06.11.2014 Views

การอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างง่าย by วินิตย์

การอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างง่าย by วินิตย์

การอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างง่าย by วินิตย์

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

EKG ยาขมส าหรับพยาบาลจริงหรือ?<br />

การอ่านคลื ่นไฟฟ้าหัวใจอย่างง่าย<br />

By <strong>วินิตย์</strong>


ความรู้พื ้นฐานเกี ่ยวกับคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ<br />

(Basic ECG)<br />

โดย<br />

พยาบาล <strong>วินิตย์</strong> หลงละเลิง<br />

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่) , Master of Nursing Science Program in Nursing (M.N.S.)<br />

วทม. เพศศาสตร์, Master of Science Program in Human Sexuality<br />

ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (สาขาการพยาบาลอายุรศาสตร์-ศัลยศาสตร์), Advanced Practiced Nurse (APN)<br />

กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ


วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้<br />

1.มีความรู้ความเข้าใจและสามารถอ่าน ECG ขั ้นพื ้นฐานได้อย่างถูกต้อง<br />

2. มีความรู้ความเข้าใจสามารถอ่านคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจเต้นผิดจังหวะที ่<br />

ส าคัญได้อย่างถูกต้อง<br />

3.สามารถอธิบายแนวทางการช่วยเหลือรักษาพยาบาลผู้ป่วยในภาวะ<br />

วิกฤตที ่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเช่น AF,SVT, VF, VT, AF,<br />

Asystole ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


ความหมาย EKG<br />

• EKG คือ การบันทึก Electrical impulses ที ่ไป<br />

กระตุ้นหัวใจให้ท างานซึ ่งจะมีกระแสไฟฟ้ าเกิดขึ ้นขณะ<br />

หัวใจบีบตัวและจะแผ่กระจายไปยังผิวหนัง การน า<br />

Electrode<br />

ไปวางที ่ผิวหนังแล้วต่อเครื ่องมือที ่พัฒนามา<br />

ใช้บันทึกคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ โดยเฉพาะจะสามารถบันทึก<br />

คลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ ที ่เกิดขึ ้นได้


Anatomy and Physiology<br />

of heart


แหล่งก าเนิดคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ


ลักษณะECG ที่เกิดขึ้น


เกิดคลื่นไฟฟ้ า<br />

หัวใจได้อย่างไร?


คลื ่นไฟฟ้ าที ่เกิด<br />

Depolarize และ<br />

Repolarize ของ<br />

หัวใจบันทึกได้<br />

จากการวาง lead<br />

ต าแหน่งต่างกัน


การแปรผลคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ<br />

(Interpretation of<br />

electrocardiogram)<br />

• สิ ่งส าคัญในการแปรคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ คือ<br />

• 1.อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart rate)<br />

• 2.จังหวะการเต้นของหัวใจ (Rhythm)<br />

• 3.การน าสัญญาณไฟฟ้ า (Conduction)<br />

• 4.รูปร่างและต าแหน่ง (Configuration and location)<br />

(Hartshorn,Lamborn & Noll,1993 ; Master 1982)


การแปลผลคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ<br />

• อัตรา(Rate) การเต้นของหัวใจ<br />

อัตราการเต้นของหัวใจปกติอยู่ในช่วง 60 – 100 ครั ้ง/นาที<br />

ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจ น้อยกว่า 60 ครั ้ง/นาที เรียกว่า bradycardia<br />

ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจ มากกว่า100 ครั ้ง/นาที เรียกว่า tachycardia<br />

การอ่านอัตราการเต้นของหัวใจให้ดูที ่ช่องแบ่งบนกระดาษบันทึกคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจและ<br />

ความเร็วของกระดาษ (paper speed) เครื ่องบันทึกคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจใช้ความเร็วกระดาษ<br />

ได้ 2 ขนาด คือ 50 มม./ วินาที และ 25 มม./วินาที การบันทึกโดยทั่วไปจะใช้ความเร็ว<br />

