12.07.2014 Views

o_18slcsges14hshq1br616n5g7rf.pdf

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

1<br />

ศิลปะภาพพิมพ์ ( Printmaking) ภาพ<br />

พิมพ์ คืออะไร<br />

ภาพพิมพ์ โดยความหมายของค าย่อมเป็นที่<br />

เข้าใจชัดเจนแล้วว่า หมายถึงรูปภาพที่สร้างขึ้นมา<br />

โดยวิธีการพิมพ์ แต่ส าหรับคนไทยส่วนใหญ่เมื่อพูด<br />

ถึง ภาพพิมพ์อาจจะยังไม่เป็นที่รู้จักว่าภาพพิมพ์คือ<br />

อะไรกันแน่ เพราะค าๆนี้เป็นค าใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้กัน<br />

มาประมาณเมื่อ 30 ปี มานี้เอง<br />

โดยความหมายของค าเพียงอย่างเดียว<br />

อาจจะชวนให้เข้าใจสับสนไปถึงรูปภาพที่พิมพ์ด้วย<br />

กรรมวิธีการพิมพ์ทางอุตสาหกรรม เช่น โปสเตอร์<br />

ภาพพิมพ์ที่จ าลองจากภาพถ่าย หรือภาพจ าลอง<br />

จิตรกรรม อันที่จริงค าว่า ภาพพิมพ์ เป็นศัพท์เฉพาะ<br />

ทางศิลปะที่หมายถึง ผลงานวิจิตรศิลป์ที่จัดอยู่ใน<br />

ประเภท ทัศนศิลป์ เช่นเดียวกันกับจิตรกรรมและ<br />

ประติมากรรม<br />

ภาพพิมพ์ทั่วไปมีลักษณะเช่นเดียวกับ<br />

จิตรกรรมและภาพถ่าย คือตัวอย่างผลงานมีเพียง 2<br />

มิติ ส่วนมิติที่ 3 คือ ความลึกที่จะเกิดขึ้นจากการใช้


2<br />

ภาษาเฉพาะของทัศนศิลป์ อันได้แก่ เส้น สี น้ าหนัก<br />

และพื้นผิว สร้างให้ดูลวงตาลึกเข้าไปในระนาบ 2<br />

มิติของผิวภาพ แต่ภาพพิมพ์มีลักษณะเฉพาะที่ี<br />

แตกต่างจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธีการสร้างผลงาน<br />

ที่จิตรกรรมนั้น ศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์ขีดเขียน หรือ<br />

วาดภาพระบาย สีลงไปบนผืนผ้าใบ กระดาษ หรือ<br />

สร้างออกมาเป็นภาพโดยทันที แต่การสร้างผลงาน<br />

ภาพพิมพ์ศิลปินต้องสร้างแม่พิมพ์ขึ้นมาเป็นสื่อก่อน<br />

แล้วจึงผ่านกระบวนการพิมพ์ ถ่ายทอดออกมาเป็น<br />

ภาพที่ต้องการได้<br />

จากกรรมวิธีในการสร้างผลงานด้วยการ<br />

พิมพ์นี้เอง ที่ท าให้ศิลปินสามารถสร้างผลงาน<br />

ต้นแบบ ( Original) ที่ีเหมือนๆกันได้หลายชิ้น<br />

เช่นเดียวกับผลงานประติมากรรม ประเภทที่ป๎้นด้วย<br />

ดินแล้วท าแม่พิมพ์หล่อผลงานชิ้นนั้นให้เป็นวัสดุ<br />

ถาวร เช่นทองเหลือง หรือส าริด ทุกชิ้นที่หล่อ<br />

ออกมาถือว่าเป็นผลงาน ต้นแบบ มิใช่ผลงานจ าลอง<br />

( Reproduction) ทั้งนี้เพราะว่าภาพพิมพ์นั้นก็มิใช่<br />

ผลงานจ าลองจากต้นแบบที่เป็นจิตรกรรมหรือวาด<br />

เส้น แต่ภาพพิมพ์เป็นผลงานสร้างสรรค์ ที่ศิลปินมีทั้ง<br />

เจตนาและความเชี่ยวชาญในการใช้คุณลักษณะ<br />

พิเศษเฉพาะของเทคนิควิธีการทางภาพพิมพ์ แต่ละ


3<br />

ชนิดมาใช้ในการถ่ายทอดจินตนาการ ความคิด<br />

และอารมณ์ ความรู้สึกออกมาในผลงานได้โดยตรง<br />

แตกต่างกับการที่น าเอาผลงานจิตรกรรมที่สร้าง<br />

ส าเร็จไว้แล้วมาจ าลองเป็นภาพโดยผ่าน<br />

กระบวนการทางการพิมพ์<br />

ในการพิมพ์ผลงานแต่ละชิ้น ศิลปินจะจ ากัด<br />

จ านวนพิมพ์ตามหลักเกณฑ์สากล ที่ศิลปสมาคม<br />

ระหว่างชาติ ซึ่งไทยก็เป็นสมาชิกอยู่ด้วย ได้ก าหนด<br />

ไว้โดยศิลปินผู้สร้างผลงานจะเขียนก ากับไว้ที่<br />

ด้านซ้ายของภาพ เช่น 3/30 เลข 3 ตัวหน้าหมายถึง<br />

ภาพที่ 3 ส่วนเลข 30 ตัวหลังหมายถึงจ านวนที่ พิมพ์<br />

ทั้งหมด ในภาพพิมพ์บางชิ้นศิลปินอาจเซ็นค าว่า<br />

A/P ไว้แทนตัวเลขจ านวนพิมพ์ A/Pนี้ย่อมาจาก<br />

Artist's Proof ซึ่งหมายความว่า ภาพๆนี้เป็นภาพที่<br />

พิมพ์ขึ้นมาหลังจากที่ศิลปินได้มีการทดลองแก้ไขจน<br />

ได้คุณภาพสมบูรณ์ตามที่ต้องการ จึงเซ็นรับรองไว้<br />

หลังจากพิมพ์ A/P ครบตามจ านวน 10% ของ<br />

จ านวนพิมพ์ทั้งหมด จึงจะเริ่มพิมพ์ให้ครบตาม<br />

จ านวนเต็มที่ก าหนดไว้ หลังจากนั้นศิลปินจะท าลาย


4<br />

แม่พิมพ์ด้วยการขูดขีด หรือวิธีการอื่นๆ และพิมพ์<br />

ภาพสุดท้ายนี้ไว้เพื่อเป็นหลักฐาน เรียกว่า<br />

Cancellation Proof สุดท้ายศิลปินจะเซ็นทั้ง<br />

หมายเลขจ านวนพิมพ์ วันเดือนปี และลายเซ็นของ<br />

ศิลปินเอง ไว้ด้านล่างขวาของภาพ เพื่อเป็นการ<br />

รับรองคุณภาพด้วยทุกชิ้น จ านวนพิมพ์นี้อาจจะมาก<br />

หรือน้อยขึ้นอยู่กับความนิยมของ “ ตลาด ” และ<br />

ป๎จจัยอื่นๆอีกหลายประการ<br />

ส าหรับศิลปินไทยส่วนใหญ่จะจ ากัดจ านวน<br />

พิมพ์ไว้ค่อนข้างต่ าประมาณ 5-10 ภาพ ต่อ ผลงาน<br />

1 ชิ้น กฎเกณฑ์ที่ศิลปินทั่วโลกถือปฏิบัติกันเป็นหลัก<br />

สากลนี้ย่อมเป็นการรักษามาตรฐานของภาพพิมพ์ไว้<br />

อันเป็นการส่งเสริมภาพพิมพ์ให้แพร่หลายและเป็นที่<br />

ยอมรับกันโดยทั่วไป


5<br />

ประวัติการพิมพ์<br />

ประวัติการพิมพ์สากล<br />

จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะของ<br />

มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปรากฏอยู่บนผนัง<br />

ถ้ าลาสควักซ์ (Lascaux) ในฝรั่งเศส และถ้ าอัลตามิ<br />

รา (Altamira) ในสเปน นอกจากปรากฏผลงานด้าน<br />

จิตรกรรมที่มีคุณค่าด้านความงามของมนุษยชาติ<br />

ในช่วงประมาณ 17,000 - 12,000 ปีที่ผ่านมาแล้ว<br />

ยังปรากฏผลงานแกะสลักหิน แกะสลักผนังถ้ าเป็น<br />

รูปสัตว์ลายเส้นซึ่งการแกะสลักภาพลายเส้นบนผนัง<br />

ถ้ านั้น อาจนับได้ว่าเป็นพยานหลักฐานในการแกะ<br />

แบบพิมพ์ของมนุษย์เป็นครั้งแรกก็ได้ นอกจากนั้น<br />

ยังปรากฏการเริ่มต้นพิมพ์ภาพผ่านฉากพิมพ์


6<br />

(Stencil) อีกด้วย โดยวิธีการใช้มือวางทาบลงบน<br />

ผนังถ้ า แล้วพ่นหรือเปุาสีลงบนฝุามือ ส่วนที่เป็นมือ<br />

จะบังสีไว้ ให้ปรากฏเป็นภาพแบน ๆ แสดงขอบนอก<br />

อย่างชัดเจน ซึ่งนักว่าเป็นการพิมพ์อย่างง่าย ๆ วิธี<br />

หนึ่ง<br />

สมัยอารยธรรมประวัติศาสตร์ยุคแรก กลุ่ม<br />

ประเทศเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) ได้รู้จักการ<br />

ใช้ของแข็งกดลงบนดินท าให้เกิดเป็นลวดลาย<br />

ตัวอักษร เรียกว่า อักษรลิ่ม (Cuneiform) มีอายุ<br />

ประมาณ 5,000 ปีก่อนคริสตกาล (5,000 B.C.)<br />

ประมาณ 255 ปีก่อนคริสต์กาล ในภูมิภาคแถบ<br />

เอเชียตอนกลางและจีน ได้รู้จักการแกะสลักดวงตรา<br />

บนแผ่นหิน กระดูกสัตว์และงาช้าง เพื่อใช้ประทับลง<br />

บนดินเหนียว บนขี้ผึ้งซึ่งกล่าวได้ว่า เป็นต้นก าเนิด<br />

ของแม่พิมพ์ Letter Press โดยจะเห็นได้จาก<br />

พงศาวดารจีนโบราณองค์จักรพรรดิจะมีตราหยก<br />

เป็นตราประจ าแผ่นดิน<br />

ค.ศ.105 ชาวจีนชื่อ ไซลั่น คิดวิธีท ากระดาษ<br />

ขึ้นมาได้ และได้กลายเป็นวัสดุส าคัญเท่ากับการ


7<br />

เขียนและการพิมพ์ในเวลาต่อมา<br />

ค.ศ.175 ได้มีการใช้เทคนิคพิมพ์ถู (Rubbing)<br />

ขึ้นในประเทศจีน โดยมีการแกะสลักวิชาความรู้ไว้<br />

บนแผ่นหิน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจได้น า<br />

กระดาษมาวางทาบบนแผ่นหินแล้วใช้ถ่านหรือสีทา<br />

ลงบนกระดาษ สีก็ติดบนกระดาษส่วนที่หินนูนขึ้นมา<br />

เทคนิคนี้ดูจะเหมือนกับการถู ลอกภาพรามเกียรติ์ที่<br />

แกะสลักบนแผ่นหินอ่อนที่วัดโพธิ์ในทุกวันนี้ (ก าธร<br />

สถิรกุล. 2515: 185)<br />

ค.ศ.400 ชาวจีนรู้จักการท าหมึกแท่งขึ้น โดย<br />

ใช้เขม่าไฟเป็นเนื้อสี (Pigment) ผสมกาวเคี่ยวจาก<br />

กระดูกสัตว์ หนังสัตว์และเขาสัตว์เป็นตัวยึด<br />

(Binder) แล้วท าให้แข็งเป็นแท่ง ชาวจีนเรียกว่า<br />

"บั๊ก" ต่อมาราวปี ค.ศ.450 การพิมพ์ด้วยหมึกบน<br />

กระดาษจึงเกิดขึ้นโดยใช้ตราจิ้มหมึกแล้วตีลงบน<br />

กระดาษเช่นเดียวกับการประทับตรายางในป๎จจุบัน<br />

(วัลลภ สวัสดิวัลลภ.2527: 82)<br />

ส าหรับชิ้นงานพิมพ์ซึ่งเก่าแก่ที่สุดและยังคง<br />

หลงเหลืออยู่ได้แก่การพิมพ์โดยจักรพรรดินีโชโตกุ<br />

(Shotodu) แห่งประเทศญี่ปุน ในราว ค.ศ.770 โดย


8<br />

พระองค์รับสั่งให้จัดพิมพ์ค าสวดป๎ดรังควานขับไล่<br />

วิญญาณหรือผีร้ายให้พ้นจากประเทศญี่ปุน และ<br />

แจกจ่ายไปตามวัดทั่วอาณาจักรญี่ปุนเป็นจ านวน<br />

หนึ่งล้านแผ่นซึ่งต้องใช้เวลาตีพิมพ์เป็นเวลาถึง 6 ปี<br />

(สนั่น ป๎ทมะทิน. 2513 : 121)<br />

จีนนิยมใช้เทคนิคการพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์แกะไม้<br />

