28.07.2013 Views

1. (Company Profile) 2. - LEAN

1. (Company Profile) 2. - LEAN

1. (Company Profile) 2. - LEAN

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บริษัท นีสเทิร์น สตีล จํากัด<br />

<strong>1.</strong> ประวัติความเป็ นมาของบริษัท (<strong>Company</strong> <strong>Profile</strong>)<br />

บริษัท นีสเทิร์น สตีล จํากัด ตังอยู ่เลขที 147 หมู ่ 9 ตําบลหนองงูเหลือม อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด<br />

นครราชสีมา โดยมีคุณเธียรศักดิ ดีรุ่งโรจน์<br />

เป็นผู้บริหารสูงสุด มีทุนจดทะเบียน 90,000,000 บาท ดําเนินธุรกิจผลิต<br />

เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ นรูปเย็น โดยมีผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ ท่อเหล็กและเหล็กรูปพรรณมาตรฐาน มอก. มีกําลัง<br />

การผลิต 5,000 ตันต่อเดือน และมีพนักงาน 80 คน<br />

<strong>2.</strong> อาจารย์ทีปรึกษา<br />

(Consulting Team)<br />

<strong>1.</strong> คุณ พีรพัฒน์ เกษบุญชู อาจารย์ที ปรึกษา<br />

<strong>2.</strong> คุณ เจษฎา เนื องหล้า อาจารย์ที ปรึกษา<br />

3. คณะทํางาน (Lean-TPM Team)<br />

<strong>1.</strong> คุณ ธนู น้อยยม ผู้จัดการฝ่ายผลิต<br />

<strong>2.</strong> คุณ สุเมธ โพธิจักร หัวหน้าส่วนผลิต<br />

3. คุณ อนันต์ ผิวเผือก เจ้าหน้าที ความปลอดภัยในการทํางาน<br />

4. คุณ ประทวน ณ พิมาย หัวหน้าพนักงานสายการผลิตท่อ 1 (กะ 1)<br />

5. คุณ ประภาส วัฒนโสภา หัวหน้าพนักงานสายการผลิตท่อ 1 (กะ 2)<br />

1


4. โครงการปรับปรุงกระบวนการ (Best Practice)<br />

4.1 แผนผังคุณค่าก่อนการปรับปรุง (VSM : Current State)<br />

แผนผังคุณค่าก่อนการปรับปรุง (VSM – Current State) แสดงให้เห็นถึงการประมาณการความ<br />

ต้องการสินค้าสําเร็จรูปจากลูกค้าเป็นรายเดือนและการรับคําสังซื อจริงเป็นรายวัน จากนันจึงดําเนินการวาง<br />

แผนการผลิตโดยทําการส่งประมาณการความต้องการวัตถุดิบให้แก่ผู้จัดหาเป็นรายเดือนและส่งคําสังซื อจริง<br />

เป็นรายครังขึ นอยู ่กับความเหมาะสมด้านราคาของวัตถุดิบ โดยแผนการผลิตจะถูกส่งไปยังฝ่ายผลิตซึ ง<br />

ประกอบด้วย 2 กระบวนการหลัก คือ กระบวนการสลิตเตอร์ เพื อดําเนินการซอยแผ่นเหล็กม้วนใหญ่ให้ได้<br />

ตามขนาดที ต้องการ และ กระบวนการม้วนท่อ 1 เพื อดําเนินการขึ นรูปเหล็กแผ่นให้เป็นท่อเหล็กตามขนาดที <br />

ลูกค้ากําหนด โดยมีการเก็บข้อมูลในกระบวนการผลิตดังแสดงในรูป<br />

ผู้จัดหา<br />

วัตถุดิบ<br />

ประมาณการ<br />

(รายเดือน)<br />

สังซือ<br />

(รายครัง)<br />

รายวัน<br />

สลิตเตอร์<br />

O 4 คน<br />

C/T = 30 นาที<br />

C/O = 30 นาที<br />

ขอบสลิต = 0.5%<br />

วางแผน<br />

รายสัปดาห์<br />

ผลิต<br />

I<br />

80 ตัน<br />

สังซือ<br />

(รายวัน)<br />

รายวัน<br />

ประมาณการ<br />

(รายเดือน)<br />

ม้วนท่อ 1<br />

O 8 คน<br />

C/T=7.5 วินาที/เส้น<br />

C/O = 213 นาที<br />

B=<strong>1.</strong>5% C=<strong>1.</strong>0%<br />

ลูกค้า<br />

ส่งของ(รายครัง)<br />

ส่งของ(รายวัน)<br />

1 วัน 30 นาที<br />

1 วัน 30 นาที<br />

1 วัน<br />

2


4.2 แผนผังคุณค่าหลังการปรับปรุง (VSM : Future State)<br />

แผนผังคุณค่าหลังการปรับปรุง (VSM – Future State) แสดงให้เห็นถึงแนวทางในการปรับปรุง<br />