กระดาษ 25 มม./วินาที<br />

1 ช่องเล็ก(1 มม.)ของกระดาษบันทึกคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจมีค่าเท่ากับ 0.04 วินาที<br />

5 ช่องเล็ก หรือ 1ช่องใหญ่ ( 5 มม.) เท่ากับ 0.2 วินาที<br />

ความสูงแต่ละช่องเล็กคิดเป็นความแรงของกระแสไฟฟ้ าเท่ากับ 0.1 มิลลิโวล์ท


วิธีการอ่านอัตราการเต้นของหัวใจ<br />

สูตร<br />

1.1 ใช้เทียบบัญญัติไตรยางค์ โดย ดูช่วงระหว่าง R ถึง R ที ่อยู่<br />

ถัดไป(R-R interval) ว่าห่างกันกี ่ช่อง ซึ ่งจะได้ออกมาเป็น<br />

อัตราการเต้นของหัวใจ= 1500 / จ านวนช่องเล็ก= ? ครั ้ง/ นาที<br />

หรือ = 300 / จ านวนช่องใหญ่= ? ครั ้ง/ นาที<br />

1.2 ใช้การประมาณ โดยดูช่วง R-R interval ว่าห่างกันกี ่ช่องใหญ่<br />

แล้วจ าตัวเลข 300, 150, 100 และ 75, 60, 50 ส าหรับช่วงห่าง<br />

1, 2, 3 และ4, 5, 6 ช่องใหญ่ไว้ จะท าให้สามารถบอกอัตราการ<br />

เต้นของหัวใจได้โดยประมาณอย่างรวดเร็ว


การท าคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ<br />

การวาง electrode ตามต าแหน่งต่างๆบนหน้าอกท าให้ได้ chest<br />

lead หรือ precordial lead V1-V6<br />

LeadV1 วาง exploring electrode ที ่ช่องระหว่างกระดูกซี ่โครงช่อง<br />

ที ่4ทางด้านขวา ติดกับขอบกระดูหน้าอก<br />

LeadV2 วางที ่ช่องระหว่างกระดูกซี ่โครงช่องที ่4 ทางด้านช้าย ติดกับ<br />

ขอบกระดูหน้าอก<br />

LeadV3 อยู่ กึ ่งกลางระหว่างV2 และV4 พอดี


Lead V4 อยู่บนเส้นกึ ่งกลางกระดูกไหปลาร้า(mid-clavicular<br />

line) ในช่องระหว่างกระดูกซี ่โครงช่องที ่5<br />

Lead V5 อยู่บนจุดซึ ่งตัดกันระหว่างเส้น anterior axillary line<br />

กับเส้นขนาน ( horizontal line) ที ่ลากจาก V4<br />

Lead V6 อยู่บนจุดซึ ่งตัดกันระหว่างเส้น mid- axillary line กับ<br />

เส้นขนาน ที ่ลากจาก V4 ไป


ECG 12Leads


RA<br />

LA inactive<br />

RA<br />

LA Ref<br />

LL<br />

Ref<br />

LL<br />

Three Lead System<br />

Five Lead System


แบบฝึ กหัดที่1<br />

ECG ดังต่อไปนี้มีอัตราการเต้นของหัวใจเท่าไร ?


1.<br />

2.


ความหมายและสาเหตุของหัวใจเต้นผิดจังหวะ<br />

• ค าว่าหัวใจเต้นผิดจังหวะมาจากภาษาอังกฤษว่า “ dysrhythmia” ซึ ่งหมายถึง<br />

ภาวะที ่หัวใจเต้นล าบากหรือมีความผิดปกติของจังหวะการเต้นของหัวใจ ใน<br />

บางครั ้งอาจจะใช้ค าว่า “arrhythmia” แทนในความหมายเดียวกัน แต่<br />

ความหมายที ่แท้จริงของ arrhythmia คือ ไม่มีจังหวะ<br />

(Hartshorn,Lamborn & Noll,1993 อ้างใน อุไร , ทิพมาศและเพลิน<br />

พิศ,2544)<br />

• ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นภาวะที ่เกิดจากการรบกวนการสร้าง<br />

