28.07.2013 Views

1. Company Profile . . 2519 60 40 knock down knock down ... - LEAN

1. Company Profile . . 2519 60 40 knock down knock down ... - LEAN

1. Company Profile . . 2519 60 40 knock down knock down ... - LEAN

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ห้างหุ ้นส่วนจํากัด ไม้สักไทยเฟอร์นิเจอร์<br />

<strong>1.</strong> <strong>Company</strong> <strong>Profile</strong><br />

ห้างหุ้นส่วนจํากัดไม้สักไทยเฟอร์นิเจอร์ ก่อตังในปี พ.ศ. <strong>2519</strong> เป็นผู้ผลิตและจําหน่ายเฟอร์นิเจอร์ที ผลิตจากไม้ปาร์ติ<br />

เกิ ล และเอ็มดีเอฟ มีพนักงานทังสิ นประมาณ <strong>60</strong> คน อยู ่ในฝ่ายผลิตประมาณ <strong>40</strong> กว่าคน ผลิตเฟอร์นิเจอร์สําหรับใช้ในบ้าน เช่น<br />

โต๊ะเขียนหนังสือ ชุดห้องนอน ห้องนังเล่น ผลิตเพื อจําหน่ายทัวประเทศ และเพื อการส่งออกโดยมีญี ปุ่นเป็นตลาดหลัก สินค้าเป็น<br />

<strong>knock</strong> <strong>down</strong> และกึ ง <strong>knock</strong> <strong>down</strong> ทังแบบ OEM และสําเร็จรูปภายใต้แบรนด์ Vimana และ Knotty Berry<br />

ที อยู ่: 106/6 ซอย ครุฑจัดสรร 1 นวมินทร์ 59 ถ.นวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม<br />

เขตบึงกุ่ม<br />

กทม 102<strong>40</strong><br />

โทรศัพท์: 02-3778199,02-3779757,02-3751364 โทรสาร:02-3751365<br />

อีเมล: info@thaiteakfurniture.com<br />

เว็บไซต์: http://www.thaiteakfurniture.com<br />

เวลาทําการ: จันทร์-เสาร์ 08:00-17:00<br />

กรรมการผู้จัดการ: นายสันต์ อมรเลิศวิมาน<br />

ผู้จัดการฝ่ายผลิต และบริหารโครงการ Lean: นส. ปัทมา อมรเลิศวิมาน<br />

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์<br />

Bedroom Set<br />

Desks Sideboard & Shelves<br />

2. Lean Team และอาจารย์ทีปรึกษา<br />

2.1 อาจารย์ที ปรึกษา:อ.วันเพ็ญ สิงห์คํา<br />

2.2 Lean Team :<br />

2.2.1 Lean Executive: คุณปัทมา อมรเลิศวิมาน ตําแหน่ง ผู้บริหาร((จัดการโครงการ)<br />

2.2.2 Lean Team : จํานวน 5 ทีม ประกอบด้วย ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย ฝ่ายขนส่ง ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายวางแผน ฝ่ายช่าง<br />

ฝ่ายสต็อก หัวหน้างานและผู้บริหารทุกท่านที เกี ยวข้อง


ทีมชัยพฤกษ์<br />

ทีมทองหลาง<br />

3. Lean Assessment (Radar Chart Before - After)<br />

Lean Organization Chart<br />

Lean Executive<br />

คุณปัทมา อมรเลิศวิมาน<br />

ทีมลีลาวดี<br />

ทีมราชพฤกษ์<br />

ทีมสักทอง


4. Best Practice Lean 1 Project<br />

- VSM Current State Map


- VSM Future State Map


5. หัวข้อทีต้องการปรับปรุง<br />

5.1 เพิมประสิทธิภาพการผลิต<br />

เนื องจากพบว่ามีความสูญเสียที เกิดจากการเดินทางระหว่างเครื องจักร การไม่ได้ตังมาตรฐานในการจัดสรรทรัพยากร<br />