และพัฒนาขึ้นตามล าดับ ในปี ค.ศ.868 ได้มีการ<br />

พิมพ์เป็นหนังสือพิมพ์เล่มแรกมีลักษณะเป็นม้วน มี<br />

ความยาว 17.5 ฟุต กว้าง 10.5 นิ้ว โดยวาง เซียะ<br />

(Wang Chieh) ซึ่งยังคงตกทอดมาจนถึงป๎จจุบัน<br />

หนังสือเล่มนี้มีชื่อว่า วัชรสูตร (Diamond Sutra)<br />

(ก าธร สถิรกุล. 2515: 187)<br />

ประมาณปี ค.ศ.1041 - 1049 การพิมพ์แบบ<br />

แม่พิมพ์นูนได้เปลี่ยนแปลงวิธีการเดิมที่ใช้การแกะ<br />

ไม้เป็นแม่พิมพ์ (เรียกว่า Block) แม่พิมพ์ดังกล่าว<br />

สามารถพิมพ์ได้เพียงรูปแบบเดียวมาเป็นการใช้<br />

แม่พิมพ์ชนิดที่หล่อขึ้นเป็นตัว ๆ และน ามาเรียงให้<br />

เป็นค าเป็นประโยค ซึ่งในป๎จจุบันเรียกว่า "ตัว<br />

เรียงพิมพ์ (Movable type) เมื่อพิมพ์เสร็จแล้ว จะ


9<br />

สามารถน ากลับไปเก็บและสามารถน ามาผสมค าใหม่<br />

ในการพิมพ์ครั้งต่อ ๆ ไปได้ ผู้ที่ค้นพบวิธีการใหม่นี้<br />

เป็นชาวจีนชื่อ ไป เช็ง (Pi Sheng) โดยใช้ดิน<br />

เหนียวป๎้นให้แห้งแล้วน าไปเผาไฟ<br />

การสร้างตัวเรียงพิมพ์โลหะ เริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรก<br />

ในประเทศเกาหลีเมื่อประมาณปี ค.ศ.1241 ได้มีการ<br />

หล่อตัวพิมพ์ โลหะขึ้นเป็นจ านวนมากตามด าริของ<br />

กษัตริย์ไทจง (Htai Tjong) (Lechene. 1974:<br />

1053)<br />

ประวัติการพิมพ์ของประเทศทางตะวันตก<br />

ผู้ที่คิดค้นวิธีพิมพ์อย่างเป็นระบบเป็นคนแรกจน<br />

ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของการพิมพ์คือ โจฮัน<br />

กูเต็นเบิร์ก (Johann Gutenberg) เพราะเขาได้<br />

ประดิษฐ์แท่นพิมพ์ พัฒนาแม่แบบส าหรับหล่อ


10<br />

ตัวพิมพ์โลหะเป็นตัว ๆ สามารถที่จะเรียงเป็นค า เป็น<br />

ประโยคและเมื่อใช้พิมพ์ไปแล้วก็สามารถน ากลับมา<br />

เรียงใหม่ เพื่อใช้หมุนเวียนได้อีก ซึ่งเรียกว่าเป็นวิธี<br />

Movable ตลอดจนการค้นคิดวิธีการท าหมึกที่<br />

ได้ผลดีส าหรับใช้กับตัวเรียงโลหะ ผลงานอันมี<br />

ชื่อเสียงของกูเต็นเบิร์กคือ คัมภีร์ 42 บรรทัด (42-<br />

Lines Bible) เมื่อปี ค.ศ.1455 นั่นเอง (วัลลภ สวัสดิ<br />

วัลลภ. 2527 : 86)<br />

ค.ศ.1495 Albrecht Durer ศิลปินแกะไม้ชาว<br />

เยอรมัน ซึ่งเคยเป็นจิตรกรช่างเขียนภาพได้คิดวิธี<br />

พิมพ์จากแม่พิมพ์ทองแดง (Copper plate<br />

engraving) โดยการใช้ของแหลมขูดขีดให้เป็นรูป<br />

รอยบนแผ่นทองแดง และใช้พิมพ์แบบ Gravure<br />

เป็นครั้งแรกในเยอรมัน (ก าธร สถิรกุล. 189)<br />

ต่อมีในปี ค.ศ.1793 ชาวเยอรมันชื่อ Alois<br />

Senefilder ได้ค้นพบวิธีการพิมพ์หิน<br />

(Lithography) ซึ่งเป็นวิธีการพิมพ์แบบพื้นราบ<br />

(Planographic printing) ขึ้นเป็นครั้งแรก<br />

ค.ศ.1904 Ira Washington Rubel ช่างพิมพ์


11<br />

ชาวอเมริกันได้สังเกตเห็นว่า ในการปูอนกระดาษ<br />

เข้าพิมพ์โดยแท่น Cylinder press บางครั้งลืมปูอน<br />

กระดาษเข้าไป หมึกจะพิมพ์ติดบนลูกกลิ้งแรงกด<br />

และเมื่อปูอนกระดาษแผ่นถัดไปหมึกบนตัวพิมพ์จะ<br />

ติดบนกระดาษหน้าหนึ่ง แต่หมึกบนลูกกลิ้งจะติด<br />

กระดาษอีกหน้าหนึ่ง เมื่อสังเกตดูแล้วพบว่า หมึกที่<br />

ติดบนลูกกลิ้งก่อนที่จะติดบนกระดาษนั้นจะมี<br />

ลักษณะสวยงามกว่าหมึกที่พิมพ์จากตัวพิมพ์ไปติด<br />

กระดาษโดยตรง จึงได้คิดวิธีพิมพ์ระบบ Offset<br />

printing ขึ้น<br />

ค.ศ.1907 Samuel Simon แห่งเมือง<br />

Manchester ได้ปรับปรุงการพิมพ์ระบบ Silk<br />

screen และจดทะเบียนลิขสิทธิ์ที่ประเทศอังกฤษ<br />

ประวัติการพิมพ์ของในประเทศไทย


12<br />

ในอดีตไทยใช้การเขียนบันทึกความรู้ต่างๆลง<br />

ในใบลาน เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานและองค์ความรู้ที่<br />

ถ่ายทอดกันระหว่างรุ่นสู่รุ่น เทคโนโลยีเกี่ยวกับการ<br />

พิมพ์ ปรากฎขึ้นในดินแดนสยามเป็นครั้งแรกในรัช<br />

สมัยของพระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อัน<br />

ถือว่าเป็นยุคหนึ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี<br />

ที่มีชาวต่างชาติเข้ามาใช้ชีวิตในสยามมากมาย ทั้ง<br />

จีน แขก และฝรั่ง หนังสือในรูปแบบของการพิมพ์<br />

ตัวอักษรมาพร้อมกับหมอสอนศาสนาชาวต่างชาติที่<br />

มีเปูาประสงค์หลักคือการเข้ามาเผยแพร่ศาสนาใน<br />

ภูมิภาคนี้ บาทหลวงที่มีชื่อเสียงและมีบทบาทใน<br />

เรื่องการพิมพ์มากที่สุดในยุคนั้นคงไม่พ้นจาก<br />

บาทหลวงชาวฝรั่งเศสนาม ลาโน (Mgr Laneau) ที่<br />

ได้จัดพิมพ์ค าสอนทางคริสต์ศาสนาขึ้นมาเผยแพร่<br />

จนเป็นที่พอพระทัยในองค์พระบาทสมเด็จพระ<br />

นารายณ์มหาราช และในคราวที่ ออกญาโกษาธิบดี<br />

(ปาน) เป็นราชทูตเดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับ<br />

ประเทศฝรั่งเศสก็ได้เข้าเยี่ยมชมกิจการงานพิมพ์<br />

ของฝรั่งเศสและแสดงความสนอกสนใจเป็นอย่าง<br />

มากจนกระทั่งในกาลต่อมาพระนารายณ์มหาราช<br />

ทรงมีรับสั่งให้ตั้งโรงพิมพ์ขึ้น ที่เมืองลพบุรีอันเป็น


13<br />

สถานที่พระองค์ใช้พ านักอยู่ในช่วงปลายรัชกาล แต่<br />

กิจการงานพิมพ์ของสยามในแผ่นดินกรุงศรีอยุธยา<br />

ก็ต้องหยุดชะงักลงอีกครั้งเมื่อมีเกิดการผลัดแผ่นดิน<br />

เป็นแผ่นดินของพระเพทราชา ที่ไม่ค่อยโปรดพวกมิ<br />

ชชั่นนารีเท่าทีควรเป็นเหตุให้พัฒนาการเกี่ยวกับ<br />

การพิมพ์ของสยามในช่วงนั้นต้องหยุดชะงัดลงไป<br />

ด้วย<br />

การลงทุนในงานศิลปะ นอกจากผู้ลงทุนจ าเป็น<br />

ศึกษาทิศทางและความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับผลงาน<br />

ของศิลปินที่ได้รับความสนใจในตลาดงานศิลป์ ทั้ง<br />

ระดับประเทศและระดับโลก เพื่อให้รู้จักและเข้าใจถึง<br />

มูลค่าและคุณค่าของตัวงานที่เราเลือกสรร ก็ต้อง<br />

อาศัยรสนิยมและสุนทรีย์ในจิตใจ และต้องมีทุน<br />

ทรัพย์ที่เพียงพอแก่การจับจ่าย เพราะศิลปะ<br />

ประกอบไปด้วยมูลค่าและคุณค่า เป็นเรื่องของจิตใจ<br />

เป็นเครื่องยกระดับจิตใจของมนุษย์ จึงต้องอาศัย<br />

จังหวะและโอกาสที่เหมาะสมในการเลือกลงทุน และ<br />

เพื่อให้นักลงทุนได้ทราบถึงกระแสความต้องการ<br />

ของงานศิลป์เพื่อการเลือกสรรที่คุ้มค่า เราจึงหยิบ<br />

ยกตัวอย่างผลงานที่โด่งดังของเหล่าศิลปินชั้นน าที่<br />

ได้รับความสนใจอย่างสูงในตลาดค้างานศิลปะมา<br />

น าเสนอแก่ท่าน อันจะเป็นประโยชน์แก่นักสะสม


14<br />

ผู้สนใจจะซื้อขายแลกเปลี่ยน และส าหรับผู้ที่เริ่มต้น<br />

ลงทุน<br />

วิวัฒนาการด้านภาพพิมพ์ของโลก<br />

Adam-Eve ผลงานAlbrecht Durer


15<br />

ภาพพิมพ์มีประวัติความเป็นมาเริ่มตั้งแต่<br />

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (200,000 ปีก่อน คริสตกาล)<br />

โดยมนุษย์โครมันยอง ดังพบภาพพิมพ์รูปมือบนผนัง<br />

ถ้ าในถ้ าลาสโควซ์ ประเทศฝรั่งเศสและถ้ าอัลตามิรา<br />

ประเทศสเปน ต่อมาชาวอียิปต์และชาวเมโสโปเตเมีย<br />

รู้จักการพิมพ์ภาพแบบใช้แรงกดประทับบนผิววัสดุที่<br />

อ่อนนิ่ม เช่น ดิน ขี้ผึ้ง จากนั้นมนุษย์คิดค้นกระดาษ<br />

ขึ้นได้จึงเปลี่ยนวัสดุรองรับที่เป็นดินหรือขี้ผึ้งมาเป็น<br />

กระดาษแทน นับแต่นั้นมาภาพพิมพ์ก็ได้พัฒนามา<br />

อย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านรูปแบบ กลวิธีการพิมพ์ตาม<br />

วิวัฒนาการของมนุษย์และความเจริญก้าวหน้าด้าน<br />

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาจนถึงป๎จจุบัน<br />

ความเจริญก้าวหน้าทางด้านการพิมพ์เป็นสิ่งที่<br />

ช่วยส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางด้านศิลปะ<br />

วิทยาการ เพราะว่ามนุษย์สร้างสรรค์กระบวนการ<br />

พิมพ์ภาพขึ้นมาก็เพื่อตอบสนองความต้องการ ใน<br />

การเผยแพร่ความคิดและความรู้ของมนุษย์ให้<br />

กระจายไปได้อย่างแพร่หลาย ตลอดจนเพื่อเก็บ


16<br />

รักษาความรู้ต่างๆ ไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาถึงความ<br />

เป็นมาของความรู้ในเรื่องต่างๆ ดังนั้นเพื่อให้เห็น<br />

ภาพรวมของพัฒนาการทางด้านการพิมพ์ภาพที่ก่อ<br />

ประโยชน์ให้มนุษย์อย่างมากในป๎จจุบัน จึงขอ<br />

กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของภาพพิมพ์ในกลุ่ม<br />

ประเทศตะวันออก กลุ่มประเทศตะวันตกหรือยุโรป<br />

และในประเทศไทย<br />

วิวัฒนาการด้านการพิมพ์ในกลุ่มประเทศ<br />

ตะวันออก คือ จีน ญี่ปุนนั้น แสดงให้เห็นว่า จีนเป็น<br />

ชนชาติแรกที่คิดค้นการท าภาพพิมพ์ขึ้น โดยการ<br />

แกะสลักลงบนหิน หยก งาช้าง กระดูกสัตว์ และเขา<br />

สัตว์ เพื่อท าเป็นแม่พิมพ์แล้วกดแม่พิมพ์ลงบนดิน<br />

เหนียว ครั่ง ขี้ผึ้งหรือกระดาษให้เกิดลักษณะเป็น<br />

รอย ความรู้การพิมพ์นี้ได้เผยแพร่ไปยังประเทศ<br />

ตะวันตกและประเทศเพื่อนบ้านที่ส าคัญได้แก่<br />

ประเทศญี่ปุน เกาหลี ซึ่งประเทศเกาหลีได้พัฒนา<br />

ความรู้เรื่องการพิมพ์นี้จนสามารถท าตัวเรียงพิมพ์<br />

เป็นโลหะส าเร็จ ในส่วนของประเทศญี่ปุนก็ได้<br />

พัฒนาการพิมพ์ขึ้นจนเป็นที่ยอมรับ ในด้านของภาพ<br />

พิมพ์ที่มีคุณค่า ซึ่งมีสกุลช่างภาพพิมพ์แกะไม้ที่มี


17<br />

ชื่อเสียง คือ สกุลช่างอูกิโยเอะที่สามารถสร้างสรรค์<br />

ผลงานภาพพิมพ์ได้อย่างงดงามและมีเอกลักษณ์<br />

เฉพาะตัว ดังจะเห็นได้จากประเทศญี่ปุนได้ให้<br />

อิทธิพลแก่ศิลปะของประเทศทางตะวันตกหรือยุโรป<br />

ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19<br />

ส่วนภาพพิมพ์ในกลุ่มประเทศตะวันตกมี<br />

พัฒนาการมาอย่างยาวนานและต่อเนื่อง นับตั้งแต่<br />

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่รู้จักกระบวนการพิมพ์โดย<br />

