />

ที่ได้มีความสมบูรณ์ครบถ้วน<br />

อีกทั้งยังเป็นการน<br />

าความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับภาคอุตสาหกรรมได้โดยตรง<br />

ซึ่งมีส่วนส<br />

าคัญกับการ<br />

แข่งขันและการพัฒนาประเทศ<br />

วิศวกรรมอุตสาหการ เป็นวิศวกรรมสาขาหนึ่ง<br />

ซึ่งเน้นการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์มาผสมผสานกับความรู้<br />

ด้านการจัดการเพื่อใช้ในการวางแผน<br />

การด าเนินการและการควบคุม ใช้งานในอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็นงานผลิต งานบริการ ให้<br />

ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด<br />

นอกจากการจัดการประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติแล้ว ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ยังมีการด าเนินการจัดการประชุมวิชาการเพื่อการเผยแพร่งานวิจัย<br />

และสร้างเครือข่ายร่วมในอีกหลาย<br />

การประชุม อาทิ การประชุมวิชาการด้านการพัฒนาการด าเนินงานทางอุตสาหกรรมแห่งชาติ ซึ่งภาควิชาได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพในปี<br />

2556 และการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ซึ่งภาควิชาได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพปี<br />

2557<br />

ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจริญ<br />

สุนทราวาณิชย์ ที่รับเป็นประธานด<br />

าเนินการจัดการประชุมครั้งนี้<br />

คณะกรรมการจัด<br />

งาน กรรมการเครือข่ายการวิจัยด าเนินงาน ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ<br />

ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง<br />

และขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมกับการ<br />

จัดการประชุมวิชาการ <strong>OR</strong>-NET 2012 ทุกท่านในฝ่ายต่างๆ จนการประชุมวิชาการในครั้งนี้ประสบความส<br />

าเร็จได้เป็นอย่างดี<br />

ผมขอให้การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติประจ าปี 2555 ครั้งนี้ประสบความส<br />

าเร็จดังที่มุ่งหวังไว้ทุก<br />

ประการ ขอบคุณครับ<br />

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

ดร.ไชยา ด าค า)<br />

หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

iii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

สารจากประธานคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการ<br />

ด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

การจัดประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555 (<strong>OR</strong>-NET 2012) เป็นการประชุมวิชาการที่<br />

จัดต่อเนื่องเป็นครั้งที่<br />

9 ที่เปิดโอกาสให้คณาจารย์<br />

นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา และบุคคลในหน่วยงานของรัฐและเอกชน ที่มีความ<br />

สนใจในศาสตร์แห่งการวิจัยด าเนินงานได้น าเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล<br />

ความรู้<br />

ประสบการณ์ ซึ่งกันและกันและสามารถขยาย<br />

เครือข่ายผู้ที่ด<br />

าเนินงานวิจัยในด้านนี้<br />

การวิจัยด าเนินงาน ได้รับความสนใจจากภาครัฐบาลและภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง<br />

เนื่องจากผลส<br />

าเร็จของการ<br />

วิจัยด าเนินงานที่เข้าไปแก้ไขปัญหาการด<br />

าเนินงานในด้านต่างๆ อาทิเช่น การลดต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลผลิต<br />

พัฒนากระบวนการ<br />

ท างาน ช่วยบริหารจัดการและลดความเสี ่ยง ก าหนดนโยบายการแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มศักยภาพด้านการ<br />

แข่งขันทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ<br />

เป็นต้น<br />

ส าหรับการประชุมวิชาการในครั้งนี้<br />

เป็นที่น่ายินดีที่มีผู้สนใจส่งบทความเข้าร่วมการพิจารณา<br />

เพื่อน<br />

าเสนอบทความเป็น<br />

จ านวนมาก ในหลายสาขาเป็นจ านวน 80 บทความ และมีบทความที่ผ่านการพิจารณาทั้งสิ้น<br />

57 บทความ รวมทั้งคณะกรรมการได้<br />

คัดเลือกบทความที่มีความโดดเด่น<br />

เพื่อรับการพิจารณาเป็นบทความดีเด่นประจ<br />

าการประชุมครั้งนี้<br />

ขอขอบคุณ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความทุกท่าน<br />

และ ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมกับการจัดการประชุม<br />

วิชาการ <strong>OR</strong>-NET 2012 รวมทั้ง<br />

ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง<br />

มจธ. ที่ได้ช่วยประสานงานด<br />

าเนินการจัดการประชุมฯ ได้เป็นอย่างดี<br />

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนการจัดการประชุมในครั้งนี้ได้แก่<br />

ชมรมมดอุตสาหการ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม<br />

เกล้าธนบุรี บริษัท โรงงานผลิตภัณฑ์อาหารไทย จ ากัด บริษัท โซลูชั่น<br />

เซ็นเตอร์ จ ากัด บริษัท 21 วิศวกรรมและบริการ จ ากัด และ<br />

บริษัท McGraw Hill Education จ ากัด<br />

สุดท้ายนี้<br />

ผมขอให้การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติประจ าปี 2555 ด าเนินไปด้วยความเรียบร้อย และ<br />

เอกสารรวมบทความวิชาการนี้<br />

ขอให้เป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษาค้นคว้าวิจัยไม่มากก็น้อย<br />

ขอขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง<br />

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

เจริญ สุนทราวาณิชย์)<br />

ประธานคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการ<br />

ด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

iv


หัวข้อการประชุม<br />

1. Optimization Theory & Applications<br />

2. Approximation Algorithms & Heuristics<br />

3. Logistics & Supply Chain Management<br />

4. Simulation<br />

5. Inventory Management<br />

6. Transportation Management<br />

7. System Engineering<br />

8. Financial and Service System Management<br />

9. Manufacturing Management<br />

10. Project Management<br />

11. Productivity & Business Strategy<br />

12. Facility Design & Location<br />

13. Maintenance and Reliability<br />

14. Games and Decision Support System<br />

15. Risk Management and Rare Events<br />

16. Operations Research in Environment Management and Sustainability<br />

17. Applied Operations Research<br />

18. Applied Statistics<br />

19. O<strong>the</strong>r Related Topics<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

v


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

คณะกรรมการด าเนินการ<br />

จัดการประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

(National Operations Research Network Conference 2012 (<strong>OR</strong>-NET 2012) )<br />

ที่ปรึกษา<br />

ศ.ดร.สมชาย ชูชีพสกุล ที่ปรึกษาอาวุโสอธิการบดี<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)<br />

รศ.ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

รศ.ดร.สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล<br />

คณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

ผศ.ดร.วรนุช เกิดสินธุ์ชัย<br />

คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

ประธานคณะกรรมการอ านวยการ<br />

ผศ.เจริญ สุนทราวาณิชย์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ประธานคณะกรรมการด าเนินการ<br />

ผศ.ดร.สุขสันติ์<br />

พรหมบัญพงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ประธานคณะกรรมการวิชาการ<br />

คณะกรรมการ<br />

รศ.ดร.เตือนใจ สมบูรณ์วิวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.ดร.อภินันทนา อุดมศักดิกุล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ดร.ช่อแก้ว จตุรานนท์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ดร.อุษณีษ์ ค าพูล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

อ.ชนากานต์ แคล้วอ้อม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

อ.สุจินต์ ธงถาวรสุวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

คณะกรรมการวิชาการ<br />

ผศ.เจริญ สุนทราวาณิชย์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.ดร.สุขสันติ์<br />

พรหมบัญพงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.ดร.อภินันทนา อุดมศักดิกุล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

vi


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ดร.ช่อแก้ว จตุรานนท์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ดร.อุษณีษ์ ค าพูล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

อ.ชนากานต์ แคล้วอ้อม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

อ.สุจินต์ ธงถาวรสุวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ผศ.ดร.ธนัญญา วสุศรี บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ.<br />

ดร.สรวิชญ์ เยาว์ยืนยง บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มจธ.<br />

ผศ.ดร.จุฑา พิชิตล าเค็ญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

รศ.ดร.รุ่งรัตน์<br />

ภิสัชเพ็ญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ดร.วรวุฒิ หวังวัชรกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ผศ.ดร.พรธิภา องค์คุณารักษ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ผศ.ดร.กรุง สินอภิรมย์สราญ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ผศ.ดร.สีรง ปรีชานนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ผศ.ดร.ปุ่น<br />

เที่ยงบูรณะธรรม<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

ดร.ชมพูนุท เกษมเศรษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

ผศ.นราธิป แสงซ้าย วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)<br />

ดร.กฤษดา อัศวรุ่งแสงกุล<br />

คณะวิศวกรรรมศาสตร์ มจพ.<br />

ดร.กนกพร ศรีปฐมสวัสดิ์<br />

วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มจพ.<br />

ดร.ณัฐนารี สุขเสกสรรค์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มจพ.<br />

ดร.วิชัย รุ่งเรืองอนันต์<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจพ.<br />

ดร.ธราธร กูลภัทรนิรันดร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร<br />

รศ.ดร.พงศ์ชนัน เหลืองไพบูลย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

ผศ.ดร.ภูพงษ์ พงษ์เจริญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร<br />

รศ.ศุภชัย นาทะพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

ผศ.ดร.วเรศรา วีระวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

ผศ.ดร.สมชาย ปฐมศิริ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

ผศ.พิศิษฐ์ แสงชูโต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง<br />

ผศ.ดร.รัชนี ภูวิพัฒนะพันธุ์<br />

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง<br />

ผศ.ดร.นิลวรรณ ชุ่มฤทธิ์<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

รศ.ดร.สุดา ตระการเถลิงศักดิ์<br />

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ผศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ผศ.สงวน ตั้งโพธิธรรม<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

vii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ผศ.ดร.เสกสรร สุธรรมานนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

รศ.ดร.นิกร ศิริวงศ์ไพศาล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

รศ.ดร.พัชราภรณ์ เนียมมณี คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ผศ.ดร.กาญจ์นภา อมรัชกุล คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ผศ.ดร.อนุกัลยณ์ จีระลักษณกุล คณะบริหารธุรกิจ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ดร.ศิวิกา ดุษฎีโหนด คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ผศ.ดร.สมบัติ สินธุเชาวน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

รศ.ดร.วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

พ.ท.ดร.อาร์ม พันกะหรัด กองนโยบายและแผนงบประมาณ ส านักงบประมาณกลาโหม<br />

ศาลาว่าการกลาโหม<br />

viii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

คณะกรรมการเครือข่ายการวิจัยด าเนินงาน<br />

(Operations Research Network <strong>of</strong> Thailand)<br />

ที่ปรึกษาเครือข่ายฯ<br />

รศ.ดร.วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

รศ.ดร.พีรยุทธ์ ชาญเศรษฐิกุล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

คณะกรรมการอ านวยการเครือข่ายฯ<br />

รศ.ดร.วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

รศ.ดร.สุดา ตระการเถลิงศักดิ์<br />

ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

รศ.ดร.พัชราภรณ์ เนียมมณี การจัดการโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

รศ.ดร.พงศ์ชนัน เหลืองไพบูลย์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

ผศ.ดร.นิลวรรณ ชุ่มฤทธิ์<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

ผศ.ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

ผศ.ดร.รัชนี ภูวิพัฒนะพันธุ์<br />

ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง<br />

ผศ.นราธิป แสงซ้าย วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ<br />

ผศ.ดร.สีรง ปรีชานนท์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ผศ.ดร.ภูพงษ์ พงษ์เจริญ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร<br />

ผศ.ฑาริณี อัศววงศ์สวัสดิ์<br />

ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

ผศ.ดร.ปุ่น<br />

เที่ยงบูรณะธรรม<br />

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

ผศ.ดร.ก่อโชค ภูนิคม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

ผศ.ดร.วเรศรา วีระวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

คณะกรรมการวิชาการ<br />

รศ.สมเกียรติ จงประสิทธิ์พร<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ<br />

ผศ.ดร.กรุง สินอภิรมย์สราญ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

อ.ดร.ศิวิกา ดุษฎีโหนด การจัดการโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ผศ.ดร.จักรินทร์ ศุขหมอก คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ผศ.ดร.ดนุพันธ์ วิสุวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

ผศ.ดร.บุษบา พฤกษาพันธุ์รัตน์<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

อ.ดร.วราธร ปัญญางาม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

ผศ.มิตรมาณี ตรีวัฒนาวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

ผศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

อ.ดร.วิชัย รุ่งเรืองอนันต์<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ<br />

ix


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ผศ.ดร.ฉัฐไชย์ ลีนาวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

ผศ.ชาติชาย อัศดรศักดิ์<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ<br />

ผศ.ดร.กาญจ์นภา อมรัชกุล การจัดการโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ผศ.พิศิษฐ์ แสงชูโต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง<br />

ผศ.ดร.อนุกัลยณ์ จีระลักษณกุล ศูนย์นวัตกรรมทางธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์<br />

ผศ.เจริญ สุนทราวาณิชย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

x


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

วิทยากรรับเชิญ<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

ดร.ชวลิต จีนอนันต์<br />

Chawalit Jeenanunta, Ph.D. (Assistant Pr<strong>of</strong>essor)<br />

Management Technology Curriculum Coordinator<br />

Head <strong>of</strong> School <strong>of</strong> Management Technology<br />

Sirindhorn International Institute <strong>of</strong> Technology Thammasat University<br />

Education 2004 Virginia Polytechnic Institute and State University Blacksburg, VA<br />

Ph.D., Operatios Research<br />

1999 University <strong>of</strong> Maryland College Park, MD<br />

M.S., Management Science<br />

1998 University <strong>of</strong> Maryland College Park, MD<br />

B.S., Computer Science ● B.S., Ma<strong>the</strong>matics<br />

Scholarship 1990-2004<br />

The Development and Promotion <strong>of</strong> Science and Technology Talents Project Scholarship<br />

Positions 2010-2012 ● Head <strong>of</strong> School <strong>of</strong> Management Technology<br />

2004-Present ● Management Technology Curriculum Coordinator<br />

2010 ● Visiting Pr<strong>of</strong>essor Tohoku University, Japan<br />

2006 ● Visiting Pr<strong>of</strong>essor University <strong>of</strong> Applied Sciences Ravensburg-Weingarten, Germany<br />

Research Funding Dec 2011-March 2012 : Economic Research Institute for <strong>AS</strong>EAN and East Asia (ERIA)<br />

Wiring Innovation Networks: How Networks Upgrade Innovation Capacity in East Asia<br />

July 2010-March 2011 : Economic Research Institute for <strong>AS</strong>EAN and East Asia (ERIA)<br />

Network Management: How to Enhance Innovation Capability with Internal and External Resources<br />

August 2010-August 2011 : Thailand Research Fund<br />

Logistician in Healthcare Industry<br />

August 2008-August 2010 : Electricity Generating Authority <strong>of</strong> Thailand (EGAT)<br />

Optimization Model for Daily and Weekly Load Dispatch Scheduling <strong>of</strong> Electricity Generation System<br />

April 2008 – Dec 2008 : IBM Faculty Award (With Assoc. Pr<strong>of</strong>. Dr. Somrote)<br />

Services Science Management and Engineering Roadmap for Thailand<br />

July 2007-July 2009 : Commission On Higher Education and Thailand Research Fund<br />

Discrete Multi-Mode Choice Model through Shortest Path Model<br />

May 2008-Oct 2008 : Thailand Textile Institute (THTI)<br />

Supply Chain Development for Thai Garment and Textile Industry (Nor<strong>the</strong>rn Region)<br />

March 2006-March 2007 : IDE- Japan External Trade Organization (JETRO)<br />

The Flowchart Approach to <strong>the</strong> Formation <strong>of</strong> Industrial Clusters: Focusing on <strong>the</strong> Mechanism <strong>of</strong><br />

Endogenous R&D and Innovation<br />

Research Interest Applications <strong>of</strong> operations research, simulation, transportation simulation, and supply chain<br />

management.<br />

xi


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

วิทยากรรับเชิญ<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วรทัศร์ ขจิตวิชยานุกูล<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วรทัศร์ ขจิตวิชยานุกูล จบปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติ<br />

ไต้หวัน ได้รับทุนพระราชทานเข้าศึกษาที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย<br />

จนจบปริญญาโทวิศวกรรมอุตสาหการและการบริหาร และได้<br />

เริ่มท<br />

างานในต าแหน่งนักวิจัยที่เอไอที<br />

ในโครงการด้านระบบสารสนเทศคมนาคม และการวิเคราะห์ภาพถ่ายทางดาวเทียม ก่อนจะได้<br />

ทุนไปศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกด้านวิศวกรรมอุตสาหการ ที่มหาวิทยาลัยเปอร์ดู<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

หลังจากจบการศึกษา ศ.ดร.วรทัศร์ ได้เริ่มงานในต<br />

าแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ในภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการ<br />

บริหาร ที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐไอโอว่า<br />

สหรัฐอเมริกา โดยเน้นงานวิจัยด้านการจ าลองระบบอุตสาหกรรม และด้านการใช้ระบบ<br />

สารสนเทศในอุตสาหกรรม นอกจากประสบการในงานวิชาการ ศ.ดร.วรทัศร์ ยังมีประสบการในบริษัทระดับ ฟอร์จูน 500 เช่น บริษัท<br />

คอมแพคคอมพิวเตอร์ และบริษัท โมโตโรล่า ในประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

หลังจากที่ไปศึกษาและท<br />

างานในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นเวลาเกือบ 20 ปี ศ.ดร. วรทัศร์ ก็ได้กลับมาท างานในประเทศ<br />

ไทยที่<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย งานวิจัยช่วงนี้เน้นการสร้างแบบจ<br />

าลองคณิตศาสตร์ขนาด<br />

ใหญ่ และการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงแบบขนาน<br />

การหาค่าดีที่สุดด้วยเทคนิคการค<br />

านวนเชิงวิวัฒนาการ เช่น วิธีค านวนเชิง<br />

พันธุกรรมและวิธีค านวนด้วยฝูงอนุภาคโดยเน้นการแก้ปัญหาขนาดใหญ่ในการออกแบบเครือข่ายโซ่อุปทาน และการวางแผนและการ<br />

จัดตารางการผลิต<br />

ศ.ดร.วรทัศร์ มีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการและการประชุมระดับนานาชาติชั้นน<br />

าเป็นจ านวนมาก นอกจากงาน<br />

ประจ าแล้วยังด ารงต าแหน่งอื่นๆ<br />

เช่น ที่ปรึกษาศูนย์สารสนเทศมูลนิธิโครงการหลวง<br />

และคณะกรรมการเทคโนโลยีกริดแห่งชาติ<br />

ทางด้านวิชาการยังด ารงต าแหน่งบรรณาธิการภาคพื้นเอเซียแปซิฟิคของวารสาร<br />

International Journal on Simulation and<br />

Process Modeling และบรรณาธิการด้านการจ าลองสถาณการณ์และการค านวนเชิงวิวัฒนาการ ของวารสาร International<br />

Journal <strong>of</strong> Industrial Engineering and Management Systems อีกทั้งเป็นกรรมการของสมาคมวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ<br />

บริหารแห่งภาคพื้นเอเซียและแปซิฟิค<br />

xii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

วิทยากรรับเชิญ<br />

รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล<br />

1. วันเกิด 18 พฤศจิกายน 2496 อายุ 58 ปี<br />

2. การศึกษา 2538 วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

2530 M.Sc (Engineering Management), The Wichita State University, USA<br />

2526<br />

3. ต าแหน่งงานปัจจุบัน<br />

วศ.บ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

26 เม.ย.2551 – ปัจจุบัน คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.<br />

ก.ค.2545 – ปัจจุบัน<br />

4. ประวัติการท างาน<br />

หัวหน้าโครงการจัดตั้งวิทยาเขตราชบุรี<br />

12 ม.ค.2550 – 25 เม.ย. 2551 คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม<br />

4 พ.ย. 2548 – 11 ม.ค.2550 รักษาการผู้อ<br />

านวยการบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม<br />

12 ก.ค. 2547 – 11 ก.ค.2549 รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา<br />

1 ต.ค. 2545 – 11 ก.ค.2549 ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง<br />

(Chief Information Office)<br />

1 ต.ค. 2545 - 30 มิ.ย. 2547 ผู้อ<br />

านวยการส านักคอมพิวเตอร์<br />

7 ก.พ. 2545-14 ก.ค. 2545 ผู้ช่วยอธิการบดีวิทยาเขตราชบุรี<br />

2542 - 2545 หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์<br />

5. งานบริการวิชาการ<br />

5.1 ต่างประเทศ 2541-2548 Adjunct Pr<strong>of</strong>essor, Faculty <strong>of</strong> Engineering, University <strong>of</strong> Regina, SK, Canada.<br />

2539-2545 Adjunct Pr<strong>of</strong>essor, Computer Science Department, University <strong>of</strong> Regina, SK,Canada.<br />

2541 Distinguished Visiting Pr<strong>of</strong>essor, Computer Science Department, University <strong>of</strong><br />

Waterloo, Ontario, Canada.<br />

5.2 วิชาการระดับนานาชาติ<br />

2549 General Chair <strong>of</strong> Organizing Committee, International Technical Conference on Circuits/<br />

Systems,Computers and Communications (ITCC/SCCC 2006), Chiangmai, Thailand, 2006.<br />

2549 International Program Committee, The Sixth International conference on<br />

Intelligence Technologies (InTech'2006), Assumption University, Bangkok, Thailand,2006.<br />

5.3 หน่วยงานของรัฐ<br />

2552 – ปัจจุบัน กรรมการและอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของมหาวิทยาลัย<br />

ราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง<br />

จ.ราชบุรี<br />

2550 – 2551 ที่ปรึกษาอธิการบดี<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฎ หมู่บ้านจอมบึง<br />

ราชบุรี<br />

2550 ช่วยราชการ ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ช่วยงานเลขาธิการฯ)<br />

2549 – ปัจจุบัน กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี<br />

2549 - 2550 กรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี<br />

2549 – 2550 ที่ปรึกษาด้าน<br />

ICT มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา<br />

2546 – ปัจจุบัน กรรมการก ากับมาตรฐานวิชาการ สาขาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรังสิต<br />

xiii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ก าหนดการงานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

(National Operations Research Network Conference 2012)<br />

ระหว่างวันที่<br />

6-7 กันยายน 2555<br />

ณ ห้อง Infinity 1 ชั้น<br />

G โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

่<br />

่<br />

่<br />

วันพฤหัสบดีที 6 กันยายน 2555<br />

08:30-09:00 ลงทะเบียน และรับเอกสารประกอบการประชุม ณ ห้อง Infinity 1 ชั้น<br />

G<br />

09:00-09:05<br />

กล่าวต้อนรับ โดย ผศ.ดร.ไชยา ด าค า<br />

หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

09:05-09:10<br />

กล่าวรายงาน โดย ผศ.เจริญ สุนทราวาณิชย์<br />

ประธานคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการ ด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติประจ าปี 2555<br />

09:10-09:20<br />

พิธีเปิด โดย รศ.ดร.บัณฑิต ฟุ้งธรรมสาร<br />

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

การบรรยายพิเศษ Large-scale Optimization in Action<br />

09:20-10:45 โดย ผศ.ดร.ชวลิต จีนอนันต์ รักษาการหัวหน้าภาควิชาการจัดการเทคโนโลยี<br />

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

10:45-11:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

11:00-12:00<br />

การบรรยายพิเศษ New Frontiers in Operation Research<br />

โดย ศ.ดร.วรทัศร์ ขจิตวิชยานุกูล สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)<br />

12:00-13:15 พักรับประทานทานอาหารกลางวัน ณ ห้อง Cuisine Unplugged ชั้น<br />

G<br />

13:15-14:45 การน าเสนอผลงานทางวิชาการ<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

15:00-16:15 การน าเสนอผลงานทางวิชาการ<br />

วันศุกร์ที 7 กันยายน 2555<br />

08:30-09:00 ลงทะเบียน และรับเอกสารประกอบการประชุม ณ ห้อง Infinity 1 ชั้น<br />

G<br />

การบรรยายพิเศษ New Ideas in Optimization Heuristics<br />

09:00-10:00 โดย รศ.ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล<br />

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

10:00-10:20 การประกาศรางวัลผลงานดีเด่น<br />

10:20-10:30<br />

พิธีรับมอบการเป็นเจ้าภาพ งานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที<br />

10 ประจ าปี 2556<br />

โดย ผู้แทนจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

10:30-10:45 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

10:45-12:00 การน าเสนอผลงานทางวิชาการ<br />

12:00-13:15 พักรับประทานทานอาหารกลางวัน ณ ห้อง Cuisine Unplugged ชั้น<br />

G<br />

13:15-14:45 การน าเสนอผลงานทางวิชาการ<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

xiv


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ก าหนดการน าเสนอบทความงานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

(National Operations Research Network Conference 2012)<br />

วันพฤหัสบดีที่<br />

6 กันยายน 2555<br />

08:30-09:00 ลงทะเบียน และรับเอกสารประกอบการประชุม ณ ห้อง Infinity 1 ชั้น<br />

G<br />

09:00-09:05<br />

09:05-09:10<br />

กล่าวต้อนรับ โดย ผศ.ดร.ไชยา ด าค า หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

กล่าวรายงาน โดย ผศ.เจริญ สุนทราวาณิชย์ ประธานคณะกรรมการ<br />

การจัดงานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติประจ าปี 2555<br />

09:10-09:20 พิธีเปิด โดย รศ.ดร.บัณฑิต ฟุ้งธรรมสาร<br />

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

09:20-10:45<br />

การบรรยายพิเศษ Large-scale Optimization in Action<br />

โดย ผศ.ดร.ชวลิต จีนอนันต์ รักษาการหัวหน้าภาควิชาการจัดการเทคโนโลยี<br />

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

10:45-11:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

11:00-12:00<br />

การบรรยายพิเศษ New Frontiers in Operation Research<br />

โดย ศ.ดร.วรทัศร์ ขจิตวิชยานุกูล สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)<br />

12:00-13:15 พักรับประทานทานอาหารกลางวัน ณ ห้อง Cuisine Unplugged ชั้น<br />

G<br />

การน าเสนอผลงาน<br />

Session A : ห้อง Infinity 1A ชั้น<br />

G<br />

Decision and Risk<br />

13:15-13:30 การประยุกต์ใช้การบ ารุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือส<br />

าหรับเครื่องจักรด้านสิ่งทอ<br />

A-01<br />

13:30-13:45 การจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมในการป้องกันเป้าหมายเชิงเดี่ยวและเชิงรวม<br />

A-02<br />

13:45-14:00 การพัฒนาต้นแบบที่เหมาะสมส<br />

าหรับกองทุนหลักประกันสุขภาพต้นแบบจังหวัดขอนแก่น A-03<br />

14:00-14:15<br />

แบบจ าลองที่เหมาะสมและประสิทธิภาพในการประมาณอัตราถัวความเสี่ยงที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา ตลาดอนุพันธ์แห่งประเทศไทย<br />

14:15-14:30 การประมาณค่าและประสิทธิผลของอัตราป้องกันความเสี่ยงที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย<br />

14:30-14:45 ปัจจัยที่กระทบต่อผลตอบแทนที่คาดหวัง<br />

และการไหลของข้อมูลข่าวสารในตลาดล่วงหน้า A-06<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

Heuristics and Applications<br />

15:00-15:15 ตัวแบบก าหนดการจ านวนเต็ม และโปรแกรมส าเร็จรูปเพื่อแก้ปัญหาการจัดตารางสอบ<br />

15:15-15:30 จุดก าเนิดใหม่ส าหรับการเริ่มขั้นตอนวิธีซิมเพล็กซ์<br />

A-08<br />

15:30-15:45 ปัญหาการจัดงานเชิงเส้นแบบสองขั้น<br />

A-09<br />

A-04<br />

A-05<br />

A-07<br />

xv


Session B : ห้อง Infinity 1B ชั้น<br />

G<br />

Production and Workforce Planning<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

13:15-13:30 การจ าลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดงานเข้าแผนกประกอบผลิตภัณฑ์<br />

B-01<br />

13:30-13:45<br />

13:45-14:00<br />

14:00-14:15<br />

เทคนิคคอลัมน์เจเนอเรชันส าหรับปัญหาการมอบหมายงานให้กับพนักงานที่มีการปรับดุลภาระงานและ<br />

รายได้<br />

โลจิสติกส์ส าหรับการวางแผนการเพาะปลูกสับปะรดพันธุ์ควีน<br />

โดยประยุกต์ใช้ก าหนดการเชิงเส้นผสม<br />

จ านวนเต็ม<br />

การวางแผนการผลิตกระบอกไฮดรอลิค กรณีศึกษา บริษัท สามมิตรมอเตอร์สแมนูแฟคเจอริ่ง<br />

จ ากัด<br />

(มหาชน)<br />

14:15-14:30 การจัดตารางการผลิตแบบตามสั่ง<br />

ส าหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ<br />

B-05<br />

14:30-14:45 การวิเคราะห์จุดเหมาะสมของการวางแผนการผลิตเครื่องประดับ<br />

B-06<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

Location and Transportation Management<br />

15:00-15:15 การวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกผู้ให้บริการขนส่งสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับเพื่อการ<br />

ส่งออกด้วยเทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก<br />

15:15-15:30 แบบจ าลองการจัดการปริมาณรถบรรทุกส าหรับความต้องการที่ไม่แน่นอน<br />

B-08<br />

15:30-15:45 การประยุกต์ใช้แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ส าหรับการเลือกท าเลที่ตั้งศูนย์กระจายอุปกรณ์<br />

B-09<br />

15:45-16:00<br />

การเลือกเส้นทางการขนส่งสินค้าประเภทเทกองโดยใช้โปรแกรมพลวัต กรณีศึกษา : บริษัท ซีทรานส์<br />

จ ากัด<br />

16:00-16:15 การประยุกต์โปรแกรมเชิงเส้นแบบจ านวนเต็มในการขนส่งแบบวนรอบ B11<br />

Session C : ห้อง Beta 1 ชั้น<br />

2<br />

Simulation<br />

13:15-13:30<br />

การก าหนดปริมาณเงินสดส ารองที่เหมาะสมให้เครื่องเบิกถอนเงินอัตโนมัติ:<br />

กรณีศึกษา ธนาคารแห่ง<br />

หนึ่งในประเทศไทย<br />

13:30-13:45 การปรับปรุงสายการผลิตคุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและก<br />

าลังการผลิต C-02<br />

13:45-14:00<br />

การประยุกต์ใช้เทคนิคการจ าลองสถานการณ์แบบมอนติคาร์โลเพื่อหานโยบายการสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา: อุตสาหกรรมหลอดไฟฟ้า<br />

14:00-14:15 การลดเวลารอคอยในระบบแถวคอยของกระบวนการขนถ่ายสินค้าจากรถบรรทุกสู่ท่าเรือ<br />

C-04<br />

14:15-14:30 แบบจ าลองสถานการณ์ของกระบวนการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์<br />

C-05<br />

14:30-14:45 การจัดสรรพื้นที่การจัดวางสินค้าภายในคลังสินค้าโดยใช้แบบจ<br />

าลองสถานการณ์ กรณีศึกษา<br />

อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

15:00-15:15 การจ าลองสถานการณ์เพื่อหาระดับวัสดุคงคลังที่เหมาะสม<br />

C-07<br />

B-02<br />

B-03<br />

B-04<br />

B-07<br />

B-10<br />

C-01<br />

C-03<br />

C-06<br />

xvi


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

15:15-15:30 การปรับปรุงผังโรงงานส าหรับการผลิตหลอดอลูมิเนียม C-08<br />

15:30-15:45 การหาค่าที่ดีที่สุดของการจัดสรรการใช้ทรัพยากรในโครงการก่อสร้างด้วยรูปแบบผสม<br />

กรณีศึกษา:<br />

โครงการบ้านจัดสรร<br />

15:45-16:00<br />

การวิเคราะห์หาจ านวนพนักงานที่เหมาะสมของกระบวนการทดสอบฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟโดยใช้แบบจ<br />

าลอง<br />

สถานการณ์<br />

16:00-16:15 ปัญหาการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ทางการบริหารงานก่อสร้างของวิศวกรโยธา C-11<br />

C-09<br />

C-10<br />

xvii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ก าหนดการน าเสนอบทความงานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

(National Operations Research Network Conference 2012)<br />

วันศุกร์ที่<br />

7 กันยายน 2555<br />

08:30-09:00 ลงทะเบียน และรับเอกสารประกอบการประชุม ณ ห้อง Infinity 1 ชั้น<br />

G<br />

09:00-10:00<br />

การบรรยายพิเศษ New Ideas in Optimization Heuristics<br />

โดย รศ.ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

10:00-10:20 การประกาศรางวัลผลงานดีเด่น<br />

10:20-10:30<br />

พิธีรับมอบการเป็นเจ้าภาพ งานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

10 ประจ าปี 2556<br />

โดย ผู้แทนจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

10:30-10:45 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

การน าเสนอผลงาน<br />

Session A : ห้อง Infinity 1A ชั้น<br />

G<br />

Industrial and Service Applications<br />

10:45-11:00<br />

INDIVIDUAL TECHNOLOGY AND IMPLEMENT CONTEXT EFFECTING TO ACCEPTANCE<br />

ELECTRONIC MEDICAL REC<strong>OR</strong>D IN HOSPITAL BY NURSE<br />

11:00-11:15 การประยุกต์การวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบแบบหลายรหัสด้วยวิธีแบบพลวัต<br />

กรณีศึกษา : โรงงานผลิตสีผงอุตสาหกรรม<br />

11:15-11:30 แบบจ าลองอุปสรรคส าหรับการหริหารโครงการทางเทคโนโลยี A-12<br />

11:30-11:45 การจ าลองสถานการณ์เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบท่อลมขนส่งในโรงพยาบาล<br />

A-13<br />

11:45-12:00 การปรับปรุงการจัดเก็บโครงประกอบเครื่องเชื่อมไฟฟ้าในโรงงานตัวอย่าง<br />

A-14<br />

12:00-13:15 พักรับประทานทานอาหารกลางวัน ณ ห้อง Cuisine Unplugged ชั้น<br />

G<br />

Applied Statistics<br />

13:15-13:30 อิทธิพลของอัตราส่วนการบวมตัวอิสระต่อคุณสมบัติพื้นฐานและก<br />

าลังของดินเหนียวผสมซีเมนต์ A-15<br />

13:30-13:45 การควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการทดลอง<br />

A-16<br />

13:45-14:00 การศึกษาหาปัจจัยในการกัดชิ้นงานด้วยมีดกัดที่ผ่านกระบวนการลับที่มีผลต่ออายุการใช้งานของคมตัด<br />

A-17<br />

14:00-14:15 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางการตลาดของอุตสาหกรรมการบิน<br />

: ศึกษากรณี บมจ.การบินไทย A-18<br />

14:15-14:30 การหาอิทธิพลของตัวแปรที่เหมาะสมในการกัดปาดผิวหน้าเหล็กแม่พิมพ์<br />

เกรด S45C ด้วยมีดคาร์ไบด์ A-19<br />

14:30-14:45 การออกแบบการทดลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการคัดแยกข้าว<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

15:00-15:15 การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการกลึงไม้ยางพาราด้วยใบมีดคาร์ไบด์โดยใช้การออกแบบการทดลอง<br />

A-21<br />

15:15-15:30 การหาจุดเหมาะสมโดยใช้การออกแบบการทดลอง CCD ในกระบวนการออกหน้ายาง A-22<br />

xviii<br />

A-10<br />

A-11<br />

A-20


Session B : ห้อง Infinity 1B ชั้น<br />

G<br />

Metaheuristics<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

10:45-11:00 Adaptive Genetic Algorithm for Designing Non-identical Rectangular Machine Layout B-12<br />

11:00-11:15<br />

วิธีการเชิงพันธุกรรมแบบผสมผสานส าหรับปัญหาการจัดตารางการท างานแบบหลายจุดประสงค์ ภายใต้<br />