(Kaizen) ที กระบวนการม้วนท่อ 1 เนื องจากเป็นกระบวนการหลักของโรงงานและเป็นกระบวนการที ส่งผลให้<br />

เกิดความสูญเสียในกระบวนการผลิตมากที สุด โดยระยะเวลาในการเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

(Change over)<br />

ก่อนการปรับปรุงอยู ่ที 213 นาที จึงกําหนดหัวข้อในการปรับปรุงตามโครงการเพิ มประสิทธิภาพในการ<br />

ดําเนินงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานขึ น 15% (มุ่งเน้นการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน<br />

การเปลี ยนรุ่น<br />

ผลิตภัณฑ์ และ การบํารุงรักษาเครื องจักร) โดยมีเป้าหมายในการลดระยะเวลาในการเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

(Change over) ให้เหลือ 181 นาที<br />

ผู้จัดหา<br />

วัตถุดิบ<br />

ประมาณการ<br />

(รายเดือน)<br />

สังซือ<br />

(รายครัง)<br />

รายวัน<br />

สลิตเตอร์<br />

O 4 คน<br />

C/T = 30 นาที<br />

C/O = 30 นาที<br />

ขอบสลิต = 0.5%<br />

วางแผน<br />

รายสัปดาห์<br />

ผลิต<br />

I<br />

80 ตัน<br />

สังซือ<br />

(รายวัน)<br />

ประมาณการ<br />

(รายเดือน)<br />

รายวัน<br />

ลดเวลา C/O<br />

จาก 213 นาที<br />

เหลือ 181 นาที<br />

ม้วนท่อ 1<br />

O 8 คน<br />

C/T=7.5 วินาที/เส้น<br />

C/O = 181 นาที<br />

B=<strong>1.</strong>5% C=<strong>1.</strong>0%<br />

ลูกค้า<br />

ส่งของ(รายครัง)<br />

ส่งของ(รายวัน)<br />

1 วัน 30 นาที<br />

1 วัน 30 นาที<br />

1 วัน<br />

3


5. การดําเนินการ (Process Management)<br />

5.1 หัวข้อในการปรับปรุง (Lean-TPM Project)<br />

กิจกรรมการปรับปรุง Base line Target<br />

<strong>1.</strong> ประสิทธิภาพในการดําเนินงานตามมาตรฐานการ<br />

ChangeOver ChangeOver<br />

ปฏิบัติงานเพิ มขึ น 15% (มุ่งเน้นการสร้างมาตรฐานการ<br />

213 นาที<br />

181 นาที<br />

ปฏิบัติงาน การเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

และ การบํารุงรักษา Downtime<br />

Downtime<br />

เครื องจักร)<br />

23.40 %<br />

19.89 %<br />

<strong>2.</strong> ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของเสียในกระบวนการ Score<br />

Score<br />

ผลิตเพิมขึ<br />

น 15%<br />

40.33 %<br />

46.38 %<br />

5.2 แผนการปรับปรุง (Action Plan)<br />

กิจกรรม<br />

<strong>1.</strong> กําหนดกิจกรรมการปรับปรุง<br />

<strong>2.</strong> ศึกษาสภาพปัจจุบันและตังเป้าหมาย<br />

3. กําหนดแผนการดําเนินงาน<br />

4. วิเคราะห์หาสาเหตุ<br />

5. กําหนดแนวทางการปรับปรุง<br />

6. ติดตามผลการปรับปรุง<br />

7. สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน<br />

แผนงาน ปฏิบัติจริง<br />

มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ผู ้รับผิดชอบ<br />

ที ปรึกษา/<br />

บริษัท<br />

4


5.3 การปรับปรุงกระบวนการ<br />

จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลิตภัณฑ์และจํานวน (Product-Quantity Analysis) พบว่า<br />

ผลิตภัณฑ์เหล็กท่อ เป็นผลิตพันธ์ที มีปริมาณการผลิตสูงสุด และเป็นผลิตภัณฑ์ที มีความสําคัญต่อบริษัทฯ<br />