การวางมือทาบบนผนังถ้ าแล้วเปุาสี หรือทาสีบนฝุา<br />

มือ จากนั้นกดประทับเป็นรูปมือไว้บนผนังถ้ า ต่อมา<br />

อารยธรรมอียิปต์ได้รู้จักน า ภาพแกะสลักเล็กๆ กดลง<br />

บนดินให้เกิดเป็นรอยขึ้น ส่วนในดินแดนเมโสโปเต<br />

เมียค้นพบการใช้ ดินเหนียวแกะเป็นตราสัญลักษณ์<br />

และน าไปตากแดดให้แห้งหรือน าไปเผาไฟ เพื่อให้<br />

เกิดเป็นแม่พิมพ์กดประทับ ต่อมาในปี ค.ศ. 1450 โจ<br />

ฮัน กูเต็นเบิร์ก ได้คิดประดิษฐ์แท่นพิมพ์อย่างง่ายขึ้น<br />

จากนั้นในช่วง ค.ศ. 15 อัลเบรชท์ ดือเรอร์ ได้<br />

คิดค้นกลวิธีภาพพิมพ์ร่องลึก พอถึง ค.ศ. 16 ทอมัส<br />

บิวิค ได้คิดค้นกลวิธีภาพพิมพ์ลายแกะไม้ได้ส าเร็จ


18<br />

หลังจากนั้นวิลเลียม เบลก ได้พยายามปรับปรุง<br />

ภาพพิมพ์ผิวนูน ด้วยวิธีการสร้างภาพผลงาน ลงบน<br />

แผ่นโลหะโดยให้กรดท าปฏิกิริยากับแผ่นโลหะจน<br />

ได้แม่พิมพ์ผิวนูนและในประเทศเยอร์มัน ได้มีการ<br />

คิดค้นกลวิธีภาพพิมพ์มัชฌิมรงค์ ในปี ค.ศ. 1660<br />

เฮอร์คิวลิส ซีเกอร์ ได้คิดกลวิธีภาพพิมพ์อย่างสีน้ า<br />

พอถึงค.ศ. 1793 อะลัวส์ เซเนเฟลเดอร์ ได้ค้นพบ<br />

กลวิธีภาพพิมพ์หิน และในระหว่างปี ค.ศ. 1864-<br />

1901 อองรี เดอ ตูลูส โลเตรก ได้น ากลวิธีภาพพิมพ์<br />

หินมาพัฒนาให้เข้ากับระบบธุรกิจ โดยท า โปสเตอร์<br />

หลายๆ สีออกสู่สาธารณชน ค.ศ. 1907 ซามูเอล ไซ<br />

มอน ได้พัฒนาและปรับปรุงกลวิธีภาพพิมพ์ผ่านฉาก<br />

โดยใช้เส้นไหมมาท าเป็นแม่พิมพ์จนส าเร็จ เรียกอีก<br />

อย่างว่า “กลวิธีภาพพิมพ์ตะแกรงไหม” ซึ่งกลวิธีนี้<br />

เป็นที่นิยมอย่างมากของศิลปินใน ค.ศ. 20 เช่น รอ<br />

เบิร์ต เราเชนเบิร์ก แอนดี วอร์โฮล เป็นต้น<br />

ส าหรับภาพพิมพ์ในประเทศไทยนั้น ระยะ<br />

เริ่มแรกท าขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอยเชิงพาณิชย์ศิลป์


19<br />

โดยพิมพ์เป็นภาพประกอบหนังสือและหนังสือเป็น<br />

ส่วนใหญ่ หลังจากนั้นได้รับการพัฒนาจนกลายเป็น<br />

งานภาพพิมพ์ระยะต่อมาในระบบการศึกษา โดยมี<br />

คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากรเป็นผู้บุกเบิกการเรียนการสอนทางด้านภาพ<br />

พิมพ์เป็นแห่งแรก และก็มีสถาบันอื่นๆ เปิดตามมา<br />

จนกระทั่งป๎จจุบันภาพพิมพ์ของศิลปินไทยเป็นที่<br />

ยอมรับในระดับนานาชาติ


20<br />

การพิมพ์ภาพ (PRINTING)<br />

การพิมพ์ภาพ หมายถึง การถ่ายทอดรูปแบบ<br />

จากแม่พิมพ์ออกมาเป็นผลงานที่มี<br />

ลักษณะ เหมือนกันกับแม่พิมพ์ทุกประการ และได้<br />

ภาพที่เหมือนกันมีจ านวนตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป<br />

การพิมพ์ภาพเป็นงานที่พัฒนาต่อเนื่องมาจาก<br />

การวาดภาพ ซึ่งการวาดภาพไม่สามารถ สร้าง<br />

ผลงาน 2 ชิ้น ที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการได้<br />

จึงมีการพัฒนาการพิมพ์ขึ้นมา ชาติจีน ถือว่าเป็น


21<br />

ชาติแรกที่น าเอาวิธีการพิมพ์มาใช้อย่างแพร่หลาย<br />

มานานนับพันปี จากนั้น จึงได้แพร่หลายออกไปใน<br />

ภูมิภาคต่างๆของโลก ชนชาติทางตะวันตกได้<br />

พัฒนาการพิมพ์ภาพ ขึ้นมาอย่างมากมาย มีการ<br />

น าเอาเครื่องจักรกลต่างๆเข้ามาใช้ในการพิมพ์ ท า<br />

ให้การพิมพ์มีการ พัฒนาไปอย่างรวดเร็วในป๎จจุบัน<br />

การพิมพ์ภาพมีองค์ประกอบที่ส าคัญดังนี้<br />

1. แม่พิมพ์ เป็นสิ่งที่ส าคัญที่สุดในการพิมพ์<br />

2. วัสดุที่ใช้พิมพ์ลงไป<br />

3. สีที่ใช้ในการพิมพ์<br />

4. ผู้พิมพ์<br />

ผลงานที่ได้จากการพิมพ์ มี 2 ชนิด คือ<br />

1. ภาพพิมพ์ เป็นผลงานพิมพ์ที่เป็นภาพต่างๆ เพื่อ<br />

ความสวยงามหรือบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ อาจมี<br />

ข้อความ ตัวอักษรหรือตัวเลขประกอบหรือไม่มีก็ได้<br />

2. สิ่งพิมพ์ เป็นผลงานพิมพ์ที่ใช้บอกเล่าเรื่องราว<br />

ต่างๆ เป็นตัวอักษร ข้อความ ตัวเลข อาจมี<br />

ภาพประกอบหรือไม่มีก็ได้


22<br />

ประเภทของการพิมพ์ การพิมพ์แบ่งออกได้<br />

หลายประเภทตามลักษณะต่าง ดังนี้<br />

1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายในการ พิมพ์ ได้ 2<br />

ประเภท คือ<br />

1.1 ศิลปะภาพพิมพ์ (GRAPHIC ART) เป็น<br />

งานพิมพ์ภาพเพื่อให้เกิดความสวยงามเป็น งาน<br />

วิจิตรศิลป์<br />

1.2 ออกแบบภาพพิมพ์ (GRAPHIC<br />

DESIGN) เป็นงานพิมพ์ภาพประโยชน์ใช้สอยนอก<br />

เหนือไปจากความสวยงาม ได้แก่ หนังสือต่างๆ บัตร<br />

ต่างๆ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ฯลฯ จัดเป็นงาน ประยุกต์<br />

ศิลป์<br />

2. แบ่งตามกรรมวิธีในการพิมพ์ ได้ 2<br />

ประเภท คือ<br />

2.1 ภาพพิมพ์ต้นแบบ ( ORIGINAL PRINT )<br />

เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์และวิธี การพิมพ์


23<br />

ที่ถูก สร้างสรรค์และก าหนดขึ้นโดยศิลปินเจ้าของ<br />

ผลงาน และเจ้าของผลงาน จะต้องลงนามรับรอง<br />

ผลงานทุกชิ้น บอกล าดับที่ในการพิมพ์ เทคนิคการ<br />

พิมพ์ และ วัน เดือน ปี ที่พิมพ์ด้วย<br />

2.2 ภาพพิมพ์จ าลองแบบ ( REPRODUCTIVE<br />

PRINT ) เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์ หรือ<br />

วิธี การพิมพ์วิธีอื่น ซึ่งไม่ใช่วิธีการเดิมแต่ได้รูปแบบ<br />

เหมือนเดิม บางกรณีอาจเป็นการ ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น<br />

3. แบ่งตามจ านวนครั้งที่พิมพ์ ได้ 2 ประเภท<br />

คือ<br />

3.1 ภาพพิมพ์ถาวร เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์ออกมา<br />

จากแม่พิมพ์ใดๆ ที่ได้ผลงานออกมามีลักษณะ<br />

เหมือนกันทุกประการ ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป<br />

3.2 ภาพพิมพ์ครั้งเดียว เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์<br />

ออกมาได้ผลงานเพียงภาพเดียว ถ้าพิมพ์อีกจะ ได้<br />

ผลงานที่ไม่เหมือนเดิม


24<br />

4. แบ่งตามประเภทของแม่พิมพ์ ได้ 4<br />

ประเภท คือ<br />

4.1 แม่พิมพ์นูน ( RELIEF PROCESS ) เป็น<br />

การพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้าที่ท าให้นูน ขึ้นมา<br />

ของแม่พิมพ์ ภาพที่ได้เกิดจากสีที่ติดอยู่ในส่วนบน<br />

นั้น แม่พิมพ์นูนเป็นแม่พิมพ์ ที่ท าขึ้นมาเป็นประเภท<br />

แรก ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์แกะไม้ (<br />

WOOD-CUT ) ภาพพิมพ์แกะยาง ( LINO-CUT )<br />

ตรายาง ( RUBBER STAMP ) ภาพพิมพ์จากเศษ<br />

วัสดุต่างๆ<br />

4.2 แม่พิมพ์ร่องลึก ( INTAGLIO PROCESS<br />

) เป็นการพิมพ์โดยให้สีอยู่ในร่องที่ท าให้ลึกลง ไป<br />

ของแม่พิมพ์โดยใช้แผ่นโลหะท าเป็นแม่พิมพ์ ( แผ่น<br />

โลหะที่นิยมใช้คือแผ่นทองแดง ) และท าให้ลึกลงไป<br />

โดยใช้น้ ากรดกัด ซึ่งเรียกว่า ETCHING แม่พิมพ์<br />

ร่องลึกนี้พัฒนาขึ้นโดย ชาวตะวันตก สามารถพิมพ์<br />

งานที่มีความ ละเอียด คมชัดสูง สมัยก่อนใช้ในการ<br />

พิมพ์ หนังสือ พระคัมภีร์ แผนที่ เอกสารต่างๆ


25<br />

แสตมป์ ธนบัตร ป๎จจุบันใช้ในการพิมพ์งานที่เป็น<br />

ศิลปะ และธนบัตร<br />

4.3 แม่พิมพ์พื้นราบ ( PLANER PROCESS )<br />

เป็นการพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้า ที่ราบเรียบ<br />

ของแม่พิมพ์ โดยไม่ต้องขุดหรือแกะพื้นผิวลงไป แต่<br />

ใช้สารเคมีเข้าช่วย ภาพพิมพ์ ชนิดนี้ได้แก่ ภาพ<br />

พิมพ์หิน ( LITHOGRAPH ) การพิมพ์ออฟเซท (<br />

OFFSET ) ภาพพิมพ์กระดาษ ( PAPER-CUT )<br />

ภาพพิมพ์ครั้งเดียว ( MONOPRINT )<br />

4.4 แม่พิมพ์ฉลุ ( STENCIL PROCESS ) เป็น<br />

การพิมพ์โดยให้สีผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์ลงไป สู่<br />