เงื่อนไขบุคลากรและภาระงานที่ซับซ้อน<br />

11:15-11:30<br />

การประยุกต์อัลกอริธึมเชิงพันธุกรรมส าหรับแบบจ าลองการจัดตารางการผลิตแบบตามสั่งในโรงงานตู้ปา<br />

เป้าอิเล็คทรอนิกส์<br />

11:30-11:45 การปรับปรุงแผนผังคลังสินค้าโดยใช้ฝูงอนุภาคหาค่าที่เหมาะสม:<br />

กรณีศึกษา คลังเก็บอะไหล่<br />

รถจักรยานยนต์<br />

12:00-13:15 พักรับประทานทานอาหารกลางวัน ณ ห้อง Cuisine Unplugged ชั้น<br />

G<br />

Inventory Management<br />

13:15-13:30 การหาตัวแบบการจัดการสินค้าคงคลังที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษาร้านขายปุ๋ย<br />

B-16<br />

13:30-13:45 ตัวแบบจ าลองสถานการณ์ระบบสินค้าคงคลังในห่วงโซ่อุปทาน และประเมินกลยุทธ์เพื่อรองรับอุบัติภัย<br />

B-17<br />

13:45-14:00 การวิเคราะห์การสั่งซื้อที่เหมาะสมเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

กรณีศึกษา: ห้างหุ้นส่วน<br />

จ ากัด สารคามพัฒนาการก่อสร้าง<br />

14:00-14:15<br />

ศึกษาตัวแบบตรรกศาสตร์คลุมเครือในการพยากรณ์จ านวนยาที่ควรสั่งซื้อ<br />

ส าหรับการจัดการสินค้าคง<br />

คลังในโรงพยาบาลแบบ Vendor Managed Inventory (VMI) กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี<br />

14:15-14:30 การปรับปรุงระบบควบคุมพัสดุคงคลังในโรงพยาบาล B-20<br />

Session C : ห้อง Kappa ชั้น<br />

6<br />

Decision Support System<br />

10:45-11:00<br />

11:00-11:15<br />

11:15-11:30<br />

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจัดตารางการผลิตหลักและการวางแผนความต้องการวัสดุคงคลัง<br />

กรณีศึกษา: โรงงานผลิตปลาหมึกปรุงรส<br />

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจับคู่รถบรรทุกวิ่งเที่ยวเปล่ากับงานขนส่ง:<br />

กรณีศึกษาเว็บไซต์ dxplace.com<br />

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจคัดเลือกพนักงานแนะน าสินค้า โดยใช้วิธีกระบวนการวิเคราะห์แบบ<br />

โครงข่าย: กรณีศึกษา บริษัท เอเชียบุ๊คส์<br />

จ ากัด<br />

11:30-11:45 การมอบหมายงานรถเทรลเลอร์ส่งรถยนต์สินค้าแบบมีกรอบเวลาอย่างเหมาะสมและระบบสนับสนุนการ<br />

ตัดสินใจ<br />

B-13<br />

B-14<br />

B-15<br />

B-18<br />

B-19<br />

C-12<br />

C-13<br />

C-14<br />

C-15<br />

xix


เวลา<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ก าหนดการน าเสนอบทความงานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

(National Operations Research Network Conference 2012)<br />

วันพฤหัสบดีที่<br />

6 กันยายน 2555<br />

Session A Session B Session C<br />

ห้อง Infinity 1A ชั้น<br />

G ห้อง Infinity 1B ชั้น<br />

G ห้อง Beta 1 ชั้น<br />

2<br />

08:30-09:00 ลงทะเบียน ห้อง Infinity 1<br />

09:00-09:20 พิธีเปิด ห้อง Infinity 1<br />

09:20-10:45 การบรรยายพิเศษ Large-scale Optimization in Action ห้อง Infinity 1<br />

10:45-11:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

11:00-12:00 การบรรยายพิเศษ New Frontiers in Operation Research ห้อง Infinity 1<br />

12:00-13:15 พักรับประทานทานอาหารกลางวัน<br />

13:15-13:30 Decision and Risk A-01 Production and Workforce Planning B-01 Simulation C-01<br />

13:30-13:45 Decision and Risk A-02 Production and Workforce Planning B-02 Simulation C-02<br />

13:45-14:00 Decision and Risk A-03 Production and Workforce Planning B-03 Simulation C-03<br />

14:00-14:15 Decision and Risk A-04 Production and Workforce Planning B-04 Simulation C-04<br />

14:15-14:30 Decision and Risk A-05 Production and Workforce Planning B-05 Simulation C-05<br />

14:30-14:45 Decision and Risk A-06 Production and Workforce Planning B-06 Simulation C-06<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

15:00-15:15 Heuristics and Applications A-07 Location and Transportation Management B-07 Simulation C-07<br />

15:15-15:30 Heuristics and Applications A-08 Location and Transportation Management B-08 Simulation C-08<br />

15:30-15:45 Heuristics and Applications A-09 Location and Transportation Management B-09 Simulation C-09<br />

15:45-16:00<br />

16:00-16:15<br />

Location and Transportation Management B-10 Simulation C-10<br />

Location and Transportation Management B-11<br />

xx


เวลา<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ก าหนดการน าเสนอบทความงานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

(National Operations Research Network Conference 2012)<br />

วันศุกร์ที่<br />

7 กันยายน 2555<br />

Session A Session B Session C<br />

ห้อง Infinity 1A ชั้น<br />

G ห้อง Infinity 1B ชั้น<br />

G ห้อง Kappa ชั้น<br />

6<br />

08:30-09:00 ลงทะเบียน ห้อง Infinity 1<br />

09:00-10:00 การบรรยายพิเศษ New Ideas in Optimization Heuristics ห้อง Infinity 1<br />

10:00-10:20 การประกาศรางวัลผลงานดีเด่น ห้อง Infinity 1<br />

10:20-10:30 พิธีรับมอบการเป็นเจ้าภาพ งานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

10 ประจ าปี 2556 ห้อง Infinity 1<br />

10:30-10:45 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

10:45-11:00 Industrial and Service Applications A-10 Metaheuristics B-12 Decision Support System C-11<br />

11:00-11:15 Industrial and Service Applications A-11 Metaheuristics B-13 Decision Support System C-12<br />

11:15-11:30 Industrial and Service Applications A-12 Metaheuristics B-14 Decision Support System C-13<br />

11:30-11:45 Industrial and Service Applications A-13 Metaheuristics B-15 Decision Support System C-14<br />

11:45-12:00 Industrial and Service Applications A-14<br />

12:00-13:15 พักรับประทานทานอาหารกลางวัน<br />

13:15-13:30 Applied Statistics A-15 Inventory Management B-16<br />

13:30-13:45 Applied Statistics A-16 Inventory Management B-17<br />

13:45-14:00 Applied Statistics A-17 Inventory Management B-18<br />

14:00-14:15 Applied Statistics A-18 Inventory Management B-19<br />

14:15-14:30 Applied Statistics A-19 Inventory Management B-20<br />

14:30-14:45 Applied Statistics A-20<br />

14:45-15:00 พักรับประทานอาหารว่าง<br />

15:00-15:15 Applied Statistics A-21<br />

15:15-15:30 Applied Statistics A-22<br />

xxi


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

สารบัญ<br />

ค าน า i<br />

สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ii<br />

สารจากหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี iii<br />

สารจากประธานคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555 iv<br />

หัวข้อการประชุม v<br />

คณะกรรมการด าเนินการจัดการประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555 vi<br />

คณะกรรมการเครือข่ายการวิจัยด าเนินงาน ix<br />

วิทยากรรับเชิญ<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

ดร.ชวลิต จีนอนันต์ xi<br />

ศาสตราจารย์ ดร.วรทัศร์ ขจิตวิชยานุกูล xii<br />

รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล xiii<br />

ก าหนดการงานประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555 xiv<br />

ก าหนดการน าเสนอบทความ xv<br />

บทคัดย่อ<br />

A-01 การประยุกต์ใช้การบ ารุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือส<br />

าหรับเครื่องจักรด้านสิ่งทอ<br />

1<br />

A-03 การพัฒนาต้นแบบที่เหมาะสมส<br />

าหรับกองทุนหลักประกันสุขภาพต้นแบบจังหวัดขอนแก่น 2<br />

A-04 แบบจ าลองที่เหมาะสมและประสิทธิภาพในการประมาณอัตราถัวความเสี่ยงที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา ตลาดอนุพันธ์แห่งประเทศไทย 3<br />

A-05 การประมาณค่าและประสิทธิผลของอัตราป้องกันความเสี่ยงที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย 4<br />

A-06 ปัจจัยที่กระทบต่อผลตอบแทนที่คาดหวัง<br />

และการไหลของข้อมูลข่าวสารในตลาดล่วงหน้า 5<br />

A-07 ตัวแบบก าหนดการจ านวนเต็ม และโปรแกรมส าเร็จรูปเพื่อแก้ปัญหาการจัดตารางสอบ<br />

6<br />

A-08 จุดก าเนิดใหม่ส าหรับการเริ่มขั้นตอนวิธีซิมเพล็กซ์<br />

7<br />

A-09 ปัญหาการจัดงานเชิงเส้นแบบสองขั้น<br />

8<br />

A-10 Individual Technology and Implement Context Effecting to Acceptance Electronic<br />

Medical Record in Hospital By Nurse 9<br />

A-11 การประยุกต์การวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบแบบหลายรหัสด้วยวิธีแบบพลวัต<br />

กรณีศึกษา โรงงานผลิตสีผงอุตสาหกรรม 10<br />

A-12 แบบจ าลองอุปสรรคส าหรับการหริหารโครงการทางเทคโนโลยี 11<br />

A-13 การจ าลองสถานการณ์เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบท่อลมขนส่งในโรงพยาบาล<br />

13<br />

xxii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

สารบัญ<br />

A-14 การปรับปรุงการจัดเก็บโครงประกอบเครื่องเชื่อมไฟฟ้าในโรงงานตัวอย่าง<br />

14<br />

A-15 อิทธิพลของอัตราส่วนการบวมตัวอิสระต่อคุณสมบัติพื้นฐานและก<br />

าลังของดินเหนียวผสมซีเมนต์ 15<br />

A-16 การควบคุมคุณภาพการหล่อเครื่องประดับทองด้วยวิธีการออกแบบการทดลอง<br />

16<br />

A-17 การศึกษาหาปัจจัยในการกัดชิ้นงานด้วยมีดกัดที่ผ่านกระบวนการลับที่มีผลต่ออายุการใช้งานของคมตัด<br />

17<br />

A-18 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางการตลาดของอุตสาหกรรมการบิน:<br />

ศึกษากรณี บมจ.การบินไทย 18<br />

A-19 การหาอิทธิพลของตัวแปรที่เหมาะสมในการกัดปาดผิวหน้าเหล็กแม่พิมพ์<br />

เกรด S45C ด้วยมีดคาร์ไบด์ 19<br />

A-20 การออกแบบการทดลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการคัดแยกข้าว<br />

20<br />

A-21 การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการกลึงไม้ยางพาราด้วยใบมีดคาร์ไบด์<br />

โดยใช้การออกแบบการทดลอง 21<br />

A-22 การหาจุดเหมาะสมโดยใช้การออกแบบการทดลอง CCD ในกระบวนการออกหน้ายาง 22<br />

B-01 การจ าลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดงานเข้าแผนกประกอบผลิตภัณฑ์<br />

23<br />

B-02 เทคนิคคอลัมน์เจเนอเรชันส าหรับปัญหาการมอบหมายงานให้กับพนักงานที่มีการปรับดุลภาระงานและรายได้<br />

24<br />

B-03 โลจิสติกส์ส าหรับการวางแผนการเพาะปลูกสับปะรดพันธุ์ควีน<br />

โดยประยุกต์ใช้ก าหนดการเชิงเส้นผสมจ านวนเต็ม 25<br />

B-04 การวางแผนการผลิตกระบอกไฮดรอลิค กรณีศึกษา บริษัท สามมิตรมอเตอร์สแมนูแฟคเจอริ่ง<br />

จ ากัด (มหาชน) 26<br />

B-05 การจัดตารางการผลิตแบบตามสั่ง<br />

ส าหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ<br />

27<br />

B-06 การวิเคราะห์จุดเหมาะสมของการวางแผนการผลิตเครื่องประดับ<br />

28<br />

B-07 การวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกผู้ให้บริการขนส่งสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับเพื่อการส่งออก<br />

ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก 29<br />

B-08 แบบจ าลองการจัดการปริมาณรถบรรทุกส าหรับความต้องการที่ไม่แน่นอน<br />

30<br />

B-09 การประยุกต์ใช้แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ส าหรับการเลือกท าเลที่ตั้งศูนย์กระจายอุปกรณ์<br />

31<br />

B-10 การเลือกเส้นทางการขนส่งสินค้าประเภทเทกองโดยใช้โปรแกรมพลวัต กรณีศึกษา บริษัท ซีทรานส์ จ ากัด 32<br />

B-11 การประยุกต์โปรแกรมเชิงเส้นแบบจ านวนเต็มในการขนส่งแบบวนรอบ 33<br />

B-12 Adaptive Genetic Algorithm for Designing Non-identical Rectangular Machine Layout 34<br />

B-13 วิธีการเชิงพันธุกรรมแบบผสมผสานส าหรับปัญหาการจัดตารางการท างานแบบหลายจุดประสงค์<br />

ภายใต้เงื่อนไขบุคลากรและภาระงานที่ซับซ้อน<br />

35<br />

B-14 การประยุกต์อัลกอริธึมเชิงพันธุกรรมส าหรับแบบจ าลองการจัดตารางการผลิตแบบตามสั่ง<br />

ในโรงงานตู้ปาเป้าอิเล็คทรอนิกส์<br />

36<br />

B-15 การปรับปรุงแผนผังคลังสินค้าโดยใช้ฝูงอนุภาคหาค่าที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา คลังเก็บอะไหล่รถจักรยานยนต์ 37<br />

B-16 การหาตัวแบบการจัดการสินค้าคงคลังที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา ร้านขายปุ๋ย<br />

38<br />

B-17 ตัวแบบจ าลองสถานการณ์ระบบสินค้าคงคลังในห่วงโซ่อุปทาน และประเมินกลยุทธ์เพื่อรองรับอุบัติภัย<br />

39<br />

B-18 การวิเคราะห์การสั่งซื้อที่เหมาะสมเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

กรณีศึกษา: ห้างหุ้นส่วนจ<br />

ากัด สารคามพัฒนาการก่อสร้าง 40<br />

xxiii


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงานแห่งชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

สารบัญ<br />

B-19 ศึกษาตัวแบบตรรกศาสตร์คลุมเครือในการพยากรณ์จ านวนยาที่ควรสั่งซื้อ<br />

ส าหรับการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

ในโรงพยาบาลแบบ Vendor Managed Inventory (VMI) กรณีศึกษา โรงพยาบาลรามาธิบดี 41<br />

B-20 การปรับปรุงระบบควบคุมพัสดุคงคลังในโรงพยาบาล 42<br />

C-01 การก าหนดปริมาณเงินสดส ารองที่เหมาะสมให้เครื่องเบิกถอนเงินอัตโนมัติ:<br />

กรณีศึกษา ธนาคารแห่งหนึ่งในประเทศไทย<br />

43<br />

C-02 การปรับปรุงสายการผลิตคุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและก<br />

าลังการผลิต 44<br />

C-03 การประยุกต์ใช้เทคนิคการจ าลองสถานการณ์แบบมอนติคาร์โลเพื่อหานโยบาย<br />

การสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา อุตสาหกรรมหลอดไฟฟ้า 45<br />

C-04 การลดเวลารอคอยในระบบแถวคอยของกระบวนการขนถ่ายสินค้าจากรถบรรทุกสู่ท่าเรือ<br />

46<br />

C-05 แบบจ าลองสถานการณ์ของกระบวนการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์ของผู้ให้บริการโลจิสติกส์<br />

47<br />

C-06 การจัดสรรพื้นที่การจัดวางสินค้าภายในคลังสินค้าโดยใช้แบบจ<br />

าลองสถานการณ์<br />

กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง 49<br />

C-07 การจ าลองสถานการณ์เพื่อหาระดับวัสดุคงคลังที่เหมาะสม<br />

50<br />

C-08 การปรับปรุงผังโรงงานส าหรับการผลิตหลอดอลูมิเนียม 51<br />

C-09 การหาค่าที่ดีที่สุดของการจัดสรรการใช้ทรัพยากรในโครงการก่อสร้างด้วยรูปแบบผสม<br />

กรณีศึกษา โครงการบ้านจัดสรร 52<br />

C-10 การวิเคราะห์หาจ านวนพนักงานที่เหมาะสมของกระบวนการทดสอบฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ<br />

โดยใช้แบบจ าลองสถานการณ์ 53<br />

C-11 ปัญหาการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ทางการบริหารงานก่อสร้างของวิศวกรโยธา 54<br />

C-12 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจัดตารางการผลิตหลักและการวางแผนความต้องการวัสดุคงคลัง<br />

กรณีศึกษา โรงงานผลิตปลาหมึกปรุงรส 55<br />

C-13 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจับคู่รถบรรทุกวิ่งเที่ยวเปล่ากับงานขนส่ง<br />

กรณีศึกษา เว็บไซต์ dxplace.com 56<br />

C-14 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจคัดเลือกพนักงานแนะน าสินค้า โดยใช้วิธีกระบวนการวิเคราะห์แบบโครงข่าย<br />

กรณีศึกษา บริษัท เอเชียบุ๊คส์<br />

จ ากัด 57<br />

C-15 การมอบหมายงานรถเทรลเลอร์ส่งรถยนต์สินค้าแบบมีกรอบเวลาอย่างเหมาะสม<br />

และระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 58<br />

xxiv


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การประยุกต์ใช๎การบ ารุงรักษาบนพื้นฐานของความนําเชื่อถือส<br />

าหรับเครื่องจักรด๎านสิ่งทอ<br />

Application <strong>of</strong> Reliability Centered Maintenance for Textile Machinery<br />

ทวิช ค าสัตย์ 1* ประจวบ กลํอมจิตร 2<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

E-mail: 1 plapiwit@hotmail.com * , 2 prachuab@su.ac.th<br />

งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้หลักของการบ<br />

ารุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือในอุตสาหกรรมสิ่งทอ<br />

โดยวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้จะ<br />

แสดงให้เห็นว่า แนวทางตามหลักการบ ารุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือ<br />

สามารถประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงความน่าเชื่อถือของเครื่องจักรใน<br />

อุตสาหกรรมสิ่งทอ<br />

ขั้นตอนตามหลักการบ<br />

ารุงรักษานี้เริ่มจาก<br />

การเลือกเครื่องจักรที่มีความส<br />

าคัญซึ่งกระทบต่อกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมสิ่งทอ<br />

กรณีศึกษา ระบุระบบการท างานย่อยและหน้าที่การใช้งาน<br />

ระบุความล้มเหลวและจัดล าดับความส าคัญของชิ้นส่วนอุปกรณ์<br />

วิเคราะห์คุณลักษณะควา ม<br />

เสียหาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกิดขึ้น<br />

จากนั้นเลือกเทคนิคการบ<br />

ารุงรักษาที่เหมาะสมกับชิ้นส่วนอุปกรณ์ด้วย<br />

RCM Logic tree สร้างแผนการบ ารุงรักษา<br />

และน าไปใช้งาน จากผลการด าเนินการวิจัยในครั้งนี้<br />

เครื่อง<br />

Stenter ถูกเลือกมาใช้เป็นเครื่องจักรกรณีศึกษา<br />

และภายหลังการประยุกต์ใช้แผนการ<br />

บ ารุงรักษาพบว่า อัตราความเสียหายของเครื่องจักรโดยเฉลี่ยลดลงจาก<br />

9.22% เหลือ 2.11% อัตราความพร้อมในการใช้งานโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น<br />

5.77% คิด<br />

เป็น 81.64% และอายุเฉลี่ยที่เครื่องจักรเดินได้<br />

(MTTF) เฉลี่ยเพิ่มขึ้น<br />

จาก 6,284.50 นาที/เครื่อง<br />

เป็น 10,031.10 นาที/เครื่อง<br />

ซึ่งผลการด<br />

าเนินงานวิจัย<br />

แสดงให้เห็นว่าหลักการบ ารุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือสามารถปรับปรุงความน่าเชื่อถือของเครื่องจักรในอุตสาหกรรมอื่นๆ<br />

ได้ รวมทั้ง<br />

อุตสาหกรรมสิ่งทอ<br />

ค าส าคัญ : การบ ารุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือ,<br />

การวิเคราะห์คุณลักษณะความเสียหายและผลกระทบ, เครื่องจักรทางด้านสิ่งทอ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research was focused on <strong>the</strong> application <strong>of</strong> Reliability Centered Maintenance (RCM) in textile industry. The objective<br />

<strong>of</strong> this study was to show that <strong>the</strong> RCM approach enabled to apply for improving machine reliability in textile factory. The RCM<br />

approach is a structured process that improves and optimizes maintenance activities programmed. The RCM approach is initiated<br />

from selecting machine criticality that impact textile process significantly, defining sub-systems or functions and functional failures,<br />

categorizing critical components in each sub-system, analyzing failure modes and causes, identifying effects and consequence,<br />

evaluating components with RCM Logic tree, selecting proper preventive maintenance tasks. Finally, implement <strong>the</strong> preventive<br />

maintenance plan. The Stenter machines in a case textile factory were selected as critical machine as a pilot study. After applying<br />

<strong>the</strong> preventive maintenance plan <strong>the</strong> result shown that Failure Rate was reduced from 9.22% to 2.11%, Availability Rate was<br />

increased 5.77% to be 81.64% and Mean Time To Failure (MTTF) was increased from 6,284.50 min. to 10,031.10 min.. This paper<br />

also illustrated that RCM approach can be successfully improved machine reliability in o<strong>the</strong>r industry, even in textile industry.<br />

Keywords : Reliability Centered Maintenance, Failure Mode and Effect Analysis, Textile Machinery<br />

A-01<br />

1


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การพัฒนาต๎นแบบที่เหมาะสมส<br />

าหรับกองทุนหลักประกันสุขภาพต๎นแบบจังหวัดขอนแกํน<br />

Development <strong>of</strong> An Appropriate Model for Health Insurance Funds in Khon Kaen Province<br />

บทคัดยํอ<br />

สมภาร ดอนจันดา 1*<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 680 ถนนนิตโย ต าบลธาตุเชิงชุม อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000<br />

E-mail : 1 Sompan_donchanda@Hotmail.com *<br />

และ คณิศร ภูนิคม 2<br />

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต าบลเมืองศรีไค อ าเภอวารินช าราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190<br />

E-mail : 2 dr.kanitsorn@gmail.com<br />

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ<br />

(Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส<br />

ารวจแนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพการพัฒนาของกองทุน<br />

หลักประกันสุขภาพต้นแบบวิธีการด าเนินการวิจัยเริ่มจาก<br />

ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาต้นแบบของกองทุนหลักประกันสุขภาพ<br />

ศึกษาปัญหา<br />

อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการด าเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพต้นแบบจังหวัดขอนแก่น หลังจากนั้นผู้วิจัยน<br />

าแบบสอบถาม (Questionnaire)<br />

ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้<br />

ไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย<br />

2 กลุ่ม<br />

คือคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ<br />

ต้นแบบจ านวน 3 แห่ง เลือกใช้วิธีการส ามะโน (Census) จ านวน 52 คน และกลุ่มครัวเรือน<br />

โดยตัวแทนครัวเรือนที่มีอายุ<br />

20 ปีขึ้นไป<br />

ในเขตพื้นที่ดูแล<br />

รับผิดชอบของกองทุนหลักประกันสุขภาพ โดยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ<br />

(Accidental Sampling) จ านวน 358 คน รวมทั้งสิ้น<br />

410 คน ผู้วิจัยน<br />

าแบบสอบถาม<br />

ไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป โดยประยุกต์ใช้โปรแกรม SPSS ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพของหลักประกันสุขภาพต้นแบบจังหวัด<br />

ขอนแก่น ได้แก่ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส กิจกรรมการมีส่วนร่วมด้านนโยบาย ด้านการพัฒนาคุณภาพบริการ ด้านการจัดบริการและด้านการ<br />

ตรวจสอบคุณภาพบริการ บทบาทภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านผู้น<br />

าชุมชน ด้านนโยบายและการวางแผน ด้านการบริหารจัดการ ด้านการ<br />

ประสานงานและด้านงบประมาณ ส่วนตัวแปรที่ไม่มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพต้นแบบ<br />

ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพหรือ<br />

ต าแหน่งในชุมชน และบทบาทภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการติดตามและประเมินผล<br />

อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

.05<br />

ค าส าคัญ : กองทุนหลักประกันสุขภาพต้นแบบ, ศักยภาพการพัฒนา, การมีส่วนร่วมของชุมชน<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This quantitative research aimed to study <strong>the</strong> potential <strong>of</strong> development <strong>of</strong> health insurance fund model. The<br />

methodology <strong>of</strong> this research was to study <strong>the</strong> <strong>the</strong>ories related to <strong>the</strong> development <strong>of</strong> a model for health insurance fund,<br />

problems and suggestions for <strong>the</strong> operation <strong>of</strong> health insurance fund model at Khon Kaen province. Thereafter, <strong>the</strong> instrument<br />

was a questionnaire. The sample groups consisted <strong>of</strong>: 1) 52 committee members obtained by a census from three boards from<br />

<strong>the</strong> <strong>of</strong>fices <strong>of</strong> health insurance fund model, 2) 358 household representatives who living in <strong>the</strong>ir service areas selected by<br />

accidental sampling, overall 410 informants. The statistics employed to analyze data along with <strong>the</strong> SPSS program. The results<br />

showed that <strong>the</strong> factors that affected with <strong>the</strong> development <strong>of</strong> a model for health insurance fund model at Khon Kaen province<br />

were level <strong>of</strong> education, marital status, policy participation activities, service quality improvement, service provision and service<br />

quality investigation, administrative activities, cooperation and budget. The factors that did not have any effects on <strong>the</strong><br />

enhancement <strong>of</strong> <strong>the</strong> competence <strong>of</strong> <strong>the</strong> health insurance fund model were sex, age, social status or position in <strong>the</strong> community,<br />

and <strong>the</strong> role <strong>of</strong> <strong>the</strong> public sector and local governance institutions in monitoring <strong>the</strong> service and assessment with <strong>the</strong><br />

appropriately high average scores at <strong>the</strong> .05 level <strong>of</strong> significance.<br />

Keywords : The health insurance fund, Development potential, The participation <strong>of</strong> <strong>the</strong> community<br />

A-03<br />

2


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

แบบจ าลองที่เหมาะสมและประสิทธิภาพในการประมาณอัตราถัวความเสี่ยงที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา ตลาดอนุพันธ์แหํงประเทศไทย<br />

Optimal Model and Hedging Effectiveness for Estimating Optimal Hedge Ratio<br />

In Thailand Futures Exchange<br />

สุวรรณา พนาพิทักษ์กุล 1* ธนโชติ บุญวรโชติ 2<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 nanaza_31@hotmail.com * , 2 tanachote.b@ku.ac.th<br />

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อประมาณค่าอัตราถัวความเสี่ยง<br />

(Hedge ratio) ผ่านแบบจ าลองเศรษฐมิติ ซึ่งสามารถแบ่งได้<br />

2 กลุ่ม<br />

คือ แบบจ าลอง<br />

ที่ให้อัตราถัวความเสี่ยงแบบคงที่<br />

(Constant hedge ratio) ได้แก่ OLS, VAR, VECM และ แบบจ าลองที่ให้อัตราถัวความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงแบบพลวัต<br />

(Dynamic hedge ratio) คือ GARCH และทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกันความเสี่ยง<br />

(Hedging effectiveness) ส าหรับช่วง in-sample และ out<strong>of</strong>-sample<br />

ในรูปของการลดลงของความผันผวนของพอร์ตที่มีการป้องกันความเสี่ยงเทียบกับกรณีพอร์ตที่ไม่มีการป้องกันความเสี่ยง<br />

โดยศึกษาในดัชนี<br />

ราคาหลักทรัพย์ล่วงหน้า (SET50 Index Futures) ในตลาดอนุพันธ์แห่งประเทศไทย (TFEX) เพื่อหาแบบจ<br />

าลองที่เหมาะสม<br />

ผลการวิจัยพบว่าฟิวเจอร์ส<br />

สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยงได้จริง<br />

โดยในช่วง in-sample พอร์ตที่ใช้แบบจ<br />

าลอง GARCH มีประสิทธิภาพสามารถลดความผันผวนของ<br />

พอร์ตได้มากที่สุด<br />

88.67% รองลงมาคือ แบบจ าลอง VAR และ VECM ที่สามารถลดความผันผวนของพอร์ตได้ใกล้เคียงกัน<br />

คือประมาณ 73% และสุดท้าย<br />

แบบจ าลอง OLS สามารถลดความผันผวนของพอร์ตได้เพียง 53.10% ส่วนในกรณี Out-<strong>of</strong>-sample พอร์ตที่ใช้แบบจ<br />

าลอง VECM สามารถลดความผัน<br />

ผวนของพอร์ตได้มากที่สุด<br />

93.24% รองลงมาคือแบบจ าลอง VAR และ OLS สามารถลดความผันผวนของพอร์ตได้ 88.94% และ 86.71% ตามล าดับ<br />

ในขณะที่แบบจ<br />

าลอง GARCH กลับมีประสิทธิภาพต่าที่สุดสามารถลดความผันผวนของพอร์ตได้<br />

84.45%<br />

ค าส าคัญ : ฟิวเจอร์ส, แบบจ าลองทางเศรษฐมิติ, อัตราถัวความเสี่ยง,<br />

ประสิทธิภาพในการป้องกันความเสี่ยง,<br />

ดัชนีราคาหลักทรัพย์ล่วงหน้า<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research estimates hedge ratios by using four econometric models: (1) constant hedge ratios (OLS, VAR and VECM)<br />

and (2) dynamic hedge ratios (GARCH). These hedge ratios are tested for hedging effectiveness in amount <strong>of</strong> average variance<br />

reduction between hedged and unhedged positions for SET50 index futures in Thailand Futures Exchange (TFEX). Hedging<br />

effectiveness is also compared between in-sample and out-<strong>of</strong>-sample periods. This study reports that investor can use SET50<br />

future contract to protect price risk by observing decrease in portfolio variance. Comparing hedging effectiveness among in-sample<br />

tests, portfolios using GARCH model can reduce <strong>the</strong>re variance <strong>of</strong> portfolio about 88.67%, while VAR and VECM models can do<br />

about 73%. The OLS model can reduce variance <strong>of</strong> portfolio at only 53.10%. In case <strong>of</strong> out-<strong>of</strong>-sample tests, portfolios using VECM<br />

model can reduce variance <strong>of</strong> portfolio about 93.24%, 88.94% by VAR model and 86.71% by OLS model, respectively. Surprisingly,<br />

GARCH model can reduce variance <strong>of</strong> portfolio at least level about only 84.45%.<br />

Keywords : Futures, Econometric Models, Hedge Ratio, Hedging Effectiveness, SET50 Index Futures<br />

A-04<br />

3


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การประมาณคําและประสิทธิผลของอัตราป้องกันความเสี่ยงที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา ตลาดสินค๎าเกษตรลํวงหน๎าแหํงประเทศไทย<br />

Optimal Hedge Ratio Estimations and Hedging Effectiveness<br />

Case Study in Thailand’s Commodity Futures Exchange<br />

วาทินี โชตินุชิตตระกูล 1* ธนโชติ บุญวรโชติ 2<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 tarn.vatinee@gmail.com*, 2 tanachote.b@ku.ac.th<br />

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อประมาณค่า<br />

Hedge ratio ผ่านแบบจ าลองเศรษฐมิติ ได้แก่ OLS, VAR, VECM และ Bi-GARCH รวมไปถึงทดสอบ<br />

ประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง<br />

(Hedging effectiveness) ส าหรับช่วง in-sample และ out-<strong>of</strong>-sample ในรูปแบบของความสามารถในการลด<br />

ความแปรปรวนของพอร์ตที่มากที่สุด<br />

เพื่อหาแบบจ<br />

าลองที่เหมาะสมส<br />

าหรับกรณีศึกษาสัญญายางแผ่นรมควันชั้น<br />

3 ในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่ง<br />

ประเทศไทย (AFET) ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าฟิวเจอร์ส<br />

สามารถใช้ป้องกันความเสี่ยงได้จริง<br />

และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างแบบจ<br />

าลองที่ให้ค่า<br />

Hedge ratio คงที่<br />

แบบจ าลอง VECM จะมีประสิทธิผลสามารถลดความแปรปรวนของพอร์ตได้มากกว่าแบบจ าลอง VAR และแบบจ าลอง OLS ตามล าดับ<br />

ทั้งในกรณี<br />

in-sample และ out-<strong>of</strong>-sample ขณะที่แบบจ<br />

าลอง Bi-GARCH ที่ให้ค่าอัตราป้องกันความเสี่ยงเปลี่ยนแปลงไปตามเวลากลับมีประสิทธิผลน้อย<br />

ที่สุดในส่วนใหญ่<br />

ค าส าคัญ : ตราสารอนุพันธ์, สัญญาซื้อขายล่วงหน้า,<br />

แบบจ าลองทางเศรษฐมิติ, อัตราป้องกันความเสี่ยง,<br />

ประสิทธิผลในการป้องกันความเสี่ยง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

In order to find <strong>the</strong> appropriate hedging ratios for ribbed smoked rubber sheet no.3 (RSS3) futures contract in <strong>the</strong><br />

Agricultural Futures Exchange <strong>of</strong> Thailand (AFET), this study estimates hedge ratios through four econometric models including<br />

OLS, VAR, VECM, and Bi-GARCH models. Hedging effectiveness is measured in terms <strong>of</strong> in-sample and out-<strong>of</strong>-sample tests and<br />

determined by maximum variance reduction <strong>of</strong> portfolio frameworks. The results show that RSS3 futures contracts are effective to<br />

be used as a hedging instrument. Comparing hedging effectiveness among constant hedge ratio models, <strong>the</strong> VECM model<br />

performs best over <strong>the</strong> OLS and VAR models in both in-sample as well as out-<strong>of</strong>-sample periods. While <strong>the</strong> Bi-GARCH model<br />

estimating time varying hedge ratio performs worst in most cases.<br />

Keywords : derivative, futures contract, econometric models, hedge ratio, hedging effectiveness<br />

A-05<br />

4


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ปัจจัยที่กระทบตํอผลตอบแทนที่คาดหวัง<br />

และการไหลของข๎อมูลขําวสารในตลาดลํวงหน๎า<br />

Determinants on Expected Return and Information Flow in Commodity Futures Exchanges<br />

บทคัดยํอ<br />

ธยานี ฮวบบางยาง 1* ธนโชติ บุญวรโชติ 2<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 int_bung@hotmail.com * , 2 tanachote.b@ku.ac.th<br />

งานวิจัยนี้ได้ใช้แบบจ<br />

าลอง Vector Autoregressive (VAR) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสี่ตัวแปร<br />

ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลง<br />

ราคา หรืออัตราผลตอบแทน (Return) ความผันผวนของราคาล่วงหน้า (Volatility) ปริมาณการซื้อขาย<br />

(Volume) และปริมาณสัญญาคงค้าง (Open<br />

interest) ของนักลงทุนในตลาดล่วงหน้าของประเทศไทยเพื่อใช้วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลตอบแทนของสัญญาล่วงหน้า<br />

จากผลการทดสอบพบว่าปัจจัยที่<br />

มีอิทธิพลต่อผลตอบแทนของสัญญาล่วงหน้าที่ระดับนัยส<br />

าคัญ 0.01 ของทั้งสัญญาล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น<br />

3 และดัชนี SET50 คือ การเปลี่ยนแปลง<br />

ราคาเอง และความผันผวนของราคา อย่างไรก็ดีทั้งสัญญาล่วงหน้าดัชนี<br />

SET50 และสัญญาล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น<br />

3 พบว่าปริมาณสัญญาคงค้างมี<br />

อิทธิพลต่ออัตราผลตอบแทนด้วยแม้จะมีความสัมพันธ์ไม่สูงเท่าตัวแปรอื่นๆ<br />

ซึ่งจากการวิเคราะห์ผลด้วยการแยกส่วนความแปรปรวน<br />

(Variance<br />

decomposition) และการวิเคราะห์การตอบสนองของตัวแปร (Impulse response function) พบว่าผลของปริมาณสัญญาคงค้างต่อผลตอบแทนจาก<br />