มากที สุด ทางที ปรึกษาและทีมงานจึงเลือกสายการผลิตท่อ 1 เป็นส่นการผลิตต้นแบบในการดําเนินโครงการ<br />

ปรับปรุงกระบวนการตามแนวทาง Lean-TPM<br />

ปริมาณการผลิตแต่ละผลิตภัณฑ์ในเดือนมีนาคม 2554 (ตัน)<br />

ในการลดระยะเวลาการเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

ที ปรึกษาและทีมงานในการปรับปรุงกระบวนการได้<br />

ประยุกต์แนวทางการปรับปรุงเฉพาะเรื อง (Focus Improvement) เข้ามาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการ โดย<br />

นําหลักการ SMED (Single Minute Exchange of Die) เข้ามาใช้ในการวิเคราะห์งานนอกและงานใน โดย<br />

พบว่าระยะเวลาก่อนการปรับปรุงอยู ่ที 213 นาที เนื องจากกิจกรรมทุกกิจกรรมที เกี ยวข้องในการเปลี ยนรุ่น<br />

ผลิตภัณฑ์จะเริ มต้นภายหลังจากการหยุดเครื องจักร ส่งผลให้เกิดความสูญเสียจากการรอคอยเป็นระยะ<br />

เวลานาน เนื องจากต้องรอหัวหน้าสายการผลิตม้วนท่อ 1 ดําเนินกิจกรรมเตรียมปลอกโรล และ กิจกรรม<br />

เตรียมคอยล์และไส้ถ่าน ให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจะสามารถดําเนินการในขันตอนต่อไปได้<br />

5


ลําดับ กิจกรรมในการเปลี ยน Roll จํานวน ชือ<br />

คน พนักงาน<br />

เวลา<br />

(นาที)<br />

1 เตรียมปลอกโรล 1 A 20 A<br />

หยุด<br />

เครือง<br />

เวลาหลังหยุดเครือง<br />

0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200 220<br />

2 เตรียมคอยล์และไส ้ถ่าน 1 A 20 A<br />

3 ถอดสกรู / ดึงตุ ๊กตา / ถอดโรลและ<br />

ปลอกเดิม / ใส่โรลและปลอกใหม่ / ดัน<br />

ตุ๊กตา<br />

/ ยึดสกรู<br />

2 B+C 180<br />

B+C<br />

4 ยกออก / เอาลูกปืนใส่ชุดใหม่ / ยกเข ้า /<br />

เปลียนตุ<br />

๊กตา#8<br />

1 A 40<br />

A<br />

5 ถอดสกรู / ดึงตุ ๊กตา / ถอดโรลและ<br />

ปลอกเดิม / ใส่โรลและปลอกใหม่ / ดัน<br />

ตุ๊กตา<br />

/ ยึดสกรู<br />

2 D+E 80<br />

D+E<br />

6 ปรับชุด 4 จับ 1 F 80<br />

F<br />

7 ถอดลูกปืน 24 ลูกจากชุดเดิมใส่ชุดใหม่ 2 F+D 100<br />

8 เปลียนแคลมป์<br />

1 E 20 E<br />

F+D<br />

6


เครืองจักรเก่า<br />

ชินส่วนเสือมสภาพ<br />

ไม่มีอะไหล่<br />

เพียงพอ<br />

เครืองจักร<br />

วัตถุดิบ<br />

ไม่สมําเสมอ<br />

วัตถุดิบ วิธีการ<br />

พนักงานขาด<br />

ความกระตือรือร้น<br />

จากผลการวิเคราะห์พบว่า การรอเตรียมอุปกรณ์เปลี ยนรุ่นเป็นสาเหตุสําคัญที<br />

ทําให้ระยะเวลาในการ<br />

เปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์นาน<br />

โดยกิจกรรมที เกี ยวข้องในการเตรียมอุปกรณ์ ได้แก่ กิจกรรมเตรียมปลอกโรล และ<br />

กิจกรรมเตรียมคอยล์และไส้ถ่าน ซึ งจัดอยู ่ในกลุ่มงานนอก<br />

และสามารถดําเนินการก่อนการหยุดเครื องได้ ที <br />

ปรึกษาและทีมงานจึงดําเนินการปรับปรุง โดยการกําหนดให้หัวหน้าสายการผลิตม้วนท่อ 1 ดําเนินกิจกรรม<br />

เตรียมปลอกโรล และ กิจกรรมเตรียมคอยล์และไส้ถ่าน ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนการหยุดเครื อง เพื อลดความ<br />