ผลงานที่อยู่ด้านหลัง เป็นการพิมพ์ชนิดเดียวที่ได้รูป<br />

ที่มีด้านเดียวกันกับแม่พิมพ์ ไม่กลับซ้าย เป็นขวา<br />

ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์ฉลุ ( STENCIL )<br />

ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ( SILK SCREEN ) การ<br />

พิมพ์อัดส าเนา ( RONEO ) เป็นต้น


26<br />

กระบวนการหลัก 4 ประการ ของวิธีการท า<br />

ภาพพิมพ์<br />

1. แม่พิมพ์ผิวนูน (Relief Process)<br />

เป็นกระบวนการท าภาพพิมพ์ที่สร้างแม่พิมพ์<br />

โดยการแกะให้เป็นร่องลึกเข้าไป และใช้ผิวบนของ<br />

ส่วนนูนเป็นที่สร้างให้เกิดรูป ในการพิมพ์ต้องใช้


27<br />

ลูกกลิ้ง ที่กลิ้งหมึกแล้วมากลิ้งผ่านไปบนแม่พิมพ์<br />

หมึกพิมพ์จากลูกกลิ้งจะติดเฉพาะผิวบนของส่วนนูน<br />

เท่านั้น ส่วนที่ลึกลงไปจะไม่ติดหมึก แล้วใช้กระดาษ<br />

ทาบปิดลงไปบนแม่พิมพ์ และกดอัดด้วยเครื่องมือ<br />

หรือแท่นพิมพ์ หมึกก็ติดกระดาษเกิดเป็นรูปขึ้นมา<br />

เทคนิคที่รวมอยู่ภายใต้กระบวนการนี้ เช่น<br />

WoodEngraving, Wood-Cut, Lion-Cut เป็นต้น<br />

2. แม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Process)<br />

เป็นกระบวนการท าภาพพิมพ์ที่ใช้หลักการ<br />

ตรงกันข้ามกับ Relief Process คือแม่พิมพ์มี ความ<br />

นูนและร่องลึกเช่นเดียวกัน แต่ส่วนที่สร้างให้เกิด<br />

เป็นรูป คือส่วนที่เป็นร่องลึกของแม่พิมพ์ ในการ<br />

พิมพ์ต้องอุดหมึกลงไปในร่องลึก และเช็ดผิวบนให้<br />

สะอาด แล้วจึงเอากระดาษปิดทับบนแม่พิมพ์ การ<br />

พิมพ์ต้องอาศัยแท่นพิมพ์ที่มีแรงกดสูงเพื่อเอา


28<br />

กระดาษให้ไปดูดซับหมึกขึ้นมาได้ เทคนิคที่รวมกัน<br />

อยู่ภายใต้กระบวนการนี้ เช่น Etching, Aquatint,<br />

Dry point, Messotint เป็นต้น<br />

3. แม่พิมพ์ผิวราบ (Planographic<br />

Process)<br />

เป็นกระบวนการท าภาพพิมพ์ที่ตัวแม่พิมพ์มีผิว<br />

เรียบแบน แต่หลักของการพิมพ์อาศัยกฎเกณฑ์แห่ง<br />

ความไม่เข้ากันระหว่าง น้ ากับน้ ามัน แม่พิมพ์จะเป็น<br />

หินที่มีเนื้อละเอียดมาก และมีผิวแบนเรียบ รูปที่ต้อง<br />

การจะเกิดจากการขีด เขียนหรือวาดระบายด้วยไข<br />

ในการพิมพ์ก่อนที่จะกลิ้งหมึกพิมพ์จะต้องใช้น้ าหล่อ<br />

เลี้ยงผิวของแม่พิมพ์ให้ชุ่มชื้น เมื่อกลิ้งหมึกพิมพ์ซึ่ง<br />

เป็นไขผ่านไปบนแม่พิมพ์ หมึกพิมพ์ที่เป็นไขจะติด


29<br />

บนรูปที่วาดด้วยไขเท่านั้น หมึกพิมพ์จะไม่ติดบนผิว<br />

หินส่วนที่มีน้ าหล่อเลี้ยงอยู่ แล้วจึงน าเอากระดาษ<br />

มาปิดทับบนแม่พิมพ์รีดกดให้หมึกติดกระดาษ เกิด<br />

เป็นรูปภาพที่ต้องการได้<br />

4. แม่พิมพ์ตะแกรงไหม หรือ แม่พิมพ์ฉลุ (<br />

Serigraphy) Silk-screen<br />

เป็นกระบวนการท าภาพพิมพ์ ที่พัฒนามาจาก<br />

วิธีการ Stencil ซึ่งเป็นวิธีสร้างรูปซ้ าๆ เหมือนๆ กัน<br />

ได้หลายรูป โดยการเจาะกระดาษ หรือวัสดุอื่นให้


30<br />

เป็นรูปแล้วพ่น หรืออาบสีให้ผ่านช่องว่างลงไปติด<br />

เป็นรูปที่ต้องการ ส าหรับ Silk-screen แม่พิมพ์จะ<br />

เป็นตะแกรงที่ละเอียดมาก ตะแกรงนี้จะช่วยยึดทั้ง<br />

ส่วนที่เป็นช่องว่างและส่วนที่ทึบตันให้ติดเป็นแผ่น<br />

ระนาบเดียวกัน วิธีการนี้ช่วยให้การสร้างแม่พิมพ์มี<br />

ความละเอียด ประณีต และเมื่อพิมพ์ออกมารูปจะมี<br />

ความคมชัดกว่า รวมทั้งพิมพ์ซ้ าๆได้ปริมาณมากกว่า<br />

ในการพิมพ์จะใช้ยางที่มีหน้าตัดเรียบคม ปาดหมึก<br />

ผ่านช่องว่างให้ลงไปติดบนแผ่นกระดาษ เกิดเป็น<br />

รูปที่ต้องการได้


31<br />

5. แบ่งตามลักษณะของแม่พิมพ์ ภาพพิมพ์<br />

แบ่งได้ 4 ประเภท<br />

5.1 ภาพพิมพ์ผิวนูน (Relief Printing)<br />

The Kiss<br />

Edvard<br />

ผลงาน<br />

Munch<br />

คือ กระบวนการพิมพ์ที่พิมพ์จากผิวส่วนที่อยู่สูง<br />

บนแม่พิมพ์ ดังนั้นส่วนที่ถูกแกะเซาะออกไปหรือส่วน<br />

ที่เป็นร่องลึกลงไปจะไม่ถูกพิมพ์ ซึ่งแม่พิมพ์ใน<br />

ลักษณะนี้ เช่น แม่พิมพ์แกะไม้ แม่พิมพ์แกะยาง<br />

แม่พิมพ์กระดาษแข็ง แม่พิมพ์วัสดุ เมื่อเวลาพิมพ์


32<br />

แม่พิมพ์เหล่านี้จะใช้เครื่องมือประเภทลูกกลิ้ง ลูก<br />

ประคบหนัง ทาหมึกลงบนส่วนนูนของแม่พิมพ์ แล้ว<br />

น าไปพิมพ์ลงบนกระดาษอาจจะพิมพ์ ด้วยมือหรือ<br />

แท่นพิมพ์ หมึกก็ติดกระดาษเกิดเป็นรูปขึ้นมา<br />

5.2 ภาพพิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing)<br />

ชีวิต<br />

ผลงานกมล<br />

หมายเลข 5<br />

ศรีวิชัยนันท์<br />

คือ กระบวนการพิมพ์ที่พิมพ์จากส่วนที่อยู่ลึก<br />

เป็นร่องของแม่พิมพ์ ซึ่งแม่พิมพ์จะมีส่วนที่นูนและ<br />

ร่องเหมือนกับแม่พิมพ์ผิวนูน แต่เวลาพิมพ์ต้องอุด<br />

หมึกลงไป ในร่องลึกและเช็ดบริเวณที่ไม่ต้องการจะ<br />

พิมพ์ออก แล้วน ากระดาษเปียกน้ าหมาดๆ วางลงบน<br />

แม่พิมพ์ จากนั้นพิมพ์ด้วยแท่นพิมพ์ที่มีแรงกดสูงเพื่อ<br />

กดกระดาษให้ไปดูดซับหมึกขึ้นมา ซึ่งกลวิธีที่<br />

รวมอยู่ภายใต้กระบวนการนี้ ได้แก่ ภาพพิมพ์


33<br />

ภาพถ่าย ภาพพิมพ์มัชฌิมรงค์ ภาพพิมพ์อย่างสีน้ า<br />

ภาพพิมพ์จารเข็ม ภาพพิมพ์แกะลายเส้น ภาพพิมพ์<br />

กัดกรด ภาพพิมพ์แบบเขียนถ่าน ภาพพิมพ์ กัดกรด<br />

พื้นนิ่ม ภาพพิมพ์กัดกรดรูปนูน<br />

5.3 ภาพพิมพ์พื้นราบ (Planographic<br />

Printing หรือ Lithograph)<br />

Brustbild<br />

Arbeitfrau<br />

Kathe<br />

Einer<br />

ผลงาน<br />

Kollwitz<br />

คือ กระบวนการพิมพ์ที่พิมพ์จากพื้นแบนราบ<br />

ส่วนที่ถูกพิมพ์และส่วนที่ไม่ต้องการพิมพ์นั้นจะอยู่ใน


34<br />

ระนาบแม่พิมพ์ บริเวณทั้งสองจะต่างกันเพียงส่วนที่<br />

ต้องการพิมพ์จะเป็นไขหรือน้ ามัน แต่อีกส่วนที่ไม่<br />

ต้องการพิมพ์จะชุ่มด้วยน้ า เมื่อเวลาพิมพ์จะใช้<br />

ลูกกลิ้งที่มีหมึกเชื้อน้ ามันติดอยู่ กลิ้งลงบนแม่พิมพ์ที่<br />

มีน้ าหมาดๆ เมื่อกลิ้งหมึกซึ่งเป็นไขผ่านไปบน<br />

แม่พิมพ์ หมึกเชื้อน้ ามันจะติดลงบนส่วนที่เป็นไขของ<br />

แม่พิมพ์เท่านั้น จากนั้นน าเอากระดาษมาปิดทับบน<br />

แม่พิมพ์ เพื่อรีดกดให้หมึกติดกระดาษเกิดเป็น<br />

รูปภาพตามที่ต้องการ กลวิธีที่รวมอยู่ภายใต้<br />

กระบวนการนี้ ได้แก่ ภาพพิมพ์ครั้งเดียว และภาพ<br />

พิมพ์หิน<br />

4. ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม หรือ ภาพพิมพ์<br />

ฉลุ (Silk Screen)<br />

Marilyn<br />

Andy<br />

ผลงาน<br />

Warhol


35<br />

คือ กระบวนการพิมพ์ที่พิมพ์ โดยใช้ไม้ปาดสีรีด<br />

เนื้อสีผ่านตะแกรงเนื้อละเอียดลงมาสู่วัสดุที่ต้องการ<br />

พิมพ์ ซึ่งบริเวณที่ไม่ถูกพิมพ์จะเป็นบริเวณตะแกรง<br />

ที่ถูกกันเอาไว้ไม่ให้สีลอดผ่านลงมาสู่วัสดุที่ต้องการ<br />

พิมพ์


36<br />

ศิลปินของภาพพิมพ์<br />

ศาสตราจารย์ ประหยัด พงษ์ด า<br />

ศาสตราจารย์ ประหยัด พงษ์ด า เป็นศิลปินที่มี<br />

ความเชี่ยวชาญทางด้านงานภาพพิมพ์ เป็นผู้ค้นพบ<br />

กรรมวิธีทางภาพพิมพ์หลายอย่าง เช่น การ<br />

ผสมผสานระหว่างภาพพิมพ์เข้าสู่งานจิตรกรรมเป็น<br />

ภาพเดียวกัน เคยได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑<br />

เหรียญทอง ประเภทภาพพิมพ์ จากการแสดง<br />

ศิลปกรรมแห่งชาติ ๒ ครั้ง รางวัลเกียรตินิยมอันดับ<br />

๒ เหรียญเงิน ๔ ครั้ง และรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓


37<br />

เหรียญเงิน อีก ๒ ครั้ง ได้รับการยกย่องให้เป็น<br />

ศิลปินชั้นเยี่ยม<br />

ศาสตราจารย์ ประหยัด พงษ์ด า เกิดเมื่อวันที่<br />

๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ ที่จังหวัดสิงห์บุรี สนใจ<br />

วาดภาพสัตว์ต่าง ๆ มาตั้งแต่เด็ก หลังจากเข้ารับ<br />

การศึกษาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่างและ<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับปริญญาตรีศิลปะ<br />

บัณฑิต (จิตรกรรม) แล้ว ได้รับทุนการศึกษาจาก<br />

รัฐบาลอิตาลีไปศึกษาต่อ ณ สถาบันประณีตศิลป์แห่ง<br />

กรุงโรมศึกษาจบหลักสูตรได้รับดีโพลมา ในปี พ.ศ.<br />

๒๕๐๔ ศาสตราจารย์ประหยัดได้สร้างชื่อเสียงการ<br />

สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ได้รับรางวัลในการแสดง<br />

งานศิลปะ ณ ประเทศอิตาลีหลายรางวัล และเมื่อ<br />

กลับมาเมืองไทยแล้วได้คิดค้นสร้างสรรค์กรรมวิธี<br />

ภาพพิมพ์ด้วยเทคนิควิธีแปลกใหม่ ที่มีคุณประโยชน์<br />

อย่างมาก แก่วงการศิลปะภาพพิมพ์<br />

เป็นผู้ริเริ่มออกแบบสร้างสรรค์ดวงตราไปรษณี<br />

ยากรที่มีคุณค่าทางศิลปะอันงดงาม สร้างสรรค์<br />

ผลงานภาพพิมพ์ จนได้รับรางวัลทั้งในและ


38<br />

ต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๐๖ ได้รับเลือกเป็นศิลปิน<br />