สัญญาล่วงหน้าส าหรับสัญญาล่วงหน้าดัชนี SET50 สูงกว่าผลของสัญญาล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น<br />

3 ประมาณ 2-3 เท่า ซึ่งสะท้อนผลจากสภาพคล่องของ<br />

การซื้อขายที่มากกว่าของสัญญาล่วงหน้าดัชนี<br />

SET50 เมื่อเปรียบเทียบกับสภาพคล่องของสัญญาล่วงหน้ายางแผ่นรมควันชั้น<br />

3 นอกจากนั้นยังพบว่า<br />

ปริมาณการซื้อขายมีอิทธิพลต่อปริมาณสัญญาคงค้างโดยเป็นความสัมพันธ์ในทางบวก<br />

แสดงให้เห็นว่าหากมีการเพิ่มขึ้นของปริมาณการซื้อขายจะส่งผลต่อ<br />

การเพิ่มขึ้นของปริมาณสัญญาคงค้างที่นักลงทุนอาจใช้ในการท<br />

านายการเปลี่ยนแปลงของราคาล่วงหน้าเพื่อเป้าหมายผลตอบแทนที่สูงขึ้น<br />

นอกจากนั้นยังได้<br />

ศึกษาถึงการไหลของข้อมูลข่าวสารในตลาดล่วงหน้าด้วยวิธีทดสอบความเป็นเหตุเป็นผลระหว่าง 2 ตัวแปร (Granger causality test) พบความสัมพันธ์ทั้ง<br />

สองทางเด่นชัดในความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างความผันผวนของราคากับปริมาณการซื้อขาย<br />

ซึ่งสนับสนุนแบบจ<br />

าลองล าดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร<br />

(Sequential Arrival <strong>of</strong> Information Model : SAI) นั่นคือ<br />

ผู้ซื้อขายมีหลายกลุ่มท<br />

าให้รับรู้ข้อมูลข่าวสารไม่พร้อมกัน<br />

จึงต้องมีการพัฒนาการให้ข้อมูล<br />

ข่าวสารแก่นักลงทุนในตลาดล่วงหน้าต่อไป<br />

ค าส าคัญ : ตลาดล่วงหน้า, อัตราผลตอบแทน, ความผันผวนของราคาล่วงหน้า, ปริมาณการซื้อขาย,<br />

สัญญาคงค้าง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research applies Vector Autoregressive (VAR) Model to study relationship among four variables which are return,<br />

volatility, volume, and open interest in Thailand future exchanges in order to explore those variable effects on futures contract<br />

returns. Our study reports that lagged price change and volatility affect returns at 0.01 significance level. For SET50 index and RSS3<br />

futures contracts, open interest also affect returns slightly. Variance decomposition and impulse response function evidence that<br />

open interest has higher effect on futures contract returns <strong>of</strong> SET50 future contracts than those <strong>of</strong> ribbed smoked sheet 3 about<br />

2-3 times. This phenomena might imply higher liquidity effect <strong>of</strong> SET50 contracts. In addition, relationship between volume and<br />

open interest is positive. This implies that an increase in volume will result in an increase in open interest. Investors can observe<br />

open interest increase for predicting futures price changes to gain higher expected returns. This research also mentions on<br />

information flow in Thailand future exchanges by using Granger causality test. The result shows distinctive relationship between<br />

volatility and volume which support <strong>the</strong> SAI (Sequential Arrival <strong>of</strong> information) Model. The SAI model predicts that different groups<br />

<strong>of</strong> buyers do not access to market information at same time. Therefore, improvement in information flow system should be<br />

concerned by exchange regulators.<br />

Keywords : Commodity future exchange, Return, Volatility, Volume, Open interest<br />

A-06<br />

5


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ตัวแบบก าหนดการจ านวนเต็ม และโปรแกรมส าเร็จรูปเพื่อแก๎ปัญหาการจัดตารางสอบ<br />

Integer Programming Model and Application Program for Exam Timetabling Problem<br />

วรวุฒิ หวังวัชรกุล 1* ศศิมาพร พัฒน์วิชัยโชติ 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน<br />

แขวงลาดยาวเขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10902<br />

E-mail: 1 fengwww@ku.ac.th * , 2 lovenam_nam@hotmail.com<br />

ในปัจจุบันการจัดตารางสอบของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลักษณะของการรวมกลุ่มผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน<br />

เพื่อจัดตารางสอบในแต่ละภาคการศึกษา<br />

โดยก่อนการจัดตารางสอบของทางคณะฯ จะอ้างอิงตารางสอบวิชาพื้นฐานของส่วนกลาง<br />

เพื่อไม่ให้เกิดเวลาสอบ<br />

ซ้าซ้อนของนิสิตแต่ละชั้นปี<br />

ทั้ง<br />

12 ภาควิชา รวม 180 รายวิชา ซึ่งในการจัดตารางสอบท<br />

าการจัดด้วยมือ ภายใต้เงื่อนไขทรัพยากรจ<br />

ากัด ท าให้เสียเวลา และ<br />

เกิดข้อผิดพลาด จึงสร้างตัวแบบก าหนดการจ านวนเต็ม และแก้ปัญหาด้วยโปรแกรม Premium Solver in Excel ที่สามารถรองรับปัญหาขนาดใหญ่ได้<br />

โดย<br />

ผลที่ได้จากการท<br />

าโครงงานคือมีตัวแบบทางคณิตศาสตร์ที่เป็นมาตรฐานในการจัดตารางสอบมีประสิทธิภาพ<br />

สามารถรองรับข้อจ ากัดได้หลากหลาย ลดเวลา<br />

และความผิดพลาดในการจัดตารางสอบด้วยมือ นอกจากนี้เพื่อเป็นการพัฒนาการจัดตารางสอบที่สามารถรองรับต่อผู้ใช้งานทั่วไปได้<br />

จึงท าการสร้างเป็น<br />

โปรแกรมส าเร็จรูปจัดตารางสอบของคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยใช้ Micros<strong>of</strong>t Visual Studio 2010 Ultimate สร้างฐานข้อมูลจาก Micros<strong>of</strong>t Access<br />

2007 และใช้ Crystal Report for Visual Studio 2010 รายงานผลเป็นตารางสอบของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มีการพัฒนา algorithm เป็นหลักการใน<br />

การจัดตารางสอบ โดยผลที่ได้จากการพัฒนาเป็นโปรแกรมสามารถลดเวลาในการจัดตารางสอบ<br />

อีกทั้งยังเป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ<br />

เป็นมาตรฐานใน<br />

การจัดตารางสอบ และลดปัญหาตารางสอบซ้าซ้อนของนิสิตได้<br />

ค าส าคัญ : การจัดตารางสอบ, ก าหนดการจ านวนเต็ม, วิธีฮิวริสติก<br />

<strong>Abstract</strong><br />

At present, <strong>the</strong> exam timetabling for Faculty <strong>of</strong> Engineering, Kasetsart University is accomplished by a group <strong>of</strong><br />

responsible people assigned each semester. The basic required course exam timetabling is first issued by <strong>the</strong> university. The<br />

faculty follows <strong>the</strong> schedule to prevent <strong>the</strong> time conflict for all <strong>the</strong> engineering students in 12 departments with <strong>the</strong> total <strong>of</strong><br />

around 180 subjects per semester. The current timetabling process, completed manually, is time-consuming and prone to human<br />

error. We propose an integer programming formulation and solve with Premium Solver in Excel, capable <strong>of</strong> dealing with large-scale<br />

problems. The model is superior to <strong>the</strong> current procedure in accuracy and ability to cope with large-scale problems including a<br />

large number <strong>of</strong> operational constraints. To ensure that <strong>the</strong> exam timetabling is accessible and user-friendly, we develop an<br />

algorithm for an application program using Micros<strong>of</strong>t Visual Studio 2010 Ultimate, Micros<strong>of</strong>t Access 2007 for database and Crystal<br />

Report for Visual Studio 2010 for report. In conclusion, <strong>the</strong> ma<strong>the</strong>matical model and <strong>the</strong> application program are more efficient<br />

than <strong>the</strong> current method and can reduce <strong>the</strong> time-conflict problem for <strong>the</strong> students.<br />

Keywords : Exam timetabling, Integer programming, Heuristic procedure<br />

A-07<br />

6


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

จุดก าเนิดใหมํส าหรับการเริ่มขั้นตอนวิธีซิมเพล็กซ์<br />

The New Origin Point for Starting Simplex Algorithm<br />

เอื้ออารี<br />

บุญเพิ่ม<br />

1* และ กรุง สินอภิรมย์สราญ 2<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ. พญาไท แขวงวังใหมํ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

E-mail: 1 aua-aree.s@student.chula.ac.th * , 2 krung.s@chula.ac.th<br />

ขั้นตอนวิธีซิมเพล็กซ์เป็นขั้นตอนวิธีที่นิยมใช้ในการแก้ปัญหาก<br />

าหนดการเชิงเส้น ซึ่งมีระยะเวลาในการท<br />

างานเป็นเอ็กโพเนนเชียล ดังนั้นนักวิจัย<br />

จึงได้แนะน าวิธีการเพื่อลดระยะเวลาในการท<br />

างานของขั้นตอนวิธีซิมเพล็กซ์<br />

ในงานวิจัยนี้ได้ใช้เวกเตอร์เกรเดียนต์ของเงื่อนไขบังคับซึ่งอยู่ใกล้กับเวกเตอร์เกร<br />

เดียนต์ของฟังก์ชันจุดประสงค์เพื่อให้ผลเฉลยเริ่มต้น<br />

แล้วแปลงตัวแบบก าหนดการเชิงเส้นเดิมไปเริ่มต้นที่จุดก<br />

าเนิดใหม่ ซึ่งผลที่ได้จากการทดสอบพบว่า<br />

จ านวนการท าซ้าลดลงประมาณ<br />

24% โดยเฉลี่ย<br />

ค าส าคัญ : ขั้นตอนวิธีซิมเพล็กซ์,<br />

เวกเตอร์เกรเดียนต์, ปัญหาก าหนดการเชิงเส้น, มุมน้อยที่สุด<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The Simplex algorithm is a most popular algorithm for solving a linear programming problem which has <strong>the</strong> exponential<br />

worst case running time. Researchers suggested many ways to reduce <strong>the</strong> solution time <strong>of</strong> <strong>the</strong> Simplex algorithm. In this paper, we<br />

utilize <strong>the</strong> gradient vector <strong>of</strong> <strong>the</strong> constraints which close to <strong>the</strong> gradient vector <strong>of</strong> <strong>the</strong> objective function to give <strong>the</strong> initial solution.<br />

It <strong>the</strong>n transforms <strong>the</strong> linear programming model to start at <strong>the</strong> new origin point. The computational results show that <strong>the</strong><br />

iteration reduced about 24% on average.<br />

Keywords : simplex algorithm, gradient vector, linear programming problem, minimal angle<br />

A-08<br />

7


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ปัญหาการจัดงานเชิงเส๎นแบบสองขั้น<br />

A Two-Stage Linear Assignment Problem<br />

จารุวรรณ แก๎วแสนซาว 1 พีรยุทธ์ ชาญเศรษฐิกุล 2* เสรี เศวตเศรนี 3<br />

หนํวยการวิจัยด าเนินการและวิทยาการจัดการ<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน<br />

E-mail: 1 jaruwan.k@live.com, 2 fengprc@ku.ac.th * , 3 fengsrs@ku.ac.th<br />

งานวิจัยชิ้นนี้น<br />

าเสนอการรวมเอาปัจจัยความไม่แน่นอนของการจับคู่งานกับทรัพยากร<br />

ประกอบกับต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงดังกล่าว<br />

พิจารณาในตัวแบบปัญหาการจัดงาน โดยอาศัยแนวทางแบบจ าลองสองขั้นตอนน<br />

าเสนอโดย Dantzig (1955) ท าให้เกิดเป็นลักษณะหนึ่งของปัญหาการจัด<br />

งานเชิงเส้นแบบเฟ้นสุ่ม<br />

แบบจ าลองดังกล่าวถูกน าไปทดสอบแก้หาค าตอบโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซลล์โซลเวอร์-กูโรบิ รุ่น<br />

พ.ศ. 2553<br />

ขนาดของปัญหาที่ทดสอบได้ถูกขยายเพิ่มขึ้นจนโปรแกรมส<br />

าเร็จรูปไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซลล์โซลเวอร์-กูโรบิ ไม่สามารถหาค าตอบได้ วิธีแบ่งส่วนของเบนเดอร์<br />

ได้ถูกน ามาประยุกต์ใช้โดยพัฒนาขึ้นจากโปรแกรม<br />

MATLAB R2010b เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว<br />

ผลการทดลองพบว่าวิธีการแบ่งส่วนของเบนเดอร์สามารถ<br />

ขยายขนาดของการแก้ปัญหาได้โดยเฉพาะกรณีที่มีตัวแปรตัดสินใจที่เกี่ยวข้องมากกว่า<br />

1,000,000 ตัวแปร<br />

ค าส าคัญ : ความไม่แน่นอน, การจัดงานเชิงเส้นแบบเฟ้นสุ่ม,<br />

วิธีการแบ่งส่วนของเบนเดอร์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research work proposes merging <strong>of</strong> uncertainties jobs-resources pair assignment with <strong>the</strong>ir corresponding risky cost<br />

to <strong>the</strong> linear assignment model. The two-stage model approach <strong>of</strong> Dantzig (1955) is used resulting to a class <strong>of</strong> stochastic linear<br />

assignment problem. The proposed model is tested by a state <strong>of</strong> <strong>the</strong> art s<strong>of</strong>tware EXCEL/solver-Gurobi 2010 version. The sizes <strong>of</strong><br />

solved test problem are increased until unsolvable cases are detected. There, Bender’s Decomposition method is applied and<br />

using MATLAB R2010b to solve <strong>the</strong>se cases. The experimental result is that <strong>the</strong> method is capable to expand <strong>the</strong> size <strong>of</strong> problem<br />

solving capabilities especially in <strong>the</strong> case <strong>of</strong> more than one-million decision variables involved.<br />

Keywords : Uncertainties, A Stochastic Linear Assignment, Bender’s Decomposition Method<br />

A-09<br />

8


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

A-10<br />

Individual Technology and Implement Context Effecting to Acceptance Electronic Medical<br />

Record in Hospital By Nurse<br />

บทคัดยํอ<br />

พิษณุพงศ์ แก๎วมํวง 1 ธนกรณ์ แนํนหนา 2*<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล 25/25 ถนนพุธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170<br />

E-mail: 1 ting_egmu@hotmail.com, 2 thanakorn.nae@mahidol.ac.th *<br />

อุตสาหกรรมการบริการด้านสุขภาพในปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง<br />

เพื่อให้การบริการเป็นที่พึงพอใจแก่ลูกค้ามากที่สุด<br />

ด้วยเหตุนี้<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศจึงได้เข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมสุขภาพเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิก แต่อย่างไรก็ตามการใช้ระบบ<br />

ดังกล่าวในโรงพยาบาลก็ยังเกิดปัญหาในการใช้งานอยู่<br />

ท าให้มีการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกในโรงพยาบาล<br />

โดย<br />

ได้ประยุกต์ปัจจัยในทฤษฏีการยอมรับการใช้ กับบริบทโครงสร้างทั่วไป<br />

(Generic framework) เพื่อยืนยันองค์ประกอบในแต่ละบริบทที่มีผลต่อการยอมรับ<br />

การใช้ระบบเวชระเบียนอิเลกทรอนิกของพยาบาล ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงส<br />

ารวจเพื่อทราบองค์ประกอบที่มีผลต่อการยอมรับการใช้ระบบเวช<br />

ระเบียนอิเล็กทรอนิกในแต่ละบริบท กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลที่มีประสบการณ์ในการใช้งานระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกในโรงพยาบาล<br />

จ านวน 188 คน<br />

ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล<br />

ผลที่ได้น<br />

ามาวิเคราะห์ความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือของแบบสอบถามด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบ<br />

น้าหนัก<br />

ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบ ปรากฏว่า = 9.10 d.f. = 13. GFI = 0.99, CFI = 1.00, NFI = 0.99, NNFI = 1.00,<br />

RMSEA = 0.00, RMR = 0.017 and p-value at 0.76 แสดงว่าโมเดลองค์ประกอบของแต่ละบริบทมีความตรงเชิงโครงสร้างเป็นอย่างดี<br />

ค าส าคัญ : การยอมรับการการใช้เทคโนโลยี, การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน, เวชระเบียนอิเล็กทรอนิค<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The currently health care industrial has been constantly evolving. To provide service is <strong>the</strong> highest customer satisfaction.<br />

For this reason information technology have <strong>the</strong> role in health care industrial, particularly electronic medical record (EMR).<br />

Never<strong>the</strong>less <strong>the</strong> use <strong>of</strong> electronic medical record has been problem to use, that it is issue to study factors effecting to<br />

acceptance medical record in hospital. Integrating factor <strong>of</strong> technology acceptance with generic framework, that to examine<br />

confirmatory factor analysis in each context to acceptance electronic medical record system by nurse. In this study is <strong>the</strong> survey<br />

to known which factors are affecting to acceptance electronic medical record in each context. Sample size is <strong>the</strong> nurse experience<br />

in electronic medical record in hospital by 188 and using questionnaire to collect data. The result has been analysis reliability and<br />

constructs validity <strong>of</strong> <strong>the</strong> questionnaire, by factor loading analysis. It found that = 9.10 d.f. = 13. GFI = 0.99, CFI = 1.00, NFI =<br />

0.99, NNFI = 1.00, RMSEA = 0.00, RMR = 0.017 and p-value at 0.76. Thus <strong>the</strong> factors <strong>of</strong> each context are well validity that it used to<br />

examine user acceptance <strong>of</strong> electronic medical record in hospital forward.<br />

Keywords : Technology acceptance, Confirmatory factor analysis, Electronic medical record<br />

9


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การประยุกต์การวางแผนการสั่งซื้อวัตถุดิบแบบหลายรหัสด๎วยวิธีแบบพลวัต<br />

กรณีศึกษา โรงงานผลิตสีผงอุตสาหกรรม<br />

An Application <strong>of</strong> Purchasing Planning for Multi Item Raw Material by using<br />

Dynamic Lot Sizing A Case Study <strong>of</strong> Powder Coating Manufacturing<br />

ศิริวัฒน์ รุํงมณีรัตน์<br />

1 วราธร ปัญญางาม 2* พิลดา หวังพานิช 3<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 107 หมูํที่<br />

6 ถนนรังสิต-นครนายก คลอง16 อ าเภอองครักษ์ จ.นครนายก 26120<br />

E-mail: 1 wit_ee@hotmail.com, 2 punyangarm@gmail.com * , 3 pilada.swu@gmail.com<br />

งานวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับการประยุกต์การวางแผนสั่งซื้อวัตถุดิบแบบหลายรหัสล่วงหน้าในแต่ละช่วงเวลาด้วยวิธีแบบพลวัต<br />

ของโรงงานผลิตสีผงอุตสาหกรรม<br />

เพื่อลดค่าใช้จ่ายรวมทั้งในด้านการสั่งซื้อวัตถุดิบและจัดเก็บวัตถุดิบให้มีค่าต่าที่สุด<br />

โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์หาระดับความส าคัญของวัตถุดิบแต่ละรหัส<br />

ด้วยวิธีการจัดกลุ่มวัตถุดิบ<br />

ABC (ABC Classification System) ซึ่งจะส่งผลให้เลือกศึกษาเฉพาะ<br />

Class A เท่านั้นโดยที่มีต้นทุนรวมอยู่ที่<br />

76% ของต้นทุน<br />

วัตถุดิบรวมทั้งหมด<br />

โดยใน Class A จะมีจ านวนวัตถุดิบอยู่ที่<br />

11รหัส ทั้งนี้ในกระบวนการศึกษาจากกรณีศึกษานี้ได้ด<br />

าเนินการพยากรณ์ปริมาณความ<br />

ต้องการล่วงหน้าโดยโปรแกรม Minitab และใช้วิธีการพยากรณ์ด้วยวิธี Times Series Decomposition จากนั้นด<br />

าเนินการน าข้อมูลวัตถุดิบ Class A ในปี<br />

ปัจจุบัน มาวิเคราะห์โดยประยุกต์ใช้แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ด้วยวิธีก าหนดการพลวัตของแวกเนอร์-วิทธิน (Wagner-Whitin Algorithm: WW) ด้วย<br />

วิธีการโปรแกรมเชิงเส้นแบบผสมจ านวนเต็ม (Mixed Integer Linear Programming) เพื่อหาแนวโน้มและก<br />

าหนดปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบ<br />

Class A ใน<br />

แต่ละช่วงเวลาที่ท<br />

าให้ค่าใช้จ่ายรวมในการสั่งซื้อและจัดเก็บวัตถุดิบมีค่าต่าที่สุด<br />

(Minimized Total Cost) โดยการใช้โปรแกรม Lingo Version 8.0 มาใช้<br />

ช่วยในการค านวน ซึ่งผลการศึกษาพบว่า<br />

แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ด้วยวิธีก าหนดการพลวัตของแวกเนอร์-วิทธินแล้วมีค่าใช่จ่ายรวมในการสั่งซื้อวัตถุดิบ<br />

Class Aทั้งปีคิดเป็นเงิน<br />

312,167,000 บาทต่อปี ส่วนวิธีการสั่งซื้อวัตถุดิบในรูปแบบเดิมของโรงงานตัวอย่างมีค่าใช้จ่ายรวมทั้งปีคิดเป็นเงิน<br />

325,238,184.68 บาทต่อปี ซึ่งจากแบบจ<br />

าลองสามารถลดค่าใช้จ่ายรวมลงได้ 13,071,184.68 บาทต่อปี หรือคิดเป็น 4.02%<br />

ค าส าคัญ : วิธีการจัดกลุ่มวัตถุดิบ<br />

ABC, การพยากรณ์, วิธีการสั่งซื้อแบบพลวัตของแวกเนอร์-วิทธิน,<br />

โปรแกรมเชิงเส้นแบบผสมจ านวนเต็ม<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This is <strong>the</strong> research about applied Purchasing Planning for Multi Item Raw Material by using Dynamic Lot Sizing method<br />

for Powder Coating Manufacturing in order to minimize <strong>the</strong> purchasing and inventory cost. The principle is to find <strong>the</strong> importance<br />

<strong>of</strong> each raw material by grouping material ABC Classification System, which lead to Class A studied. The capital is 76% <strong>of</strong> total<br />

gross, and Class A has 11 items. Although this studied forecasted estimate <strong>the</strong> demand by using Minitab Program, and also use<br />

Times Series Decomposition. After that input Class A information <strong>of</strong> <strong>the</strong> present year to analyze by using applied ma<strong>the</strong>matics<br />

model <strong>of</strong> Wagner-Whitin-Algorithm: WW, and use <strong>the</strong> Mixed Integer Linear Programming to find quantity <strong>of</strong> purchasing raw material<br />

Class A in each period <strong>of</strong> time, which lead to <strong>the</strong> minimize <strong>of</strong> <strong>the</strong> total cost by using Lingo Program Version 8.0 to help in<br />

calculation. From <strong>the</strong> studied, we found that ma<strong>the</strong>matics model <strong>of</strong> Wagner-Whitin-Algorithm <strong>of</strong> Class A, <strong>the</strong> whole year cost<br />

312,167,000 THB/Year, in <strong>the</strong> o<strong>the</strong>r hand <strong>the</strong> old system <strong>of</strong> <strong>the</strong> sample cost 325,238,184.68 THB/Year. In concluding, <strong>the</strong> model<br />

helps cost reducing 13,071,184.68 THB/Year or 4.02%.<br />

Keywords : ABC Classification System, Forecasting, Wagner-Whitin, Mixed Integer Linear Programming<br />

A-11<br />

10


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

แบบจ าลองอุปสรรคส าหรับการหริหารโครงการทางเทคโนโลยี<br />

Modeling Barriers for Technology Projects<br />

ศุภชาต เอี่ยมรัตนกูล<br />

1* บดินทร์ รัศมีเทศ 2<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจ๎กร กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 supachart9@gmail.com * , 2 fbusbdr@ku.ac.th<br />

วัชรพล สุขโหตุ 3 สุนันทา เสียงไทย 4 และ วรทัศน์ ขจิตวิชยานุกูล 5<br />

สถาบันเทคโนโลยีแหํงเอเชีย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120<br />

E-mail: 3 vsukhotu@ait.ac.th, 4 s.siengthai@ait.ac.th, 5 voratas@ait.ac.th<br />

การบริหารโครงการทางเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับโครงการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ<br />

เช่น ผลิตภัณฑ์ทางด้านคอมพิวเตอร์ ผลิตภัณฑ์<br />

ฮารด์แวร์และซอฟท์แวร์ การบริหารโครงการประเภทนี้ไม่ถูกศึกษามากนักอดีต<br />

ทั้งนี้เป็นเพราะว่า<br />

การบริหารโครงการส่วนใหญ่แล้ว จะบริหารจัดการอยู่ใน<br />

อุตสาหกรรมการก่อสร้างเสียเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นการวิจัยนี้จึงเริ่มขึ้นเพื่อขยายการศึกษาการบริหารโครงการในบริบทอื่นนอกเหนือจากที่เคยด<br />

าเนินการ<br />

ศึกษามาในอดีต การบริหารโครงการจะเน้นการบริหารให้อยู่ภายใต้ข้อจ<br />

ากัดสามอย่างคือ เวลา ต้นทุน และคุณภาพ การบริหารโครงการทางเทคโนโลยีก็<br />

เหมือนกับการบริหารโครงการอื่นๆโดยทั่วไปที่จะต้องอยู่ภายใต้สามข้อจ<br />

ากัดนั้นเพื่อจะท<br />

าให้การบริหารโครงการประสบความส าเร็จ การบริหารโครงการใด<br />

โครงการหนึ่งให้ประสบความส<br />

าเร็จมักจะมีอุปสรรคเข้ามาเกี่ยวข้อง<br />

ในบทความวิจัยนี้ผู้แต่งได้แสดงและอธิบายถึงอุปสรรคที่ป้องกันไม่ให้การบริหาร<br />

โครงการประสบความส าเร็จ อุปสรรคในการบริหารโครงการทางเทคโนโลยีได้ถูกบ่งชี้จากการศึกษาในอดีตและจากผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม<br />

อิเลคทรอนิคส์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง<br />

กรณีศึกษาเป็นหนึ่งในระเบียบวิธีการวิจัยที่การศึกษานี้ได้น<br />

ามาใช้เพื่อค้นพบอุปสรรคการบริหารโครงการจาก<br />

ข้อมูลที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญและการศึกษาในอดีต<br />

จากนั้นเทคนิควิธีการวิจัยที่รู้จักกันในชื่อว่าการสร้างแบบจ<br />

าลองการแปลความเชิงโ ครงสร้าง<br />

(Interpretive Structural Modeling) ได้ถูกน ามาใช้เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างอุปสรรคในการบริหารโครงการทางเทคโนโลยี<br />

ผลลัพธ์ที่ได้จาการ<br />

ท าวิจัยพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างอุปสรรคในการบริหารโครงการทางเทคโนโลยีสามารถแสดงผ่านทางแบบจ าลองรูปภาพ ซึ่งช่วยให้ผู้บริหารระดับสูงได้<br />

เข้าใจถึงล าดับความส าคัญของอุปสรรคที่เกี่ยวข้องในการบริหารโครงการ<br />

ตัวอย่างเช่นอุปสรรคที่อยู่ระดับล่างสุดของแบบจ<br />

าลอง เป็นอุปสรรคที่มี<br />

ความส าคัญมากที่สุดในทางกลยุทธ์เพราะเป็นสิ่งที่ป้องกันไม่ให้โครงการทางเทคโนโลยีมีประสิทธิภาพในการด<br />

าเนินการสูงที่สุด<br />

ค าส าคัญ : การบริหารโครงการทางเทคโนโลยี, อุปสรรคการบริหารโครงการ, แบบจ าลองการแปลความเชิงโครงสร้าง (Interpretive Structural<br />

Modeling), อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส์<br />

A-12<br />

11


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

A technology project is <strong>the</strong> project related to a product involving technology such as computer hardware, s<strong>of</strong>tware, etc.<br />

Those projects become more and more critical since technology products are usually developed through projects. Surprisingly, a<br />

few studies in <strong>the</strong> project management body <strong>of</strong> knowledge look closely into <strong>the</strong> technology project. As such, <strong>the</strong> research<br />

initiated to extend <strong>the</strong> ignoring area that few researchers would like to conduct. When we manage a project, we usually concern<br />

much on triple constraints, namely, time, cost, and quality. A technology project is also <strong>the</strong> same as o<strong>the</strong>r projects that should be<br />

aware on those constraints to achieve project success. Success <strong>of</strong> a technology project is usually obstructed by barriers. We report<br />

<strong>the</strong> key barriers <strong>of</strong> project success in this paper. The key barriers were identified by literature review and discussion with expert<br />

panel. We also applied a case study method to code <strong>the</strong> <strong>the</strong>mes and variables based on data collection through interview with<br />

expert panel for creating <strong>the</strong> key barriers for technology projects. The short-listed barriers <strong>the</strong>n modeled through a technique<br />

known as <strong>the</strong> interpretive structural modeling (ISM). The findings <strong>of</strong> <strong>the</strong> research suggested that <strong>the</strong> relationship <strong>of</strong> barriers for<br />

technology projects is portrayed through a diagraph model. The implication <strong>of</strong> <strong>the</strong> research implies <strong>the</strong> top management to focus<br />

on <strong>the</strong> bottom set <strong>of</strong> barriers because <strong>the</strong>y are strategic barriers that prevent a technology project to achieve <strong>the</strong> highest<br />

performance.<br />

Keywords : Technology Project, Barrier, Project Management, Interpretive Structural Modeling (ISM), Electronics Industry<br />

12


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การจ าลองสถานการณ์เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบทํอลมขนสํงในโรงพยาบาล<br />

Simulation for Improving Efficiency <strong>of</strong> Pneumatic Tube Systems in Hospitals<br />

1 2*<br />

ธัญญา ณัฏฐวุฒิสิทธิ์<br />

วเรศรา วีระวัฒน์<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170<br />

E-mail: 1 thanya7629@gmail.com, 2 waressara.wee@mahidol.ac.th*<br />

ระบบท่อลมขนส่งถูกใช้ในการขนส่งวัสดุภายในอาคาร ทั้งในธนาคาร<br />

ห้างสรรพสินค้า ส านักงานต่างๆ และได้น าเข้ามาใช้ในการขนส่งวัสดุใน<br />

โรงพยาบาลเพราะเป็นระบบที่มีความรวดเร็ว<br />

มีความถูกต้องในการขนส่ง และยังสามารถก าหนดความเร็วให้เหมาะสมต่อชนิดของวัสดุที่ขนส่งได้<br />

เมื่อ<br />

โรงพยาบาลมีคนไข้เข้ามารับบริการมากขึ้น<br />

ปริมาณงานที่ต้องขนส่งก็มากขึ้นทั้งสิ่งส่งตรวจ<br />

เลือด ยา และเอกสารต่างๆ ส่งผลให้ระยะเวลารอคอยของคนไข้<br />

เพิ่มขึ้น<br />

โรงพยาบาลในกรณีศึกษาจึงเล็งเห็นว่าระบบท่อลมขนส่งเป็นระบบที่เหมาะสมต่อการขนส่งในโรงพยาบาล<br />

แต่เนื่องจากโรงพยาบาลมีขนาดใหญ่<br />

และมีหลายอาคาร จึงต้องใช้ระบบที่ซับซ้อนมากท<br />

าให้ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบสูง<br />

งานวิจัยนี้จึงศึกษาความเหมาะสมและประสิทธิภาพของระบบท่อลม<br />

ขนส่งในการรองรับปริมาณการขนส่งภายในโรงพยาบาลกรณีศึกษา เนื่องจากการท<br />

างานของระบบท่อลมขนส่งมีความซับซ้อน จึงเลือกใช้โปรแกรมอารีนา<br />

มาช่วยในการจ าลองสถานการณ์การท างานของระบบ โดยผลการจ าลองเบื้องต้นพบว่าระบบที่ออกแบบไว้สามารถรองรับการขนส่งภายในโรงพยาบาลได้<br />

โดยมีค่าเฉลี่ยระยะเวลาการขนส่งแต่ละเที่ยวไม่เกิน<br />

1 นาที และสามารถรองรับปริมาณงานที่อาจเพิ่มขึ้นในอนาคตได้ถึง<br />

2 เท่าของปริมาณงานในปัจจุบัน<br />

ค าส าคัญ : ระบบท่อลมในโรงพยาบาล, ระบบการขนส่งล าเลียงวัสดุ, การจ าลองสถานการณ์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

Pneumatic tubes have been widely used for materials handling systems to support daily operations in many banks,<br />

supermarkets and <strong>of</strong>fices. The pneumatic tube system has been used mainly in hospitals because it can quickly deliver items with<br />

reliable and adjustable speeds. When numbers <strong>of</strong> patients increase, a fast transportation system is needed to support hospital<br />

operations for delivery <strong>of</strong> specimens, blood, medicines and documents in order to reduce patients’ waiting time. Usually, a<br />

hospital has several operational units, so it needs a more complex pneumatic tube system. As a result, <strong>the</strong> cost <strong>of</strong> installing<br />

advanced systems is high. Hence, this research studies <strong>the</strong> suitability and <strong>the</strong> effectiveness <strong>of</strong> <strong>the</strong> systems available to support<br />

transportation in a hospital. We use Arena simulation s<strong>of</strong>tware to analyze and simulate hospital operations with a pneumatic tube<br />

system. Preliminary simulation results indicate that <strong>the</strong> average delivery time is less than one minute with <strong>the</strong> current and 100%<br />

delivery demand volumes. In conclusion, <strong>the</strong> current system design can effectively manage <strong>the</strong> current and any future workload.<br />

Keywords : Hospital Pneumatic Tube System, Material Handling System, Simulation Modeling<br />

A-13<br />

13


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การปรับปรุงการจัดเก็บโครงประกอบเครื่องเชื่อมไฟฟ้าในโรงงานตัวอยําง<br />

ปริศณา วิเชียรสาร 1 วรรณวัฒนา อินทรนุช 2 ประจวบ กลํอมจิตร 3*<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ. นครปฐม 73000<br />

E-mail: 3 prachuab@su.ac.th*<br />

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ<br />

ศึกษาปัญหาและปรับปรุงวิธีการจัดเก็บโครงประกอบเครื่องเชื่อมไฟฟ้าในคลังสินค้า<br />

เพื่อหาวิธีการลดเวลา<br />

และระยะทางในการค้นหาสินค้าซึ่งพบว่าสภาพปัจจุบันเกิดปัญหาในการค้นหาซึ่งใช้เวลามาก<br />

อันเกิดมาจากรายการโครงประกอบของสินค้าประเภท<br />

เดียวกันถูกวางไว้แยกกัน และไม่มีป้ายชื่อบอกอย่างชัดเจน<br />

เนื่องจากการจัดเก็บในคลังสินค้าเป็นการจัดเก็บแบบสุ่ม(Randomized<br />

Storage Location<br />

Policy: RSLP) จากปัญหา จึงได้เสนอแนวคิดที่จะน<br />

าการจัดเก็บแบบ Multi-level Association Rule มาใช้ โดยวิธีการ คือ โครงประกอบเครื่องเชื่อม<br />

ไฟฟ้าจะถูกจัดเรียงตามความถี่ของการเบิกจ่ายโครงประกอบของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าที่อยู่ในตระกูลเดียวกันมีความถี่ในการเบิกจ่ายบ่อย<br />