สัญญาณไฟฟ้ าหรือมีการขัดขวางการน าสัญญาณไฟฟ้ าภายในระบบการน า<br />

สัญญาณไฟฟ้ าของหัวใจ (Meltzer,Pinneo & Kitchell,1983)


สาเหตุของหัวใจเต้นผิดจังหวะ<br />

สาเหตุของหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีดังนี ้ (Johanson,1985)<br />

• 1.สาเหตุที ่หัวใจโดยตรง ได้แก่ กล้ามเนื ้อหัวใจขาดเลือด<br />

ตายหัวใจอักเสบ ลิ ้นไมตรัลตีบ หัวใจล้มเหลว และภายลังการ<br />

ผ่าตัดหัวใจ<br />

• 2.สาเหตุภายนอกหัวใจ ได้แก่ ภาวะเสียสมดุลอิเล็คโตรลัยท์<br />

และกรด-ด่าง ออกซิเจนต ่า คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง ช็อก ประสาท<br />

อัตโนมัติท างานผิดปกติ ยา อาหาร ชา กาแฟ บุหรี ่ การพักผ่อน<br />

ไม่เพียงพอ โรคอื ่นๆ ได้แก่ ไทรอยด์เป็นพิษ


คลื ่นไฟฟ้ าหัวใจปกติ (Normal electrocardiogram)<br />

Normal sinus rhythm<br />

คลื ่น P คือ คลื ่นที ่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจ ห้องบน( Atrial Depolarization )<br />

คลื ่น QRS complex คือ คลื ่นที ่เกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง<br />

คลื ่น T คือ คลื ่นที ่เกิดจากระยะพักของหัวใจห้องล่าง


•คลื่น P เกิดจากดีโพลาไรเซชั่นของเอเตรียม โดยปกติลักษณะของคลื่น P<br />

จะกลม มีความสูงไม่เกิน 3 mm. กว้างไม่เกิน 2.5 mm. หรือใช้เวลา<br />

0.08 – 0.10 sec.


• ช่วง PR บอกถึงเวลาของการน าสัญญาณไฟฟ้ าจากเอเตรียมไปยังเวนตริ<br />

เคิล ซึ ่งเป็นช่วงเวลาตั ้งแต่สัญญาณไฟฟ้ าถูกส่งออกจาก SA node ผ่าน<br />

เอเตรียมและ AV node ไปยังเวนตริเคิล ดังนั ้นช่วง P-R จึงวัดได้จาก<br />

คลื ่น P จนถึงจุดเริ ่มต้นของคลื ่น QRS ปกติใช้เวลาไม่เกิน 0.12 – 0.20<br />

sec. หรือกว้างไม่เกิน 5 mm.


• คลื ่น Q เป็นคลื ่นลบคลื ่นแรกที ่ตามหลังคลื ่น P และช่วง P – R อาจจะมีหรือไม่มีก็<br />

ได้ ความกว้างของคลื ่น Q ปกติไม่เกิน 1 mm. หรือ 0.04 sec. และสูงไม่เกิน 2<br />

mm. และความสูงต้องน้อยกว่า 1/3 ของความสูงของคลื ่น R<br />

• คลื ่น R เป็นคลื ่นบวกคลื ่นแรกที ่ตามหลังคลื ่น Q ในกรณีที ่ไม่มีคลื ่น Q จะพบว่า<br />

คลื ่น R เป็นคลื ่นบวกคลื ่นแรกที ่ตามหลังช่วง<br />

P – R


่<br />

• คลื ่น S เป็นคลื ่นลบคลื ่นแรกที ่ตามหลังคลื ่น R คลื ่น QRS บอกถึงดีโพลาไรเซชั่น<br />

ของเวนตริเคิล ปกติใช้เวลา 0.06 – 0.12 sec. หรือกว้างไม่เกิน 3 mm.<br />

• คลื ่น S-T เป็นส่วนที ่อยู่ระหว่างจุดสิ ้นสุดของคลื ่น QRS และจุดเริ ่มต้นของคลื ่น T<br />