เกียรติยศ สาขาภาพพิมพ์ จากสถาบันศิลปะ กรุง<br />

ฟลอเรนซ์ อิตาลี โดยรัฐบาลอิตาลี พ.ศ. ๒๕๒๔<br />

ได้รับเกียรติเป็นศิลปินชั้นเยี่ยมในการแสดง<br />

ศิลปกรรมแห่งชาติในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่น<br />

ทางด้านวัฒนธรรม ได้รับพระกรุณาธิคุณจาก<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้เขียนภาพประกอบ<br />

ในหนังสือพระมหาชนก จ านวน ๔ ภาพ


40<br />

ศาตราจารย์ประหยัด ยังได้สร้างสรรค์ผลงาน<br />

ศิลปะต่อเนื่องมาจนป๎จจุบัน ผลงานมีคุณค่าเป็นที่<br />

ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ เป็นผู้มีอาวุโสผู้หนึ่งที่<br />

ยังให้การศึกษาแก่ศิษย์ ในคณะจิตรกรรม<br />

ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ในป๎จจุบัน เคยด ารงต าแหน่งหัวหน้าภาควิชาภาพ<br />

พิมพ์ คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพ<br />

พิมพ์ ผู้อ านวยการโครงการจัดตั้งหอศิลปะ<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้สร้างคุณประโยชน์อย่าง<br />

มากไว้แก่วงการศิลปะ และการศึกษาศิลปะของไทย


41<br />

ศาสตราจารย์ประหยัด พงษ์ด าเกษียณอายุ<br />

ราชการเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๗ และแม้จะ<br />

เกษียณอายุราชการไปแล้ว ท่านก็ยังคงรับเชิญเป็น<br />

อาจารย์พิเศษสอนที่คณะจิตรกรรมประติมากรรม<br />

และภาพพิมพ์มาจนป๎จจุบันนี้ นอกเหนือจากงานทาง<br />

วิชาการที่กล่าวมาแล้ว ท่านยังผลงานภาพพิมพ์ และ<br />

งานจิตรกรรม อีกทั้งท่ายังเป็นผู้บุกเบิกคนส าคัญใน<br />

การพัฒนาการออกแบบแสตมป์ไทย ให้ทันสมัยเป็น<br />

สากลโดยการน าเอาลักษณ์ของไทย ที่มีแบบอย่าง<br />

ในทางศิลปวัฒนธรรมที่งดงาม มาออกแบบเป็นดวง


42<br />

แสตมป์ ที่ได้ใช้ติดจดหมายและไปรษณียภัณฑ์ ไป<br />

ยังทั่วทุกมุมโลก อันเป็นการเผยแพร่เอกลักษณ์อันดี<br />

งามของชาติไทยที่ดีที่สุดวิธีหนึ่งด้วย


ศาสตราจารย์ประหยัด พงษ์ด า จึงได้รับการยก<br />

ย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขา<br />

43


44<br />

ทัศนศิลป์ (ภาพพิมพ์) ประจ าปีพุทธศักราช<br />

๒๕๔๑<br />

นายอินสนธ์ วงศ์สาม<br />

เป็นศิลปินผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาพพิมพ์<br />

แกะไม้ ประติมากรรม แกะสลักไม้ ต่อมาจึงได้หันมา<br />

สร้างประติมากรรมสมัยใหม่ด้วยวัสดุที่เป็นโลหะ<br />

ผลงานประติมากรรมของ อินสนธ์ วงศ์สาม เป็นประ<br />

ติมากรรมตกแต่งที่มีขนาดใหญ่ แสดงความงดงาม<br />

ของการจัดวางรูปทรงอย่างได้จังหวะและลงตัว<br />

ผลงานของนายอินสนธ์ วงศ์สาม


45<br />

"โดดเดี่ยว" ภาพพิมพ์แกะไม้ ของอินสนธ์ วงศ์ สาม<br />

นายประพันธ์ ศรีสุตา<br />

เป็นจิตรกร ที่บังเอิญได้มาเป็นศิลปินภาพพิมพ์<br />

แต่ผลงานที่เขาน ามาแสดงเหล่านี้ก็เผยให้เห็น


46<br />

ความรู้ ความช านาญ และฝีมือทางเชิงช่างที่ผ่าน<br />

การฝึกฝนมาทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติมาแล้วอย่าง<br />

ช่ าชอง<br />

ผลงานของนายประพันธ์ ศรีสุตา<br />

ผลงานภาพพิมพ์แกะไม้ ของ ประพันธ์ ศรีสุตา


47<br />

Dürer's Rhinoceros, woodcut, 1515. By<br />

Albrecht Durer<br />

(Albrecht Durer)


48<br />

The Great Wave off Kanagawa, Hokusai's<br />

most famous print, the first in the series 36<br />

Views of Mount Fuji. Woodcut , 1820<br />

คัทซึชิกะ โฮะคุไซ


49<br />

The Four Horseman of the Apocalypse,<br />

woodcut, 1498.<br />

(Albrecht Durer)


51<br />

Kathe Kollwitz (German, 1867-1945),<br />

Death with Child in Lap, 1921,<br />

Woodcut, 9 3/8 x 11 1/4.<br />

Kathe Kollwitz "Mother and Daughter" 1919


53<br />

An illustration extracted from page 65 of<br />

William Blake, painter and poet<br />

William Blake<br />

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาพพิมพ์<br />

Categories: Articles<br />

โดย สมาพร คล้ายวิเชียร


54<br />

ภาพพิมพ์มือบนผนังถ้ าสมัยก่อนประวัติศาสตร์<br />

มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์บังเอิญเอามือที่<br />

เปื้อนดินโคลนไปจับหรือวางทาบตามผนังถ้ า ท าให้<br />

เกิดรอยฝุามือขึ้น ด้วยเหตุนี้มนุษย์จึงน ามือไปจุ่มสี<br />

แล้วเอามาวางทาบบนผนังถ้ าเกิดเป็นรูปมือใน<br />

ลักษณะต่างๆ ซึ่งเราเรียกวิธีการแบบนี้ว่า “การพิมพ์<br />

ภาพ” และเรียกภาพที่เกิดขึ้นว่า “ภาพพิมพ์” จากนั้น<br />

ก็ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องด้วยการหาวัสดุต่างๆ<br />

เช่น ไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหิน แผ่นยาง ผ้าไหม ฯลฯ<br />

มาใช้พิมพ์แทนที่มือ จนเกิดกระบวนการพิมพ์ขึ้นมา<br />

4 กระบวนการหลักๆ คือ ภาพพิมพ์ผิวนูน ภาพพิมพ์<br />

ร่องลึก ภาพพิมพ์พื้นราบ และภาพพิมพ์ตะแกรงไหม<br />

ซึ่งการพิมพ์ทั้ง 4 กระบวนการนี้ ได้รับ การพัฒนา<br />

คิดค้นขึ้นมา เพื่อใช้พิมพ์ภาพและตัวอักษรให้ได้<br />

เป็นจ านวนมากส าหรับใช้ในวงการธุรกิจ การค้า<br />

โดยพิมพ์เป็นหนังสือ แผ่นพับ ปูายโฆษณา แผ่นปิด


55<br />

ภาพยนตร์ เสื้อผ้า หีบห่อ บรรจุภัณฑ์ กล่องขนม<br />

กล่องไม้ขีด ถุงใส่ของ เป็นต้น<br />

แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกระบวนการพิมพ์นั้น<br />

สามารถสร้างภาพได้สวยงามเหมือนกับ ผลงาน<br />

จิตรกรรม อีกทั้งยังสามารถพิมพ์ภาพซ้ าๆ ที่<br />

เหมือนกันได้เป็นจ านวนมาก แต่จิตรกรรมไม่<br />

สามารถท าภาพซ้ ากันได้ ถึงแม้ท าซ้ าก็ไม่เหมือนเดิม<br />

จึงท าให้ไม่เอื้ออ านวยต่อการสะสมและจัดจ าหน่าย<br />

ดังนั้นศิลปินจึงได้น ากระบวนการพิมพ์ทั้ง 4<br />

กระบวนการนั้นมาใช้ในการสร้างสรรค์ ผลงาน<br />

ศิลปะ เพื่อเอื้ออ านวยต่อการสะสมและจัดจ าหน่าย<br />

ให้ได้มากขึ้น จนกระทั่งเมื่อประมาณ 50 มานี้เอง<br />

ภาพพิมพ์ได้รับการยอมรับในวงการศิลปะว่ามี<br />

คุณค่าเป็นศิลปะอีกแขนงหนึ่งที่สามารถถ่ายทอด<br />

จินตนาการ อารมณ์ ความรู้สึกได้อย่างดีเยี่ยม<br />

จากที่กล่าวมาขึ้นต้นจะเห็นได้ว่าภาพพิมพ์นั้น มี<br />

จุดมุ่งหมายในท าอยู่ 2 ลักษณะ คือ ภาพพิมพ์งาน<br />

พาณิชย์ที่พิมพ์ เพื่อใช้เป็นสื่อโฆษณา<br />

ประชาสัมพันธ์หรือส าหรับสร้างความสวยงามให้กับ<br />

ผลิตภัณฑ์ กับภาพพิมพ์งานศิลปะที่พิมพ์ เพื่อเป็นสื่อ<br />

ในการแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึกของศิลปิน


56<br />

ส าหรับเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ ผู้เขียนมุ่งเน้น<br />

เฉพาะภาพพิมพ์งานศิลปะ ดังนั้นจึง ขอกล่าวเฉพาะ<br />

เนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์หรือภาพพิมพ์<br />

ต้นฉบับเท่านั้น ซึ่งในการศึกษาผู้เรียนจ าเป็นต้องมี<br />

ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ประเภท<br />

รูปแบบ การเซ็นชื่อและการเขียนข้อความต่างๆ ลง<br />

ในภาพพิมพ์ต้นฉบับ ภาพพิมพ์พิสูจน์ ตลอดจนการ<br />

เก็บรักษาผลงานภาพพิมพ์<br />

ภาพพิมพ์ในสหรัฐอเมริกาใช้ค าว่า<br />

“Printmaking” ส าหรับเรียกกระบวนการพิมพ์ที่<br />

สร้างสรรค์เพื่อเป็นศิลปะและใช้ค าว่า “Print”<br />

ส าหรับเรียกกระบวนการพิมพ์ที่เป็นงานพิมพ์ทั่วไป<br />

โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับงานพาณิชย์ต่างๆ<br />

(พีระพงษ์ กุลพิศาล, 2531:68)<br />

ภาพพิมพ์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานจาก<br />

แม่พิมพ์ชนิดแผ่นโลหะ แผ่นไม้ แท่นหิน ตะแกรง<br />

ไหม แล้วผ่านกระบวนการพิมพ์ ซึ่งจะได้ผลงานที่<br />

เหมือนๆ กัน เป็นจ านวนมากในด้านวิจิตรศิลป์


57<br />

ศิลปะภาพพิมพ์<br />

ศิลปะภาพพิมพ์ เป็นผลงานทัศนศิลป์ลักษณะ 2<br />

มิติ คือมีความกว้างและความยาว แสดงมิติที่สาม<br />

สร้างขึ้นโดยการประกอบกันของทัศนธาตุ เช่น เส้น<br />

สีแสงเงา รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี ฯลฯซึ่งเป็นมิติลวง<br />

ตาคล้ายกับผลงานจิตรกรรม แต่แตกต่างกันที่ภาพ<br />

พิมพ์ใช้การถ่ายทอดสีจากแม่พิมพ์ลงบนระนาบ<br />

รองรับแทนที่จะเป็น การขูด ขีด เขียน ปูาย หลด<br />

สลัดฯบนระนาบรองรับโดยตรง ในภาษาอังกฤษ<br />

เรียก Printmaking หรือ Graphic Arts ซึ่งมี<br />

ความหมายเดียวกันคือ ”ศิลปะภาพพิมพ์”


58<br />

หอศิลป์กรุงไทย ร่วมกับ ภาควิชาภาพพิมพ์ คณะ<br />

จิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร และ บมจ.ปตท. จัดแสดง นิทรรศการศิลปะ<br />

35 ภาพพิมพ์ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ 9 รัชกาล<br />

เพื่อเทิดพระเกียรติและเฉลิมฉลอง ในวโรกาสที่<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชย์<br />

สมบัติครบ 60 พรรษาในปี พ.ศ.2549 และจะทรงมี<br />

พระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา ในปี พ.ศ.2554<br />

รวมทั้งเผยแพร่พระเกียรติคุณของราชวงศ์จักรี


59<br />

นิทรรศการศิลปะ 35 ภาพพิมพ์เป็นผลงานของ<br />

ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินชั้นเยี่ยมและศิลปินมีชื่อ 23<br />

ท่าน ได้แก่ปรีชา เถาทอง,สมชัย กตัญํุตานันท์<br />

(ชัย ราชวัตร),สุรสิทธิ์ เสาว์คง,พิษณุ ศุภนิมิตร<br />

,ทินกร กาษรสุวรรณ,พัดยศ พุทธเจริญ,ไพรวัลย์ ดา<br />

เกลี้ยง,ญาณวิทย์ กุญแจทอง, ณัฏฐพล สุวรรณกุศล<br />

ส่ง,ธีรวัฒน์ งามเชื้อชิต,อภิชัย ภิรมย์รักษ์,ป๎ญญา<br />

วิจินธนสาร,สุพจน์ สิงห์สาย,สุรเดช แก้วท่าไม้ ,เนติ<br />

กร ชินโย,ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ,ชัยรัตน์ แสงทอง,<br />