จะถูกจัดเรียงไว้นอก<br />

สุดและจัดให้รายการโครงประกอบประเภทเดียวกันจะถูกจัดเรียงไว้ด้วยกัน พร้อมทั้งท<br />

าการติดป้ายชื่อรายการโครงประกอบอย่างชัดเจน<br />

ผลการวิเคราะห์<br />

พบว่า การจัดเก็บสินค้าแบบ Multi-level Association Rule สามารถช่วยลดเวลาและระยะทางในการค้าหาสินค้า โดยสามารถลดเวลาได้ 74.24 นาที<br />

หรือ 33.52% ของความแตกต่างของเวลาของการจัดเก็บแบบสุ่มและแบบ<br />

Multi-level Association Rule และสามารถลดระยะทางได้ 1,499.61 เมตร<br />

หรือ 65.56 % เมื่อเปรียบเทียบกับการจัดเก็บแบบสุ่ม<br />

ซึ่งคิดเป็น<br />

100% จึงสรุปได้ว่าการจัดเก็บแบบ Multi-level Association Rule มีศักยภาพดีกว่า<br />

การจัดเก็บแบบสุ่ม<br />

ค าส าคัญ : การจัดเก็บ คลังสินค้า เครื่องเชื่อมไฟฟ้า<br />

RSLP, Multi-level Association Rule<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The objective <strong>of</strong> this study was to identify <strong>the</strong> problem and to find <strong>the</strong> solution in storing electric welding equipment in<br />

order to reduce <strong>the</strong> time and <strong>the</strong> distance <strong>of</strong> finding those which were scattering stored without attaching any label. The existing<br />

storage system was Randomized Storage Location Policy (RSLP). From <strong>the</strong> mentioned problem, Multi-level Association Rule<br />

storage was brought to be a solution. Each electric welding equipment will be well-arranged by <strong>the</strong> frequency <strong>of</strong> usage; <strong>the</strong> most<br />

frequently used ones will be placed outermost. Moreover, labels will be used in this case also. The result showed that Multi-level<br />

Association Rule reduced <strong>the</strong> time and <strong>the</strong> distance in finding <strong>the</strong> equipments 74.24 minutes (33.52% when comparing to <strong>the</strong><br />

RSLP) and 1,499.61 meters (65.56% when comparing to <strong>the</strong> RSLP) were reduced, which mean that Multi-level Association Rule<br />

storage was more practical than Randomized Storage Location Policy.<br />

Keywords : Inventory Management, Warehouse Management, Electric Welding Machine, Randomized Storage Location Policy,<br />

Multi-level Association Rule storage, electric welding equipment.<br />

A-14<br />

14


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

อิทธิพลของอัตราสํวนการบวมตัวอิสระตํอคุณสมบัติพื้นฐานและก<br />

าลังของดินเหนียวผสมซีเมนต์<br />

The Influence <strong>of</strong> Free Swelling Ratio on Basic Properties and Strength in Cemented Clay<br />

บทคัดยํอ<br />

รุ๎งลาวัลย์<br />

ราชัน<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์<br />

แขวงกระทุํมราย<br />

เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530<br />

E-mail: runglawa@gmail.com<br />

บทความนี้น<br />

าเสนออิทธิพลของอัตราส่วนการบวมตัวอิสระต่อคุณสมบัติพื้นฐานและก<br />

าลังอัดของดินเหนียวผสมซีเมนต์ ตัวอย่างดินเหนียว<br />

ทดสอบครอบคลุมดินที่ไม่มีการบวมตัวถึงบวมตัวสูง<br />

ได้แก่ดินเหนียวคาโอลิไนท์ ดินเหนียวอ่อนกรุงเทพ ฯ และดินเหนียวมอนท์มอริโอไนท์ จากการศึกษา<br />

พบว่าอัตราส่วนการบวมตัวอิสระมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นของดินซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าขีดจ<br />

ากัดเหลวและดัชนีพลาสติก<br />

ในสภาวะที่มีการปลี่ยนแปลงสภาวะการบวมตัวของดินนั้นปริมาณความชื้นก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ต้องพิจารณา<br />

นอกจากอัตราส่วนปริมาณความชื้นในดินต่อ<br />

ปริมาณซีเมนต์เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาก<br />

าลังอัดของดินซีเมนต์แล้วนั้นช่วงของปริมาณความชื้นวิกฤตก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ต้องพิจารณา<br />

ปริมาณ<br />

ความชื้นวิกฤตของดินไม่มีการบวมตัวหรือมีการบวมตัวต่าจะเท่ากับ<br />

2 เท่าของดัชนีเหลว และส าหรับดินบวมตัวสูงปริมาณความชื้นวิกฤตจะมีค่าเท่ากับ<br />

1<br />

เท่าของดัชนีเหลว<br />

ค าส าคัญ : อัตราส่วนการบวมตัวอิสระ, ดินเหนียวไม่มีการบวมตัว, ดินเหนียวบวมตัวสูง, ก าลังอัด<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The object <strong>of</strong> this paper is to investigate <strong>the</strong> influence <strong>of</strong> free swelling ratio on basic properties and compressive<br />

strength in cemented clay. The soil samplings used are covered <strong>the</strong> non-swelling to high swelling clay as kaolinitic clay, s<strong>of</strong>t<br />

Bangkok clay and montmorillonitic clay. It was found that <strong>the</strong> free swelling ratio has a direct effect on <strong>the</strong> water content <strong>of</strong> <strong>the</strong><br />

soil which affects <strong>the</strong> liquid limit and plastic index. In <strong>the</strong> changing state <strong>of</strong> <strong>the</strong> swelling, <strong>the</strong> water content is ano<strong>the</strong>r factor that<br />

must be considered. Besides <strong>the</strong> clay water/cement ratio is <strong>the</strong> influence factor <strong>of</strong> <strong>the</strong> strength development <strong>of</strong> cemented clay,<br />

<strong>the</strong> critical water content is ano<strong>the</strong>r factor to consider. The critical water content <strong>of</strong> non-swelling to low swelling clay is equal to 2<br />

times <strong>of</strong> liquidity index and 1 times <strong>of</strong> liquidity index for <strong>the</strong> high swelling clay.<br />

Keywords : free swelling ratio, non-swelling clay, high swelling clay, compressive strength<br />

A-15<br />

15


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การควบคุมคุณภาพการหลํอเครื่องประดับทองด๎วยวิธีการออกแบบการทดลอง<br />

The Quality Control <strong>of</strong> Gold Jewelry Casting Process : Design <strong>of</strong> Experiment Approach<br />

บทคัดยํอ<br />

โอรส พินิจรัตนพันธ์ 1* นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์ 2 และ วันชัย ลีลากวีวงศ์ 3<br />

2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม<br />

1,3<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์แลเทคโนโลยีอุตสาหกรรม<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

E-mail: 1 oros_najab@hotmail.com * , 2 Nitiponsopon@hotmail.com, 3 lwanchai@su.ac.th<br />

จากการศึกษาปัญหาในโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องประดับ<br />

พบว่ามีงานเสียและงานซ่อมจากกระบวนการผลิตเครื่องประดับทองสูงถึง<br />

45.34% เมื่อ<br />

พิจารณางานเสียและงานซ่อมที่เกิดขึ้นของเครื่องประดับทอง<br />

พบว่ากระบวนการส าคัญที่ท<br />

าให้เกิดงานเสียและงานซ่อมคือ กระบวนการหล่อเครื่องประดับ<br />

งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อลดข้อบกพร่องในงานหล่อตัวเรือนเครื่องประดับ<br />

เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ<br />

ที่ส่งผลถึงงานเสียและงานซ่อมในการหล่อ<br />

เครื่องประดับ<br />

พบว่า มี 3 ปัจจัยที่อาจส่งผลต่องานเสียและงานซ่อมในการหล่อเครื่องประดับทอง<br />

คือ อุณหภูมิอบเบ้าปูน อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิ<br />

เบ้าปูนส าหรับการหล่อ จึงน าปัจจัยดังกล่าวไปท าการทดลอง โดยใช้อุณหภูมิอบเบ้าปูน 650-750 องศาเซลเซียส อุณหภูมิหลอมโลหะ 1080-1160 องศา<br />

เซลเซียส อุณหภูมิเบ้าปูนส าหรับการหล่อ 550-650 องศาเซลเซียส ผลของการทดลองชี้ให้เห็นว่า<br />

อุณหภูมิอบเบ้าปูน อุณหภูมิหลอมโลหะ และอุณหภูมิ<br />

เบ้าปูนส าหรับการหล่อ มีผลต่องานเสียและงานซ่อมการหล่อเครื่องประดับทองอย่างมีนัยส<br />

าคัญ ดังนั้นจึงน<br />

าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการหล่อมาท<br />

าการ<br />

ออกแบบการทดลองแบบทากูชิ L9 3 ระดับ 3 ปัจจัย โดยท าการทดลอง 9 ทดลองและทดลองซ้า<br />

3 ครั้ง<br />

เพื่อหาระดับปัจจัยที่เหมาะสมด้วยวิธีพื้นผิว<br />

ตอบสนอง จากผลการทดลองพบว่าระดับปัจจัยที่เหมาะสมของอุณหภูมิอบเบ้าปูนคือ<br />

710 องศาเซลเซียส ปัจจัยที่เหมาะสมของอุณหภูมิหลอมโลหะคือ<br />

1160 องศาเซลเซียส และระดับปัจจัยที่เหมาะสมของอุณหภูมิเบ้าปูนส<br />

าหรับการหล่อคือ 580 องศาเซลเซียส<br />

ค าส าคัญ : การหล่อเครื่องประดับ,<br />

วิธีการทากูชิ, การออกแบบการทดลอง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

According to <strong>the</strong> jewelry industry, <strong>the</strong>re are a lot <strong>of</strong> defects and rework in <strong>the</strong> goldjewelry production process. 45.34% <strong>of</strong><br />

all defects and rework are caused by an improper casting process. This research’s purpose is Reduce defects in casting jewelry.<br />

After fur<strong>the</strong>r consideration, it was determined that <strong>the</strong>re are 3 factors that may cause defect and rework on casting goldjewelry :<br />

mold temperature, liquid metal temperature and Flask temperature.The values <strong>of</strong> <strong>the</strong>se factors are: mold temperature, 650-750<br />

°C; liquid metal temperature, 1080-1160 °C; and Flask temperature, 550-650 °C. The results <strong>of</strong> this experiment show that mold<br />

temperature, liquid metal temperature and Flask temperature have influence on defects and rework in <strong>the</strong> goldjewelry<br />

production are significant. The 3 significant factors are <strong>the</strong> experiment design for <strong>the</strong> study was based on Taguchi technique. An<br />

orthogonal array experiment <strong>of</strong> 3 factors with 3 level each was used for screening <strong>the</strong> main factors by conducting <strong>the</strong> 9<br />

experimental runs with 3 replicates to find <strong>the</strong> optimal factor values <strong>of</strong> Response Surface Methodology. The results that <strong>the</strong> factor<br />

are found to be at a mold temperature <strong>of</strong> 710 °C , a liquid metal temperature <strong>of</strong> 1160 °C and Flask temperature <strong>of</strong> 580 °C<br />

Keywords : Jewelry Casting, Taguchi Method, Design <strong>of</strong> Experiments: DOE<br />

A-16<br />

16


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การศึกษาหาปัจจัยในการกัดชิ้นงานด๎วยมีดกัดที่ผํานกระบวนการลับที่มีผลตํออายุการใช๎งานของคมตัด<br />

The Study <strong>of</strong> Factors Machining Bite Parts with Knives to Cut through <strong>the</strong> Sharpening<br />

Process with The Renewal <strong>of</strong> The Cutting Edges<br />

บัญญัติ พันธ์ประสิทธิ์เวช<br />

1* กัญจนา ทองสนิท 2 ปฏิพัทธ์ หงษ์สุวรรณ 3 และ สุจินต์ วุฒิชัยวัฒน์ 4<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

E-mail: 1 otani1443@yahoo.co.th * , 2 kanjanath@yahoo.com, 3 patipat_su@yahoo.ac.th<br />

งานวิจัยนี้มีความประสงค์ที่จะท<br />

าการลดต้นทุนในกระบวนการผลิตเนื่องจากการเปลี่ยนมีดกัด<br />

(End Mill) ซึ่งเป็นต้นทุนค้อนข้างสูงจึงมีแนวคิด<br />

ที่น<br />

ามีดกัด ที่ผ่านการใช้งานที่เกิดการสึกหรอแล้ว<br />

สามารถน ากลับมาใช้ใหม่โดยการลับคมตัดเฉือนและท าการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของมีดกัดที่ผ่าน<br />

การลับคมตัดเฉือนเป็นอย่างไร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความเรียบผิวงานและการสึกหรอของคมตัดเฉือน<br />

วัสดุที่ใช้ในการทดลองคือ<br />

เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง (Medium Carbon Steel) S45C และใช้มีดกัด Tialn ปัจจัยที่ใช้ศึกษาประกอบด้วย<br />

ความเร็วตัด อัตราการป้อน และ<br />

การลับคมตัดเฉือน ตัวแปรตามคือความหยาบของผิว การทดลองใช้เครื่องกัดโลหะที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์<br />

ภายใต้สภาวะการตัดเฉือนแบบแห้ง<br />

ผลการศึกษาพบว่าการลับคมตัดเฉือน ความเร็วตัด และอัตราการป้อน มีผลต่อความเรียบผิว อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ<br />

0.05 การลับคมตัดแต่ละครั้งมีผลต่อ<br />

อายุการใช้งานและความเรียบผิว โดยที่ความเร็วอัตราป้อนเพิ่มมากขึ้นมีผลท<br />

าให้ค่าความเรียบผิวมากขึ้น<br />

ซึ่งตรงข้ามกับความเร็วตัดเพิ่มมากขึ้นจะท<br />

าให้<br />

ค่าความเรียบผิวลดต่าลง<br />

ค าส าคัญ : การลับคมมีดกัด, ความละเอียดผิวงาน, การออกแบบการทดลอง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The research was aimed to reduce <strong>the</strong> production cost because <strong>of</strong> <strong>the</strong> high purchasing cost <strong>of</strong> end mills. The worn out<br />

end mills were recycled by sharpening and <strong>the</strong>ir efficiencies were determined. The study purposes were to find <strong>the</strong> factors that<br />

affected <strong>the</strong> work smoothness and <strong>the</strong> implement cutting edge wearing out. The medium carbon steel s45c and Tialn end mill<br />

were used in <strong>the</strong> pediment. The factors <strong>of</strong> cutting speed, feed rates and <strong>the</strong> cutting edge sharpening were studied. The<br />

dependent variable was <strong>the</strong> surface roughness. The experiments were done by using a cnc machining center controlled by<br />

acumouter, under dry cutting conditions. It was found that <strong>the</strong> cutting edge sharpening, <strong>the</strong> cutting speed and <strong>the</strong> feed rates<br />

affected <strong>the</strong> surface smoothness at <strong>the</strong> significance level <strong>of</strong> 0.5. The each-time edge sharpening influenced <strong>the</strong> tool life and <strong>the</strong><br />

surface smoothness. The increased feed rates resulted in <strong>the</strong> elevated surface smoothness whereas <strong>the</strong> increased cutting speed<br />

reduced <strong>the</strong> surface smoothness.<br />

Keywords : Sharpening, Surface roughness, Design <strong>of</strong> experiment<br />

A-17<br />

17


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอความสามารถทางการตลาดของอุตสาหกรรมการบิน<br />

: ศึกษากรณี บมจ.การบินไทย<br />

Influencing Factors <strong>of</strong> Marketing Competency in Aviation Industry :<br />

Case <strong>of</strong> Thai Airways International pcl.<br />

บทคัดยํอ<br />

ชญานันท์ เกิดพิทักษ์<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ถนนอูํทองใน<br />

แขวงสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ<br />

E-mail: chayananmail@yahoo.com<br />

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา<br />

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางการตลาด<br />

ของอุตสาหกรรมการบิน ซึ่งเป็นการศึกษากรณี<br />

บมจ.<br />

การบินไทย โดยกรอบแนวคิดนี้ได้พัฒนามากจากทฤษฎีการแข่งขัน<br />

ทฤษฎีฐานทรัพยากร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ<br />

เครื่องมือคือแบบสัมภาษณ์และ<br />

แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารระดับผู้จัดการแผนก<br />

และผู้จัดการฝ่าย<br />

ของ บมจ.การบินไทย จ านวน 240<br />

ตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling : SEM) ผลการศึกษาครั้งนี้<br />

พบว่า กลยุทธ์การ<br />

แข่งขัน กลยุทธ์ความเป็นผู้น<br />

า กลยุทธ์โซ่อุปทาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความสามารถทางการตลาด ได้ร้อยละ 63.5 (R 2 = 0.635) และ กล<br />

ยุทธ์การแข่งขัน กลยุทธ์ความเป็นผู้น<br />

า สามารถอธิบายความแปรปรวนของกลยุทธ์โซ่อุปทานได้ร้อยละ 50.2 (R 2 = 0.502) ในขณะที่องค์กรเกิดปัญหา<br />

สามารถน ากลยุทธ์ทั้งสามทางเลือกมาใช้แก้ไขปัญหาได้พร้อมกับน<br />

าปัจจัยส าคัญทั้งสิ้น<br />

30 ปัจจัยมาใช้ในการไขปัญหาขององค์กร<br />

ค าส าคัญ : อุตสาหกรรมการบิน, ความสามารถทางการตลาด, แบบจ าลองสมการโครงสร้าง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The researcher investigates factors influencing <strong>the</strong> marketing competency <strong>of</strong> a case study <strong>of</strong> Thai airways international<br />

pcl. In aviation industry by reference to a conceptual framework derived and extrapolated from <strong>the</strong> competitive advantage <strong>the</strong>ory,<br />

resource-based <strong>the</strong>ory for industrial organizations, and o<strong>the</strong>r contemporaneous research in this domain <strong>of</strong> inquiry. In this research,<br />

<strong>the</strong> researcher employed both qualitative and quantitative research approaches. The instruments <strong>of</strong> research were two step; (1)<br />

interviews; and (2) a questionnaire. Data were collected from administrators <strong>of</strong> two groups <strong>of</strong> company utilizing data ga<strong>the</strong>red<br />

from 240 administrators <strong>of</strong> Thai airways international pcl. Data collected were analyzed using <strong>the</strong> structural equation modeling<br />

(SEM).Findings are as follows: Applications <strong>of</strong> competitive strategy, marketing leadership strategy, and supply chain strategy were<br />

explanatory <strong>of</strong> <strong>the</strong> variance in marketing competency at 63.5 percent (R2=0.635). The applications <strong>of</strong> competitive strategy, and<br />

marketing leadership strategy were explanatory <strong>of</strong> all variances in supply chain strategy at 50.2 percent (R2=0.502). Consequently<br />

in this research undertaking, using 3 indicators, <strong>the</strong> researcher addressed 30 important areas in connection with organizational<br />

problems<br />

.<br />

Keyword : The aviation industry, Marketing Competency, structural equation modeling<br />

A-18<br />

18


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การหาอิทธิพลของตัวแปรที่เหมาะสมในการกัดปาดผิวหน๎าเหล็กแมํพิมพ์<br />

เกรด S45C ด๎วยมีดคาร์ไบด์<br />

An Investigation <strong>of</strong> Optimum Cutting Conditions in Face Milling Mold Steel Grade S45C<br />

By Carbide Tool<br />

บทคัดยํอ<br />

สุรสิทธิ์<br />

ระวังวงศ์ 1* จักรนรินทร์ ฉัตรทอง 2 ธีรพงษ์ ทิพย์อักษร 3 และ วรพงค์ บุญชํวยแทน 4<br />

1* สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อ.เมือง จ.สงขลา 90000<br />

E-mail: 1 sitnong2@yahoo.co.th * , 2 jaknarin.c@hotmail.com, 3 ie_teerapong@hotmail.com, 4 b_ieeng@hotmail.com<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรที่มีผลต่อความขรุขระผิวในการกัดปาดผิวหน้าเหล็กแม่พิมพ์ด้วยมีดคาร์ไบด์<br />

เพื่อ<br />

ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตแม่พิมพ์พลาสติกและอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้อง<br />

วัสดุทดลองเป็นเหล็กท าแม่พิมพ์ เกรด S45C โดยใช้วัสดุ<br />

เครื่องมือตัดเป็นเม็ดมีดคาร์ไบด์<br />

แบบ SEKT 1204AFR-HM ปัจจัยที่ใช้ศึกษาทดลอง<br />

คือ ความเร็วรอบ อัตราป้อน ความลึกในการกัด และการหล่อเย็น โดย<br />

ใช้เครื่องกัดกึ่งอัตโนมัติ<br />

ยี่ห้อ<br />

Obraeci Strojie รุ่น<br />

FGV 32 จากการทดลองเบื้องต้นพบว่า<br />

ความลึก และการหล่อเย็น ไม่มีผลต่อค่าความขรุขระผิว จึง<br />

ก าหนดความลึกในการกัดคงที่ไว้ที่<br />

1 มิลลิเมตร และท าการกัดโดยไม่มีการใช้น้ายาหล่อเย็น<br />

จากการทดลองพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อความขรุขระผิว<br />

คือ<br />

ความเร็วรอบ และอัตราป้อน โดยมีแนวโน้มว่าเมื่อใช้ความเร็วรอบสูงและอัตราป้อนต่า<br />

มีผลท าให้ค่าความขรุขระผิวลดลง และสามารถก าหนดสภาวะการ<br />

กัดปาดผิวหน้าด้วยสมการ Ra = 5.85261 - 0.0105875 Speed - 0.00611716 Feed + 5.30758 -006 Speed*Speed + 1.47573 -005 Feed * Feed<br />

การน าสมการนี้ไปใช้ควรอยู่ในขอบเขต<br />

ความเร็วรอบ 100-1,000 รอบ/นาที อัตราป้อน 40-600 มิลลิเมตร/นาที เมื่อเอาสมการนี้ไปใช้ในการยืนยันผลการ<br />

ทดลอง โดยใช้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ของความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์<br />

พบว่าค่าความคลาดเคลื่อนของความขรุขระผิวที่ได้จากการทดลองและค่าจากการ<br />

พยากรณ์ คือ 3.02 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งน้อยกว่าค่าความคลาดเคลื่อนที่ก<br />

าหนดและอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้<br />

ค าส าคัญ : การออกแบบการทดลอง, เหล็กท าแม่พิมพ์, การกัดปาดผิว, ความขรุขระผิว, มีดคาร์ไบด์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The purpose <strong>of</strong> this research is to investigate <strong>the</strong> effect <strong>of</strong> main factors on <strong>the</strong> surface roughness in mold steels face<br />

milling by carbide tool for results obtained from <strong>the</strong> analysis used in <strong>the</strong> manufacture <strong>of</strong> molds and o<strong>the</strong>r parts <strong>of</strong> <strong>the</strong> industry.<br />

Concerned <strong>the</strong> material is steel grade S45C mold steel using inserts carbide tool. The etching experiments using semi-automated<br />

milling machine Obraeci Strojie brand FGV 32 model. The factors study used a speed, feed rate depth <strong>of</strong> cut and cooling.<br />

Preliminary experiments showed that <strong>the</strong> depth does not affect <strong>the</strong> surface roughness fix depth <strong>of</strong> cut at 1 mm and not cooling. It<br />

was found from <strong>the</strong> experiment that <strong>the</strong> factor affecting surface roughness was feed rate and cutting speed with tendency for<br />

reduction <strong>of</strong> roughness value at lower feed rate and greater cutting speed it was possible determine a facing condition by means<br />

<strong>of</strong> <strong>the</strong> equation Ra = 5.85261 - 0.0105875 Speed - 0.00611716 Feed + 5.30758 -006 Speed*Speed + 1.47573 -005 Feed * Feed leading<br />

this equation goes to use is in limitation speed 100-1,000 rpm. at feed rate 40-600 mm/min. When <strong>the</strong> equation was used to<br />

confirm <strong>the</strong> research results, it was found that <strong>the</strong> mean absolute percentage error (MAPE) <strong>of</strong> <strong>the</strong> surface roughness obtained from<br />

<strong>the</strong> prediction comparing to <strong>the</strong> value from <strong>the</strong> experiment was 3.02 percent, which was less than <strong>the</strong> specified error and it was<br />

acceptable.<br />

Keywords : design <strong>of</strong> experiment, mold steel, face milling, surface roughness, carbide tool<br />

A-19<br />

19


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การออกแบบการทดลองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการคัดแยกข๎าว<br />

Using Experimental Design to Increase <strong>the</strong> Efficiency for Rice Sorting Process<br />

วรวุฒิ หวังวัชรกุล 1* พันธนนท์ ลิ้มโพธิ<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน<br />

แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10902<br />

E-mail: 1 fengwww@ku.ac.th*, 2 a5<strong>of</strong>_dodd@hotmail.com<br />

การศึกษานี้หาปัจจัยและก<br />

าหนดระดับปัจจัยที่เหมาะสม<br />

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการคัดแยกข้าว<br />

เนื่องจากอัตราการคัดแยกข้าวไม่ตรง<br />

ตามเป้าหมาย ค่าตอบสนองของกระบวนการคือเวลาในการคัดแยกข้าว ปัจจัยที่ศึกษาคือ<br />

ความละเอียดในการคัดเลือกของช่องปฐมภูมิ (Sense1) ความเร็ว<br />

เครื่องของช่องปฐมภูมิ<br />

(Feed1) ความดันลมของหัวเป่า (Pressure) โดยออกแบบการทดลองเบื้องต้นแบบแฟคทอเรียลเต็มรูป<br />

(Full Factorial) เพื่อหา<br />

ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในกระบวนการคัดแยกข้าวเบื้องต้น<br />

ผลและข้อผิดพลาดจากการทดลองเบื้องต้น<br />

น าไปสู่การออกแบบการทดลองดวยวิธีพื้นผิว<br />

ตอบสนองแบบ Central Composite Design (CCD) โดยเพิ่มปัจจัยที่ศึกษาคือความละเอียดในการคัดเลือกของช่องทุติยภูมิ<br />

(Sense2) ผลจากการ<br />

วิเคราะห์สมการพื้นผิวตอบสนองก<br />

าลังสอง ได้สภาวะที่เหมาะสมของแต่ละปัจจัยในกระบวนการคัดแยกข้าว<br />

จากการทดลองเพื่อยืนยันผลจากค่าจุด<br />

เหมาะสมดังกล่าว พบว่าสามารถลดเวลาในการคัดแยกข้าวลงจากปัจจุบัน 38.68 เปอร์เซนต์<br />

ค าส าคัญ : กระบวนการคัดแยกข้าว, การออกแบบการทดลอง CCD, จุดเหมาะสม<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This study aimed to investigate <strong>the</strong> factors and determine optimal settings for controllable factors to enhance <strong>the</strong> rice<br />

sorting process to achieve <strong>the</strong> throughput target. The response variable was <strong>the</strong> time used in <strong>the</strong> sorting process <strong>of</strong> <strong>the</strong> rice. The<br />

primary controllable factors were Sense from primary chute, Feed from primary chute, and Air Pressure. The initial design was a<br />

Full factorial to identify factors that affected <strong>the</strong> performance <strong>of</strong> <strong>the</strong> rice sorting machine. The errors in <strong>the</strong> first experiment were<br />

accumulated and used to improve and prepare <strong>the</strong> next experiment by taking into account <strong>the</strong> accuracy <strong>of</strong> <strong>the</strong> sorting. The<br />

Central Composite Design (CCD) was employed with additional factor, Sense from secondary chute. The best setting for each<br />

factor was obtained from <strong>the</strong> second-degree polynomial model. The experiment to confirm <strong>the</strong> results revealed that <strong>the</strong> new<br />

setting reduced <strong>the</strong> sorting time by 38.68 percent.<br />

Keywords : Rice Sorting Process, Central Composite Design, Optimization<br />

์แดน 2<br />

A-20<br />

20


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการกลึงไม๎ยางพาราด๎วยใบมีดคาร์ไบด์<br />

โดยใช๎การออกแบบการทดลอง<br />

The Study Optimal Cutting Conditions for Para Wood Turning By Carbide Tool<br />

Using Design <strong>of</strong> Experiment<br />

บทคัดยํอ<br />

สุรสิทธิ์<br />

ระวังวงศ์ 1* วรพงค์ บุญชํวยแทน 2 จักรนรินทร์ ฉัตรทอง 3<br />

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อ.เมือง จ.สงขลา 90000<br />

E-mail: 1 sitnong2@yahoo.co.th * , 2 b_ieeng@hotmail.com, 3 jaknarin.c@hotmail.com<br />

และ มนัส อนุศิริ 4<br />

สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อ.เมือง จ.สงขลา 90000<br />

E-mail: 4 rosomanus@hotmail.com<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรที่มีผลต่อความขรุขระผิวในงานกลึงไม้ยางพาราด้วยมีดคาร์ไบด์<br />

เพื่อน<br />

าไปประยุกต์ใช้ใน<br />

อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพารา ปัจจัยที่ท<br />

าการทดลองประกอบด้วย ความเร็วตัด อัตราป้อน และความลึกในการตัด ที่ให้ค่าความขรุขระผิวที่ยอมรับ<br />

ได้ ในกระบวนการตัดแต่งเฟอร์นิเจอร์ซึ่งค่าความขรุขระผิวอยู่ในช่วง<br />

3.0-9.0 ไมโครเมตร ในการทดลองใช้ไม้ยางพาราที่มีความชื้น<br />

11-13 % โดยก าหนด<br />

ความเร็วตัด 200-430 ม./นาที อัตราป้อน 0.1-0.5 มม./รอบ ความลึก 1-3 มม. และจากการทดลองเบื้องต้น<br />

พบว่าทั้ง<br />

3 ปัจจัยมีผลต่อค่าความขรุขระผิว<br />

จึงก าหนดช่วงของปัจจัยใหม่แล้วท าการทดลองโดยใช้การออกแบบการทดลองแบบทั่วไป<br />

(General Factorial Design) จากการทดลองพบว่าปัจจัยที่ส่งผล<br />

ต่อความขรุขระผิว คือ ความเร็วตัด และอัตราป้อน มีแนวโน้มว่าค่าความขรุขระผิวจะลดลง เมื่อใช้ความเร็วตัดสูงขึ้น<br />

แล้วน าผลจากการทดลองมา<br />

เปรียบเทียบกับการทดลองวิธีการพื้นผิวตอบสนอง<br />

(Response Surface Method; RSM) ซึ่งมีผลไปในทิศทางเดียวกัน<br />

ดังนั้นในงานกลึงไม้ยางพาราด้วย<br />

ใบมีดคาร์ไบด์ สามารถก าหนดสภาวะการกลึงด้วยสมการ Ra = 4.33532 - 0.0000548435 Cutting Speed + 0.684357 Feed Rate - 0.000462583<br />

Cutting Speed * Feed Rate + 0.0463757 Feed Rate * Depth <strong>of</strong> Cut สมการนี้ใช้กับความเร็วตัด<br />

200-430 ม./นาที อัตราป้อน 0.1-0.5 มม./รอบ<br />

ค าส าคัญ : การออกแบบการทดลอง, เครื่องกลึง,<br />

ไม้ยางพารา, ความขรุขระผิว, มีดคาร์ไบด์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The purpose <strong>of</strong> this research is to investigate <strong>the</strong> effect <strong>of</strong> main factors on <strong>the</strong> surface roughness in coconut wood<br />

turning process for manufacturing furniture parts using carbide tool. The main factors, namely, cutting speed, feed rate and depth<br />

<strong>of</strong> cut were investigated for <strong>the</strong> optimum surface roughness in furniture manufacturing process. Normally, an acceptable surface<br />

roughness was between 3.0-9.0 µm. In <strong>the</strong> experiment para wood <strong>of</strong> 11-13 % humidity. Cutting speed 200-430 m./min. and feed<br />

rate 0.1-0.5 mm./rev. and depth <strong>of</strong> cut 1-3 mm. result from preliminary trial showed that <strong>the</strong> cutting speed, feed rate and depth<br />

<strong>of</strong> cut which had effect on surface roughness. Therefore, determined <strong>the</strong> new factor and <strong>the</strong>n tested by general factorial design.<br />

The result in, <strong>the</strong> important factor on <strong>the</strong> surface roughness was <strong>the</strong> cutting speed and feed rates which <strong>the</strong> tendency <strong>of</strong> surface<br />

roughness was decreased with increasing cutting speed. The results <strong>of</strong> this experimental as compared with response surface<br />

method (RSM) which illustrated <strong>the</strong> same direction. In addition, <strong>the</strong> turning process <strong>of</strong> para wood by carbide tool. it was possible<br />

to determine a cutting condition by means <strong>of</strong> <strong>the</strong> equation Ra = 4.33532 - 0.0000548435 Cutting Speed + 0.684357 Feed Rate -<br />

0.000462583 Cutting Speed * Feed Rate + 0.0463757 Feed Rate * Depth <strong>of</strong> Cut This equation can be best used with limitation <strong>of</strong><br />

cutting speed 200-430 m./min. at feed rate 0.1-0.5 mm./rev.<br />

Keywords : Design <strong>of</strong> experiment, Turning machine, Para wood, Surface roughness, Carbide tool<br />

A-21<br />

21


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การหาจุดเหมาะสมโดยใช๎การออกแบบการทดลอง CCD ในกระบวนการออกหน๎ายาง<br />

Optimization Using Central Composite Design for Extrusion and Tread Side Wall Process<br />

บทคัดยํอ<br />

จันทร์เพ็ญ อนุรัตนานนท์ 1* ธัญวรรณ มาศวิวัฒน์ 2 ภัสสร หลํอวงศ์สกุล 3<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

E-mail: 1 j_pen2000@hotmail.com * , 2 thing_harrypotter@hotmail.com, 3 ammy_oun@hotmail.com<br />

งานวิจัยนี้ใช้เทคนิคการออกแบบการทดลอง<br />

CCD ส าหรับกระบวนการออกหน้ายาง การทดลองท าการศึกษาผลของ ความเร็วสกรู, อุณหภูมิน้า<br />

หล่อเย็นและความยาวเครื่องตัด<br />

ซึ่งส่งผลต่อน้าหนัก<br />

ความกว้าง และความยาวหน้ายาง โดยท าการทดลองทั้งหมด<br />

19 การทดลอง พบว่า ความยาวเครื่อง<br />

ตัดเป็นปัจจัยที่มีผลต่อค่าน้าหนักของหน้ายางมากที่สุด<br />

และปัจจัยอื่นๆ<br />

ไม่ส่งผลต่อความกว้าง และความยาวของหน้ายาง พบว่า ความยาวของการตัดมีผล<br />

ต่อน้าหนักและปัจจัยอื่นๆ<br />

ไม่มีผลกระทบต่อความกว้าง และความยาวของหน้ายาง โดยจุที่เหมาะสมของความเร็วสกรู,<br />

อุณหภูมิน้าหล่อเย็น<br />

และความยาว<br />

เครื่องตัด<br />

เท่ากับ 23.4199 รอบต่อวินาที,25.6820 องศาเซลเซียสและ 1449.9639 มิลลิเมตร ตามล าดับ เมื่อค<br />

านวณจุดเพิ่มประสิทธิภาพกับแบบจ<br />

าลอง<br />

ทางคณิตศาสตร์มีค่าน้าหนัก<br />

ความกว้าง และความยาวของหน้ายาง เท่ากับ 11.1025 กิโลกรัม, 521.1062 มิลลิเมตร และ 1470.4976 มิลลิเมตร<br />

ตามล าดับ เมื่อท<br />

าการทดลองเพื่อยืนยันผล<br />

พบว่าค่าผิดพลาดของน้าหนัก,<br />

ความกว้างและความยาวของหน้ายางเท่ากับ 0.8 %,0.21%และ 0.11%<br />

ตามล าดับ<br />

ค าส าคัญ : การวิเคราะห์หาจุดเหมาะสม,การออกแบบการทดลอง CCD, การบวนการออกหน้ายาง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research used Central Composite Design technique to find optimization for extrusion and tread sidewall process.<br />

This Experiment studied <strong>the</strong> effect <strong>of</strong> screw speed, coolant temperature and length <strong>of</strong> cutting on weight, width and length <strong>of</strong> tire.<br />