ต่างๆ รวมทังมีโอกาสที จะปรับปรุงด้านการจัดสมดุลสายการผลิต<br />

แนวทางการปรับปรุง<br />

1) ศึกษาขันตอนและเวลาในการทํางาน<br />

2) จัดสมดุลสายการผลิตใหม่<br />

3) สร้างมาตรฐานการจัดสายการผลิตสําหรับผลิตแต่ละประเภท<br />

4) ทดลองปรับปรุง<br />

5) ติดตามผลการดําเนินงานและแก้ไขปัญหาที เกิดขึ น<br />

6) สรุปผลการปรับปรุง<br />

5.2 ลดปัญหาด้านคุณภาพ(งานซ่อม)<br />

พบโอกาสในการพัฒนามาตรฐานด้านคุณภาพ เช่นในกระบวนการเจาะรู การทําสี และการติดอุปกรณ์ ซึ งถ้าแก้ไข<br />

ปัญหางานซ่อมได้ก็จะสามารถลดเวลาและต้นทุนการผลิตลงได้<br />

แนวทางการแก้ไข<br />

1) ออกแบบและสร้างเครื องมือป้องกันความผิดพลาดในการทํางาน<br />

2) สร้างมาตรฐานในการทํางาน<br />

3) ทําการฝึกอบรมพนักงานที เกี ยวข้อง<br />

4) ทดลองปรับปรุง<br />

5) ติดตามผลการดําเนินงานและแก้ไขปัญหาที เกิดขึ น<br />

6) สรุปผลการปรับปรุง<br />

บรรยากาศการฝึกอบรมและการปรับปรุงการทํางาน<br />

การอบรม<br />

การปรับปรุง Lay out<br />

ทีมงานนําเสนอผลการดําเนินงานโครงการ<br />

การจัดสมดุลสายการผลิต


6. A3 Process Management


แนวทางการปรับปรุง<br />

1) ศึกษา Material Flow Chart<br />

2) ศึกษาขันตอนและเวลาในการทํางาน<br />

3) จัดสมดุลสายการผลิต<br />

4) จัดแผนผังเครื องจักรใหม่(Re-Lay out)<br />

5) ออกแบบและจัดทําเครื องมือป้องกันความผิดพลาด(Poka Yoke)<br />

มาตรฐานการทํางานใหม่ที เกิดขึ นหลังการปรับปรุง<br />

ศึกษา Material Flow Chart<br />

Material Flow Chart ก่อนการปรับปรุง<br />

Material Flow Chart หลังการปรับปรุง<br />

จัดไลน์ตามประเภทผลิตภัณฑ์หลักและเรียงเครื องจักรใหม่ออกเป็น 3 กลุ่ม


ภาพตัวอย่างสภาพทังไปของการจัดสายการผลิตแบบใหม่<br />

Visual Control การเก็บอุปกรณ์


อุปกรณ์ช่วยในการทํางานและป้องกันความปลอดภัย<br />

* สรุปผลการปรับปรุงที ได้ในรูป Summary cost saving / Potential Productivity (บาท/ปี)<br />

กิจกรรมการปรับปรุง Base line Target Result Diff. Hard Saving Potential Saving<br />

<strong>1.</strong> เพิมประสิทธิภาพการผลิต<br />

5.73 4.87 4.5 2<strong>1.</strong>47% 95,9<strong>40</strong> 178,596.86<br />

(ตัว/ชม.)<br />

2. ลดปัญหาด้านคุณภาพ(งาน<br />

ซ่อม)<br />

30% 25.5% 20% 33.33% 134,082 280,029.92<br />

7. เรืองทีจะทําต่อในอนาคต<br />

และแผนงานในอนาคต<br />

บริษัทต้องดําเนินกิจกรรมตามแนวทาง Lean ไปอย่างต่อเนื อง เนื องจากโรงงานเพิงจะเริมศึกษาและฝึกหัดในแนวทางนี<br />

<br />

โรงงานยังจะต้องได้รับการอบรมและฝึกฝนภายใต้คําแนะนําของผู้เชี ยวชาญต่อไป หากทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมจัดให้มีการ<br />