คือช่วงเวลาที ่รีโพลาไรเซชั่นจะเริ ่มขึ ้น ระยะนี ้จะไม่มีความแตกต่างของประจุไฟฟ้ าที<br />

ขั ้วบวกและขั ้วลบ จึงบันทึกได้เป็นเส้นราบ (Isoelectric line)


คลื ่น T เกิดจากรีโพลาไรเซชั่นของเวนตริเคิลเป็นคลื ่นที ่ตามหลังคลื ่น S และส่วน S-T ปกติใช้เวลาไม่เกิน<br />

0.16 sec. และสูงไม่เกิน 10 mm. ในขั ้วต่อทรวงอก<br />

ช่วง Q-T วัดจากจุดเริ ่มต้นของคลื ่น QRS จนถึงจุดสิ ้นสุดของคลื ่น T เป็นคลื ่นไฟฟ้ าที ่วัดได้ในช่วงที ่เวน<br />

ตริเคิลก าลังบีบตัว ช่วง Q-T ในคนปกติแปรไปตามอัตราการเต้นของหัวใจ<br />

คลื ่น U เป็นคลื ่นบวกตามหลังคลื ่น T ปกติพบได้น้อย คลื ่นนี ้จะสูงเด่นชัดเมื ่อมีระดับโปแตสเซียมใน<br />

เลือดต ่า หรือเมื ่อเวนตริเคิลมีขนาดขยายโตขึ ้น


ความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ<br />

1<br />

2<br />

3


แบบฝึ กหัดที่ 2<br />

รูปECG เหล่านี้มีความผิดปกติอย่างไร?


กล้ามเนื่อหัวใจที่ถูก<br />

กระทบกระเทือน<br />

(wall affected)<br />

สรุปวิธีการระบุต าแหน่งกล้ามเนื ้ อหัวใจตาย ( Locating myocardial damage)<br />

ตารางเปรียบเทียบแสดงลักษณะ EKG ในภาวะ Acute MI ระบุต าแหน่งกล้ามเนื ้ อหัวใจถูกท าลาย<br />

และการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( Loeb 1990 : 140 )<br />

EKG<br />

(lead)<br />

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับ EKG<br />

( EKG changes)<br />

ส่วนของหลอดเลือด<br />

โคโรนารีที่เกี่ยวข้อง<br />

( Artery involved)<br />

การเปลี่ยนแปลงทางตรง<br />

ข้ามที่เกิดร่วมด้วย<br />

(Reciprocal changes<br />

Inferior (diaphragmatic) II,III,AVF Q,ST,T Right coronary artery I, AVL<br />

Lateral I,AVL,V 5 , V 6 Q,ST,T Circumflex,branch of left anterior<br />

descending <br />

Anterior V 1 , V 2<br />

V 3 , V 4 , I, AVL<br />

V 1 , V 2<br />

Q,ST,T,loss of R wave progression Left coronary artery II, III, AVF<br />

Posterior V 1 , V 2 None RCA,circumflex R greater than S,ST<br />

depression ,elevated T<br />

wave<br />

Apical V 5 , V 6<br />

V 3 , V 4<br />

Anterolateral V 4 , V 5 , V 6,<br />

I,AVL<br />

Q,ST,T,loss of R wave progression LAD ,RCA None<br />

Q,ST,T LAD,circumflex II, III, AVF<br />

Anteroseptal V 1 , V 2<br />

V 3<br />

Q,ST,T,loss of R wave in V 1 LAD None


ลักษณะคลื่นไฟฟ้ าหัวใจที่ปกติ<br />

normal sinus rhythm (NSR)


ความผิดปกติที ่มีจุดก าเนิดจาก SA node<br />

1.หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ (Sinus tachycardia)<br />

เกิดจาก SA node ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ าในอัตราเกิน 100<br />