The results indicated that length <strong>of</strong> cutting affected weight but <strong>the</strong> controllable factors did not affect <strong>the</strong> width and <strong>the</strong> length<br />

<strong>of</strong> tire.The optimization <strong>of</strong> controllable factors were as following : screw speed was 23.4199 rpm, coolant temperature was<br />

25.6820 o C length <strong>of</strong> cutting was 1449.9629 mm. When calculate optimization point with expected model showed <strong>the</strong> predicted<br />

weight, width and length <strong>of</strong> tire were 11.1025 kg , 521.1062 mm and 1470.4976 mm respectively .And when doing <strong>the</strong><br />

experimented validation, it had error <strong>of</strong> 0.8%,weight 0.21% and 0.11% respectively.<br />

Keywords : Optimization, Central Composite Designs, Extrusion and tread side wall process<br />

A-22<br />

22


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การจ าลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดงานเข๎าแผนกประกอบผลิตภัณฑ์<br />

Simulation for Improve Efficiency <strong>of</strong> Scheduling in Assembly Department<br />

รุํงรัตน์<br />

ภิสัชเพ็ญ 1* ธีรพล เจริญจรัสกุล 2<br />

ภาควิชาอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 fengros@ku.ac.th * , 2 lopareeht@hotmail.com<br />

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตารางการผลิต<br />

เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิตของแผนกประกอบผลิตภัณฑ์<br />

ซึ่งในปัจจุบันมีการจัด<br />

ตารางการผลิตโดยใช้ประสบการณ์ของพนักงาน ส่งผลท าให้เกิดงานที่ส่งไม่ทันก<br />

าหนด ก่อให้เกิดค่าเสียโอกาส รวมทั้งยังมีช่วงกว้างการท<br />

างานที่ยาวนานขึ้น<br />

ซึ่งล้วนแล้วเป็นความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการจัดตารางการผลิตโดยวิธีดังกล่าว<br />

วิธีการด าเนินคือการสร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใช้โปรแกรมอารีน่าเพื่อ<br />

ใช้ในการจัดตารางการผลิต โดยใช้เกณฑ์การจัดตารางการผลิต เวลาผลิตสั้นสุดท<br />

าก่อน วันก าหนดส่งเร็วที่สุดท<br />

าก่อน มาก่อนท าก่อน เวลาผลิตยาวที่สุดท<br />

า<br />

ก่อน และใช้ข้อมูลค าสั่งผลิตในช่วงเวลา<br />

1 เดือนของท้ายไตรมาส และผลการด าเนินงานที่ได้คือล<br />

าดับการผลิตที่เหมาะสมกับดัชนีชี้วัดต่างๆ<br />

ตามความ<br />

เหมาะสมของข้อมูลในช่วงเวลานั้นๆ<br />

โดยเมื่อเปลี่ยนวิธีการจัดตารางการผลิตแล้ว<br />

ส่งผลท าให้ จ านวนงานส่งไม่ทันก าหนดลดลง ท าให้ค่าเสียโอกาสลดลง<br />

เช่นเดียวกัน อีกทั้งช่วงกว้างการท<br />

างานยังสั้นลงอีกด้วย<br />

ค าส าคัญ : การจ าลองสถานการณ์, การจัดตารางการผลิต<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This study aims to propose <strong>the</strong> production schedule in order to improve efficiency <strong>of</strong> production line in Assembly<br />

department. The current schedule has been produced according to <strong>the</strong> staff experience. This lead to large amount <strong>of</strong> tardy job,<br />

penalty cost and high average flow time, high make span and high total tardiness time. All <strong>of</strong> <strong>the</strong>se losses are caused by <strong>the</strong> poor<br />

production scheduling. Arena simulation s<strong>of</strong>tware is employed to improve this production scheduling. The sequencing rules that<br />

are consider in this study are Shortest Processing Time (SPT), Earliest Due Date (EDD), First Come First Serve (FCFS), and Longest<br />

Processing Time (LPT). Moreover production order <strong>of</strong> <strong>the</strong> third month in <strong>the</strong> quarter is used in simulation. The results show that by<br />

using simulation, <strong>the</strong> appropriate production scheduling for <strong>the</strong> specific time can be obtained. By implementing <strong>the</strong> new<br />

scheduling, <strong>the</strong> number <strong>of</strong> tardy jobs, penalty cost and make span is decreased.<br />

Keywords : Simulation, Production scheduling<br />

B-01<br />

23


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

เทคนิคคอลัมน์เจเนอเรชันส าหรับปัญหาการมอบหมายงานให๎กับพนักงานที่มีการปรับดุลภาระงานและรายได๎<br />

Column Generation Technique for Crew Rostering Problem with Workload and<br />

Earnings Balancing<br />

บทคัดยํอ<br />

ศุภกร สุเมธาภิวัฒน์ 1* บุญฤทธิ์<br />

อินทิยศ 2<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหมํ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

E-mail: 1 s.supphakorn@gmail.com * , 2 boonyarit.i@chula.ac.th,<br />

และ ชวลิต จีนอนันต์ 3<br />

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ปทุมธานี 12121<br />

E-mail: 3 chawalit@siit.tu.ac.th<br />

ปัญหาการมอบหมายงานให้กับพนักงานสายการบิน เป็นปัญหาการสร้างตารางปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคน ซึ่งประกอบไปด้วย<br />

คู่เที่ยวบิน<br />

ก าหนดการฝึกซ้อม ตลอดจนวันหยุดของพนักงาน ภายใต้เงื่อนไขบังคับบางอย่าง<br />

โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด<br />

ปัญหานี้มักจะเป็นปัญหาที่มี<br />

ขนาดใหญ่เนื่องจากคู่เที่ยวบินของสายการบินและพนักงานการบินมีจ<br />

านวนมากและมีเงื่อนไขบังคับที่ซับซ้อน<br />

บทความวิจัยนี้เป็นการน<br />

าเสนอการแก้ปัญหา<br />

การมอบหมายงานให้พนักงานสายการบินโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับดุลรายได้และภาระงานของพนักงานแต่ละคนให้เท่าเทียมกันมากที่สุด<br />

โดยจะใช้รูปแบบเซต<br />

พาร์ทิชันนิ่งในการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์<br />

และประยุกต์ใช้เทคนิคคอลัมน์เจเนอเรชันในการหาผลเฉลย นอกจากนี้ยังน<br />

าเสนอผลเฉลยเชิงตัวเลขและการ<br />

วิเคราะห์ผลเฉลยโดยใช้ข้อมูลจากบริษัทการบินไทยเป็นกรณีศึกษา<br />

ค าส าคัญ : การมอบหมายงานให้กับพนักงาน, คอลัมน์เจเนอเรชัน, เซตพาร์ทิชันนิ่ง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

A crew rostering problem in <strong>the</strong> airline industry is <strong>the</strong> problem <strong>of</strong> constructing a crew schedule which consists <strong>of</strong> flights,<br />

pairings, training activities, and days <strong>of</strong>f for each crew member under some certain constraints while minimizing <strong>the</strong> cost. The size<br />

<strong>of</strong> this problem is usually huge since <strong>the</strong> number <strong>of</strong> flights, pairings and crews are large; and <strong>the</strong> constraints are complex. In this<br />

paper, we present an approach for solving a crew rostering problem whose objective is to balance workload and earnings among<br />

crew members. The problem is modeled as a set partitioning problem and solved using a column generation technique. Some<br />

numerical results are presented and analyzed using <strong>the</strong> data from Thai airways as a case study.<br />

Keywords : crew rostering, column generation, set partitioning<br />

B-02<br />

24


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

โลจิสติกส์ส าหรับการวางแผนการเพาะปลูกสับปะรดพันธุ์ควีน<br />

โดยประยุกต์ใช๎ก าหนดการเชิงเส๎นผสมจ านวนเต็ม<br />

Cultivating Planning Logistics for Queen Pineapple using Mixed-integer Linear Programming<br />

บทคัดยํอ<br />

ชัยมงคล ลิ้มเพียรชอบ<br />

1* สมยศ เชิญอักษร 2<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก าแพงแสน อ.ก าแพงแสน จ.นครปฐม 73140<br />

1<br />

ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว<br />

ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กทม. 10400<br />

2 ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด๎านโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

E-mail: 1 chaimongkol129@hotmail.com * , 2 somyot.c@ku.ac.th<br />

สับปะรดในกลุ่มควีนที่ใช้ในการรับประทานผลสดนั้นมีอยู่หลายพันธุ์<br />

แต่มีพันธุ์ใหม่ที่ก<br />

าลังได้รับความนิยมอย่างยิ่งในกลุ่มนักท่องเที่ยวทั้งชาว<br />

ไทยและต่างชาติ คือ สับปะรดพันธุ์เพชรบุรี<br />

ที่มีลักษณะเด่นที่สามารถแกะผลย่อยออกกินได้ทันทีโดยไม่ต้องปอกเปลือก<br />

มีรสหวาน หอมและเนื้อกรอบ<br />

ท า<br />

ให้เกิดปัญหาผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด เนื่องจากเกษตรกรขาดการวางแผนที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่การจัดหาหน่อสับปะรด<br />

การปลูก<br />

จนถึงการเก็บเกี่ยว<br />

อีกทั้งยังมีข้อจ<br />

ากัดในเรื่องของพื้นที่การเพาะปลูก<br />

หน่อสับปะรดที่ใช้ปลูกมีหลายขนาดซึ่งมีผลกระทบต่อรอบระยะเวลาในการปลูก<br />

การ<br />

ใส่ปุ๋ย<br />

การฉีดสารเร่งดอกและการเก็บเกี่ยว<br />

เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงมีการประยุกต์ใช้แบบจ<br />

าลองเชิงเส้นผสมจ านวนเต็ม โดยกา รสร้างเป็น<br />

แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการวางแผนการปลูก<br />

การเลือกขนาดหน่อลงปลูกในแต่ละไร่ การก าหนดรอบเวลาในการใส่ปุ๋ย<br />

และการฉีดสารเร่งดอก<br />

ให้มีประสิทธิภาพ สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ตรงตามเวลาที่ลูกค้าต้องการได้<br />

ผลลัพธ์ของแบบจ าลองเชิงเส้นผสมจ านวนเต็มแสดงให้เห็นว่าสามารถลด<br />

ต้นทุนการเพาะปลูกได้ถึง 3.64% เมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนก่อนการใช้แบบจ<br />

าลอง<br />

ค าส าคัญ : สับปะรดพันธุ์เพชรบุรี,<br />

การวางแผนการเพาะปลูก, ก าหนดการเชิงเส้นผสมจ านวนเต็ม<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The many Queen pineapples are eaten fresh. But <strong>the</strong> new very popular variety among tourists for both Thais and<br />

foreigners is Phetchaburi pineapple. Its features include <strong>the</strong> ability to tear out for eating without peeling, sweet and crispy taste.<br />

This causes <strong>the</strong> productivity insufficient to meet market demand because farmers lack <strong>of</strong> effectiveness from pineapple shoot<br />

procurement and cultivating through to harvesting planning. Besides, <strong>the</strong>re are <strong>the</strong> limitation <strong>of</strong> planting area, different sizes <strong>of</strong><br />

pineapple shoot that impact <strong>of</strong> growing period, fertilization periods, injection <strong>of</strong> florigen period and harvesting period. To solve<br />

this problem, <strong>the</strong>refore, a mixed integer linear programming model was developed for cultivating planning, selection size <strong>of</strong><br />

pineapple shoot in <strong>the</strong> field, setting <strong>the</strong> interval time <strong>of</strong> fertilization, and injection <strong>of</strong> florigen for efficient harvesting to meet<br />

customer needs. The results showed that <strong>the</strong> proposed mixed integer linear programming can be used as a decision supporting<br />

tool that could reduced a total cost up to 3.64% compared with manual planning.<br />

Keywords : Phetchaburi pineapple, Cultivating planning, Mixed-Integer linear programming<br />

B-03<br />

25


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การวางแผนการผลิตกระบอกไฮดรอลิค<br />

กรณีศึกษา บริษัท สามมิตรมอเตอร์สแมนูแฟคเจอริ่ง<br />

จ ากัด (มหาชน)<br />

The Production Planning <strong>of</strong> Hydraulic Cylinder<br />

Case Study <strong>of</strong> SAMMITR MOT<strong>OR</strong>S MANUFACTURING CO., LTD<br />

บุญแตํง สุวงศ์ 1 สุพัฒตรา เกษราพงศ์ 2*<br />

มหาวิทยาลัยศรีปทุม 61 ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 boontang.suw@hotmail.com, 2 suphattra.ke@spu.ac.th*<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวางแผนก<br />

าลังการผลิตกระบอกไฮดรอลิคซึ่งประกอบด้วย<br />

4 กระบวนการผลิตย่อย คือ คันลูกสูบ (Piston-Rod)<br />

ลูกสูบ (Piston) ฝาครอบ (Head Cover) และตัวท่อ (Tube) ขั้นตอนในการศึกษาประกอบด้วย<br />

3 ขั้นตอน<br />

คือ ขั้นตอนแรก<br />

การค านวณเวลามาตรฐาน<br />

ขั้นตอนที่<br />

2 วิเคราะห์ความสามารถในการผลิต ขั้นตอนที่<br />

3 วางแผนการผลิต โดยแผนการผลิตถูกแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ แผนการผลิตรวม แผนการผลิต<br />

หลัก และแผนการผลิตระดับปฎิบัติการ ในการวางแผนการผลิตรวมเลือกใช้กลยุทธ์ 3 กลยุทธ์ คือ (1) กลยุทธ์ตามติดความต้องการ (2) กลยุทธ์การผลิต<br />

สม่าเสมอ<br />

และ (3) กลยุทธ์การผลิตตามความต้องการและปรับระดับก าลังการผลิตขึ้นลงตามการผลิตเท่าที่ท<br />

าได้ ผลการศึกษาพบว่าในการวางแผนการผลิต<br />

รวม กลยุทธ์ที่<br />

1 เหมาะกับกระบวนการผลิตคันลูกสูบ กลยุทธ์ที่<br />

3 เหมาะกับกระบวนการผลิตลูกสูบ ฝาครอบ และตัวท่อ นอกจากนั้นเมื่อวางแผนการผลิต<br />

หลักและแผนการผลิตระดับปฏิบัติการ พบว่าสามารถผลิตกระบอกไฮดรอลิคได้เพิ่มขึ้น<br />

จากเดิมอัตราการผลิตโดยเฉลี่ย<br />

748 ชุดต่อเดือน เป็น 1,238 ชุดต่อ<br />

เดือน คิดเป็นอัตราการผลิตเพิ่มขึ้น<br />

65.51 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายที่วางไว้<br />

ค าส าคัญ : การวางแผนการผลิต, แผนการผลิตรวม, แผนการผลิตหลัก, แผนการผลิตระดับปฏิบัติการ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research aims at developing hydraulic cylinder manufacturing capacity planning by focusing on 4 processes, (1)<br />

piston-rod (2) piston (3) head cover and (4) tube. The three research steps begin with (1) setting a standard time, (2) capacity<br />

analysis, and (3) production planning. The approach <strong>of</strong> production planning is divided into 3 levels: aggregated planning, master<br />

production plan, and production scheduling. The strategies used in aggregated production planning contain 3 strategic approaches<br />

which are (1) following up <strong>the</strong> demand strategy, (2) establishing a steady production plan strategy, and (3) making to order and<br />

adjusting <strong>the</strong> capacity level strategy. This research found that in production planning <strong>the</strong> first strategy is suitable for <strong>the</strong> piston-rod<br />

process. As <strong>the</strong> result, this implementation increased capacity from 748 parts/month to 1,238 parts/month which is equal to a<br />

65.57% increase in <strong>the</strong> consistence target.<br />

Keywords : Production Planning, Aggregated Planning, Master Production Planning, Shop floor planning<br />

B-04<br />

26


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การจัดตารางการผลิตแบบตามสั่ง<br />

ส าหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ<br />

A Study <strong>of</strong> Job Shop Production Scheduling in Textile Industry<br />

ยอดดวงใจ นาคปฐม 1 * กัญจนา ทองสนิท 2<br />

มหาวิทยาลัยศิลปกร อ. เมือง จ.นครปฐม 73000 โทร 0-3421-9362 ,โทรสาร 0-3421-9362<br />

E-mail: 1 zookzn@hotmail.com*, 2 kanjanath7@yahoo.com<br />

งานวิจัยฉบับนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและหาวิธีการจัดตารางการผลิตที่เหมาะสมส<br />

าหรับการผลิตแบบตามสั่งในโรงงานย้อมผ้า<br />

โดยวิธีการ<br />

ทางฮิวริสติกส์ (Heuristics) เพื่อลดจ<br />

านวนงานล่าช้า (Number <strong>of</strong> tardy jobs) และเวลาในการปรับตั้งเครื่องจักร<br />

(Setup Time) จากสภาพปัญหา<br />

ปัจจุบันของโรงงานฟอกย้อมแห่งหนึ่ง<br />

มีปัญหาการส่งมอบสินค้าล่าช้าจ านวนมาก สาเหตุเกิดจากความขัดแย้งในการจัดล าดับการผลิตระหว่างผู้จัดตาราง<br />

การผลิตและฝ่ายผลิต โดยผู้จัดตารางการผลิตจะพิจารณาก<br />

าหนดส่งเป็นหลัก ท าให้ตารางการผลิตมีการสลับเฉดสีไปมาและต้องเสียเวลาท าความสะอาด<br />

เครื่องย้อมหรือเสียเวลาในการเตรียมการผลิตบ่อยครั้ง<br />

แต่ฝ่ายผลิตต้องการแผนการผลิตที่มีการสลับเฉดสีน้อยที่สุด<br />

จึงท าการจัดล าดับงานใหม่ ส่งผลให้งาน<br />

กระจุกตัวบางเครื่อง<br />

เกิดการรอคอยและผลิตไม่ทันตามก าหนดส่ง ซึ่งงานวิจัยนี้แบ่งเป็น<br />

2 ส่วน ส่วนแรกเป็นศึกษาการจัดล าดับงานในแต่ละเครื่องจักร<br />

โดย<br />

ใช้วิธีการทางฮิวริสติกส์ (Heuristics) ได้แก่ FCFS, EDD, SPT, LPT, MST ,EDD+LPT และ EDD+MST เพื่อให้มีจ<br />

านวนงานล่าช้าน้อยที่สุด<br />

และในส่วนที่<br />

สอง เป็นการศึกษาพิจารณาการย้ายงานระหว่างเครื่องย้อม<br />

เพื่อเพิ่มโอกาสในการผลิตให้ทันก<br />

าหนดส่ง โดยจะวัดประสิทธิภาพจากจ านวนงานล่าช้าต่าสุด<br />

ช่วงกว้างของระยะเวลาการท างานที่สั้นที่สุดเพื่อเพิ่มความพึงพอใจของผู้จัดตารางและเสียเวลาในการปรับตั้งเครื่องจักรน้อยที่สุดตามความต้องการของฝ่าย<br />

ผลิต จากการศึกษาพบว่า การจัดตารางการผลิตแบบฮิวริสติกส์ผสมผสาน EDD+LPT โดยให้จ านวนงานล่าช้าลดลงจาก 166 งาน เป็น 78 งาน ซึ่งลดลง<br />

จากเดิม 53.01% และจ านวนการครั้งในการท<br />

าความสะอาดเครื่องย้อม<br />

ลดลงจาก 117 ครั้ง<br />

เหลือ 98 ครั้ง<br />

คิดเป็นลดลงจากเดิม 16.24%<br />

ค าส าคัญ : การจัดตารางการผลิต, การผลิตแบบตามสั่ง,<br />

เวลาในการเตรียมการผลิต, วิธีการทางฮิวริสติกส์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research aimed to study and find proper scheduling method for <strong>the</strong> job shop manufacturing in textile factory by<br />

using heuristics to reduce number <strong>of</strong> tardy jobs and frequency <strong>of</strong> changer over occurred. Current situation in a case textile factory<br />

had faced delivery problem, <strong>the</strong>re was a lot <strong>of</strong> tardy jobs. Confliction between schedulers and production crew in production<br />

sequence was <strong>the</strong> cause <strong>of</strong> this problem. Schedulers would consider delivery due date that result in having many different colors<br />

in dyeing machines that lead to waste time to cleaning machine implied changeover activity. O<strong>the</strong>rwise, Production crew<br />

considered production sequence with few different colors in dyeing machines. Production sequence revised by production crew<br />

would bring a cluster <strong>of</strong> jobs and idle into machine that influence to delayed delivery. This research composed <strong>of</strong> 2 parts, which<br />

are to study production sequence in each machine by using heuristics include EDD, SPT, LPT, MST,EDD+LPT and EDD+MST for<br />

reducing tardy jobs at least and to study jobs allocation between machines for increasing chance to on time delivery. Lowest<br />

number <strong>of</strong> tardy jobs, shortest makes pan and frequency <strong>of</strong> changeover was used to measure effectiveness <strong>of</strong> each heuristic<br />

approach compared with conventional approach. After study found that EDD&LPT heuristic approach generated most effective<br />

schedule. Numbers <strong>of</strong> tardy job were reduced from 166 jobs to 78 jobs that reduced 53.01% from conventional approach and<br />

frequencies <strong>of</strong> changeover were reduced from 117 to 98 that reduced 16.24 % from conventional approach.<br />

Keywords : Scheduling, Job Shop Production, Setup Time, Heuristics<br />

B-05<br />

27


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การวิเคราะห์จุดเหมาะสมของการวางแผนการผลิตเครื่องประดับ<br />

On <strong>the</strong> Optimum Analysis <strong>of</strong> Jewelry Production Planning<br />

ภูวิศา เพ็ชรชํวย 1* นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์ 2 วันชัย ลีลากวีวงศ์ 3<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

E-mail: 1 phuwisa@gmail.com * , 2 Nitiponsopon@hotmail.com, 3 lwanchai@su.ac.th<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการพยากรณ์ความต้องการการวางแผนการผลิตที่เหมาะสม<br />

และวิเคราะห์แนวโน้มยอดขายในอนาคต<br />

เพื่อวางแผนการผลิตให้ดีขึ้น<br />

โดยเป็นการศึกษาการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา ในงานวิจัยนี้ได้ท<br />

าการศึกษาถึงลักษณะข้อมูลปริมาณยอดขายในอดีตของ<br />

สินค้า ซึ่งเวลาในการท<br />

าวิจัยนี้ใช้ข้อมูลปริมาณการขายโดยรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ปี<br />

พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2555 เพื่อใช้เลือกเทคนิคการพยากรณ์ให้เหมาะสม<br />

กับรูปแบบของข้อมูล จากการเปรียบเทียบด้วยการพยากรณ์ 3 วิธี ได้แก่วิธีการแยกส่วนประกอบ วิธีการปรับให้เรียบแบบเอ็กซโพเนนชียลของวินเทอร์และ<br />

วิธีวิธีบอกซ์-เจนกินส์ โดยพิจารณาเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนของวิธีกาพยากรณ์การหาค่าเฉลี่ยความผิดพลาดร้อยละสัมบูรณ์<br />

(Mean Absolute<br />

Percentage Error, MAPE) ผลการทดสอบปรากฏว่าวิธีการพยากรณ์ที่ให้ค่าความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด<br />

คือวิธีวิธีการปรับให้เรียบแบบเอ็กซโพเนนชียล<br />

ของวินเทอร์ จากนั้นได้น<br />

าวิธีการพยากรณ์ทดลองใช้กับปริมาณยอดขายจริง พบว่า จากการพยากรณ์ปริมาณการสั่งซื้อล่วงหน้า<br />

ปีพ.ศ. 2555 ด้วยวิธีวิน<br />

เทอร์ ในช่วงเดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม 2555 เปรียบเทียบกับยอดขายจริงมีความใกล้เคียงกับการพยากรณ์ โดยมีความแตกต่างรวมเพียง 2,048 ชิ้น<br />

ค าส าคัญ : การพยากรณ์, เครื่องประดับ,<br />

อนุกรมเวลา<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The objective <strong>of</strong> this research was to determine <strong>the</strong> pattern <strong>of</strong> demand forecasting, production planning appropriate<br />

and analysis <strong>of</strong> sales trends in order to better plan <strong>the</strong>ir production. This research is a time-series forecasting. This research studies<br />

<strong>the</strong> effects <strong>of</strong> past sales data, <strong>the</strong> amount <strong>of</strong> product. The research collected <strong>the</strong> sales data from year 2008 to 2012 To use<br />

forecasting techniques to fit <strong>the</strong> format <strong>of</strong> <strong>the</strong> data. Comparison with <strong>the</strong> predictions <strong>of</strong> 3 methods such as Decomposition<br />

method smooth, Winter’s Exponential Smoothing and Box-Jenkins method. And <strong>the</strong>n selected suitable forecast techniques and<br />

methods by comparing Mean Absolute Percentage Error (MAPE). The result was shown that Winter’s Exponential Smoothing<br />

techniques could generate <strong>the</strong> least Mean Absolute Percentage (MAPE). After that we applied <strong>the</strong> technique to forecast 2012 sales<br />

volume. During January to May 2555 compared with actual sales are close to <strong>the</strong> forecast. There are a difference total 2,048<br />

pieces.<br />

Keywords : Forecasting, Jewelry, Time series<br />

B-06<br />

28


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลตํอการเลือกผู๎ให๎บริการขนสํงสินค๎าอัญมณีและเครื่องประดับเพื่อการสํงออก<br />

ด๎วยเทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก<br />

Analysis <strong>of</strong> Factors Effecting Choice <strong>of</strong> Air Freight Forwarder Specialist in Valuable Cargo for<br />

Export Gems and Jewelry with Logistic Regression<br />

บทคัดยํอ<br />

จตุพร เลิศหิรัญปัญญา 1* สรวิชญ์ เยาวสุวรรณไชย 2<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กรุงเทพฯ 10140<br />

E-mail: 1 ann_jl_9@hotmail.com * , 2 sorawit.yao@kmutt.ac.th<br />

ในปี 2554 อัญมณีและเครื่องประดับเป็นสินค้าส่งออกส<br />

าคัญของไทยในอันดับ 4 โดยมีมูลค่าการส่งออกถึง 371,240.29 ล้านบาท เนื่องจาก<br />

อัญมณีและเครื่องประดับเป็นสินค้าที่มีมูลค่าสูง<br />

ดังนั้นการเลือกผู้ให้บริการขนส่งจึงเป็นส่วนส<br />

าคัญ ผู้ส่งออกจะเลือกโดยพิจารณาจากปัจจัยต่าง<br />

ๆ ซึ่งผู้<br />

ให้บริการก็ต้องการที่จะทราบปัจจัยเหล่านั้นเพื่อน<br />

ามาก าหนดกลยุทธ์และพัฒนาการให้บริการที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ส่งออกได้อย่าง<br />

เหมาะสม และการที่ผู้ส่งออกสามารถเลือกผู้ให้บริการที่ตรงกับความต้องการและสอดคล้องกับลักษณะการด<br />

าเนินงานจะเป็นส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนา<br />

ระบบโลจิสติกส์ของผู้ส่งออกด้วย<br />

ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกผู้ให้บริการขนส่งที่เชี่ยวชาญด้านการขนส่งสินค้า<br />

มูลค่าสูงทางอากาศส าหรับการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับ<br />

งานวิจัยนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ<br />

กลุ่มตัวอย่าง<br />

คือ ผู้ส่งออกอัญมณี<br />

และ<br />

เครื่องประดับจ<br />

านวน 250 ราย อย่างไรก็ตามผู้วิจัยได้แบบสอบถามที่สมบูรณ์กลับมาจ<br />

านวน 159 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.60 การวิเคราะห์ผลในส่วนข้อมูล<br />

ทั่วไปจะใช้สถิติพื้นฐาน<br />

ผลที่ได้พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้จ<br />

าหน่ายที่ไม่มีโรงงานผลิตเป็นของตนเองและไม่มีสาขาในต่างประเทศ<br />

ตลาดส่งออกหลัก<br />

อยู่ในทวีปเอเชีย<br />

ยุโรปและอเมริกาตามล าดับ ในส่วนของการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกผู้ให้บริการขนส่งสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับจะใช้การ<br />

วิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่ม<br />

(Binary Logistic Regression) เนื่องจากตัวแปรตาม<br />

(Y) มีค่าเพียงสองค่า คือ เลือกหรือไม่เลือกใช้บริการ<br />

จากการวิเคราะห์ทั้ง<br />

20 ปัจจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกผู้ประกอบการขนส่งสินค้ามูลค่าสูงมากที่สุด<br />

ได้แก่ การติดตามสินค้า (B = 1.213, Sig =<br />

0.003) การบริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (B = 2.471, Sig = 0.004) และสถานที่ตั้งของบริษัท<br />

(B = -2.722, Sig = 0.007) ตามล าดับ<br />

ค าส าคัญ : ผู้ประกอบการขนส่ง,<br />

อัญมณีและเครื่องประดับ,<br />

การตัดสินใจ, การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก<br />

<strong>Abstract</strong><br />

In 2011, gems and jewelry ranked <strong>the</strong> fourth most exported product <strong>of</strong> Thailand with <strong>the</strong> export value <strong>of</strong> 371,240.29<br />

million baht. Since gems and jewelry are valuable cargo so transportation is <strong>the</strong> core process that should be considered. Exporters<br />

will decide which freight forwarder to be used by considering many factors. Freight forwarders also need to know those factors in<br />

order to set strategy and enhance service quality to meet customer’s needs. In contrast, if exporters can choose freight forwarders<br />

that match <strong>the</strong>ir operating procedure, it would help improve <strong>the</strong>ir logistics system. The purpose <strong>of</strong> this research is to find <strong>the</strong> main<br />

factors that affect choice <strong>of</strong> using air freight forwarder specialist in valuable cargo for export gems and jewelry. Questionnaires<br />

were given to 250 gems and jewelry exporters. Completed 159 questionnaires were returned with 63.3 percent response rate. The<br />

result for general information revealed that most <strong>of</strong> exporters are sellers that do not have <strong>the</strong>ir own factory and overseas branch.<br />

Main export markets are in Asia, Europe and USA. Binary Logistic Regression is use to analyze main factor that effect choice <strong>of</strong> air<br />

freight forwarder specialist in valuable cargo because <strong>the</strong> dependent variable is a binary (choose or not choose). The result reveals<br />

that from 20 factors “track and trace service <strong>of</strong>fering” (B = 1.213, Sig = 0.003) is <strong>the</strong> most affected factor, followed by “one stop<br />

service” (B = 2.471, Sig = 0.004) and “company location” (B = -2.722, Sig = 0.007).<br />

Keywords : Freight Forwarder, Gems and Jewelry, Decision, Logistic Regression<br />

B-07<br />

29


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

แบบจ าลองการจัดการปริมาณรถบรรทุกส าหรับความต๎องการที่ไมํแนํนอน<br />

Truck Capacity Managing Model for Uncertainty Demand<br />

1* 2<br />

วัฒนา แย๎มประยูรสวัสดิ์<br />

โอฬาร กิตติธีรพรชัย<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหมํ เขตปทุมวัน กทม. 10330<br />

E-mail: 1 wattana.ys@gmail.com * , 2 oran.k@chula.ac.th<br />

ปัจจุบันผู้ผลิตจ<br />

านวนมากนิยมส่งสินค้าไปยังลูกค้าผ่านผู้ให้บริการขนส่ง<br />

ปัญหาส าคัญประการหนึ่งของผู้ให้บริการขนส่งคือการจัดการรถบรรทุก<br />

ให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ผลิตสินค้าเนื่องจากปริมาณรถบรรทุกที่ผู้ผลิตต้องการในแต่ละวันมีความแปรปรวนสูงและขาดการวางแผนขนส่<br />

งที่<br />

ประสิทธิภาพ ดังนั้นทางคณะวิจัยจึงศึกษาการวางแผนขนส่งของผู้ให้บริการขนส่งโดยพิจาณาค่าใช้จ่ายจากการเตรียมรถบรรทุกจ<br />

านวนน้อยเกินไ ป<br />

เปรียบเทียบกับความสูญเสียโอกาสหากมีการเตรียมจ านวนรถบรรทุกมากเกินไป และพบว่าการตัดสินใจดังกล่าวมีลักษณะคล้ายคลึงกับปัญหาการจัดการ<br />

พัสดุคงคลังแบบความต้องการไม่แน่นอนหรือ ปัญหา Newsvendor ซึ่งสามารถน<br />

ามาประยุกต์เพี่อสร้างกรอบการท<br />

าสัญญาระหว่างผู้ผลิตและผู้ให้บริการ<br />

ขนส่งขึ้นเพื่อให้คู่สัญญาทั้งสองมีความร่วมมือในการวางแผนขนส่งและการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นระบบ<br />

จากผลการศึกษาข้อมูลของบริษัทผลิตสินค้า<br />

เครื่องดื่ม<br />

และบริษัทผู้ให้บริการขนส่งขนาดใหญ่รายหนึ่งพบว่า<br />

ผู้ให้บริการขนส่งจะสามารถลดต้นทุนได้อย่างมีนัยส<br />

าคัญ ถ้าสัญญาการขนส่งเปิดโอกาสให้<br />

ผู้ผลิตสามารถปรับจ<br />

านวนรถบรรทุกได้ก่อนการขนส่งจริงล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน<br />

ค าส าคัญ : การจัดการสัญญาทางด้านขนส่ง, การจ าลองสถานการณ์, ตัวแบบ Newsvendor, การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

Manufacturers have increasingly employed carriers to deliver products to <strong>the</strong>ir customers. One important issue <strong>of</strong> such<br />

practice is high variability in truck-capacity resulted from <strong>the</strong> fluctuation in a number <strong>of</strong> trucks requested by manufacturers and<br />

<strong>the</strong> inefficient delivery planning between both parties. We modeled a decision on a number <strong>of</strong> truck requested by a manufacturer<br />

as an economic trade-<strong>of</strong>f between costs associated with insufficient trucks and opportunities to utilize reserved trucks and found<br />

that this trade-<strong>of</strong>f is similar to <strong>the</strong> decision in Newsvendor problem, an inventory control model with uncertainty demands.<br />

Newsvendor results can be used to form a contractual framework between a manufacturer and a carrier that enhances<br />

collaboration in delivery planning and information exchange. To illustrate this concept, we analyzed delivery planning between a<br />

beverage manufacturer and a large carrier and embedded data into our model. The model suggests that <strong>the</strong> total cost could be<br />

reduced if <strong>the</strong> manufacturer updates a number <strong>of</strong> trucks at least three days in advance.<br />

Keywords : Transportation Contract Management, Simulation model, Newsvendor Model, Multiple Regression<br />

B-08<br />

30


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การประยุกต์ใช๎แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ส าหรับการเลือกท าเลที่ตั้งศูนย์กระจายอุปกรณ์<br />

Applying Ma<strong>the</strong>matical Model for Location Selection <strong>of</strong> Spare Part Distribution Center<br />

บทคัดยํอ<br />

สิริกานต์ จันทร์ศิริ 1* กนกพร ศรีปฐมสวัสดิ์<br />

2<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าพระนครเหนือ<br />

1518 ถนนพิบูลสงคราม แขวงวงศ์สวําง เขตบางซื่อ<br />

กรุงเทพฯ 10800<br />

E-mail: 1 met_engineer@hotmail.com * , 2 kanokporns@kmutnb.ac.th<br />

และ คเณศ พลอยดนัย 3<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

E-mail: 3 tong_whyme@hotmail.com<br />

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อน<br />

าเสนอแนวคิดในการวิเคราะห์หาท าเลที่ตั้งศูนย์กระจายอุปกรณ์ย่อยของแต่ละภูมิภาคที่เหมาะสม<br />

เพื่อลดต้นทุน<br />

ในการด าเนินการ ด้วยการพัฒนาแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ในการเลือกที่ตั้งของศูนย์กระจายอุปกรณ์<br />