อนุพงษ์ จันทร,จินตนา เปี่ยมศิริ,เกริกบุระ ยมนาค


60<br />

,สมภพ บุตราช, พงศ์ศิริ คิดดี และ ธีรวัฒน์ คะนะ<br />

มะ โดยได้ร่วมกันบันทึกเหตุการณ์ส าคัญทาง<br />

ประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ด้วยการ<br />

สร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์หลากหลายเทคนิคเป็น<br />

ครั้งแรกในประเทศไทย<br />

ผลงาน 35 ภาพพิมพ์ แสดงให้เห็นถึงพระราช<br />

กรณียกิจ และพระมหากรุณาธิคุณของ<br />

พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในราชวงศ์จักรี<br />

นับตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 9 รวมไปถึงพระ<br />

ราชจริยวัตรอันงดงามที่ฝ๎งลึกอยู่ในจิตใจของพสก<br />

นิกรชาวไทยไม่เคยลืมเลือน<br />

นิทรรศการศิลปะ 35 ภาพพิมพ์ประวัติศาสตร์<br />

รัตนโกสินทร์ 9 รัชกาล เปิดแสดง ณ หอศิลป์<br />

กรุงไทย วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.00 -16.00 น. และ<br />

วันเสาร์ เวลา 10.00-17.00 น. (ปิดวันอาทิตย์)<br />

ระหว่างวันนี้ - วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554


61<br />

สอบถาม โทร.0 -2222 - 0137<br />

ก่อนที่ผลงานภาพพิมพ์ต้นแบบที่น ามาจัดแสดง<br />

ทั้งหมดจะน าทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระ<br />

เจ้าอยู่หัวต่อไป


67<br />

ค าศัพท์ที่เกี่ยวกับการพิมพ์ / อักษรย่อ<br />

ค าแสดงความหมายในงานพิมพ์<br />

Aquatint<br />

เป็นเทคนิคหนึ่งของภาพพิมพ์โลหะร่องลึก (<br />

intalglio) กรรมวิธี คือ โรยผงยางสน (rosin)ลงบน<br />

แม่พิมพ์ด้วยการโรยยางสน หรือด้วยมือ (ห่อยางสน<br />

บดละเอียดเป็นลูกประคบ แล้วตบให้ผงยางละเอียด<br />

หล่นลงบนแม่พิมพ์ ) น าแม่พิมพ์ไปลนความร้อนให้<br />

ผงยางละลายติดบนแผ่นแม่พิมพ์แล้วน าไปแช่<br />

น้ ากรด ผงยางสนนี้จะเป็นตัวกันกรด ภายหลังจึง<br />

ล้างผงยางสนออก ผลของการกัดจะเกิดพื้นผิวบน<br />

แม่พิมพ์ จะเป็นน้ าหนักอ่อนแก่ตามระยะเวลาของ<br />

การแช่ในน้ ากรด ศิลปินมักใช้เทคนิคนี้ประกอบกับ<br />

เทคนิคทางแม่พิมพ์โลหะอื่นๆ วิธีท า Aquatint ด้วย<br />

ผงยางสนนี้ คิดค้นโดยชาวฝรั่งเศสชื่อ Jean<br />

Baptiste Le Prince ในราวปี ค.ศ. 1768


68<br />

นอกเหนือจากวิธีการโรยยางสนแล้ว ยังสามารถใช้<br />

วิธีพ่นแลคเกอร์สเปรย์ หรือสีสเปรย์ได้เช่นกัน<br />

Aquatint Chamber<br />

ตู้โรยยางสนเพื่อท า Aquatint<br />

Arches<br />

ชื่อเมืองในประเทศฝรั่งเศส ที่ท ากระดาษ<br />

Arches<br />

Arjomari<br />

เป็นชื่อผู้ผลิตกระดาษที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของ<br />

ฝรั่งเศส Arjomari เป็นค าย่อมาจากตัวอักษรแรก<br />

ของ Arches Johannot Msrais และ Rives ซึ่งเป็น<br />

ชื่อของโรงงานกระดาษ 4 แห่ง ได้จัดตั้ง Arjomari<br />

ขึ้นในปี ค.ศ. 1968 มีโรงงานได้เข้าร่วมสมาคมเพิ่ม<br />

จึงกลายเป็น Arjomari-Prioux.


69<br />

Artist's Proof<br />

การทดลองพิมพ์ (Proof) ของศิลปิน<br />

นอกเหนือจากจ านวนการพิมพ์ editionแต่มีคุณภาพ<br />

เท่ากัน การพิมพ์ Artist's Proof นี้ จะลงชื่อโดย<br />

ศิลปินว่า Artist's Proof หรือ A.Pและลงหมายเลข<br />

ล าดับ เช่น 1/22, 2/30 หรือ i/xx, v/xx.<br />

Asphalum<br />

เป็นสารธรรมชาติที่ประกอบด้วย<br />

ไฮโดรคาร์บอน เป็นไขเหลวหรือบางทีก็เป็นผงต้อง<br />

น ามาเคี่ยวด้วยไฟอุ่น ผสมน้ ามันสน ถูกใช้เป็นตัว<br />

กันกรดในการท าภาพิมพ์โลหะและในขั้นตอนของ<br />

การท าภาพพิมพ์หิน<br />

Assembled Plate


70<br />

คือ เพลท(แม่พิมพ์) ซึ่งประกอบขึ้นด้วยชิ้นส่วน<br />

ต่างๆ เช่น เศษวัสดุสิ่งของ เศษแม่พิมพ์ วัสดุที่เก็บได้<br />

หรือวัสดุอื่นๆ ชิ้นส่วนเหล่านี้จะถูกปะติดบนแผ่นแข็ง<br />

ให้เป็นรูปทรงเพื่อท าแม่พิมพ์ หรือใช้วางประกอบ<br />

กันบนแท่นพิมพ์โดยตรง Assembled Plate ท าขึ้น<br />

เพื่อการพิมพ์รอยนูน (Embossing) การพิมพ์ร่อง<br />

ลึก (Intalgio) และการท าภาพพิมพ์นูน (Relief<br />

Printing)<br />

Blind Printing<br />

การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์ที่ไม่อัดหมึก ไม่ลง<br />