สูญเสียจากการรอคอยลง โดยเมื อถึงเวลาในการเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

ผู้ปฏิบัติงานทุกคนสามารถดําเนิน<br />

กิจกรรมทีได้รับมอบหมายได้ทันที<br />

ทําให้สามารถลดระยะเวลาจาก 213 นาที เหลือ 178 นาที หรือคิดเป็น<br />

16.43% ซึ งดีกว่าเป้าหมายที ตังไว้ที 181 นาที<br />

ลําดับ กิจกรรมในการเปลี ยน Roll จํานวน ชือ<br />

เวลา เวลาก่อน หยุด<br />

เวลาหลังหยุดเครือง<br />

คน พนักงาน (นาที) หยุดเครือง<br />

เครือง<br />

40 20 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180<br />

1 เตรียมปลอกโรล 1 A 20 A<br />

2 เตรียมคอยล์และไส ้ถ่าน 1 A 20 A<br />

3 ถอดสกรู / ดึงตุ๊กตา<br />

/ ถอดโรลและ<br />

ปลอกเดิม / ใส่โรลและปลอกใหม่ / ดัน<br />

ตุ ๊กตา / ยึดสกรู<br />

2 B+C 180<br />

B+C<br />

4 ยกออก / เอาลูกปืนใส่ชุดใหม่ / ยกเข ้า /<br />

เปลียนตุ๊กตา#8<br />

1 A 40<br />

A<br />

5 ถอดสกรู / ดึงตุ๊กตา<br />

/ ถอดโรลและ<br />

ปลอกเดิม / ใส่โรลและปลอกใหม่ / ดัน<br />

ตุ ๊กตา / ยึดสกรู<br />

2 D+E 80<br />

D+E<br />

6 ปรับชุด 4 จับ 1 F 80<br />

F<br />

7 ถอดลูกปืน 24 ลูกจากชุดเดิมใส่ชุดใหม่ 2 F+D 100<br />

8 เปลียนแคลมป์<br />

1 E 20 E<br />

คน<br />

รอเตรียมอุปกรณ์<br />

เปลียนรุ่น<br />

ไม่มีขันตอน<br />

ทีชัดเจน<br />

พนักงานใหม่<br />

ไม่เข้าใจการทํางาน<br />

ระยะเวลาในการ<br />

เปลียนรุ่น<br />

ผลิตภัณฑ์นาน<br />

F+D<br />

7


6. ผลการปรับปรุงกระบวนการ<br />

ผลการปรับปรุงจากการดําเนินโครงการเพิมประสิทธิภาพในการดําเนินงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานขึ<br />

น<br />

15% (มุ่งเน้นการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน<br />

การเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

และ การบํารุงรักษาเครื องจักร) โดยการลด<br />

ระยะเวลาในการเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์ก่อนการปรับปรุงที<br />

213 นาที มีเป้าหมายในการปรับปรุงอยู ่ที 181 นาที และ<br />

สามารถทําได้จริงที 178 นาที คิดเป็นผลการปรับปรุง 16.43% และในส่วนของการลดอัตราการเสียหายของเครื องจักร<br />

ก่อนการปรับปรุงที 23.40% มีเป้าหมายในการปรับปรุงอยู ่ที 19.89% และสามารถทําได้จริงที 19.66% คิดเป็นผลการ<br />

ปรับปรุง 15.98% และในส่วนของการเพิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการของเสียในกระบวนการผลิตที<br />

40.33% มี<br />

เป้าหมายในการปรับปรุงอยู ่ที 46.38% และสามารถทําได้จริงที 49.33% คิดเป็นผลการปรับปรุง 2<strong>2.</strong>50%<br />

กิจกรรมการปรับปรุง<br />

<strong>1.</strong> ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน<br />

Base line Target Result Diff Cost Saving<br />

ตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ChangeOver ChangeOver ChangeOver 16.43% 116,932<br />

เพิมขึ<br />

น 15% (มุ่งเน้นการสร้าง<br />

มาตรฐานการปฏิบัติงาน การ<br />

213 นาที 181 นาที 178 นาที<br />

บาท/ปี<br />

เปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

และ การ Downtime Downtime Downtime 15.98% 345,450<br />

บํารุงรักษาเครื องจักร)<br />

23.40 % 19.89 % 19.66 %<br />

บาท/ปี<br />

<strong>2.</strong> ประสิทธิภาพการบริหาร Score Score Score 2<strong>2.</strong>50% N/A<br />