เพื่อท<br />

าให้เกิดค่าใช้จ่ายในการด าเนินการที่ต่าที่สุด<br />

และท าการทดสอบข้อมูลโดยใช้ Excel solver ผู้วิจัยได้ด<br />

าเนินการศึกษาปัญหาวิจัย ท าการตั้งสมมิฐานของการวิจัย<br />

และได้ผลการศึกษาในแต่ละ<br />

สถานการณ์ (Scenario) ดังนี้<br />

สถานการณ์ที่<br />

1 : เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการด าเนินการเชิงเศรษฐศาสตร์ ใน 3 ทางเลือก คือ ไม่มีการตั้งศูนย์ภูมิภาค,<br />

มี<br />

การตั้งศูนย์ภูมิภาคทั้ง<br />

4 ภูมิภาค และมีการตั้งศูนย์ภูมิภาคใน<br />

3 ภูมิภาค พบว่า มีการตัดสินใจเลือกที่ตั้งศูนย์ฯ<br />

ที่ทางเลือกที่<br />

3 คือ มีการตั้งศูนย์ใน<br />

3<br />

ภูมิภาค และมีค่าใช้จ่ายในการด าเนินการรวมทั้งหมดเท่ากับ<br />

463,096 บาท สถานการณ์ที่<br />

2 : เป็นการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์และทดสอบกับข้อมูล<br />

กรณีศึกษา เพื่อเลือกที่ตั้งศูนย์ภูมิภาคและให้ค่าใช้จ่ายในการตั้งศูนย์เท่ากันทุกจังหวัด<br />

โดยใช้ค่าเฉลี่ยในการตั้งศูนย์ฯ<br />

ส่วนค่าขนส่งแตกต่างกันตามภูมิภาค<br />

และระยะทาง ผลการเลือกที่ตั้งศูนย์ฯจะอยู่ที่สุราษฎร์ธานี<br />

และ นครราชสีมา มีค่าใช้จ่ายในการด าเนินการรวมทั้งหมดเท่ากับ<br />

332,146 บาท และ<br />

สถานการณ์ที่<br />

3 : เป็นการน าตัวแบบทางคณิตศาสตร์มาทดสอบกับข้อมูลกรณีศึกษา โดยแบ่งกลุ่มค่าใช้จ่ายในการตั้งศูนย์ให้แตกต่างกันตามกลุ่มค่าครอง<br />

ชีพ ผลการเลือกที่ตั้งศูนย์ฯจะอยู่ที่สุราษฎร์ธานี<br />

และ นครราชสีมา มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมดเท่ากับ<br />

335,027 บาท หลังจากนั้นใช้วิธี<br />

Enumerative Method<br />

ผลการตัดสินใจเลือกที่ตั้งศูนย์ฯ<br />

ภูมิภาคเพิ่มเติมจากศูนย์กรุงเทพฯ<br />

จะอยู่ที่พิษณุโลก<br />

มีค่าใช้จ่ายในการด าเนินการเท่ากับ 460,464 บาท<br />

ค าส าคัญ : ศูนย์กระจายอุปกรณ์, การเลือกท าเลที่ตั้ง,<br />

แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This study is to present ideas on how to determine locations <strong>of</strong> regional spare part distribution center. The objective is<br />

to reduce total operation cost. The ma<strong>the</strong>matical model is formulated to select locations <strong>of</strong> distribution center, due to minimize<br />

total cost. Then <strong>the</strong> data is tested using Excel Solver. Three scenarios are performed as followings: Scenario 1: Comparison <strong>of</strong><br />

operation costs <strong>of</strong> <strong>the</strong> three choices shown that <strong>the</strong> total cost is 463,096 baht for three regional. Scenario 2: A ma<strong>the</strong>matical<br />

model is studied. The opening costs <strong>of</strong> regional center are equal in all provinces. The conclusion is to locate at Surat Thani and<br />

Nakhon Ratchasima, and <strong>the</strong> total cost is 332,146 baht. Scenario 3: The ma<strong>the</strong>matical model was tested. The opening costs <strong>of</strong><br />

regional center are different in each province. This scenario concludes to locate at Surat Thani and Nakhon Ratchasima, and <strong>the</strong><br />

total cost is 335,027 baht. After that, <strong>the</strong> enumerative method is applied to determine location <strong>of</strong> regional center. It is located at<br />

Pitsanulok. The total cost is 460,464 baht.<br />

Keywords : Spare Part Distribution Center, Selection Location, ma<strong>the</strong>matical model<br />

B-09<br />

31


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การเลือกเส๎นทางการขนสํงสินค๎าประเภทเทกองโดยใช๎โปรแกรมพลวัต<br />

กรณีศึกษา บริษัท ซีทรานส์ จ ากัด<br />

Path Selection for Bulk Cargo Transportation using Dynamic Programming :<br />

A Case Study <strong>of</strong> Sea Trans Co., Ltd.<br />

อภิชิต มณีงาม 1* กนกพร ศรีปฐมสวัสดิ<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าพระนครเหนือ แขวงบางซื่อ<br />

เขตบางซื่อ<br />

กรุงเทพมหานคร 10800<br />

E-mail: 1 apichitooo@hotmail.com * , 2 kanokporns@kmutnb.ac.th<br />

และ อภินันทนา อุดมศักดิกุล 3<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กรุงเทพมหานคร 10140<br />

E-mail: 3 apinanthana.udo@kmutt.ac.th<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการเลือกเส้นทางการขนส่งสินค้าประเภทเทกองของ<br />

บริษัท ซีทรานส์ จ ากัด ให้ที่มีต้นทุนในการขนส่งต่า<br />

ที่สุด<br />

โดยมีเงื่อนไขที่มีบางเส้นทางไม่สามารถขนส่งผ่านได้<br />

และ แต่ละเส้นทางมีขั้นตอนการขนส่งไม่เหมือนกัน<br />

การศึกษานี้น<br />

าข้อมูลต้นทุนการขนส่งรวมใน<br />

อดีตมาท าการวิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการเลือกเส้นทางการขนส่งสินค้า เริ่มตั้งแต่การขนส่งจากเรือบรรทุกสินค้าอยู่กลางอ่าวไทยจนถึงโรงงานของลูกค้า<br />

ปัญหาการขนส่งดังกล่าวมีลักษณะการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ<br />

(Multimodal Transport) งานวิจัยนี้ได้น<br />

าวิธีโปรแกรมพลวัต (Dynamic<br />

Programming) มาประยุกต์ใช้ในการเลือกเส้นทางการขนส่งที่ดีที่สุด<br />

จากผลการศึกษาพบว่า โปรแกรมพลวัตที่น<br />

าเสนอสามารถลดต้นทุนรวมในการขนส่ง<br />

โดยเฉลี่ย<br />

17% จากการเลือกเส้นทางการขนส่งแบบเดิม<br />

ค าส าคัญ : การเลือกเส้นทางการขนส่ง, โปรแกรมเชิงพลวัต<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research aims to improve <strong>the</strong> path selection for bulk cargo transport <strong>of</strong> Sea Trans Co., Ltd. In order to minimize <strong>the</strong><br />

total transportation cost two transportation constraints are included. The first is some paths are unable to pass through. The latter<br />

is <strong>the</strong> transportation stages are different. In this study, <strong>the</strong> transportation data is analyzed for improving <strong>the</strong> path selection from<br />

<strong>the</strong> container vessels in <strong>the</strong> gulf <strong>of</strong> Thailand to <strong>the</strong> customer inland. This type <strong>of</strong> transportation problem is called Multimodal<br />

Transport problem. In this research <strong>the</strong> dynamic programming is applied to select <strong>the</strong> transportation route that have minimum<br />

total cost. The results illustrate that <strong>the</strong> total cost <strong>of</strong> transportation can be reduced to 17% from <strong>the</strong> original path selection<br />

method.<br />

Keywords : Path selection, Transportation problem, Dynamic programming<br />

์ 2<br />

B-10<br />

32


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การประยุกต์โปรแกรมเชิงเส๎นแบบจ านวนเต็มในการขนสํงแบบวนรอบ<br />

An Approach <strong>of</strong> Integer Linear Programming in Milk Run Vehicle Routing<br />

ศุภิกา เหลืองกุหลาบ 1* สกาวรัตน์ ศรีเจริญ 2 สาวิตรี แก๎วกลัด 3 และ สุขสันติ์<br />

พรหมบัญพงศ์ 4<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กรุงเทพฯ 10140<br />

E-mail: 1 jugkajee_sj@hotmail.com * , 2 nate_ningnong@hotmail.com,<br />

3 4<br />

kaewklat_fon@hotmail.com, suksan.pro@gmail.com<br />

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อออกแบบเส้นทางการขนส่งแบบวนรอบที่เหมาะสมโดยใช้หลักการโปรแกรมเชิงเส้นแบบจ<br />

านวนเต็ม (Integer linear<br />

programming model) ในการวิเคราะห์หาค าตอบ และให้ได้ต้นทุนการขนส่งที่ต่าสุด<br />

เนื่องจากรถขนส่งชิ้นส่วนสามารถเดินทางไปรับชิ้นส่วนจากผู้ผลิตได้<br />

จ ากัด ดังนั้น<br />

ผู้ผลิตจะถูกจัด<br />

แบ่งเป็นกลุ่มๆ<br />

ตามสถานที่ตั้ง<br />

และข้อจ ากัดในการขนส่ง เช่น เวลาในการขนส่งต่อรอบ ปริมาตรและ น้าหนักในการบรรทุก<br />

ฯลฯ ซึ่งบริษัทตัวอย่างจะต้องไปรับผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตจ<br />

านวน 33 ราย ผู้ผลิตดังกล่าวจึงถูกแบ่งออกเป็น<br />

4 กลุ่ม<br />

และจัดเส้นทางแบบวนรอบ ที่ดีที่สุด<br />

ภายในกลุ่ม<br />

และผลการวิจัยพบว่าการขนส่งแบบวนรอบท าให้ประสิทธิภาพในระบบโลจิสติกส์ เพิ่มขึ้นตอบสนองความต้องการด้าน<br />

just in time ของ<br />

บริษัทและค่าใช้จ่ายในการขนส่งลดลง<br />

ค าส าคัญ : การจัดเส้นทางการเดินรถ, โปรแกรมเชิงเส้นแบบจ านวนเต็ม, การขนส่งแบบวนรอบ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The objective <strong>of</strong> this research is to design a vehicle routing in milk run problem by <strong>the</strong> Integer linear programming<br />

model in order to obtain minimum delivery cost. Due to <strong>the</strong> fact that each vehicle can travel at limited distances; <strong>the</strong>refore, all<br />

destination nodes are divided into groups based on time constraint, volume and weight, etc. Thus, all thirty-three destinations are<br />

divided into 4 groups and <strong>the</strong> routing <strong>of</strong> each group is calculated. It is found that <strong>the</strong> result routing increases <strong>the</strong> logistic efficiency<br />

and make just in time policy possible. In addition, <strong>the</strong> transportation expenses are also reduced as a consequence.<br />

Keywords : Vehicle Routing Problem, Integer Linear Programming, Milk run Transportation<br />

B-11<br />

33


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

Adaptive Genetic Algorithm for Designing Non-identical Rectangular Machine Layout<br />

Suthasinee Singpraya 1 Surachid Dedklen 2 Srisatja Vitayasak 3 and Pupong Pongcharoen 4<br />

Centre <strong>of</strong> Operations Research and Industrial Applications, Department <strong>of</strong> Industrial Engineering,<br />

Faculty <strong>of</strong> Engineering, Naresuan University, Phitsanulok, Thailand 65000.<br />

E-mail: 3 srisatjav@nu.ac.th , 4 pupongp@nu.ac.th *<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The performance <strong>of</strong> finding an optimal solution is always a crucial topic in <strong>the</strong> field <strong>of</strong> operations research. In stochastic<br />

search process, <strong>the</strong> performance <strong>of</strong> metaheuristics usually depends on <strong>the</strong> setting <strong>of</strong> its parameters. A majority <strong>of</strong> research in this<br />

area is <strong>of</strong>ten focused on <strong>the</strong> static parameter settings adopted from previous research or best guess approach. In this paper, an<br />

adaptive Genetic Algorithm (aGA) is proposed for solving machine layout design (MLD) problem. In <strong>the</strong> adaptive process<br />

embedded in <strong>the</strong> aGA, <strong>the</strong> parameter was dynamically adjusted according to <strong>the</strong> standard deviation <strong>of</strong> fitness values during<br />

evolution process. The proposed algorithm was aimed to minimise total handling distance <strong>of</strong> materials flowing between nonidentical<br />

rectangular machines located in <strong>the</strong> manufacturing shop floor. A series <strong>of</strong> computional experiments was designed and<br />

conducted using four MLD benchmarking datasets adpoted from literature. The statistical analysis on <strong>the</strong> experimental results<br />

suggested that <strong>the</strong> proposed aGA was able to increase <strong>the</strong> diversity <strong>of</strong> chromosomes during searching process. The average<br />

distances obtained from each problem using <strong>the</strong> proposed GA with adpative parameter setting were significantly lower than those<br />

obtianed from GA with conventional setting. It was also found that <strong>the</strong> quality <strong>of</strong> <strong>the</strong> best-so-far solutions obtained from GA with<br />

both adaptive and optimised parameter settings were statistically insignificance.<br />

Keywords : Machine layout design, Multiple rows, Adaptive Genetic Algorithm, Mutation.<br />

B-12<br />

34


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

วิธีการเชิงพันธุกรรมแบบผสมผสานส าหรับปัญหาการจัดตารางการท างานแบบหลายจุดประสงค์<br />

ภายใต๎เงื่อนไขบุคลากรและภาระงานที่ซับซ๎อน<br />

Hybrid Genetic Algorithm Approach to Multiobjective Workforce Scheduling<br />

With Complex Worker and Task Constraints<br />

ธนัชพร วงศ์เวียน 1 สืบศักดิ์<br />

นันทวานิช 2*<br />

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คลองหลวง ปทุมธานี 12121<br />

E-mail: 1 w.tanuchporn@gmail.com, 2 suebsak@siit.tu.ac.th *<br />

การแก้ไขปัญหาการจัดตารางการท างานซึ่งมีการหมุนเวียนงานและอยู่ภายใต้เงื่อนไขด้านบุคลากรและภาระงานที่ซับซ้อนได้ถูกน<br />

ามาพิจารณา<br />

ในแต่ละช่วงเวลาบุคลากรจะถูกสับเปลี่ยนงานเพื่อป้องกันการสัมผัสอันตรายด้านการยศาสตร์เกินปริมาณที่ก<br />

าหนด วิธีการเชิงพันธุกรรมแบบผสมผสานได้<br />

ถูกน ามาใช้ในการแก้ปัญหาดังกล่าว แบบจ าลองเชิงคณิตศาสตร์ได้ถูกสร้างขึ้นโดยครอบคลุมทั้งด้านต้นทุนก<br />

าลังคนและประสิทธิภาพการท างานของระบบ<br />

และมีวัตถุประสงค์ที่จะค้นหาตารางการท<br />

างานโดยใช้จ านวนผู้ปฏิบัติงานน้อยที่สุด<br />

มีคะแนนรวมของสมรรถภาพในการปฏิบัติงานมากที่สุด<br />

และมีจ านวน<br />

การเปลี่ยนงานน้อยที่สุดตามล<br />

าดับ กระบวนการฮิวริสติกส์ถูกน ามาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างค<br />

าตอบเริ่มต้นที่ดีให้แก่วิธีการเชิงพันธุกรรม<br />

ค าตอบจากตัวอย่าง<br />

ปัญหาชี้ให้เห็นว่าวิธีการเชิงพันธุกรรมแบบผสมผสานดังกล่าวสามารถค้นหาค<br />

าตอบที่ดีได้อย่างรวดเร็ว<br />

ค าส าคัญ : การจัดตารางการท างาน, วิธีการเชิงพันธุกรรมแบบผสมผสาน, การหาค าตอบที่เหมาะสมแบบหลายจุดประสงค์,<br />

การหมุนเวียนงาน, การลด<br />

อันตรายจากการท างาน<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This paper discusses a hybrid genetic algorithm (GA) approach to determine a daily rotating work schedule for a given<br />

group <strong>of</strong> workers to prevent <strong>the</strong>ir total ergonomics hazard exposures from exceeding a daily permissible limit. A multiobjective<br />

workforce scheduling model is formulated concerning in manpower cost and work system productivity. The problem considers<br />

several complex worker and task constraints. The hybrid GA is intended to obtain <strong>the</strong> solution that minimizes <strong>the</strong> number <strong>of</strong><br />

utilized workers, maximizes <strong>the</strong> total competency score, and minimizes <strong>the</strong> total worker-task changeover. An efficient heuristic<br />

procedure is employed to yield a solution included as a member <strong>of</strong> an initial population for <strong>the</strong> hybrid GA. From a numerical<br />

example, <strong>the</strong> hybrid GA is efficient and can obtain a near-optimal work schedule solution.<br />

Keywords : Workforce scheduling, hybrid genetic algorithms, multiobjective optimization, job rotation, hazard exposure reduction<br />

B-13<br />

35


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การประยุกต์อัลกอริธึมเชิงพันธุกรรมส าหรับแบบจ าลองการจัดตารางการผลิตแบบตามสั่ง<br />

ในโรงงานตู๎ปาเป้าอิเล็คทรอนิกส์<br />

An Application <strong>of</strong> Genetic Algorithms for Job Shop Scheduling Model<br />

in Electronic Dartboard Factory<br />

วิจิตรา กิจชัยนุกูล 1 วิชัย รุํงเรืองอนันต์<br />

2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าพระนครเหนือ<br />

เขตบางซื่อ<br />

กรุงเทพฯ 10800<br />

E-mail: 1 lengma_13@hotmail.com * , 2 r_vichai@yahoo.com<br />

ปัญหาการจัดตารางการผลิตแบบตามสั่งเป็นหนึ่งในปัญหาที่แก้ไขยาก<br />

เนื่องจากต้องใช้เวลาในการค้นหา<br />

การสลับค่าค าตอบของล าดับงาน<br />

รวมถึงเงื่อนไขของล<br />

าดับก่อนหลังของเครื่องจักรในแต่ละงาน<br />

เพื่อหาค<br />

าตอบที่เหมาะสม<br />

โดยวิธีการที่มักนิยมใช้ในการแก้ปัญหาคือวิธีแตกกิ่งและก<br />

าหนด<br />

ขอบเขต ซึ่งเวลาที่ใช้ในการประมวลผลจะขึ้นกับขนาดของปัญหาที่ใหญ่ขึ้น<br />

ดังนั้นจึงได้น<br />

าเสนอวิธีอัลกอริธึมเชิงพันธุกรรมเพื่อแก้ปัญหาการจัดตารางการ<br />

ผลิตแบบตามสั่ง<br />

โดยขั้นตอนของอัลกอริธึมเชิงพันธุกรรม<br />

เริ่มจากการสุ่มสร้างประชากรเริ่มต้นรวมถึงหาผลลัพธ์จากกฎความส<br />

าคัญ เช่นเวลาการปฏิบัติงาน<br />

สั้นสุด<br />

และเวลาการปฏิบัติงานนานสุดของแต่ละประชากร จากนั้นท<br />

าการสืบพันธุ์ประชากรดังกล่าว<br />

โดยวิธีการข้ามสายพันธุ์<br />

และการกลายพันธุ์<br />

เพื่อสร้าง<br />

ประชากรรุ่นใหม่<br />

ขั้นตอนจะสิ้นสุดเมื่อพบผลลัพธ์ที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ก<br />

าหนด งานวิจัยนี้ได้เสนอการประยุกต์ใช้วิธีอัลกอริธึมเชิงพันธุกรรมกับปัญหาการ<br />

จัดตารางการผลิตแบบตามสั่งของโรงงานผลิตตู้ปาเป้าอิเล็กทรอนิกส์<br />

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อลดเวลาปิดงานของระบบ<br />

โดยในการผลิตตู้ปาเป้า<br />

อิเล็กทรอนิกส์จะประกอบด้วยงานย่อย 129 งาน ใช้เครื่องจักร<br />

17 เครื่อง<br />

จ านวน 80 ตู้ต่อใบสั่งผลิต<br />

ซึ่งผลของการจัดตารางการผลิตสามารถลดเวลาปิด<br />

งานของระบบ จากวิธีเดิม 7,614 นาที/80 ตู้<br />

เป็น 2,005.8 นาที/80 ตู้<br />

ลดลง 5,608.2 นาที/80 ตู้<br />

คิดเป็นประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นร้อยละ<br />

73<br />

ค าส าคัญ : อัลกอริธึมเชิงพันธุกรรม<br />

<strong>Abstract</strong><br />

Job shop scheduling problem (JSP) is one <strong>of</strong> extremely hard problems because it requires very combinatorial search<br />

space and <strong>the</strong> precedence constraint between machines. The traditional algorithm used to solve <strong>the</strong> problem is branch and<br />

bound method, which takes considerable computing time when <strong>the</strong> size <strong>of</strong> problem is large. Genetic Algorithms is proposed for<br />

solving JSP. First step <strong>of</strong> genetic algorithms generated an initial population randomly including <strong>the</strong> result obtain by some well<br />

known priority rules such as shortest processing time and longest processing time. From <strong>the</strong>re, <strong>the</strong> population will go through <strong>the</strong><br />

process <strong>of</strong> reproduction, crossover and mutation to create a new population for <strong>the</strong> next generation until some stopping criteria<br />

defined were reached. This paper presents genetic algorithms for job shop scheduling problem <strong>of</strong> dartboard factory. The objective<br />

<strong>of</strong> this research is to reduce makespan time. A dartboard planning order is composed 129 jobs which to be processed on 17<br />

machines for produce 80 units. The result shows that makespan time reduce from 7,614 minutes per 80 units to 2,005.8 minutes<br />

per 80 units. Finally, reduction makespan time is 5,608.2 minutes per 80 units, that 73 percent efficient improvement.<br />

Keywords : Genetic Algorithm<br />

B-14<br />

36


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การปรับปรุงแผนผังคลังสินค๎าโดยใช๎ฝูงอนุภาคหาคําที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา คลังเก็บอะไหลํรถจักรยานยนต์<br />

Warehouse Layout Improvement by Using Particle Swarm Optimization<br />

Case Study Warehouse <strong>of</strong> Motorcycle Spare Part<br />

ณัฐนารี สุขเสกสรรค์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าพระนครเหนือ ปราจีนบุรี อ าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25230<br />

E-mail: natanaree.s@fitm.kmutnb.ac.th<br />

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงแผนผังคลังสินค้าโดยการประยุกต์ใช้ฝูงอนุภาคในการหาค่าที่เหมาะสม<br />

โดยเริ่มจากการศึกษาปัญหาที่<br />

เกิดขึ้นภายในคลังสินค้าส<br />

าหรับจัดเก็บชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์<br />

ซึ่งพบว่าการใช้พื้นที่จัดเก็บภายในคลังสินค้ามีประสิทธิภาพต่า<br />

และใช้เวลาในการหยิบสินค้า<br />

นาน เมื่อวิเคราะห์หาสาเหตุพบว่า<br />

สาเหตุหลักเกิดจากการจัดผังคลังสินค้าไม่เหมาะสม ดังนั้นแนวทางการวางผังคลังสินค้าโดยการประยุกต์ใช้ฝูงอนุภาคใน<br />

การหาค่าที่เหมาะสมจึงถูกน<br />

าเสนอ โดยก าหนดให้เป้าหมายในการวางผังคลังสินค้าใหม่ต้องให้มีระยะทางที่สั้นที่สุดเพื่อลดเวลาในการหยิบสินค้า<br />

พร้อมทั้ง<br />

เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พื้นที่<br />

ค าส าคัญ : คลังสินค้า, ฝูงอนุภาค, นโยบายการจัดเก็บแบบแบ่งกลุ่ม<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This article aims to improve <strong>the</strong> warehouse layout by using <strong>the</strong> particle swarm optimization. Based on <strong>the</strong> data and field<br />

study in <strong>the</strong> warehouse, <strong>the</strong> two main problems are <strong>the</strong> inefficient use <strong>of</strong> warehouse space and time spent on order picking. After<br />

fur<strong>the</strong>r analysis, <strong>the</strong> root causes <strong>of</strong> <strong>the</strong> problems are determined to be improper layout. The remedy for <strong>the</strong> situation is to redesign<br />

<strong>the</strong> layout. The warehouse layout design is optimized by using particle swarm optimization. The objective <strong>of</strong> <strong>the</strong><br />

warehouse layout design is to minimize <strong>the</strong> travel distance. The new layout can reduce <strong>the</strong> picking time and increase utilization <strong>of</strong><br />

storage space in <strong>the</strong> warehouse.<br />

Keywords : warehouse, particle swarm, class-based storage policy<br />

B-15<br />

37


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การหาตัวแบบการจัดการสินค๎าคงคลังที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษาร๎านขายปุ๋ย<br />

Inventory Management Model: A Case Study <strong>of</strong> Chemical Fertilizer Store<br />

ชมพูนุท เกษมเศรษฐ์ 1* วัชรพัฐ ฉัตรชยางกุล 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ 50200<br />

E-mail: 1 chompook@gmail.com * , 2 patohappyness@gmail.com<br />

งานวิจัยฉบับนี้ต้องการน<br />

าเสนอตัวแบบการจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษาร้านขายปุ๋ย<br />

ซึ่งแต่เดิมนั้นทางร้านมีการจัดการสินค้าคงคลังตาม<br />

ประสบการณ์ ไม่มีการค านวณว่าในแต่ละปีควรมีรูปแบบการสั่งซื้ออย่างไรจะท<br />

าให้เกิดต้นทุนที่ต่าที่สุด<br />

ดังนั้น<br />

งานวิจัยฉบับนี้จึงได้เสนอรูปแบบการจัดการ<br />

สินค้าคงคลังให้กับร้านค้ากรณีศึกษา โดยคัดเลือกเฉพาะสินค้าที่จัดว่ามีความส<br />

าคัญสูงที่สุด<br />

2 ประเภท คือ ปุ๋ยเคมี<br />

ประเภท A (สูตร 16-20-0 (กระต่าย))<br />

และ ปุ๋ยเคมีประเภท<br />

B (สูตร 46-0-0 (ช่อฟ้า)) มาท าการหารูปแบบการจัดการสินค้าคงคลังตามตัวแบบปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด<br />

(Economic<br />

Order Quantity, EOQ) แบบมีส่วนลดทุกหน่วย จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยใช้ข้อมูลของปี<br />

พ.ศ. 2554 ตั้งแต่ข้อมูลยอดขาย<br />

และต้นทุนๆต่างที่<br />

เกี่ยวข้องกับการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

อันได้แก่ ต้นทุนต่อหน่วยสินค้า ต้นทุนการสั่งซื้อ<br />

และต้นทุนการเก็บรักษา พบว่า หากท าการสั่งซื้อสินค้าที่ปริมาณ<br />

600 กระสอบต่อครั้ง<br />

จะท าให้สามารถลดต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลังลงได้ถึง 185,393.84 บาท คิดเป็น 3.7% เทียบกับต้นทุนตามวิธีเดิม<br />

ค าส าคัญ : การจัดการสินค้าคงคลัง, Economic Order Quantity (EOQ), กรณีศึกษา<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research work aims to propose inventory management policy for a case study <strong>of</strong> chemical fertilizer store. Presently,<br />

this store has no systematic procedure to manage inventories. Two products are selected to study, Fertilizer A (16-20-0 (Rabbit))<br />

and Fertilizer B (46-0-0 (Chor Fah)), because <strong>the</strong>se products are classified as product with high sale volume. Economic Order<br />

Quantity (EOQ) with all unit discounts is applied for <strong>the</strong>se two products. The data <strong>of</strong> <strong>the</strong> year 2011 are used to find out <strong>the</strong><br />

practical inventory management policy and <strong>the</strong> results show that <strong>the</strong> ordering quantity for both products should be set at 600<br />

bags instead <strong>of</strong> <strong>the</strong> current policy at 300 bags. The proposed procedure gives inventory management cost reduction at 185,393.84<br />

Baht or 3.7% compared with <strong>the</strong> total cost <strong>of</strong> <strong>the</strong> previous policy.<br />

Keywords : Inventory Management, Economic Order Quantity (EOQ), Case Study<br />

B-16<br />

38


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ตัวแบบจ าลองสถานการณ์ระบบสินค๎าคงคลังในหํวงโซํอุปทาน และประเมินกลยุทธ์เพื่อรองรับอุบัติภัย<br />

Simulation Model for Inventory System in a Supply Chain to Evaluate Contingency<br />

Strategies to Mitigate Disruptions<br />

วรวุฒิ หวังวัชรกุล 1* วรชัย โหตระไวศยะ 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10902<br />

E-mail: 1 fengwww@ku.ac.th * , 2 film_ronaldo@hotmail.com<br />

การศึกษานี้สร้างตัวแบบจ<br />

าลองสถานการณ์ระบบสินค้าคงคลังในห่วงโซ่อุปทาน โดยใช้โปรแกรมอารีน่า (ARENA) แบบจ าลองนี้ประกอบด้วย<br />

คลังสินค้า 1 แห่ง และร้านค้าปลีก 4 แห่ง ก าหนดนโยบายสินค้าคงคลังแบบ (Q,R) น าตัวแบบจ าลองประเมินนโยบายทางด้านสินค้าคงคลัง และหาระดับ<br />

จุดสั่งซื้อ<br />

และปริมาณการสั่งซื้อ<br />

ที่ให้ค่าใช้จ่ายรวมในระบบต่าที่สุด<br />

และประเมินกลยุทธ์ในการรองรับอุบัติภัย โดยทั่วไปอุบัติภัยที่เกิดขึ้น<br />

มีผลต่อระยะเวลา<br />

น าในรูปแบบเฉพาะตัว คือมีโอกาสในการเกิดน้อย แต่หากเกิดขึ้นแล้วจะมีระยะเวลานานและกระทบการส่งมอบ<br />

ณ คล้งสินค้า ได้น าตัวแบบจ าลองมา<br />

วิเคราะห์เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายรวมในระบบจากกลยุทธ์การจัดเก็บสินค้าคงคลังในปริมาณมาก และการให้ผู้ส่งมอบรายอื่นผลิตแทนโดยมีราคาสินค้าที่สูงขึ้น<br />

ที่ระดับสัดส่วน<br />

backorder cost: holding cost แตกต่างกัน และ ก าหนดราคาสูงสุดที่จะยอมจ่ายเพิ่มจากการใช้ผู้ส่งมอบรายอื่น<br />

ในสถานการณ์ดังกล่าว<br />

ค าส าคัญ : ห่วงโซ่อุปทาน, ระยะเวลาน านาน, นโยบายสินค้าคงคลัง (Q,R), อุบัติภัย<br />

<strong>Abstract</strong><br />

We propose a simulation model for inventory system in a supply chain network using ARENA. The model consists <strong>of</strong> one<br />

warehouse and four retailers with (Q,R) inventory control policy. The model is used to evaluate <strong>the</strong> inventory policy to find<br />

reorder point and reorder quantity to minimize <strong>the</strong> total system cost and evaluate <strong>the</strong> contingency strategies to mitigate<br />

disruptions. In general, <strong>the</strong> disruptions impact <strong>the</strong> lead time pattern in a specific way. These are low-probability events, but <strong>the</strong>y<br />

last long when occur and have immense influences on <strong>the</strong> delivery at <strong>the</strong> warehouse. We use <strong>the</strong> model to compare <strong>the</strong> total<br />

system cost for different contingency strategies such as, keeping high level <strong>of</strong> safety inventory, use alternative supplier with higher<br />

price. The results are obtained from various levels <strong>of</strong> <strong>the</strong> backorder to holding cost ratio. We also specify <strong>the</strong> highest additional<br />

price to use <strong>the</strong> alternative supplier in those situations.<br />

Keywords : Supply chain, Long lead time, (Q,R) Inventory Policy, Disruption<br />

B-17<br />

39


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การวิเคราะห์การสั่งซื้อที่เหมาะสมเพื่อลดคําใช๎จํายในการจัดการสินค๎าคงคลัง<br />

กรณีศึกษา: ห๎างหุ๎นสํวนจ<br />

ากัด สารคามพัฒนาการกํอสร๎าง<br />

EOQ Analysis Reducing Costs <strong>of</strong> Inventory Management<br />

A Case study <strong>of</strong> Sarakham Construction and Development Partnership<br />

วิลาสินี เป้าน๎อย 1* ชวิศร ปูคะภาค 2 กิติศักดิ์<br />

ลักขษร 3 และ ธีรวัฒน์ วรรณปักษ์ศิลป์ 4<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 80 ถนนนครสวรรค์ ต าบลในเมือง อ าเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000<br />

E-mail: 1 wilasineep@hotmail.com * , 2 chawis_champion@yahoo.com,<br />

3 4<br />

boy-1624@hotmail.com, keataro_l@hotmail.com<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ<br />

วิเคราะห์หาการสั่งซื้อที่เหมาะสมของห้างหุ้นส่วนจ<br />

ากัด สารคามพัฒนาการก่อสร้าง โดยใช้ทฤษฎีการสั่งซื้ออย่าง<br />

ประหยัดเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ค่าใช้จ่ายรวมที่เกิดขึ้นจากการสั่งซื้อตามทฤษฎีการสั่งซื้ออย่างประหยัดเท่ากับ<br />

13,950,698 บาท ซึ่งท าให้ลดค่าใช้จ่ายรวมลงเป็นมูลค่า 272,984 บาท จากเดิมที่ค่าใช้จ่ายรวมเท่ากับ 14,223,682 บาท ท าให้ทราบว่าต้นทุนจมสามารถ<br />

ลดลงได้ เมื่อน<br />

าหลักทฤษฎีการสั่งซื้ออย่างประหยัดมาใช้ในการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

ค าส าคัญ : การสั่งซื้อที่เหมาะสม,<br />

การจัดการสินค้าคงคลัง, การสั่งซื้ออย่างประหยัด<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The objective <strong>of</strong> this study is to determine appropriate order analyze for <strong>the</strong> purpose <strong>of</strong> reduce costs inventory<br />

management <strong>of</strong> Sarakham construction and development partnership. The result found that ordering for economic order quantity<br />

<strong>the</strong>ory have <strong>the</strong> total costs equal to 13,950,698 baht which <strong>the</strong> total costs decrease equal to 272,984 baht. Reduce <strong>the</strong> costs <strong>of</strong><br />

inventory management when used to EOQ analysis.<br />

Keywords : appropriate order, Inventory management, Economic order quantity<br />

B-18<br />

40


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ศึกษาตัวแบบตรรกศาสตร์คลุมเครือในการพยากรณ์จ านวนยาที่ควรสั่งซื้อ<br />

ส าหรับการจัดการสินค๎าคงคลังใน<br />

โรงพยาบาลแบบ Vendor Managed Inventory (VMI) กรณีศึกษา โรงพยาบาลรามาธิบดี<br />

Development Fuzzy Logic Model <strong>of</strong> Pharmaceutical Replenishment Forecast System for VMI<br />

Implementation in Hospital : A Case Study <strong>of</strong> Ramathibodi Hospital.<br />

บทคัดยํอ<br />

อาภาภัค เดชพันธวณิช 1* ดร.ฐิติกร ลิ้มชิมชล<br />

2 ผศ.ดร.ธนกรณ์ แนํนหนา 3<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170<br />

E-mail: 1 por.arpapak@gmail.com * , 2 thitikorn.mu@gmail.com, 3 egtnn@mahidol.ac.th<br />

ปัจจุบันอุตสาหกรรมการให้บริการด้านสุขภาพของประเทศไทย ก าลังประสบปัญหาในเรื่องการจัดการสินค้าคงคลังค่อนข้างรุนแรง<br />

โดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งโรงพยาบาลที่อยู่ในความดูแลของรัฐบาล<br />

เนื่องจากปริมาณคนไข้ที่เข้ารับบริการมีจ<br />

านวนมากเและยังมีข้อจ ากัดของทรัพยากรในด้านต่างๆ อาทิเช่น<br />

บุคคลากร พื้นที่จัดเก็บ<br />

และที่ส<br />

าคัญ คือ ขั้นตอนในการท<br />

างานของโรงพยาบาลรัฐบาล ที่ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อการพยากรณ์ความต้องการใช้ยาให้<br />