หมึกเพื่อสร้างรูปทรงสามมิติ<br />

Cancellation Proof<br />

คือภาพพิมพ์ที่พิมพ์จากแม่พิมพ์ที่ได้ท า<br />

เครื่องหมายขีดฆ่าหรือท าลายภายในแม่พิมพืแล้ว<br />

ซึ่งจะพิมพ์หลังจากได้พิมพ์ edition สิ้นสุดลง<br />

ส าหรับภาพพิมพ์หลายสี วิธีปฏิบัติคือท าลายแม่พิมพ์<br />

เดียว การพิมพ์ Cncellation Proof เป็นการประกัน<br />

ต่อนักสะสมว่าจะไม่มีการพิมพ์ต่อไปอีก


71<br />

Carborundum<br />

เป็นชื่อสิ้นค้าของผงที่ใช้ส าหรับขัดชนิดหนึ่ง<br />

ท าจากสารประกอบที่แข็งของคาร์บอนกับซิลิคอน<br />

(Carbon & Silicon )ใช้ส าหรับการขัดผิวหน้า<br />

หินปูนแม่พิมพ์หิน( Lithography Stones)<br />

Chine Colle<br />

เป็นวิธีใช้กระดาษบางของจีนและญี่ปุนเพื่อการ<br />

พิมพ์ กระดาษนี้เรียบเป็นพิเศษและไวต่อการพิมพ์<br />

แต่ถูกท าขึ้นเพื่อใช้บนกระดาษอื่น ในภาษาฝรั่งเศส<br />

Chine Colle นี้ เราจะทาแปูงเปียกไว้ที่ด้านหลังของ<br />

กระดาษบางก่อนที่จะคว่ าหน้าบนเพลท ที่มีหมึกซึ่ง<br />

วางอยู่บนแท่นพิมพ์ จากนั้นจึงวางกระดาษพิมพ์ซึ่ง<br />

แข็งแรงกว่าทับลงไป เมื่อเราพิมพ์ กระดาษบางจะ<br />

ถูกพิมพ์และเกาะติดกระดาษพิมพ์ในเวลาเดียวกัน<br />

Chop หรือ Chop mark


72<br />

คือ ตราหรือสัญลักษณ์ที่ช่างพิมพ์ ศิลปิน และผู้<br />

จัดพิมพ์ (Print Workshop , Publisher ) ใช้ Chop<br />

จะถูกท าขึ้นเป็นตราประทับ (stamps) หรือแม่พิมพ์<br />

รอยนูน (embossing dies) ส าหรับการพิมพ์ตรา<br />

ภาพพิมพ์ ในกรณีบนภาพพิมพ์ไม่มีที่พอหรือไม่มี<br />

พื้นที่ของกระดาษเหลือ<br />

Colour Trial Proof<br />

การทดลองพิมพ์เพื่อทดสอบสีก่อนที่จะพิมพ์<br />

Edition ภาพทดสอบพิมพ์นี้จะถูกเขียนลงว่า Colour<br />

Trial Proof หรือ c.t.p. ตามด้วยเลขอารบิค หรือ<br />

โรมัน<br />

Desensitizing<br />

ขั้นตอนทางเคมีในการพิมพ์ลิโธกราฟ ซึ่ง<br />

บริเวณที่ไม่มีการเขียนภาพของแม่พิมพ์นั้น ถูกท า<br />

ให้ไม่ติดหมึกโดยการกัดกรดด้วย gum etch (กาว<br />

อารบิคผสมกรด) บนผิวหน้าของแม่พิมพ์


73<br />

Drypoint<br />

เป็นกรรมวิธีของภาพพิมพ์โลหะร่องลึก ซึ่ง<br />

ร่องรอยถูกสร้างขึ้นบนแม่พิมพ์โดยการขูดขีดด้วย<br />

เครื่ีองแหลมคม เครื่องมือนี้สร้างขอบแหลมคม<br />

ออกมา ทั้งเส้นที่ขูดขีดเป็นร่องลึกและขอบเส้นที่ยื่น<br />

นี้จะอุ้มหมึกไว้ เมื่อเช็ดแม่พิมพ์และพิมพ์ เส้นที่ได้จะ<br />

มีความอ่อนนุ่มดูคล้ายก ามะหยี่ โดยปกติจะท า<br />

Dypoint บนแม่พิมพ์ทองแดง และมักท าควบคู่กับ<br />

เทคนิคทางแม่พิมพ์โลหะอื่นๆ เช่น etching และ<br />

aquatint<br />

Dutch Mordant<br />

สารละลายเป็นกรด ใช้กัดแม่พิมพ์ทองแดง<br />

ประกอบด้วยส่วนผสมของน้ ากับไฮโดรคลอริค<br />

(Hydrochloric acid) และเกร็ดโปตัสเซียมคลอเรท<br />

(potassium chloratecrtstals)<br />

B.A.T. ย่อมาจากค าในภาษาฝรั่งเศสว่า “bon ?<br />

turer” = ดี ใช้ได้


74<br />

Edition<br />

ชุดของภาพที่เหมือนกันกับภาพทดลองพิมพ์ชิ้น<br />

ที่เรียกว่า “ right to print” เช่น “Edition 25”<br />

(จ านวนพิมพ์ 25) จะมีภาพพิมพ์ 25 ชิ้น แต่ละชิ้นจะ<br />

มีหมายเลข 1/25 2/25 เรียงล าดับหมายเลขจนถึง<br />

25/25 ชุดของภาพจะถูกเซ็นชื่อ ใส่หมายเลขและลง<br />

วันที่โดยศิลปิน ( ใช้อักษรย่อว่า ed. ) Open<br />

Edition การพิมพ์โดยไม่จ ากัดจ านวนครั้ง แต่ต้อง<br />

ก ากับล าดับครั้งที่พิมพ์ไว้ เช่น 2nd ed.. 3/100=<br />

เป็นงานพิมพ์ชิ้นที่ 3 ในจ านวน 100 ชิ้น ของการ<br />

พิมพ์ครั้งที่ 2<br />

Embossing<br />

กรรมวิธีใดก็ตามที่ใช้สร้างรอยนูนขึ้น หรือรอย<br />

บุ๋มลงบนพื้นผิวเพลท เพื่อท า Embossing plate<br />

เช่น ด้วยเทคนิคของการกัดกรด (etching) การ<br />

ประทับรอย (stamping) การแกะ (carving) หรือ<br />

การหล่อ (casting) อย่างไรก็ตาม วัตถุที่เก็บได้


75<br />

(found objects) แม่พิมพ์นูนขึ้นหรือบุ๋มลงและ<br />

ลูกกลิ้งโลหะซึ่งได้รับการแกะสลักหรือกัดกรดเป็น<br />

ภาพนั้น สามารถน ามาใช้สร้างภาพนูนขึ้น ภาพบุ๋ม<br />

ลงหรือสร้างลวดลายบนกระดาษได้<br />

Engraving<br />

เทคนิคทางแม่พิมพ์โลหะชนิดหนึ่งซึ่งแผ่นโลหะ<br />

ถูกแกะสลักเป็นเส้นด้วยเครื่องมือแกะสลักที่เรียกว่า<br />

Burin (อีกชื่อหนึ่งคือ graver) เราใช้ burin แกะ<br />

แม่พิมพ์ โดยดันให้เครื่องมือท ามุมกับแม่พิมพ์เป็นมุม<br />

องศาต่างกัน และด้วยแรงที่แตกต่างกันทั้งแกะเป็น<br />

แนวล าดับจากเส้นที่ลึกไปสู่เส้นที่ตื้นบางเรียวลง เมื่อ<br />

พิมพ์เส้นที่แกะนี้จะแตกต่างกันในความกว้าง ความ<br />

หนา และความเข้มของเส้น เทคนิคของ engraving<br />

บนโลหะ เป็นของยุคโบราณ ใช้โดยชาวกรีก ชาว<br />

โรมัน และชาวอินทรูเรีย (จากเมือง Etruria เมือง<br />

โบราณในอิตาลี) เพื่อตกแต่งวัสดุสิ่งของ จนกระทั่ง<br />

ราวปี ค.ศ. 1430 แม่พิมพ์แกะสลักนี้เริ่มถูกน ามาใช้<br />

เพื่อท าภาพพิมพ์<br />

Etching


76<br />

เป็นเทคนิคทางแม่พิมพ์โลหะร่องลึก ซึ่งรอยที่<br />

วาดเขียนจะถูกกัดเข้าไปในแม่พิมพ์โลหะโดยการ<br />

ปฏิบัติทางเคมีมากกว่าทางเครื่องมือกลไก วิธีการคือ<br />

ทาตัวกัดกรดเคลือบบนผิวหน้าแม่พิมพ์แล้วท าให้<br />

แห้ง (ยกเว้นการเคลือบขี้ผึ้ง soft-ground ซึ่งจะไม่<br />

แห้ง) จากนั้นใช้เครื่องมือหลายชนิดวาดภาพผ่าน<br />

ตัวกัดกรด เปิดผิวหน้าแม่พิมพ์น าแม่พิมพ์ไปแช่ใน<br />

อ่างน้ ากรด ในทางเคมีน้ ากรดจะละลายโลหะใน<br />

ส่วนที่ถูกเปิดออกให้เป็นร่องลงไปในผิวหน้าแม่พิมพ์<br />

เราสามารถใช้วานิช (vanish) เป็นตัวกันกรด หยุด<br />

การกัดกร่อนของกรดในบริเวณที่เราเลือกเปิดให้<br />

กรดกัดโลหะ เพื่อให้เกิดความลึกที่ตางกัน เทคนิค<br />

etching ถูกใช้ประกอบกับเทคนิคอื่นๆ อยู่เสมอ<br />

วิธีการกัดกรดโลหะใช้ตกแต่งเกราะนั้น เป็นที่รู้จัก<br />

กันดีก่อนคริสต์วรรษที่ 16 ที่ประเทศเยอรมันโดย<br />

Urs Graft ได้ให้ก าเนิดภาพพิมพ์ Etching ยุคแรก<br />

ในปี ค.ศ. 1513<br />

Foul Biting<br />

ในกรรมวิธีเทคนิค Etching การกัดผุหรือรอย<br />

หลุมบนเพลทซึ่งเกิดจากผลของความผิดพลาดใน


77<br />

การลงพื้นที่กับน้ ากรด สิ่งผิดปกตินี้บ่อยครั้งเป็นที่<br />

น่าสนใจของศิลปิน และอาจถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของการพิมพ์ในขั้นสุดท้าย<br />

Gumpi<br />

เส้นใยจากเปลือกในของต้นไม้ชนิดหนึ่ง โดย<br />

ปกติใช้ในการท ากระดาษญี่ปุน ได้มาจากพันธุ์ไม้<br />

เตี้ยตระกูล Thymelaeaceae มีเส้นใยที่ยาวละเอียด<br />

เหนียว แข็งแรง และเป็นมัน นิยมใช้กระดาษ<br />

Gumpi ในการท า Chine Colle<br />

Graining<br />

ในการท าภาพพิมพ์หิน Graining เป็นวิธีการ<br />

เปลี่ยนผิวหน้าของเพลทหรือหินปูนให้เป็นผิวหน้าที่<br />

ประกอบด้วยรูพรุนเล็กๆ จ านวนมาก ซึ่งจ าเป็นต่อ<br />

การอุ้มน้ าและยึดส่วนที่เป็นภาพในกระบวนการพิมพ์<br />

ลิโธกราฟ มีหลายวิธีการที่จะสร้างพื้นผิวหยาบลง<br />

บนแผ่นโลหะ เช่น การขัดด้วยกรรมวิธีทางเคมี การ<br />

พ่นทราย การขัดแบบลูกบอล การขัดด้วยแปรงแห้ง<br />

หรือแปรงเปียก การขัดด้วยแปรงลูกบอล ส่วนการ


78<br />

ขัดแม่พิมพ์หินปูน มีการขัดด้วยมือ หรือการด้วย<br />

เครื่อง ซึ่งต้องใช้น้ ากับผงคาร์บอรันดัม<br />

(carborundum) และเครื่องมือขัดหินเป็นหลัก<br />

เรียกว่า levigator ในปี ค.ศ. 1973 kenneth tyler<br />

ชาวอเมริกันได้ออกแบบเครื่องขัดไฟฟูา ใช้ใน<br />

workshop ของเขา<br />

Hors de Commerce<br />

การพิมพ์นอกเหนือจากการพิมพ์ edition เพื่อ<br />

จุดประสงค์ในการใช้เป็นการส่วนตัวของศิลปินหรือ<br />

ส านักพิมพ์ใช้ตัวอักษรย่อว่า h.c.Presentation<br />

Proof ศิลปินพิมพ์ขึ้นเพื่อมอบให้เพื่อนหรือผู้<br />

ช่วยเหลือในการท างานชิ้นนั้น ชิ้นงานไม่มีอักษรย่อ<br />

หรือตัวเลข นอกเหนือลายเซ็นและค าจารึก<br />

Image Stencil<br />

คือ กระดาษบาง แผ่นโลหะบาง หรือแผ่น<br />

พลาสติกบางที่ถูกตัดออกเป็นช่องและใช้เป็นตัวช่วย<br />

ในการสร้างงาน โดยปกติมันจะแยกส่วนที่เป็น<br />

positive ให้เป็นบริเวณที่ถูกลงสี (ลงสีทะลุผ่านช่อง


79<br />

ที่ตัดออก) ส่วนในการท ากระดาษนั้น เราสามารถใช้<br />

image stencil วางบนตะแกรงท ากระดาษที่มีเยื่อ<br />

กระดาษขาวซึ่งยังเปียกอยู่ แล้ววางเยื่อกระดาษสี<br />

หรือย้อมสี ลงสีผ่านลายฉลุของแผ่น Image Stencil<br />

แผ่นนี้สามารถใช้ส าหรับการท า pochoir ได้ด้วย (ดู<br />

ที่ค าว่า pochoir)<br />

Intaglio<br />

กรรมวิธีของภาพิมพ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งภาพจะถูก<br />

แกะสลักหรือกัดกรดลงในเนื้อแม่พิมพ์โลหะ ด้วย<br />

เทคนิคต่างๆ และเครื่องมือหลายชนิด เราอัดหมึกลง<br />

ไปในร่องรอยของแม่พิมพ์โดยการปูาย การแต้ม<br />

หมึก แล้วเช็ดผิวหน้าของแม่พิมพ์ให้สะอาด หมึกจะ<br />

ติดอยู่ในริองของแม่พิมพ์แรงกดจากแท่นพิมพ์จะท า<br />

ให้กระดาษซับหมึกที่ติดอยู่ตามร่องนี้ขึ้นมา และถ้า<br />

แม่พิมพ์มีขนาดเล็กกว่ากระดาษที่ใช้พิมพ์ จะเกิด<br />

รอยขอบแม่พิมพ์บนกระดาษด้วย (plate mark)<br />

ลักษณะที่เด่นของภาพพิมพ์ชนิดนี้ คือ หมึกพิมพ์ที่<br />

แห้งของภาพจะนูนขึ้นมาจากกระดาษเล็กน้อย ซึ่ง<br />

สามารถตรวจดูได้โดยการสัมผัส หรือมองดูใกล้ๆ


80<br />

วิธีการของ aquatint, engraving, etching,<br />

mezzotintและ dry point คือเทคนิคของ intaglio<br />

Linocut<br />

ภาพพิมพ์นูน (relief print) ในแนววิธีเดียวกับ<br />

ภาพพิมพ์ไม้ (woodcut) วิธีนี้กลายเป็นที่นิยมในต้น<br />

ค.ศ. 1920 แต่ได้รับความสนใจจริงจังภายหลังที่<br />

Henri Matisse ท าภาพพิมพ์ linocut ในปลาย ค.ศ.<br />

1930 ตามด้วย Pablo Picasso ในปี ค.ศ. 1950<br />

แม่พิมพ์ลิโนประกอบด้วยชั้นบางๆของลิโนเลี่ยม (<br />

linoeum) ปะติดบนไม้สามารถแกะแผ่นลิโนเลี่ยมได้<br />

ในทุกทิศทาง เส้นบางๆที่แกะบนผิวหน้ารับหมึกได้<br />

linoeum อาจถูกเตรียมและปฏิบัติเช่นเดียวกัน<br />

แม่พิมพ์ร่องลึก กัดกร่อนได้ด้วยโซเดียมไฮดรอก<br />

ไซด์ ซึ่งสามารถกัดผิวหน้าแผ่น linoleum ให้เกิด<br />

พื้นผิวหยาบได้<br />

Mezzotint


81<br />

เป็นวิธีการท าภาพพิมพ์โลหะร่องลึก (intaglio)<br />

อย่างหนึ่ง ซึ่งผิวหน้าของเพลทจะถูกสลักให้หยาบ<br />

เหมือนกันทั่วเพลท ด้วยเครื่องมือโยกที่มีปลายเป็น<br />

รอยฟ๎นเล็กๆ ที่เรียกว่า rocker วิธีนี้สร้างน้ าหนักบน<br />

เพลทที่ขัดมัน เราไล่น้ าหนักจากเข้มไปอ่อนด้วยการ<br />

ขูดออกและขัดเงา เทคนิค mezzotint ถูกคิดค้นขึ้น<br />

โดย นายทหารชาวเยอรมัน ชื่อ Ludwig von<br />

Siegen ในปีค.ศ.1642<br />

Lithograph<br />

เป็นกระบวนการท าภาพพิมพ์หน้าราบ<br />

(Planography Process) บนพื้นฐานของหลักที่ว่า<br />

ไขมันกับน้ าไม่เข้ากัน คิดค้นขึ้นในปี ค.ศ.1798<br />

โดย Alois Senefe;der ที่เมืองมิวนิค ประเทศ<br />

เยอรมันแม่พิมพ์ท าจากหินปูน จาก บาวาเรีย หรือ<br />

เพลทอะลูมินั่ม ซึ่งถูกขัดให้หยาบมากหรือน้อยเป็น<br />

ระดับต่างๆ กันหลายระดับ บริเวณภาพสามารถถูก


82<br />

สร้างขึ้นโดยดินสอไข เกรยองไข ทุช หรือไขชนิด<br />

ต่างๆ แลคเกอร์ หรือวัสดุซึ่งประกอบขึ้นโดยทางเคมี<br />

เคมีที่ใช้ในการถ่ายรูป และกรรมวิธี “transfer”<br />

ภายหลังจากที่วาดภาพลงบนหินหรือเพลท<br />

สารละลายของกาวอารบิค (gum arabic) และกรด<br />

ไนตริค จะถูกทาลงบนผิวหน้าแม่พิมพ์ให้ทั่ว โดย<br />

ทางเคมีจะก่อให้เกิดบริเวณที่ไม่เขียนภาพให้อุ้มน้ า<br />

และบริเวณที่เป็นภาพให้รับหมึก การปฏิบัตินี้จะท า<br />

ให้ล่วงไปได้ครั้งหนึ่ง เราจะเก็บเพลทหรือหินปูนไว้<br />

โดยมีกาวอารบิคเคลือบป็นชั้นบางๆ บนผิวหน้าและ<br />

แห้งอยู่เสมอ ก่อนการพิมพ์กาวบางๆ นี้จะถูกล้าง<br />

ออกด้วยน้ า แม่พิมพ์จะถูกเช็ดด้วยน้ าอย่างต่อเนื่อง<br />

เพื่อลูกกลิ้งที่มีหมึกเชื้อน้ ามันติดอยู่นั้น สามารถกลิ้ง<br />

บนผิวหน้าของแม่พิมพ์ จนกระทั่งบริเวณที่เป็นภาพ<br />

จะติดหมึกเพียงพอ วาง กระดาษบนแม่พิมพ์นั้นแล้ว<br />

เข้าแท่นลิโธกราฟเพื่อพิมพ์ภาพ ผ่านแรงกดรีดของ<br />

ไม้ครูด (scraper bar) แรงกดรีดนี้จะท าให้กระดาษ<br />

ถอนหมึกพิมพ์ขึ้นมา<br />

Mixed – Media (ส าหรับการพิมพ์)<br />

ใช้ในการอธิบายภาพพิมพ์ที่ถูกสร้างด้วย<br />

เทคนิคทางภาพพิมพ์หลายเทคนิคร่วมกัน เช่น การ


83<br />

พิมพ์ชิลค์สกรีน ภาพพิมพ์หิน การพิมพ์รอยนูน<br />

วิธีการปะติด (collage) ลงสีด้วยมือโดยตรง(handcolouring)<br />

และการเย็บติด ภาพพิมพ์เทคนิคผสมนี้<br />

อาจพิมพ์เป็น edition หรือพิมพ์ขึ้นเพียงชิ้นเดียว<br />

Monoprint<br />

คือภาพพิมพ์ที่ถูกดัดแปลงโดยการลงสีบน<br />

กระดาษก่อนพิมพ์จากแม่พิมพ์หรือโดยการ<br />

เปลี่ยนแปลงแต่ละรอยพิมพ์ระหว่างการพิมพ์หรือ<br />

ภายหลังจากการพิมพ์ภาพ monoprint ได้ภาพ<br />

ทั้งหมดหรือบางส่วนจากแม่พิมพ์ แต่ทว่าส าหรับ<br />

monoprint แล้ว ภาพนั้นจะถูกรายโดยตรงลงบน<br />

แม่พิมพ์แล้วพิมพ์ลงบนกระดาษ บ่อยครั้งที่ภาพพิมพ์<br />

monoprint จะลงสีด้วย (hand- colouring) และอาจ<br />

รวมถึงการปะติด (collage) ด้วย<br />

Monotype<br />

เป็นภาพที่มีลักษณะพิเศษ พิมพ์จากเพลทที่ขัด<br />

มัน กระจก แผ่นโลหะ แผ่นพลาสติก หรือวัสดุอื่นๆ<br />

โดยการกลิ้งหมึกหรือระบายหมึกบนเพลทนั้นๆ แล้ว


84<br />

น าไปพิมพ์ กรรมวิธีนี้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Giovanni<br />