อบรมในปีต่อๆไป ทางโรงงานก็พร้อมจะเข้าร่วมโครงการเพื อการพัฒนาโรงงานให้ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพเพิ มขึ นอย่าง<br />

ต่อเนื อง ดังต่อไปนี <br />

7.1 ดําเนินการทํากิจกรรม 5ส. อย่างต่อเนื อง<br />

7.2 จัดให้มีกิจกรรม Kaizen Award และจัดให้มีการศึกษาดูงานของทีมงานลีน<br />

7.2 ขยายผลไปสู ่การปรับสายการผลิตสู ่แนวทางของ One Piece Flow<br />

8. ความเห็นผู ้บริหาร<br />

ในโลกที การแข่งขันรุนแรงอย่างในปัจจุบัน การบริหารการผลิตแบบคิดเอาเองดูจะเป็นไปไม่ได้อีกต่อไป กิจการขนาดจิว<br />

ที ส่วนใหญ่นอกจากจะดําเนินกิจการแบบ one man show แล้วยังไม่มีหลักวิชาการคงจะต้องถึงเวลาเปิดใจกว้าง “รับรู้” และ<br />

“เรียนรู้” วิชาการใหม่ๆที แตกต่างจากแนวคิดแบบเดิมๆ การให้ลูกน้องมีส่วนร่วมในการศึกษาปัญหาการผลิต และพยายามหาทาง<br />

แก้ปัญหาโดยการสนับสนุนของผู้บริหารและมีเครื องมือทางวิชาการมาเป็นตัวช่วยเป็นปัจจัยในการพัฒนาองค์กรมากอย่างคาดไม่<br />

ถึง หลักสูตร Lean Manufacturing ได้กลันกรองความคิดรวบยอดในการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ผลิตในทุกระดับได้ในระยะเวลาอัน<br />

สันและมีประสิทธิผลอย่างไม่น่าเชื อ ทังนี การเข้าร่วมโครงการจะได้ประโยชน์หรือไม่ขึ นอยู ่กับตัวโรงงานเองเท่านันว่าจะมุ่งมันที<br />

จะ<br />

พัฒนาตัวเองโดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคหรือไม่<br />

หจก. ไม้สักไทยเฟอร์นิเจอร์เห็นความสําคัญในการต้องปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตโดยใช้เครื องของ Lean จึงเข้า<br />

ร่วมในโครงการนี การที เป็นองค์กรขนาดเล็ก ขาดแคลนบุคลากรที มีความรู้ด้านการผลิต ทําให้ต้องใช้เวลาค่อนข้างนานในการทํา<br />

ความเข้าใจ และนําเอาเครืองมือไปประยุกต์ใช้ในงาน การมีออร์เดอร์ผลิตค่อนข้างล้นมือก็เป็นอุปสรรคอย่างหนึ งสําหรับทีมงานที


จะให้เวลากับการทํา “การบ้าน” ให้ได้ข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหาให้ครบถ้วนที สุด เมื อจบอบรม การนําความรู้จากการอบรมไป<br />

ประยุกต์ใช้ในงานจริงเป็นเรื องที น่ากังวลใจสําหรับผู้บริหารพอสมควร<br />

ผลประโยชน์ที ได้จากการอบรม นอกจากประสิทธิภาพในการทํางานที เพิมขึ<br />

นจากการใช้เครื องมือ Lean แล้ว ผลที ได้<br />

ในทันที คือ การปรับทัศนคติของพนักงานให้เข้าใจในสถานการณ์ภายนอก ทังเศรษฐกิจ สังคม แนวทางการผลิตแบบใหม่ๆ และ<br />

ให้มีเป้าหมายร่วมกันในการพัฒนาองค์กรไปในทางเดียวกัน สร้างเสริมให้พนักงานตระหนักถึงศักยภาพของตนเอง รักองค์กร มี<br />

ส่วนร่วม กล้าแสดงความคิดเห็น รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!