ถูกต้อง แม่นย าและเพียงพอต่อความต้องการ ท าให้โรงพยาบาลมีความจ าเป็นต้องส ารองยา จึงก่อให้เกิดภาระที่ไม่สร้างมูลค่า<br />

และเป็นส่วนที่<br />

ท าให้การ<br />

จัดการสินค้าคงคลังมีค่าใช้จ่ายสูงมาก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการพยากรณ์จ<br />

านวนยาในการเติมเต็ม (replenishment) ของการจัดการ<br />

สินค้าคงคลังแบบ Vendor Managed Inventory (VMI) ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆของแต่ละช่วงเวลา โดยจะท าการประยุกต์ใช้วิธี<br />

ตรรกศาสตร์คลุมเครือ เนื่องจากตรรกะคลุมเครือเป็นวิธีที่สามารถจ<br />

าลองได้ใกล้เคียงกับการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่จัดซื้อ<br />

อีกทั้งยังสามารถป้องกันปัญหาที่<br />

อาจเกิดขึ้นมาจากการลาออกของบุคคลากร<br />

ท าให้โรงพยาบาลเกิดการสูญเสียบุคลากรที่มีความรู้<br />

ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์<br />

จากการศึกษาพบว่า<br />

ความต้องการใช้ยาเป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อการตัดสินใจสั่งซื้อในกระบวนการเติมเต็มยา<br />

ดังนั้นในงานวิจัยชิ้นนี้ได้ศึกษาและน<br />

าวิธี winter’s<br />

exponential smoothing มาประยุกต์ใช้ในการพยากรณ์ความต้องการใช้ยาในอนาคต โดยน าโรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นกรณีศึกษา เนื่องจากยาเป็นสินค้า<br />

ที่มีปริมาณการใช้ขึ้นอยู่ช่วงเวลา<br />

หรือที่เรียกว่าฤดูกาล<br />

ดังนั้น<br />

winter’s exponential smoothing เป็นวิธีการพยากรณ์ทางสถิติที่เหมาะสม<br />

สามารถช่วย<br />

ให้การพยากรณ์ใกล้เคียงสถานการณ์จริงที่สุด<br />

เพราะเป็นวิธีที่น<br />

าปัจจัยด้านฤดูกาลมาใช้เป็นพารามิเตอร์หลักของการพยากรณ์ความต้องการใช้ยาในอนาคต<br />

ค าส าคัญ : พยากรณ์จ านวนยาในการเติมเต็ม, พยากรณ์อัตราการใช้ยา, ตรรกศาสตร์คลุมเครือ, โรงพยาบาล, VMI<br />

<strong>Abstract</strong><br />

In present, <strong>the</strong> healthcare services industry in Thailand is severely experiencing problems in inventory management,<br />

especially hospitals under <strong>the</strong> supervision <strong>of</strong> <strong>the</strong> government. Due to a high number <strong>of</strong> patients and limitations in resources such<br />

as personnel, storage space and importantly working procedures <strong>of</strong> <strong>the</strong> hospitals which impact to accuracy <strong>of</strong> medicines demand<br />

forecast and sufficiency <strong>of</strong> medicines, it can be result in high non-value-added inventory and high inventory management cost.<br />

This research aims to develop <strong>the</strong> pharmaceutical replenishment process for Vendor Managed Inventory system to suit any<br />

situations by implementing fuzzy logic model. Because <strong>the</strong> fuzzy logic can be simulating approximate to <strong>the</strong> decision from<br />

purchasing <strong>of</strong>ficer. It can also be prevent potential problems brought about by personnel turnover at <strong>the</strong> warehouse, and <strong>the</strong><br />

subsequent loss <strong>of</strong> expertise and experience. This research reveals that <strong>the</strong> need for medical consumption has an enormous<br />

impact to decision-making in purchasing <strong>the</strong> medicines for replenishing one’s stock. From <strong>the</strong> research, it has been suggested to<br />

apply <strong>the</strong> winter's exponential smoothing method in forecasting for <strong>the</strong> future demand by using Ramathibodi hospital as a case<br />

study. Because pharmaceutical items as a key factor for replenishment process and subject to a degree <strong>of</strong> seasonality <strong>of</strong> demand,<br />

<strong>the</strong> researcher believed that <strong>the</strong> use <strong>of</strong> such techniques may provide a more accurate forecast for <strong>the</strong> items stocked by <strong>the</strong><br />

central warehouse in <strong>the</strong> hospital.<br />

Keywords : Medicines replenishment, usage rate, fuzzy logic, hospital, VMI<br />

B-19<br />

41


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การปรับปรุงระบบควบคุมพัสดุคงคลังในโรงพยาบาล<br />

An Improvement <strong>of</strong> Inventory Control System in The Hospital<br />

จิรจิต กรรณล๎วน 1 จิรานันท์ เลิศเมธาตฤณชาติ 2 เจริญ สุนทราวาณิชย์ 3*<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กรุงเทพฯ 10140<br />

E-mail: 1 jirajitk@hotmail.com, 2 jicraby_kaijung@hotmail.com, 3 charoen.soon@kmutt.ac.th *<br />

บทความวิจัยนี้เป็นการน<br />

าเสนอผลการศึกษาและปรับปรุงระบบพัสดุคงคลังในคลังยาของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง<br />

ซึ่งได้เกิดปัญหาขึ้นคือ<br />

การมียา<br />

บางชนิดมากเกินไปและมียาบางชนิดน้อยเกินไป จากการศึกษาข้อมูลชนิดของยาและบันทึกการจ่ายยา ท าให้สามารถจ าแนกความส าคัญของยาและ<br />

พฤติกรรมความต้องการใช้ยา จากนั้นน<br />

ามาสร้างเป็นแบบจ าลอง เพื่อหาจุดสั่งซื้อและปริมาณการสั่งที่เหมาะสมของยาแต่ละชนิด<br />

ท าให้สามารถลด<br />

ค่าใช้จ่ายลงได้ไม่น้อยกว่า 80%<br />

ค าส าคัญ : ระบบพัสดุคงคลัง, โรงพยาบาล, ห้องยา, จุดสั่งซื้อ,<br />

ปริมาณการสั่ง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This article presents <strong>the</strong> result <strong>of</strong> <strong>the</strong> study on how to improve inventory system <strong>of</strong> a pharmacy in a hospital. The<br />

pharmacy always faces a situation which <strong>the</strong> stocks <strong>of</strong> some medicine are too high and stocks <strong>of</strong> some medicine are too low. The<br />

study on types <strong>of</strong> medicine and prescription helped <strong>the</strong> researcher to prioritize <strong>the</strong> medicine and <strong>the</strong>ir needs, <strong>the</strong>n, create a<br />

model to find optimal reorder point and <strong>the</strong> ordered amount which leads to at least 80% reduction <strong>of</strong> expense.<br />

Keywords : Inventory System, Hospital, Pharmacy, Reorder Point, Order Quantity<br />

B-20<br />

42


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การก าหนดปริมาณเงินสดส ารองที่เหมาะสมให๎เครื่องเบิกถอนเงินอัตโนมัติ:<br />

กรณีศึกษา ธนาคารแหํงหนึ่งในประเทศไทย<br />

Determination <strong>of</strong> Optimal Cash Level Reserved in Automated Teller Machines (ATMs):<br />

Case Study <strong>of</strong> Commercial Bank in Thailand<br />

อัครณี ภักดีวงษ์ 1* กาญจ์นภา อมรัชกุล 2<br />

คณะสถิติประยุกต์ <strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) 118 ถนนเสรีไทย เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240<br />

E-mail: 1 di_a_mond@hotmail.com * , 2 kamaruchkul@gmail.com<br />

กรณีศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาปริมาณเงินสดส<br />

ารองที่เหมาะสมให้กับเครื่องเบิกถอนเงินสดอัตโนมัติของธนาคารแห่งหนึ่งใน<br />

ประเทศไทย การวิเคราะห์ใช้ตัวแบบ newsvendor โดยก าหนดระดับการให้บริการที่<br />

98% ตัวแปรสุ่มซึ่งแทนปริมาณเงินเบิกถอนในแต่ละรอบเติมเงิน<br />

(3.5 วัน) สร้างมาจาก 2 วิธีดังนี้<br />

1) พิจารณาปริมาณเบิกถอนรวมต่อรอบเติม 2) พิจารณาปริมาณเบิกถอนต่อหนึ่งรายการถอนร่วมกันกับจ<br />

านวนรายการ<br />

ถอนต่อรอบเติม จากการวิเคราะห์ข้อมูลรายการกดเงินสดย้อนหลัง 24 เดือน ของเครื่องเบิกถอนเงินสดจ<br />

านวน 11 เครื่องซึ่งถูกคัดเลือกจ<br />

ากบริเวณที่<br />

ต่างกัน และมีรายการเบิกถอนเงินสดอย่างต่อเนื่อง<br />

พบว่า นโยบายจากวิธีที่<br />

2 ท าให้ปริมาณเงินสดส ารองต่อรอบการเติมและปริมาณเงินสดคงเหลือเมื่อสิ้น<br />

รอบการเติมน้อยกว่านโยบายปัจจุบันและนโยบายจากวิธีที่<br />

1 โดยสามารถลดปริมาณเงินสดส ารองลงและลดปริมาณเงินสดคงเหลือเมื่อสิ้นรอบการเติมได้<br />

36.92% และ 67.25% ตามล าดับ ซึ่งเป็นปริมาณเงินที่เกินความต้องการของลูกค้า<br />

อีกนัยหนึ่งคือสามารถช่วยลดเงินทุนที่จมอยู่กับเครื่องเบิกถอนเงินสด<br />

อัตโนมัติและท าให้กระแสเงินสดของธนาคารเกิดสภาพคล่องมากขึ้น<br />

ค าส าคัญ: การประยุกต์ใช้ตัวแบบสโทแคสติก, ตัวแบบสินค้าคงคลัง, การจัดการโซ่อุปทาน<br />

<strong>Abstract</strong><br />

In this case study, we determine cash levels in automated teller machines (ATMs) operated by one <strong>of</strong> <strong>the</strong> major<br />

commercial banks in Thailand. Our problem is formulated as a newsvendor model, in which an objective is to maintain a service<br />

level <strong>of</strong> 98 percent. A random cash demand during one cycle (3.5 days) is constructed by two different methods: 1) It is based on<br />

<strong>the</strong> total amount <strong>of</strong> cash withdrawals. 2) It is modeled as a random sum <strong>of</strong> amount <strong>of</strong> cash withdrawals per each transaction,<br />

compounded with <strong>the</strong> total number <strong>of</strong> transactions. We analyze 24-month historical data from 11 ATMs continuously operating at<br />

various places. Our study reveals that <strong>the</strong> policy based on method 1 outperforms <strong>the</strong> policy based on method 2 and <strong>the</strong> policy<br />

<strong>the</strong> bank currently implements. Specifically, <strong>the</strong> expected cash level and <strong>the</strong> expected cash leftover could be reduced by 36.92%<br />

and 67.25% respectively, if <strong>the</strong> policy based on method 1 were implemented. Thus, better cash flow management and less<br />

capital tied up could be achieved.<br />

Keywords : stochastic model applications; inventory model; supply chain management<br />

C-01<br />

43


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การปรับปรุงสายการผลิตคุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและก<br />

าลังการผลิต<br />

Cookie Production Line Improvement to Enhance <strong>the</strong> Efficiency and Capacity<br />

นันทชัย กานตานันทะ 1* กิจวเรศ นพกิจ 2<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 nantachai.k@ku.ac.th * , 2 kitwaret@hotmail.com<br />

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของสายการผลิตและเพิ่มก<br />

าลังการผลิตของโรงงานผลิตคุกกี้<br />

เนื่องจากในปัจจุบัน<br />

โรงงานไม่<br />

สามารถผลิตได้ทันกับความต้องการของฝ่ายขายในช่วงเวลาที่มีความต้องการสูง<br />

ในขณะที่พนักงานมีเวลาว่างงานมาก<br />

การศึกษานี้เริ่มต้นจากการหาเวลา<br />

มาตรฐานของแต่ละสถานีงาน เพื่อหาสถานีงานที่เป็นคอขวด<br />

จากนั้นท<br />

าการศึกษาการท างานจากแผนภูมิคนและเครื่องจักร<br />

แล้วจึงจ าลองสายการผลิตด้วย<br />

โปรแกรม Arena และหาแนวทางในการปรับปรุง โดยแนวทางที่เสนอจะถูกจ<br />

าลองสถานการณ์โดยโปรแกรม Arena เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น<br />

ก่อนการปรับปรุงจริง ซึ่งมีทั้งหมด<br />

2 แนวทาง ได้แก่ การเพิ่มก<br />

าลังการผลิตโดยการเพิ่มเครื่องพิมพ์คุกกี้และเครื่องบรรจุภัณฑ์ชิ้นเดี่ยว<br />

ท าให้ก าลังการผลิต<br />

เพิ่มขึ้น<br />

50.73 เปอร์เซนต์ ส่งผลให้สามารถผลิตได้เพียงพอตามที่ฝ่ายขายต้องการ<br />

โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 2,280,000 บาท มีระยะเวลาคืนทุนอยู่ที่<br />

1.64<br />

เดือน และการลดจ านวนพนักงานเพื่อลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงาน<br />

โดย (1) รวมสถานีงานเตรียมส่วนผสมและสถานีงานผสมแป้งเข้า<br />

ด้วยกัน ท าให้สามารถลดพนักงานจากเดิม 3 คน เหลือ 2 คน (2) ลดพนักงานในแผนกพิมพ์คุกกี้จาก<br />

4 คน เหลือ 2 คน (3) น าระบบนิวเมติกส์มาช่วยใน<br />

การผลักคุกกี้ลงสายพานท<br />

าให้สามารถลดพนักงานได้ 2 คน โดยมีต้นทุนในการสร้างระบบนี้ประมาณ<br />

53,000 บาท และมีระยะเวลาคืนทุน 2.94 เดือน<br />

ค าส าคัญ : ก าลังการผลิต, เวลามาตรฐาน, แผนภูมิคนและเครื่องจักร,<br />

การจ าลองสถานการณ์, ระบบนิวเมติกส์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The purpose <strong>of</strong> this study is to improve <strong>the</strong> efficiency <strong>of</strong> production line and enhance production capacity <strong>of</strong> <strong>the</strong> cookie<br />

manufacturer. Nowadays, <strong>the</strong> manufacturer cannot produce <strong>the</strong> cookies to respond <strong>the</strong> demand from <strong>the</strong> sales department in<br />

time when <strong>the</strong> demand is high whereas <strong>the</strong> workers have lots <strong>of</strong> idle times. This study begins from determining <strong>the</strong> standard time<br />

<strong>of</strong> each station to identify <strong>the</strong> bottlenecked station. The work study is carried out by using <strong>the</strong> man-machine chart. The Arena<br />

program is <strong>the</strong>n employed to simulate <strong>the</strong> production line and determine <strong>the</strong> improvement alternatives. The proposed<br />

alternatives are simulated using <strong>the</strong> Arena program in order to analyze <strong>the</strong> effects before implementation. There are two<br />

directions <strong>of</strong> improvement. The first one is to increase <strong>the</strong> production capacity by adding a forming cookie machine and a singlepackaging<br />

machine which increases <strong>the</strong> capacity by 50.73 percent and be able to produce enough cookies as <strong>the</strong> sales<br />

department requires. The estimated investment cost is 2,280,000 baht and <strong>the</strong> payback period is 1.64 months. The second one is<br />

to decrease <strong>the</strong> number <strong>of</strong> workers to reduce costs and increase workers’ efficiency by (1) combining <strong>the</strong> preparation and <strong>the</strong><br />

flour mixing work stations toge<strong>the</strong>r which reduces <strong>the</strong> number <strong>of</strong> workers from three to two. (2) Reducing <strong>the</strong> number <strong>of</strong> workers<br />

in <strong>the</strong> cookie pressing department from four to two. (3) Using <strong>the</strong> pneumatic system to assist in pushing <strong>the</strong> cookies into <strong>the</strong> belt.<br />

It can reduce two workers. The estimated production cost <strong>of</strong> this system is 53,000 baht and <strong>the</strong> payback period is 2.94 months.<br />

Keywords : capacity, standard time, man-machine chart, simulation, pneumatic system<br />

C-02<br />

44


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การประยุกต์ใช๎เทคนิคการจ าลองสถานการณ์แบบมอนติคาร์โลเพื่อหานโยบาย<br />

การสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

กรณีศึกษา อุตสาหกรรมหลอดไฟฟ้า<br />

The Application <strong>of</strong> Monte Carlo Technique for Optimizing Order Quantity Policy:<br />

A Case Study in Light Bulb Industry<br />

พรพิมล จินตะเกษกรรม 1* ชยธัช เผือกสามัญ 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าพระนครเหนือ<br />

1518 ถ. พิบูลสงคราม แขวงวงศ์สวําง เขตบางซื่อ<br />

กรุงเทพฯ 10800<br />

E-mail: 1 pornpimon.jin@hotmail.com * , 2 chayathachp@kmutnb.ac.th<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหานโยบายการสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการจ าลองสถานการณ์แบบมอนติคาร์โล ของบริษัท<br />

กรณีศึกษาผลิตหลอดไฟฟ้า ที่ประสบปัญหามีต้นทุนการจัดการวัตถุดิบคงคลังที่สูง<br />

เนื่องจากการจัดซื้อวัตถุดิบของทางบริษัทยังไม่มีระบบการจัดการสั่งซื้อที่<br />

ดี ยังใช้การคาดการณ์เป็นเกณฑ์ในการสั่ง<br />

ซึ่งส่งผลให้มีวัตถุดิบคงคลังบางชนิดมากเกินไป<br />

ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้เสนอวิธีการก<br />

าหนดนโยบ ายการสั่งซื้อที่<br />

เหมาะสมภายใต้ความต้องการที่ไม่แน่นอนที่ท<br />

าให้มีต้นทุนต่าสุด<br />

ขั้นตอนการศึกษาเริ่มจากการวิเคราะห์หาระดับความส<br />

าคัญของวัตถุดิบด้วยการจัดกลุ่ม<br />

สินค้าแบบ ABC และเลือกศึกษาเฉพาะวัตถุดิบกลุ่ม<br />

A โดยใช้นโยบายสินค้าคงคลังแบบ (s, Q) และ (s, S) จากนั้นน<br />

าผลลัพธ์ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับแผนการ<br />

สั่งซื้อแบบเดิม<br />

ผลการวิจัยพบว่านโยบายการสั่งซื้อที่น<br />

าเสนอท าให้ต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลังลดลง 6,088,169 บาท/ปี คิดเป็น 43.37% ท าให้ต้นทุน<br />

รวมลดลง 6,862,693 บาท/ปี และเพิ่มอัตราหมุนเวียนของวัตถุดิบคงคลังได้<br />

11.02 รอบ<br />

ค าส าคัญ : เทคนิคการจ าลองสถานการณ์แบบมอนติคาร์โล, นโยบายการสั่งซื้อ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research aims to find <strong>the</strong> suitable ordering policy for a light bulb company using Monte Carlo simulation technique.<br />

The case study company faces <strong>the</strong> high inventory management cost due to raw material ordering policy do not match for<br />

demand. The present inventory management causes excess inventory level. Therefore, researcher proposes an appropriate<br />

inventory policy under uncertainty <strong>of</strong> demand leads to lower inventory cost. The study focuses from analysis product groups with<br />

ABC classification system and selected group A only by using (s, Q) and (s, S) model. Then take <strong>the</strong> result compared with<br />

conventional method. These results show that <strong>the</strong> proposed policy decrease inventory management cost 6,088,169 bath per year<br />

equivalent to 43.37%, total cost decrease 6,862,693 bath per year and increase inventory turnover 11.02 cycles.<br />

Keywords : Monte Carlo Simulation, Order Quantity Policy<br />

C-03<br />

45


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การลดเวลารอคอยในระบบแถวคอยของกระบวนการขนถํายสินค๎าจากรถบรรทุกสูํทําเรือ<br />

Reduction <strong>of</strong> Waiting Time in a Queuing System <strong>of</strong> <strong>the</strong> Freight Unloading<br />

Process From Trucks to Port<br />

สุจินต์ วุฒิชัยวัฒน์ 1* วีรนุช ชินวงศ์ 2 อมราวดี อรุณศรี 3<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ถ.ราชมรรคาใน อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

E-mail: 1 sujin@su.ac.th *<br />

การศึกษานี้มุ่งค้นหาล<br />

าดับที่เหมาะสมของการขนถ่ายสินค้าจากรถบรรทุกสู่ท่าเรือ<br />

เพื่อลดเวลาในการรอคอยในระบบแถวคอย<br />

รถบรรทุกที่เข้า<br />

มาในระบบแต่ละคันสามารถขนสินค้าได้เพียงประเภทเดียว โดยสินค้าที่ขนถ่ายมี<br />

5 ประเภท ดังนี้<br />

(1) อุปกรณ์การขุดเจาะน้ามัน<br />

(2) เครื่องอุปโภคบริโภค<br />

(3) สารเคมี (4) น้ามัน<br />

และ (5) ถังขยะ กระบวนการท างานแต่ละขึ้นตอนในปัจจุบันได้ถูกศึกษาเวลาและจ<br />

าลองปัญหาด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลเพื่อให้เป็น<br />

ข้อมูลอ้างอิง การปรับปรุงในกระบวนการท างานและรูปแบบการจัดล าดับของการขนถ่ายสินค้าหลายวิธีได้ถูกน าเสนอใน 7 รูปแบบ ได้แก่ (1) OSPT (2)<br />

OLPT (3) OAHP (4) NFCFS (5) NSPT (6) NLPT and (7) NAHP จากผลการจ าลองปัญหา พบว่า การจัดล าดับแบบ NLPT คือวิธีการจัดที่ดีที่สุดที่<br />

สามารถลดเวลาในการรอคอยได้ โดยสามารถลดเวลารอคอยลงได้ถึง 77.21% สมรรถนะเพิ่มขึ้นสูงถึง<br />

154.19% และความยาวของแถวคอยลดลงถึง<br />

74.86%<br />

ค าส าคัญ : แถวคอย, เวลารอคอย, มอนติคาร์โล<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This study aimed to find <strong>the</strong> appropriate sequence <strong>of</strong> <strong>the</strong> freight unloading from truck to <strong>the</strong> port in order to minimize<br />

<strong>the</strong> waiting time in a queuing system. An incoming truck contained only 1 type <strong>of</strong> goods. The goods can be classified into 5 types,<br />

including (1) equipment for rig, (2) consumer products, (3) chemicals, (4) oil, and (5) bin. Each current operation process was<br />

measured by time study technique and <strong>the</strong>n simulated using Monte Carlo technique to be <strong>the</strong> reference. An improvement in <strong>the</strong><br />

process and various sequence <strong>of</strong> freight unloading was proposed in 7 models, as following, (1) OSPT (2) OLPT (3) OAHP (4) NFCFS<br />

(5) NSPT (6) NLPT and (7) NAHP. The results <strong>of</strong> simulation showed that NLPT was <strong>the</strong> best solution to reduce <strong>the</strong> waiting time,<br />

which can minimize 77.21 % in <strong>the</strong> waiting time, improve <strong>the</strong> performance up to 154.19% and decrease <strong>the</strong> length <strong>of</strong> queuing up<br />

to 74.86 %<br />

Keywords : queuing, waiting time, Monte Carlo<br />

C-04<br />

46


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

แบบจ าลองสถานการณ์ของกระบวนการให๎บริการน าเข๎าชุดชิ้นสํวนรถยนต์ของผู๎ให๎บริการโลจิสติกส์<br />

Simulation Model for <strong>the</strong> Processes <strong>of</strong> Importing Auto Parts Service:<br />

A Case Study <strong>of</strong> Logistics Service Provider<br />

ณัฏฐนันธ์ อรุณศรีโสภณ 1* สรวิชญ์ เยาวสุวรรณไชย 2 วัชรพจน์ ทรัพย์สงวนบุญ 3<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กรุงเทพฯ 10140<br />

E-mail: 1 n_aroonsrisophon@yahoo.com * , 2 sorawit.yao@kmutt.ac.th, 3 watcharapoj.sap@kmutt.ac.th<br />

การให้บริการโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ<br />

คือ การจัดสมดุลของจ านวนทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ<br />

ากัดให้สามารถตอบสนองความพึงพอใจและความ<br />

ต้องการของลูกค้าให้ได้ โดยอยู่ในระดับเดียวหรือสูงกว่าผู้ให้บริการโลจิสติกส์รายอื่นๆ<br />

โดยเฉพาะในปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันสูงในเรื่องของความรวดเร็ว<br />

และความถูกต้องตรงตามเวลา ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้เลือกท<br />

าการศึกษาเวลาของการด าเนินกิจกรรมในกระบวนการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์ที่ให้<br />

ความส าคัญกับการขนส่งแบบทันเวลา โดยได้ท าการศึกษากระบวนการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์ของบริษัทผู้ให้บริการโลจิสติกส์รายใหญ่<br />

ที่มี<br />

เครือข่ายกระจายอยู่ทั่วโลกซึ่งท<br />

าการศึกษาเฉพาะกระบวนการที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเท่านั้นและเป็นการพิจารณาในเรื่องของเวลาในการด<br />

าเนินกิจกรรม<br />

เป็นส าคัญ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อท<br />

าการประยุกต์ใช้แบบจ าลองสถานการณ์ (Arena Simulation 10.0) เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษา<br />

ระยะเวลาของกระบวนการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความแปรปรวนของปริมาณการน<br />

าเข้าที่สูงมาก<br />

โดยจัดกลุ่มประเภทของวัตถุที่เข้ามาเป็น<br />

3<br />

กลุ่ม<br />

คือ กลุ่มที่<br />

1 ข้อมูลและเอกสารการรับสินค้าเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนซึ่งจะรวมถึงเอกสารในการท<br />

าใบขนสินค้าขาเข้าด้วย กลุ่มที่<br />

2 ตู้คอนเทนเนอร์<br />

และ<br />

กลุ่มที่<br />

3 ข้อมูลและเอกสารการท าใบขนสินค้าขาออกจากคลังทัณฑ์บน โดยท าการจ าลองปริมาณการน าเข้าและการเบิกจ่ายสินค้าตามใบสั่งซื้อของลูกค้า<br />

ย้อนหลังในอดีตเป็นเวลา 1 ปี จากผลการจ าลองสถานการณ์พบว่ากิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อระยะเวลารวมเฉลี่ยของระบบมากที่สุดมี<br />

3 กิจกรรม ซึ่งทั้ง<br />

3<br />

กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการท<br />

าใบขนสินค้าขาเข้า คือ กิจกรรมการท าใบขนสินค้าขาเข้าโดยมีเวลาเฉลี่ยของการท<br />

ากิจกรรมอยู่ที่<br />

10.96 ชั่วโมง<br />

กิจกรรมการเตรียมข้อมูลส าหรับการท าใบขนสินค้าขาเข้ามีเวลาเฉลี่ยของการท<br />

ากิจกรรมเท่ากับ 10.79 ชั่วโมง<br />

และกิจกรรมการรอคอยการยืนยัน<br />

รายละเอียดสินค้าจากลูกค้า 6.13 ชั่วโมง<br />

โดยทั้ง<br />

3 กิจกรรมคิดเป็นร้อยละ 47.43 ของเวลารวมของระบบการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์<br />

และพบว่า<br />

สามารถลดระยะเวลารวมเฉลี่ยของกระบวนการให้บริการน<br />

าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์ได้<br />

14.49 ชั้วโมง<br />

หรือคิดเป็นร้อยละ 23.13 เมื่อเทียบกับสถานการณ์<br />

ปัจจุบัน และเมื่อคิดต้นทุนในการให้บริการพบว่าสามารถลดต้นทุนการให้บริการจากเดิม<br />

คือ 38,696.94 บาทต่อการน าเข้า 1 ครั้ง<br />

ลดเหลือ 36,628.03<br />

บาทต่อการน าเข้า 1 ครั้ง<br />

ซึ่งคิดเป็นร้อยละ<br />

5.35 ของต้นทุนการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์ของสถานการณ์ปัจจุบัน<br />

ค าส าคัญ : ผู้ให้บริการโลจิสติกส์,<br />

แบบจ าลองสถานการณ์, ระยะเวลาเฉลี่ย,<br />

กระบวนการให้บริการน าเข้าชุดชิ้นส่วนรถยนต์<br />

C-05<br />

47


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

A high quality <strong>of</strong> logistics services is how to manage limited resources to meet <strong>the</strong> customer satisfaction and customer<br />

need more efficiently and effectively than competitors do. In particular it has been more and more competitive to be <strong>the</strong> best in<br />

<strong>the</strong> logistics industry. This paper aims to study <strong>the</strong> process <strong>of</strong> importing auto parts service into Thailand by one <strong>of</strong> <strong>the</strong> largest<br />

logistics companies. Shorter time in <strong>the</strong>se activities means faster subsequent assembly process. The scope <strong>of</strong> this study is limited<br />

to <strong>the</strong> transshipment activities implemented when <strong>the</strong> auto parts arrive Thailand’s port. A simulation model on Arena version 10.0<br />

is developed to study <strong>the</strong> time <strong>of</strong> all import process activities. This model simulates <strong>the</strong> volume <strong>of</strong> import and export goods that<br />

follow <strong>the</strong> requirement <strong>of</strong> customer based on historical purchase orders for 1 year. The data were classified into 3 categories:<br />

Category 1 is for data and documents for receiving goods into bonded warehouse including <strong>the</strong> data and documents for import<br />

declaration. Based on <strong>the</strong> result <strong>of</strong> simulation model, <strong>the</strong>re are three activities that have <strong>the</strong> most impact on <strong>the</strong> total average<br />

time. All three activities are related to <strong>the</strong> import declaration process. The total average time <strong>of</strong> imported auto parts process is<br />

effect by import declaration process which has average time <strong>of</strong> 10.96 hours, preparing data for import declaration which has<br />

average time <strong>of</strong> 10.79 hours and waiting for a confirmation from <strong>the</strong> customer which has average time <strong>of</strong> 6.13 hours. The total<br />

time <strong>of</strong> <strong>the</strong>se three activities is 47.43% <strong>of</strong> <strong>the</strong> total average time in imported auto parts service process. And <strong>the</strong> time for<br />

importing processes can be reduced by 14.49 hours (or about 23.30 %) and <strong>the</strong> total cost can be reduced by 38,696.94 baht (or<br />

5.35 %).<br />

Keywords : Logistics service providers, Simulation Model, Total average time, Process <strong>of</strong> importing auto parts service<br />

48


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การจัดสรรพื้นที่การจัดวางสินค๎าภายในคลังสินค๎าโดยใช๎แบบจ<br />

าลองสถานการณ์<br />

กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง<br />

Warehouse Space Allocation using a Simulation Technique<br />

A Case Study <strong>of</strong> Canned Food Industry<br />

วรธน แสงศักดา 1* ธนัญญา วสุศรี 2<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กรุงเทพฯ 10140<br />

E-mail: 1 Kapinglok_nex@hotmail.com * , 2 twasusri@gmail.com<br />

งานวิจัยนี้ได้ท<br />

าการศึกษาระบบการด าเนินงานภายในคลังสินค้าอุตสาหกรรมอาหารกระป๋องแห่งหนึ่ง<br />

คลังสินค้าดังกล่าวประสบปัญหาการจัด<br />

วางสินค้าเนื่องด้วยพื้นที่ในการจัดวางสินค้าแต่ละประเภทนั้นไม่แน่นอนและมีการปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์<br />

ในการศึกษาการจัดวางสินค้า 3ประเภท<br />

เดิมทีมีการก าหนดพื้นที่การจัดวางสินค้าอย่างละเท่าๆกัน<br />

แต่ด้วยสินค้าประเภทที่<br />

1 มีปริมาณการสั่งซื้อที่สูงและจ<br />

าเป็นต้องใช้พื้นที่ในการจัดวางมากกว่า<br />

สินค้าประเภทอื่นๆซึ่งท<br />

าให้ต้องน าสินค้าประเภทที่<br />

1 ไปวางในบริเวณพื้นที่ของสินค้าประเภทที่<br />

2 หรือบริเวณพื้นที่ของสินค้าประเภทที่<br />

3 เมื่อเกิดการวาง<br />

สินค้าผิดพื้นที่การจัดวางดังกล่าวส่งผลให้การค้นหาสินค้าของพนักงานอาจเกิดความสับสน<br />

เพิ่มเวลาและใช้ความช<br />

านาญของพนักงานในการค้นหา ผู้จัดท<br />

า<br />

จึงได้น าเสนอการจ าลองสถานการณ์โดยใช้โปรแกรม Arena Simulation 10.0 โดยข้อมูลตั้งแต่วันที่<br />

1 มีนาคม 2554 – 30 พฤษภาคม 2554 ในการ<br />

จ าลองการจัดสรรพื้นที่ในการจัดวางสินค้าภายในคลังสินค้า<br />

ในการท าวิจัยครั้งนี้มีการเปลี่ยนระบบการจัดวางสินค้าเดิมด้วยการประยุกต์ใช้ระบบวิธีการจัด<br />

กลุ่มเอบีซีเพื่อเลือกวางสินค้าตามความถี่และปริมาณ<br />

เพื่อลดเวลาในการเดินทางไปหยิบสินค้า<br />

จากผลที่ได้สามารถลดเวลาในการเดินทางไปหยิบสินค้าได้<br />

7.9710% เวลาในการขนสินค้าไปยังรถส่งสินค้า 3.7554% และสามารถก าหนดพื้นที่ส<br />

าหรับวางสินค้าแต่ละประเภทได้แน่นอน พร้อมทั้งประยุกต์การใช้<br />

บาร์โค้ด เพื่อลดเวลาในการบันทึกข้อมูลรวมของสินค้าเข้า-ออก<br />

ได้ 50.45 นาทีต่อวัน<br />

ค าส าคัญ : แบบจ าลองสถานการณ์, ระบบวิธีการจัดกลุ่มเอบีซี,<br />

บาร์โค้ด, คลังสินค้า<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The operations in <strong>the</strong> warehouse <strong>of</strong> a canned food industry were studied. The warehouse has an allocation space<br />

problem as <strong>the</strong> space has been randomly selected regarding to demand situation. The space was equally reserved by 3 main<br />

product types. However, <strong>the</strong> product type 1 has very high demand and need more space. Then, <strong>the</strong> product type 1 has to be<br />

stored in <strong>the</strong> area reserved for <strong>the</strong> product type 2 or 3. As a result, <strong>the</strong> workers may be confused during <strong>the</strong> picking process and<br />

lead to increasing more time in <strong>the</strong> process. We <strong>the</strong>n set up a simulation model with <strong>the</strong> use <strong>of</strong> data from March 1 to May 30,<br />

2011 to reflect <strong>the</strong> effects <strong>of</strong> <strong>the</strong> warehouse space allocation. We propose an ABC analysis as a tool for warehouse space<br />

allocation. The highest frequency and volume product will be given a first priority. It was found that we could reduce <strong>the</strong> picking<br />

time by 7.9710% and <strong>the</strong> loading time by 3.7554%. The space has been fixed for those products. Moreover, <strong>the</strong> use <strong>of</strong> Barcode<br />

could reduce recording time in receiving and dispatching process by 50.45 Minute/day.<br />

Keywords : Simulation, System ABC (ABC Analysis), Barcode, Warehouse<br />

C-06<br />

49


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การจ าลองสถานการณ์เพื่อหาระดับวัสดุคงคลังที่เหมาะสม<br />

Simulation for approximate inventory level<br />

รุํงรัตน์<br />

ภิสัชเพ็ญ 1* นวมน ศิริวาริน 2<br />

ภาควิชาอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 fengros@ku.ac.th * , 2 nawamon.siriwarin@gmail.com<br />

การศึกษานี้ท<br />

าการศึกษาเพื่อหาระดับวัสดุคงคลัง<br />

จ านวนครั้งการสั่งซื้อและขนาดรุ่นการสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

ของวัสดุ 4 ชนิดคือ วัสดุ A01 วัสดุ<br />

A02 วัสดฺ B01 และวัสดุ B02 ของบริษัทผลิตหน่วยความจ าคอมพิวเตอร์ ขั้นแรกเริ่มจากการหารูปแบบการพยากรณ์ความต้องการในแต่ละเดือนเป็น<br />