Gastiglione ในปี ค.ศ.1640<br />

Pochoir<br />

วิธีการลงสีโดยตรง (hand-colouring) บนภาพ<br />

พิมพ์ ด้วยสี หมึก เกรยอง หรือพลาสเทล (pastels)<br />

ผ่านแผ่นฉลุ (stencil) ด้วยการใช้แปรงพู่กันระบาย<br />

สีหรือพ่นสี แผ่นฉลุมักท าด้วยกระดาษบางที่เคลือบ<br />

มันกระดาษหนา พลาสติก หรือแผ่นโลหะที่ถูกตัด<br />

เป็นช่อง หรืออาจกัดกรดบนแผ่นโลหะบางให้เป็น<br />

ช่องลวดลายได้เช่นกัน “ Pochoir ” เป็นค าภาษา<br />

ฝรั่งเศสส าหรับ “ Stencil ”<br />

Printer's Proof<br />

เป็นภาพพิมพ์ชิ้นส าหรับช่างพิมพ์ (printer) ผู้<br />

ท างานร่วมกับศิลปินและผู้อ านวยการ workshop<br />

ในการสร้างสรรค์และการพิมพ์ edition (ใช้อัษรย่อ<br />

ว่า p.p. )


85<br />

Progressive Proofs<br />

คือการพิมพ์เป็นหลักฐานตามล าดับแบบอย่าง<br />

ของการพิมพ์ Edition ที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์งาน<br />

จากแม่พิมพ์หินปูน เพลท หรือบล็อกสกรีนที่มี 2<br />

แม่พิมพ์ หรือมากกว่านั้นการทดลองพิมพ์นี้โดยปกติ<br />

รับภาระบันทึกโดยศิลปินหรือช่างพิมพ์ ภาพพิมพ์นี้<br />

จะใส่หมายเลขอารบิคและอักษร เช่น 1a 1b 1c 2a<br />

2b เป็นต้น<br />

Proof<br />

เป็นค าศัพท์ค าหนึ่งทั่วๆไป ใช้กับการพิมพ์ก่อน<br />

การพิมพ์จ านวนพิมพ์ (edition) เพื่อทดสอบความ<br />

คืบหน้าของภาพในการลงหมึกและความสามารถ<br />

ทางการพิมพ์บนกระดาษชนิดต่างๆ<br />

Replacement Proof<br />

งานพิมพ์ชิ้นส ารอง ส าหรับกรณีที่มีงานพิมพ์ใน<br />

edition ชิ้นใดชิ้นหนึ่งเกิดความเสียหาย เช่นจากา


86<br />

กรขนส่ง โดยจะไม่เขียนอักษรย่อหรือเครื่องหมาย<br />

ใดๆ ไว้จนกว่าจะน าออกใช้งาน<br />

Registration<br />

ต าแหน่งการวางแม่พิมพ์ที่ถูกต้องที่จะสัมพันธ์<br />

กับแม่พิมพ์อื่น หรือสัมพันธ์กับต าแหน่งการวาง<br />

กระดาษพิมพ์ Registration อย่างง่าย ประกอบด้วย<br />

การสร้างรอยภาพ (image) จากแม่พิมพ์ลงบน<br />

กระดาษไขเพื่อจัดวางต าแหน่งของภาพที่จะพิมพ์ลง<br />

กระดาษ โดยท าเครื่องหมาย (registration mark)<br />

นอกจากนี้การท า registration มีหลายประเภท เช่น<br />

registration needles และ registration pin<br />

Relief Printing<br />

กระบวนการทางภาพพิมพ์ซึ่งภาพถูกสร้างโดย<br />

บริเวณที่ไม่ถูกแกะสลัก หรือผิวหน้าที่ไม่ถูกกระท า<br />

ของแม่พิมพ์ด้วยการใช้ลูกกลิ้งเพื่อลงหมึกบน<br />

แม่พิมพ์หรือด้วยเครื่องมือชนิดอื่น รอยตัดหรือร่อง<br />

ลึกเป็นบริเวณที่ปกติจะไม่พิมพ์ โดยเหตุที่มันเป็น<br />

ซอกเป็นช่อง และยากต่อการลงหมึก ถึงกระนั้น<br />

ระหว่างที่กระดาษพิมพ์ถูกกดลงในบริเวณที่เป็นร่อง


87<br />

ลึกเหล่านี้จะสร้างรอยนูน (emboss) ขึ้น บริเวณที่<br />

เป็นร่องลึกจะพิมพ์ได้เมื่อแม่พิมพ์ถูกลงหมึกในวิธี<br />

เดียวกับแม่พิมพ์ etching ซึ่งผิวหน้าจะถูกเช็ดให้<br />

สะอาด และเหลือหมึกไว้บนร่องลึก woodcut และ<br />

linocut โดยปกติถูกใช้เพื่อการพิมพ์ภาพพิมพ์นูน<br />

(Relief Printing)<br />

Sandblasted Plate<br />

กระบวนการหนึ่งที่ถูกใช้เพื่อเตรียมผิวหน้าของ<br />

แม่พิมพ์โลหะด้วยการพ่นทรายให้เกิดลักษณะพื้นผิว<br />

(texture) ซึ่งคล้ายกับเทคนิคการท า aquatint หรือ<br />

mezzotint<br />

Screen print


88<br />

ภาพพิมพ์ชนิดหนึ่งซึ่งท าโดยเทคนิคของ<br />

Stencil อย่างหนึ่ง ใช้ผ้าไหมหรือใยสังเคราะห์ขึง<br />

ตึงบนกรอบเฟรม ส่วนที่ไม่ต้องการให้เพิดถาพของ<br />

แม่พิมพ์คือส่วนที่ผ้าถูกกันไม่ให้สีผ่านได้ ส่วนที่เกิด<br />

ภาพคือ ส่วนที่ผ้าถูกปิดให้หมึกหรือสีทะลุผ่านได้<br />

โดยการปาดสีด้วยยางปาด (squeegee) การกัน<br />

ส่วนต่างๆ ของผ้าไม่ให้ทะลุผ่านนี้ สามารถท าได้ทั้ง<br />

เขียนโดยตรงลงบนผ้า (เช่นด้วย แอสฟ๎ลตัมเหลว<br />

หรือดินสอไข) และการใช้กระบวนการฉายแสง (ใช้<br />

น้ ายาไวแสงผสมกับกาวอัด)<br />

Serigraph<br />

เป็นชื่อที่ถูกสร้างขึ้นส าหรับภาพพิมพ์ซิลค์สกรีน<br />

ในช่วงปลายทศวรรษ 1930 ในประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกาเกียรติยศส าหรับชื่อและความสนใจ<br />

ใหม่ๆ มากมายในวิธีการนี้ตกเป็นของ Anthony<br />

Velonis จิตรกรและนักออกแบบ เขาเป็นผู้น าแห่ง<br />

สันนิบาตผู้สนับสนุนโครงการศิลปะเพื่อการพิมพ์<br />

สกรีน ภายใต้ WorksProject Administration<br />

(wpa) นักประวัติศาสตร์ศิลป์ีและผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์


89<br />

ชื่อ Carl Zigrosser น าค าศัพท์ใหม่นี้มาใช้ในการ<br />

พยายามแยกแยะการพิมพ์สกรีนทางวิจิตรศิลป์ออก<br />

จากการพิมพ์ทางพาณิชย์ศิลป์<br />

Silkscreen<br />

เป็นชื่อดั้งเดิมถูกใช้ในสหรัฐอเมริกาส าหรับการ<br />

พิมพ์สกรีน นับแต่ตาข่ายไหมแทบจะถูกแทนที่โดย<br />

ตาข่ายใยสังเคราะห์อย่างสิ้นเชิง ชื่อนี้จึงถูก<br />

น ามาใช้แบบผิดๆ และล้าสมัย<br />

Spit Bite<br />

เป็นวิธีหนึ่งในการกัดกรดท า Auatint ศิลปิน<br />

ระบายกรดโดยตรงลงบนเพลทที่เตรียมไว้ส าหรับ<br />

การท า Aquatint (เช่นการโรยผงยางสน) กรดจะกัด<br />

บริเวณใดก็ตามที่มันสัมผัส มันกัดลึกมากหรือน้อย<br />

ขึ้นอยู่กับระยะเวลาว่านานเท่าใด ที่กรดถูกทิ้งให้อยู่<br />

ในจุดๆ หนึ่ง และทากรดเท่าใด ศิลปินชอบใช้<br />

วิธีการของ spit bite aquatint เพราะพวกเขา<br />

สามารถสาดพรมน้ ากรดหรือทาด้วยแปรงได้<br />

โดยตรง spit bite ให้ภาพพิมพ์ที่มีลักษณะคล้าย<br />

ภาพเขียนสีน้ า


90<br />

State Print, State Proofs หรือ studio<br />

Proofs อักษรย่อ St.p., S.P., St.PR.<br />

ภาพทดลองพิมพ์ (proof) ท าเพื่อบันทึกความ<br />

คืบหน้าระหว่างขั้นตอนการทดลองพิมพ์ (proofing<br />

process) หรือภาพพิมพ์ที่แสดงถึงความคืบหน้าของ<br />

งานบนแม่พิมพ์ ทั้งที่ท าโดย<br />

ศิลปินหรือช่างพิมพ์ซึ่งอาจกลายเป็นภาพ state<br />

print ได้ ในการพิมพ์สีอาจได้ state print จากการ<br />

พิมพ์เพียงบางแม่พิมพ์หรือทั้งหมด และสีสันจากภพ<br />

ที่ก าหนดจ านวนพิมพ์แล้ว แม่พิมพ์ที่ีใช้ในการพิมพ์<br />

หรือสีสันก็เช่นเดียวกับล าดับในการพิมพ์ สามารถ<br />

ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงปรับปรุงได้ทั้งแม่พิมพ์ใหม่ก็<br />

สามารถน ามาใช้ได้ด้วยเพื่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข<br />

ภาพต่อไป<br />

Tympan<br />

คือแผ่นพลาสติกที่วางอยู่ระหว่างไม้ครูด<br />

(scraper bar) และกระดาษพิมพ์ที่วางบนแม่พิมพ์


91<br />

ในการพิมพ์ลิโธกราฟ แท่นพิมพ์ถูกออกแบบเพื่อให้<br />

ไม้ครูดถ่ายแรงกดโดยตรงผ่านแผ่น tympan ไปสู่<br />

กระดาษและพิมพ์บนแท่นพิมพ์ tympan จะถูกทา<br />

ด้วยจารบีเพื่อให้มั่นใจว่าไม้ครูดจะเลื่อนไปอย่าง<br />

ราบรื่นไม่หยุดกลางแม่พิมพ์<br />

Woodcut<br />

วิธีการหนึ่งของการพิมพ์นูน (relief printing)<br />

ซึ่งไม้เป็นแม่พิมพ์และใช้เครื่องมือแกะหลายชนิด<br />

เครื่องมือไฟฟูา หรือเครื่องตัดแบบเลเซอร์ (Laser<br />

cutting machines) เพื่อแกะแม่พิมพ์ไม้ ภาพพิมพ์<br />

ไม้เป็นภาพพิมพ์แรกที่เป็นที่รู้จัก ภาพพิมพ์ไม้และ<br />

ภาพประกอบยุคแรกสุดที่มีอยู่นั้นถูกท าขึ้นใน<br />

ประเทศจีนจากพระไตรปิฎกในศาสนาพุทธ ในปี<br />

ค.ศ. 868 กรรมวิธีนี้ได้เข้ามาถึงในทวีปยุโรป ใน<br />

คริสต์วรรษที่ 13 แต่ถูกใช้เพียงเพื่อการพิมพ์สิ่งทอ<br />

เท่านั้น ในปลายคริสต์วรรษที่ 14 ภาพพิมพ์ไม้<br />

กระดานเป็นที่รู้จักครั้งแรกในประเทศตะวันตก<br />

หมายเหตุ


92<br />

Plate size<br />

Image size<br />

ขนาดของแผ่นแม่พิมพ์<br />

ขนาดของภาพผลงาน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!