จัดการของเสียในกระบวนการ<br />

ผลิตเพิมขึ<br />

น 15%<br />

40.33 % 46.38 % 49.33 %<br />

สรุป Lean assessment ก่อนและหลังดําเนินโครงการ<br />

Lean Assessment<br />

Lean Assessment<br />

<strong>2.</strong>19 3.21<br />

3.33<br />

<strong>1.</strong>43<br />

<strong>2.</strong>14<br />

<strong>2.</strong>19<br />

<strong>1.</strong>43<br />

3.21<br />

<strong>2.</strong>08<br />

Communication & Cutural<br />

Awareness<br />

10.00<br />

Visual System &<br />

Balance Production 8.00 Workplace Organization<br />

6.00<br />

4.00<br />

Pull Systems<br />

Standard Work<br />

<strong>2.</strong>00<br />

0.00<br />

<strong>1.</strong>43<br />

TPM, Total Preventive<br />

Continuous Improvement<br />

Maintenance<br />

Communication &<br />

Cutural Awareness<br />

10.00 Visual System &<br />

Balance Production 6.88<br />

8.00<br />

Workplace<br />

6.67<br />

5.71<br />

Organization<br />

6.00<br />

4.00<br />

Pull Systems<br />

6.79Standard<br />

Work<br />

3.75<strong>2.</strong>00<br />

0.00<br />

TPM, Total Preventive 5.36<br />

5.36 Continuous<br />

Maintenance<br />

Improvement<br />

SMED Quick Changeover<br />

Operational Flexibility<br />

Mistake Proofing/Poka<br />

Yoke<br />

5.31<br />

6.07<br />

SMED Quick<br />

Operational Flexibility<br />

Changeover 7.14<br />

Mistake<br />

Proofing/Poka Yoke<br />

คะแนนของหัวข้อสําคัญทีมีโอกาสในการปรับปรุง<br />

คะแนนของหัวข้อสําคัญทีมีโอกาสในการปรับปรุง<br />

<strong>1.</strong> Standard Work ได้ <strong>1.</strong>43 คะแนน <strong>1.</strong> Standard Work ได้ 6.79 คะแนน<br />

<strong>2.</strong> Continuous Improvement ได้ <strong>1.</strong>43 คะแนน <strong>2.</strong> Continuous Improvement ได้ 5.36 คะแนน<br />

3. Operational Flexibility ได้ <strong>1.</strong>43 คะแนน 3. Operational Flexibility ได้ 6.07 คะแนน<br />

8


7. แผนงานในอนาคต (Next Project)<br />

• ดําเนินการขยายผลการปรับปรุงกระบวนการ ในส่วนของการเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

โดยการพิจารณาจัดหา<br />

อุปกรณ์เพิมเติม<br />

ได้แก่ ปลอกโรล และ แบริง<br />

เพื อลดระยะเวลาในการเปลี ยนรุ่นให้ลดลง<br />

และมีประสิทธิภาพ<br />

มากยิงขึ<br />

น<br />

• ดําเนินการขยายผลการปรับปรุงกระบวนการ การสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน การเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์<br />

และ<br />

การบํารุงรักษาเครื องจักร ตามโครงการเพิมประสิทธิภาพในการดําเนินงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานไปยัง<br />

เครื องจักรอื นๆ ทัวทังบริษัท<br />

8. สรุปความเห็นผู ้บริหาร (Executive Summary)<br />

จากการที บริษัทฯ ได้เข้าร่วมดําเนินโครงการส่งผลให้พนักงานได้รับการฝึกอบรมให้มีความรู ้ ความสามารถ<br />

ในการเพิมประสิทธิภาพการผลิตด้วยเทคนิค<br />

Lean-TPM และสามารถลดระยะเวลาในการเปลี ยนรุ่นผลิตภัณฑ์และลด<br />

การเสียหายของเครื องจักร ส่งผลให้สามารถเพิมผลผลิตได้มากขึ<br />

น รวมถึงสามารถบริหารจัดการของเสียตามหลักการ<br />

5ส ส่งผลให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในกระบวนการผลิต และเพิมประสิทธิภาพในการทํางานได้ดียิ<br />

งขึ น<br />

ขอขอบคุณ อาจารย์ที ปรึกษา ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที 6 และสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี ปุ่น)<br />

ในการเข้าร่วมโครงการ การเพิมประสิทธิภาพการผลิตด้วยเทคนิค<br />

Lean-TPM ซึ งทางบริษัทฯ จะได้ขยายผลไปยัง<br />

เครื องจักรอื นๆ เพื อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป<br />

9

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!