ระยะ 1 ปีของวัสดุแต่ละชนิดโดยใช้เทคนิคการพยากรณ์แบบถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่<br />

การพยากรณ์แบบแนวโน้มความชัน การพยากรณ์แบบเอกซ์โปรเนนเชียล<br />

โดยองค์ประกอบแนวโน้มและ การพยากรณ์แบบเอกซ์โปรเนนเชียลโดยองค์ประกอบแนวโน้มและฤดูกาล ซึ่งเลือกเทคนิคการพยากรณ์ที่ท<br />

าให้ค่าเฉลี่ย<br />

เปอร์เซ็นต์ของความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์มีค่าที่น้อยสุด<br />

จากนั้นจึงน<br />

าค่าพยากรณ์ที่ได้มาหาระดับจุดสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

ขนาดรุ่นการสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

และ<br />

ช่วงเวลาการสั่งซื้อที่เหมาะสม<br />

เพื่อให้เกิดค่าใช้จ่ายที่ต่าที่สุดโดยการสั่งซื้อแบบรุ่นต่อรุ่น<br />

สั่งซื้อแบบประหยัดและการสั่งซื้อแบบช่วงเวลา<br />

หลังจากนั้นจึง<br />

น าไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมอารีน่าเพื่อจ<br />

าลองสถานการณ์ให้มีลักษณะคล้ายกับสถานการณ์จริง ซึ่งจากกรทดลองพบว่า<br />

วัสดุ A01 วัสดุ A02 เหมาะกับ<br />

วิธีการสั่งซื้อแบบช่วงเวลา<br />

และวัสดุ B01 วัสดุ B02 เหมาะกับวิธีการสั่งซื้อแบบประหยัด<br />

ซึ่งจาการวิเคราะห์ผลลัพธ์พบว่าวัสดุA01<br />

มีค่าใช้จ่ายที่ลดลง<br />

12.03% วัสดุ A02 มีค่าใช้จ่ายที่ลดลง<br />

28.76% วัสดุ B01 มีใช้จ่ายที่ลดลง<br />

35.35% และวัสดุB02 มีค่าใช้จ่ายที่ลดลง<br />

26.67%<br />

ค าส าคัญ : การจ าลองสถานการณ์, จุดสั่งซื้อ,<br />

วัสดุคงคลัง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

Inventory Procurement and excessive holding inventory are important factors that could lead to an increasing in total<br />

cost. This study is conducted in order to obtain <strong>the</strong> appropriate inventory level, number <strong>of</strong> procurement order and order quantity<br />

for four materials (A01, A02, B01, and B02) <strong>of</strong> <strong>the</strong> company producing flash memory. First, various forecasting technique, such as<br />

moving average, regression, exponential with trend component and exponential with trend and seasonal component, are studied.<br />

The method which gives <strong>the</strong> minimum percentage <strong>of</strong> mean absolute error is selected to forecast <strong>the</strong> demand <strong>of</strong> each material in<br />

one year. Then, <strong>the</strong> optimal reorder point and order quantity is computed in order to minimize <strong>the</strong> total cost. Lastly, Arena<br />

s<strong>of</strong>tware is employed to simulate and analyze <strong>the</strong>se procurement methods. Monthly usages <strong>of</strong> material along with <strong>the</strong> optimal<br />

reorder point and order quantity are also used in simulation model. The results illustrate that periodic order quantity is suitable<br />

for product type A. The total cost for material A01 and A02 decrease by 12.03% and 28.76% respectively. For product type B, <strong>the</strong><br />

appropriate procurement method is economic order quantity. The percentage <strong>of</strong> total cost reduction for material B01 and B02 are<br />

35.35% and 26.67% respectively.<br />

Keywords : Simulation, Reorder point, inventory<br />

C-07<br />

50


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การปรับปรุงผังโรงงานส าหรับการผลิตหลอดอลูมิเนียม<br />

Improvement <strong>of</strong> Plant Layout and Design for Aluminium Tubes Production<br />

รุํงรัตน์<br />

ภิสัชเพ็ญ 1* เปมิศา เดชาสถิตย์วงค์ 2<br />

ภาควิชาอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

E-mail: 1 fengros@ku.ac.th, 2 hahaha_p17@hotmail.com<br />

จากการศึกษากระบวนการผลิตหลอดอลูมิเนียมของบริษัท อุตสาหกรรม หลอดอลูมิเนียมที่จังหวัดสมุทรปราการ<br />

ได้เห็นถึงปัญหาของการขนส่ง<br />

หลอดอลูมิเนียมจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่ง<br />

และการส่งย้อนกลับไปกลับมา ท าให้ระยะทางในการขนย้ายหลอดอลูมิเนียมระหว่างแผนกมาก ซึ่งก็ให้<br />

เกิดการท างานล่วงเวลาขึ้น<br />

จากปัญหาดังกล่าวท าให้ต้องพิจารณาปรับปรุงแผนผังโรงงานปัจจุบัน เพื่อลดระยะทางรวมในการขนย้ายและค<br />

านึงถึงค่าใช้จ่าย<br />

ตามระยะทาง เริ่มต้นจากการวิเคราะห์ได้แก่<br />

จ านวนหลอดอลูมิเนียมที่ผลิตในแต่ละ<br />

จ านวนเที่ยวต่อวันในการล<br />

าเลียงหลอดอลูมิเนียมระหว่างแผนก<br />

ระยะทางระหว่างแผนก แล้วน ามาวิเคราะห์การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายตามระยะทางเพื ่อจัดผังโรงงานใหม่ด้วยวิธี Micro Computerized Relative<br />

Allocation Facilities Technique (MCRAFT) ผลที่ได้คือ<br />

ผลิตภัณฑ์กลุ่มที่<br />

1 (หลอดอลูมิเนียมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13.50 และ 15.80 มิลลิเมตร) ซึ่ง<br />

ค่าใช้จ่ายตามระยะทางที่ลดลงเท่ากับ<br />

49.79 % และ ผลิตภัณฑ์กลุ่มที่<br />

2 (หลอดอลูมิเนียมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 19.05 22.20 25.40 และ 34.92<br />

มิลลิเมตร) ซึ่งค่าใช้จ่ายตามระยะทางที่ลดลงเท่ากับ<br />

43.87%<br />

ค าส าคัญ : MCRAFT, ผังโรงงาน<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The study aims to investigate <strong>the</strong> aluminium tubes production line in Aluminium Tubes Industries Co.Ltd. One major<br />

problem is <strong>the</strong> transportation <strong>of</strong> <strong>the</strong>se aluminium tubes between departments. Due to poorly designed factory layout, <strong>the</strong>re exist<br />

a lot <strong>of</strong> wasted movements which result in unnecessary overtime. The objective is to improve <strong>the</strong> existing plant layout in order to<br />

minimize <strong>the</strong> total cost distance <strong>of</strong> transportations <strong>the</strong> existing factory layout is analyzed. Several factors are also included such as<br />

number <strong>of</strong> aluminium tubes produced per day, number <strong>of</strong> transportation between departments per day, and distance between<br />

departments. Micro Computerized Relative Allocation Facilities Technique (MCRAFT) is employed to improve <strong>the</strong> factory layout.<br />

For production group 1 (aluminium tube with diameter 13.50 and 15.80 mm.) and product group 2 (aluminium tube with diameter<br />

19.05, 22.20, 25.40 and 34.92 mm.), <strong>the</strong> result show that total transportation cost is reduced by 49.79% and 43.87%.<br />

Keywords : MCRAFT, Factory layout<br />

C-08<br />

51


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การหาคําที่ดีที่สุดของการจัดสรรการใช๎ทรัพยากรในโครงการกํอสร๎างด๎วยรูปแบบผสม<br />

กรณีศึกษา โครงการบ๎านจัดสรร<br />

OPTIMIZATION OF RESOURCE UTILIZATION IN CONSTRUCTION PROJECT BY A HYBRID MODEL<br />

C<strong>AS</strong>E STUDY: HOUSING DEVELOPMENT PROJECT<br />

บทคัดยํอ<br />

ปรมินทร์ วงษ์เชิดขวัญ 1* ปุ่น<br />

เที่ยงบูรณธรรม<br />

2 วรัตถ์ สิริศักดานุกูล 3<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ 239 ถนนห๎วยแก๎ว ต าบลสุเทพ อ าเภอเมืองเชียงใหมํ จังหวัดเชียงใหมํ 50200<br />

E-mail: 1 santaculb@gmail.com * , 2 poon@eng.cmu.ac.th, 3 siri.warat@gmail.com<br />

การจัดสรรการใช้ทรัพยากรนั้นเป็นประเด็นที่มีความส<br />

าคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรแรงงานก่อสร้าง<br />

เนื่องจากคิดเป็นต้นทุนถึงร้อยละ<br />

40-<br />

60 ของค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างทั้งหมด<br />

[7, 8] ในงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นในการหาค่าที่ดีที่สุดส<br />

าหรับการจัดสรรการใช้ทรัพยากรในโครงการก่อสร้าง โดยมี<br />

กรณีศึกษาเป็นโครงการบ้านจัดสรรและเลือกเก็บข้อมูลจากผู้รับเหมารายหนึ่ง<br />

ส าหรับขั้นตอนแรกจะเป็นการก<br />

าหนดกิจกรรมของการก่อสร้างบ้าน หลังจาก<br />

นั้นท<br />

าการเก็บข้อมูลระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม ต่อมาจึงน าข้อมูลที่ได้มาจ<br />

าลองสถานการณ์ด้วยซอฟต์แวร์ ExtendSim สุดท้ายจึงท าการหาค่าที่ดีที่สุด<br />

ของจ านวนทรัพยากรในกิจกรรมต่าง ๆ<br />

ค าส าคัญ: การหาค่าที่ดีที่สุด,<br />

การจัดสรรการใช้ประโยชน์, การก่อสร้าง<br />

<strong>Abstract</strong><br />

Resource utilization is <strong>the</strong> important issue especially <strong>the</strong> labor resource because it costs amount 40-60 percent <strong>of</strong> total<br />

construction cost. [7, 8] This research is aimed to optimize <strong>the</strong> resource utilization for construction project by using case study as<br />

<strong>the</strong> housing development project and collecting <strong>the</strong> data from a contractor <strong>of</strong> <strong>the</strong> project. Firstly, house construction activity is<br />

identified. Then, <strong>the</strong> time <strong>of</strong> activity is collected. When all data is completed, it is used to simulate by ExtendSim. The last thing is<br />

<strong>the</strong> finding <strong>of</strong> optimal number <strong>of</strong> resource.<br />

Keywords : Optimization, Resource Utilization, Construction<br />

C-09<br />

52


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การวิเคราะห์หาจ านวนพนักงานที่เหมาะสมของกระบวนการทดสอบฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ<br />

โดยใช๎แบบจ าลองสถานการณ์<br />

An Optimal Number <strong>of</strong> Operators Required in Hard Disk Testing Process by Simulation<br />

บทคัดยํอ<br />

วิบูลย์ ส าราญรัมย์ 1* เจริญ สุนทราวาณิชย์ 2<br />

1<br />

ศูนย์พัฒนาผลิตภาพอุตสาหกรรม ส านักวิจัยและบริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กทม 10140<br />

E-mail: 1 wiboon.sum@kmutt.ac.th * , 2 charoen.soon@kmutt.ac.th<br />

งานวิจัยนี้<br />

เป็นการหาจ านวนพนักงานล าเลียงงานของเครื่องทดสอบที่เหมาะ<br />

อันเนื่องมาจากฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟแต่ละรุ่นใช้เวลาทดสอบแตกต่างกัน<br />

โดยขึ้นอยู่กับความจุและข้อตกลงกับลูกค้า<br />

ท าให้เครื่องทดสอบฮาร์ดิสก์ไดร์ฟ<br />

มีอัตราการท างานที่ไม่คงที่<br />

ส่งผลให้เกิดความล าบากในการบริหารจัดการ<br />

จ านวนพนักงานที่เหมาะสมที่ใช้ในการล<br />

าเลียงฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟมายังเครื่องทดสอบ<br />

จากการวิเคราะห์ผลโดยใช้แบบจ าลองสถานการณ์ซึ่งเลียนแบบ<br />

พฤติกรรมจริงของกระบวนการทดสอบ จากการวิเคราะห์จ านวนพนักงานเดิม มีความเหมาะสมกับจ านวนเครื่องทดสอบอยู่แล้ว<br />

แต่เมื่อทดลองเปลี่ยนแปลง<br />

โดยการเพิ่มลิฟท์ล<br />

าเลียง และการเปลี่ยนจ<br />

านวนฮาร์ดดิสก์ต่อถาด ท าให้สามารถลดจ านวนพนักงานจาก 6 คนมาเป็น 4 คน<br />

ค าส าคัญ : แบบจ าลองสถานการณ์, จ านวนพนักงาน, การทดสอบฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ<br />

<strong>Abstract</strong><br />

During <strong>the</strong> process <strong>of</strong> <strong>the</strong> hard-disks testing, one <strong>of</strong> <strong>the</strong> problems encountered in <strong>the</strong> manufacture was that <strong>the</strong> time<br />

taken by <strong>the</strong> hard-disk testing machine depends on two factors – one was <strong>the</strong> types <strong>of</strong> <strong>the</strong> hard-disk and <strong>the</strong> latter was <strong>the</strong><br />

agreement between <strong>the</strong> manufacturer and <strong>the</strong> customers. Hence it was hard to manage <strong>the</strong> number <strong>of</strong> <strong>the</strong> operators whose duty<br />

was to transfer batches <strong>of</strong> <strong>the</strong> hard-disks to <strong>the</strong> testing machines. In this study, <strong>the</strong> aim is to optimize <strong>the</strong> number <strong>of</strong> <strong>the</strong> operators<br />

such that <strong>the</strong> time taken during <strong>the</strong> testing process is minimal. The result <strong>of</strong> <strong>the</strong> simulation showed that by increasing <strong>the</strong> number<br />

<strong>of</strong> <strong>the</strong> elevators and changing <strong>the</strong> number <strong>of</strong> <strong>the</strong> hard-disks within a batch, we can reduce <strong>the</strong> number <strong>of</strong> <strong>the</strong> operators from 6<br />

people to 4 people in order to achieve <strong>the</strong> optimal time.<br />

Keywords : Simulation, Number <strong>of</strong> Operator, Hard Disk Drive Testing<br />

C-10<br />

53


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ปัญหาการใช๎งานโปรแกรมประยุกต์ทางการบริหารงานกํอสร๎างของวิศวกรโยธา<br />

Problems in Using Application S<strong>of</strong>tware in Construction Management <strong>of</strong> Civil Engineers<br />

บทคัดยํอ<br />

ศรันยู พรมศร 1* วุฒิชัย ชาติพัฒนานันท์ 2<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าเจ๎าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520<br />

E-mail: 1 chaunhownaan@hotmail.com * , 2 vuttich@hotmail.com<br />

การวิจัยครั้งนี้<br />

มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัญหาการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ทางการบริหารงานก่อสร้างของวิศวกรโยธา<br />

จ าแนก<br />

ตามเพศ ประสบการณ์การท างาน ประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ ระดับวิศวกร และต าแหน่งงาน จ านวน 5 โปรแกรม คือ โปรแกรมMicros<strong>of</strong>t Project,<br />

Primavera, AutoCAD, Staad Pro และSAP2000 โดยการสุ่มตัวอย่างจากวิศวกรโยธา<br />

382 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ<br />

แบบสอบถามซึ่งมีลักษณะ<br />

เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ<br />

0.97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติ โดยใช้ค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย<br />

ค่าส่วน<br />

เบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ทางการ<br />

บริหารงานก่อสร้างในภาพรวมอยู่ในระดับมาก<br />

วิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์การท<br />

างาน ประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ และต าแหน่งงานต่างกันมีปัญหา<br />

ในการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ทางการบริหารงานก่อสร้าง แตกต่างกันด้วยความเชื่อมั่น<br />

95%<br />

ค าส าคัญ : การบริหารงานก่อสร้าง, โปรแกรมประยุกต์, วิศวกรโยธา<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The objective <strong>of</strong> this research is to study and compare <strong>the</strong> problems in using <strong>of</strong> application s<strong>of</strong>tware in construction<br />

management by civil engineers. The respondents are classified by gender, work experiences, computer experience, level <strong>of</strong><br />

engineer and work positions. The application s<strong>of</strong>tware in this research are Micros<strong>of</strong>t Project, Primavera, AutoCAD, Staad Pro and<br />

SAP2000. The samples has 382 civil engineer. A 5-point rating scale questionnaire is used with a 0.97 reliability. The data are<br />

analyzed in means, standard deviations, t-test, and one-way ANOVA. The results <strong>of</strong> <strong>the</strong> research are as followed. Overall<br />

problems on <strong>the</strong> use <strong>of</strong> Application s<strong>of</strong>tware were at a high level. The comparison <strong>of</strong> <strong>the</strong> problems on <strong>the</strong> use <strong>of</strong> <strong>the</strong> application<br />

s<strong>of</strong>tware in construction management by civil engineers are significantly different in work experiences, computer experience, and<br />

work positions with a 95% confidential level.<br />

Keywords : Construction Management, Application S<strong>of</strong>tware, Civil Engineer<br />

C-11<br />

54


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

C-12<br />

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจัดตารางการผลิตหลักและการวางแผนความต๎องการวัสดุคงคลัง<br />

กรณีศึกษา โรงงานผลิตปลาหมึกปรุงรส<br />

Decision Support System for Master Production Scheduling and Material Requirement<br />

Planning: A Case Study <strong>of</strong> Flavor Squid Factory<br />

บทคัดยํอ<br />

กฤษฎา ชาวบางพรหม 1* พัชราภรณ์ เนียมมณี 2<br />

<strong>สถาบันบัณฑิต</strong>พัฒนบริหารศาสตร์ 118 หมูํที่<br />

3 ถนนเสรีไทย แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240<br />

E-mail: 1 kridsada_chaw@hotmail.com * , 2 patchara@as.nida.ac.th<br />

โรงงานกรณีศึกษามีลักษณะของธุรกิจเป็นแบบการรับจ้างผลิตสินค้า ซึ่งลูกค้าจะออกแบบและจัดส่งบรรจุภัณฑ์มาให้<br />

และเจ้าหน้าที่วางแผนการ<br />

ผลิตยังจัดตารางการผลิตหลักด้วยตนเอง โดยใช้ความสามารถและประสบการณ์ของพนักงานผู้วางแผน<br />

ท าให้เกิดปัญหาหลายประการ ได้แก่ การส่งมอบไม่<br />

ทันก าหนดของลูกค้า มีการท างานล่วงเวลาของเจ้าหน้าที่แผนกผลิตจ<br />

านวนมาก และปริมาณการสั่งบรรจุภัณฑ์ไม่ตรงกับความต้องการที่ใช้ในการผลิตจริง<br />

ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงน<br />

าเสนอระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจัดตารางการผลิตหลักและการวางแผนความต้องการวัสดุคงคลังในส่วนของบรรจุภัณฑ์<br />

แต่ละรายการ โดยวัตถุประสงค์ของการจัดตารางการผลิตหลัก คือ ให้จ านวนสินค้าส าเร็จรูปที่ผลิตไม่ทันก<br />

าหนดส่งมอบและชั่วโมงการท<br />

างานล่วงเวลาของ<br />

เจ้าหน้าที่แผนกผลิตมีจ<br />

านวนน้อยที่สุด<br />

นอกจากนี้การวางแผนความต้องการวัสดุคงคลังในส่วนของบรรจุภัณฑ์จะช่วยให้สามารถค<br />

านวณปริมาณการใช้<br />

บรรจุภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องทั้งชนิดและจ<br />

านวนที่เพียงพอ<br />

และทันเวลากับความต้องการที่ใช้ในการผลิตจริงตลอดช่วงระยะเวลาที่ใช้ในการวางแผน<br />

ซึ่งจากผล<br />

การทดสอบกับตัวอย่างของโรงงานกรณีศึกษาแสดงให้เห็นได้ว่า ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจัดตารางการผลิตหลักและการวางแผนความ<br />

ต้องการวัสดุคงคลังในส่วนของบรรจุภัณฑ์ที่น<br />

าเสนอนี้<br />

สามารถประยุกต์ใช้กับโรงงานกรณีศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในทางปฏิบัติ โดยสินค้าส าเร็จรูปที่<br />

ผลิตไม่ทันก าหนดส่งมอบลดลงเฉลี่ย<br />

149.17 ลังต่อเดือน ชั่วโมงการท<br />

างานล่วงเวลาในวันท างานปกติลดลงเฉลี่ย<br />

4 ชั่วโมงต่อเดือน<br />

และจ านวนวันอาทิตย์ที่<br />

ให้เจ้าหน้าที่แผนกผลิตท<br />

างานเพิ่ม<br />

ลดลงเฉลี่ย<br />

1.50 วันต่อเดือน<br />

ค าส าคัญ : ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ, การจัดตารางการผลิตหลัก, การวางแผนความต้องการวัสดุคงคลัง, การรับจ้างผลิตสินค้า<br />

<strong>Abstract</strong><br />

The nature <strong>of</strong> business <strong>of</strong> <strong>the</strong> case study factory is a contract manufacturer which customers design and deliver<br />

packages to <strong>the</strong> factory. The master production schedule was created by using <strong>the</strong> talent and experience planner. As a result, this<br />

created several problems which contributed to late deliveries, unmet packaging requirements <strong>of</strong> <strong>the</strong> actual production and a lot<br />

<strong>of</strong> overtime <strong>of</strong> production staffs. Therefore, this research proposes a decision support system for master production scheduling<br />

and packaging requirement planning. The objectives <strong>of</strong> master production scheduling are to minimize <strong>the</strong> number <strong>of</strong> products<br />

which deliver late and <strong>the</strong> production staffs’ overtime. In addition, <strong>the</strong> proposed planning process to determine packaging<br />

requirement planning can increase efficiency to maintain <strong>the</strong> lowest possible level <strong>of</strong> inventory and ensures that <strong>the</strong> packaging is<br />

available for production. Using <strong>the</strong> test problems, <strong>the</strong> result shows that <strong>the</strong> decision support system for <strong>the</strong> master production<br />

scheduling and packaging requirements planning can be effectively applied to <strong>the</strong> case study factory in practice.<br />

Keywords : decision support system, master production scheduling, material requirement planning<br />

55


บทคัดยํอ<br />

การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจส าหรับการจับคูํรถบรรทุกวิ่งเที่ยวเปลํากับงานขนสํง<br />

กรณีศึกษา เว็บไซต์ dxplace.com<br />

Decision Support System for Empty Haul Truck Matching with Transport Order<br />

A Case Study <strong>of</strong> dxplace.com Website<br />

ศิริขวัญ คีรีสุวรรณกุล 1* รัชนี ภูวพัฒนะพันธุ์<br />

2<br />

สาขาวิชาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยรามค าแหง เขตบางกะปิ จ.กรุงเทพฯ 10240<br />

E-mail: 1 sirikwan@dx-innovation.com *<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการจับคู่รถบรรทุกวิ่งเที่ยวเปล่ากับงานขนส่ง<br />

โดยจะพิจารณางานขนส่งที่<br />

มี<br />

ลักษณะแบบเหมาเที่ยว<br />

การรับสินค้าและส่งสินค้าเพียงครั้งเดียว<br />

ซึ่งทางเว็บไซต์จะจับคู่ผู้ประกอบการทั้งสองฝ่าย<br />

ที่มีความต้องการขนส่งสินค้าในช่วงเวลา<br />

เดียวกันและประเภทรถเดียวกัน เพื่อลดค่าใช้จ่ายโดยรวมของการวิ่งรถเที่ยวเปล่าให้ได้มากที่สุด<br />

ค่าใช้จ่ายในการวิ่งรถเที่ยวเปล่าเท่ากับผลคูณของค่าใช้จ่าย<br />

ต่อระยะทางหนึ่งกิโลเมตรกับระยะทางวิ่งรถเที่ยวเปล่า<br />

จากนั้นประยุกต์ใช้ตัวแบบก<br />

าหนดการเชิงเส้นส าหรับปัญหาการขนส่ง และสร้างระบบสนับสนุนการ<br />

ตัดสินใจอย่างง่ายด้วย Visual Basic for Applications (VBA) บนโปรแกรมส าเร็จรูป Micros<strong>of</strong>t Excel 2007 ใช้ Solver เพื่อหาค<br />

าตอบที่ดีที่สุดของ<br />

ปัญหา (Optimal Solution) ผลการทดสอบกับตัวอย่างข้อมูลรถบรรทุกวิ่งเที่ยวเปล่าและงานขนส่ง<br />

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่พัฒนาขึ้น<br />

สามารถจับคู่<br />

รถบรรทุกกับงานขนส่งได้ทั้งหมด<br />

12 เที่ยว<br />

โดยสามารถลดค่าใช้จ่ายในการวิ่งรถเที่ยวเปล่าได้ร้อยละ<br />

55.94 ของค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการวิ่งรถเที่ยวเปล่า<br />

ทั้งหมดในกรณีที่ไม่ได้ท<br />

าการจับคู่ขนส่ง<br />

ค าส าคัญ : การจับคู่รถบรรทุกวิ่งเที่ยวเปล่า,<br />

ปัญหาการขนส่ง, ก าหนดการเชิงเส้น<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research develops <strong>the</strong> decision support system for empty haul truck matching with transport order. The full truck<br />

load and <strong>the</strong> only good shipping once is considered. The website will match demand <strong>of</strong> both <strong>of</strong> company with <strong>the</strong> same period<br />

and <strong>the</strong> same truck, for minimizing total cost <strong>of</strong> empty haul truck. Total cost <strong>of</strong> empty haul truck is empty haul truck cost per a<br />

kilometer times empty haul truck distances. Then, linear programming model is applied for transportation problem, <strong>the</strong> simple<br />

decision support system with VBA on Micros<strong>of</strong>t Excel 2007 is created. Solver is used to find <strong>the</strong> optimal solution. The results <strong>of</strong><br />

sample data show that we can match 12 deals <strong>of</strong> transport order and reduce 55.94 percent <strong>of</strong> all empty haul truck cost.<br />

Keywords : empty haul truck matching, transportation problem, linear programming<br />

C-13<br />

56


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจคัดเลือกพนักงานแนะน าสินค๎า โดยใช๎วิธีกระบวนการวิเคราะห์แบบโครงขําย<br />

กรณีศึกษา บริษัท เอเชียบุ๏คส์<br />

จ ากัด<br />

Decision Support System for Product Advisor Selection Using Analytic Network Process<br />

A Case Study <strong>of</strong> Asiabooks Co., Ltd.<br />

บทคัดยํอ<br />

ปัญญา ศิริพิทักษ์ชัย 1* รัชนี ภูวพัฒนะพันธุ์<br />

สาขาวิชาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยรามค าแหง เขตบางกะปิ จ.กรุงเทพฯ 10240<br />

E-mail :1 zodiac_rare@hotmail.com *<br />

การคัดเลือกบุคคลมีวิธีการคัดเลือกหลากหลายวิธี แต่วิธีการเหล่านั้นจะไม่น<br />

าความสัมพันธ์ของปัจจัยมาพิจารณา ในบทความนี้ได้น<br />

ากระบวน<br />

วิเคราะห์แบบโครงข่ายมาใช้ในปัญหาการคัดเลือกบุคลากร โดยก าหนดปัจจัยกลุ่มเป็น<br />

2 กลุ่ม<br />

คือ ปัจจัยกลุ่มเชิงปริมาณ<br />

ปัจจัยกลุ่มเชิงคุณภาพ<br />

แล้วแยก<br />

เป็น 6 ปัจจัย(เกณฑ์) ปัจจัยเหล่านี้ถูกพิจารณาว่ามีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน<br />

แล้วหาน้าหนักรวมของแต่ละปัจจัยด้วยกระบวนวิเคราะห์แบบโครงข่าย<br />

จากนั้นจึงสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อใช้หาคะแนนส<br />

าหรับแต่ละปัจจัยของผู้สมัคร<br />

แล้วเลือกผู้สมัครที่เหมาะสมจากผลของน้าหนักรวมของปัจจัย<br />

ค าส าคัญ : การคัดเลือกบุคลากร, กระบวนการวิเคราะห์แบบโครงข่าย, กระบวนการล าดับชั้นเชิงวิเคราะห์<br />

<strong>Abstract</strong><br />

There are various methods for personnel selection. But, in those methods, <strong>the</strong> interdependent factors are not taken into<br />

consideration. In this paper, <strong>the</strong> Analytic Network Process (ANP) is applied to personnel selection problem. We defined two group-<br />

factors, quantitative and qualitative group-factor, with six factors (criteria). These factors are considered as interdependent factors,<br />

<strong>the</strong> global weights <strong>of</strong> <strong>the</strong>se factors are estimated by means <strong>of</strong> ANP. The decision support system, for finding scale <strong>of</strong> applicants for<br />

each factor, is developed. Finally, from <strong>the</strong> total weight <strong>of</strong> each applicant, <strong>the</strong> appropriate applicant is selected.<br />

Keywords : personnel selection, Analytic Network Process, Analytic Hierarchy Process<br />

C-14<br />

57


การประชุมวิชาการด๎านการวิจัยด าเนินงานแหํงชาติ ครั้งที่<br />

9 ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การมอบหมายงานรถเทรลเลอร์สํงรถยนต์สินค๎าแบบมีกรอบเวลาอยํางเหมาะสม<br />

และระบบสนับสนุนการตัดสินใจ<br />

Optimal Automobile Trailer Assignment with Time Window and Decision Support System<br />

บทคัดยํอ<br />

ดวงรัตน์ ชาติวรพงศา 1 * ชลธิชา จันทร์เพ็ญ 2 3<br />

บุษราคัม ฟองสวัสดิ์<br />

เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ 4 เตือนใจ สมบูรณ์วิวัฒน์ 5 และ ชํอแก๎ว จตุรานนท ุ ์ 6<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล๎าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุํงครุ<br />

กรุงเทพฯ 10140<br />

E-mails: 1 ch.duangrat@hotmail.com * , 4 charoenchai.kho@kmutt.ac.th,<br />

5 6<br />

tuanjai.som@kmutt.ac.th, chorkaew.jat@kmutt.ac.th<br />

งานวิจัยนี้ศึกษาปัญหาการมอบหมายงานการส่งมอบรถยนต์สินค้าด้วยรถเทรลเลอร์ภายใต้กรอบเวลา<br />

โดยรถเทรลเลอร์ที่ศึกษาแบ่งออกเป็น<br />

2<br />

ขนาดบรรทุก คือ รถเทรลเลอร์ขนาดบรรทุกรถยนต์สินค้า 6 คัน และขนาดบรรทุกรถยนต์สินค้า 7 คัน ปัจจุบันบริษัทกรณีศึกษาอาศัยความช านาญของ<br />

พนักงานไม่กี่คนในการมอบหมายงานการจัดส่งรถยนต์สินค้า<br />

ซึ่งท<br />

าให้ไม่เพียงแต่การจัดรถเทรลเลอร์ต้องใช้เวลานานเท่านั้นบางครั้งผลลัพธ์ที่ได้อาจยังไม่ดี<br />

เท่าที่ควรอีกด้วย<br />

ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการมอบหมายงานการส่งมอบรถยนต์สินค้าให้รถเทรลเลอร์ที่มีความเหมาะสมโดยใช้เวลาไม่นานนัก<br />

โดยอาศัยระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ในขั้นแรกได้สร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ของการมอบหมายงานการส่งรถยนต์สินค้าด้วยรถเทรลเลอร์ภายใต้กรอบ<br />

เวลา จากนั้นจึงสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยประยุกต์ใช้<br />

Micros<strong>of</strong>t Excel Spreadsheet และ Solver ในการแก้ปัญหา ผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่า<br />

การประยุกต์ใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถแก้ปัญหาการมอบหมายงานการส่งมอบรถยนต์สินค้าด้วยรถเทรลเลอร์ภายใต้กรอบเวลา ส าหรับการ<br />

ขนส่งรถยนต์สินค้าทั้งหมด<br />

25 เส้นทางที่มีกรอบเวลาแตกต่างกัน<br />

โดยใช้จ านวนรถน้อยกว่าการจัดด้วยพนักงานของบริษัท 1 คัน และใช้เวลาในการจัดการ<br />

มอบหมายงานน้อยกว่าเดิมประมาณครึ่งหนึ่ง<br />

ค าส าคัญ : ปัญหาการมอบหมายงานการส่งมอบรถยนต์สินค้าด้วยรถเทรลเลอร์ภายใต้, ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ, กรอบเวลา<br />

<strong>Abstract</strong><br />

This research studied automobile delivery assignment problem by automobile trailer trucks under specific time windows.<br />

There were two capacities <strong>of</strong> trailer trucks in this study: 6 and 7 automobile loads. Currently, <strong>the</strong> case study company relied on a<br />

few staff to perform this automobile delivery assignment. Not only that <strong>the</strong> assignment took time to complete, but <strong>the</strong> results<br />

were sometimes not as good as <strong>the</strong>y could be. Therefore, this research aimed at finding good delivery assignments within a<br />

reasonable amount <strong>of</strong> time through <strong>the</strong> use <strong>of</strong> a decision support system. First, a model <strong>of</strong> <strong>the</strong> automobile delivery assignment<br />

under delivery time windows was ma<strong>the</strong>matical formulated. Then <strong>the</strong> decision support system (DSS) was developed by utilizing<br />

Micros<strong>of</strong>t Excel spreadsheet and its Solver. The results showed that <strong>the</strong> DSS developed was able to solve an example <strong>of</strong> 25<br />

delivery jobs with different time constraints and time windows by using one less trailer truck than <strong>the</strong> solution by <strong>the</strong> company’s<br />

staff. The time required to solve <strong>the</strong> example was only a half <strong>of</strong> what it was previously required.<br />

Keywords : Automobile Delivery Assignment Problem, Decision Support System, Time Window<br />

C-15<br />

58


126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด<br />

เขตทุ่งครุ<br />

กรุงเทพมหานคร 10140<br />

โทรศัพท์:02-872 9002-4 โทรสาร:02-872 9005<br />

http://www.kmuttalumni.com


Everything you need to manage your Lean<br />

Six Sigma and improvement projects in one<br />

application.<br />

อีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ของ<br />

Minitab ที่จะช่วยคุณในการ<br />

บริหารโครงการ ซึ่งจะช่วยคุณในการสร้าง<br />

Roadmap<br />

รวมถึงเป็นศูนย์รวมเครื่องมือต่างๆที่ส<br />

าคัญในระหว่าง<br />

ด าเนินโครงการของคุณ<br />

Our e-learning course that teaches you statistics and<br />

how to analyze your data with Minitab.<br />

แนะน าทางเลือกของการเรียนรู้ในรูปแบบของ<br />

E-learning โดยที่คุณ<br />

สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง<br />

โดยไม่มีข้อจ ากัดของเวลา<br />

สามารถเรียนซ้าในหัวข้อที่ไม่เข้าใจ<br />

The leadind statistical s<strong>of</strong>tware for quality improvement<br />

worldwide.<br />

โปรแกรมที่ช่วยให้งานด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพัฒนาปรับปรุง<br />

งานคุณภาพของคุณเป็นเรื่องง่าย<br />

โดยรวมด้วยกราฟและเครื ่องมือ<br />

วิเคราะห์ทางสถิติที่รวมอยู่ในหนึ่งเดียวและยังเป็นเครื่องมือหลักที่ใช้ในการ<br />

ปรับปรุงคุณภาพด้วยแนวทาง Six Sigma รวมถึงโปรแกรมคุณภาพอื่นๆ<br />

และการวิเคราะห์ที่หลากหลายอีกมากมาย<br />

Solution Center Co., Ltd.<br />

อาคาร เอ.พี.นครินทร์ ชั้น<br />

17<br />

เลขที่<br />

88 ซ.ลาซาล 58 แขวงบางนา กรุงเทพฯ 10260<br />

โทรศัพท์ 02-748-6211-2 โทรสาร 02-748-6216

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!