ครั ้ง/นาที (ประมาณ 100 – 150 ครั ้ง/นาที) ลักษณะของ<br />

คลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้จะเหมือนกับคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจจังหวะปกติ<br />

(Normal sinus rhythm) ยกเว้นอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว<br />

กว่า 100 ครั ้ง/นาที


หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ (Sinus tachycardia)


HR > 150 /min<br />

Supraventricular<br />

tachycardia (SVT)


• อาการ จะท าให้หัวใจเต้นเร็ว ปกติจะไม่มีอันตราย แต่ในผู้ป่วยที ่มี<br />

โรคหัวใจบางชนิดร่วม ท าให้อาการรุนแรงมากขึ ้นได้<br />

• การรักษา ให้ยานอนหลับ ยา Digitalis หรือ Inderal กรณีที ่สาเหตุ<br />

จากต่อมไทรอยด์เป็นพิษ<br />

• การพยาบาล<br />

- จับชีพจร<br />

- ต้องหาสาเหตุร่วม เช่น ภาวะที ่มีการออกก าลังกาย มีอารมณ์ตื ่นเต้น<br />

ตกใจ เจ็บปวด มีไข้ มีภาวะเลือดออก ตกเลือด ช็อก<br />

แก้ที ่สาเหตุ<br />

- ต้องประเมินว่าผู้ป่วยได้รับยาที ่ท าให้หัวใจเต้นเร็วหรือไม่ เช่น<br />

ยา Aminophylline , Dopamine ,Epinephrine


การพยาบาล(ต่อ)<br />

Hydralazine ,Atropine หรือไม่<br />

- มีโรคประจ าตัวเกี ่ยวกับหัวใจอยู่ก่อนหรือไม่<br />

- ยาที ่ใช้จะเป็นยาลดอัตราการเต้นของหัวใจ ทั ้งcalcium<br />

channel blocker ( Verapamil ) และbeta blocker<br />

( Propanolol)


2.หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ (Sinus bradycardia)<br />

• เกิดจาก SA node ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ าในอัตราน้อยกว่า 60<br />

ครั ้ง/นาที (ประมาณ 40 – 60 ครั ้ง/นาที) ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ า<br />

หัวใจชนิดนี ้จะเหมือนกับคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจจังหวะปกติ ยกเว้นอัตรา<br />

การเต้นของหัวใจช้ากว่า 60 ครั ้ง/นาที


• ภาพแสดง หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ (Sinus bradycardia)


3.หัวใจเต้นไม่สม ่าเสมอ (Sinus arrhythmia)<br />

• หมายถึง สัญญาณเริ ่มที ่ SA node แต่อัตรา<br />

การปล่อยสัญญาณไม่คงที ่ บางครั ้งเร็วกว่า<br />

ก าหนด บางครั ้งช้ากว่าก าหนด สลับกัน<br />

• การรักษา<br />

-ไม่ต้องรักษา


• ภาพแสดง หัวใจเต้นไม่สม ่าเสมอ (Sinus arrhythmia)


Sinus arrhythmia


ความผิดปกติที ่มีจุดก าเนิดจากเอเตรียม<br />

1. เอเตรียมเต้นก่อนจังหวะ (Premature atrial contraction)<br />

เกิดจากมีจุดก าเนิดไฟฟ้ าในเอเตรียมท าหน้าที ่แทน SA node บาง<br />

จังหวะท าให้ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ าก่อนที ่ SA node จะท างานลักษณะ<br />

ของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้จะมีบางจังหวะที ่เกิดเร็วกว่าจังหวะอื ่นๆท าให้<br />

จังหวะไม่สม ่าเสมอ แต่อัตราการเต้นของหัวใจมักจะปกติ คลื ่น P ที ่เกิด<br />

จากจุดก าเนิดไฟฟ้ าจากเอเตรียมจะผิดปกติ ซึ ่งจะแตกต่างจากคลื ่น P<br />

อื ่นๆ ที ่เกิดจากจุดก าเนิดไฟฟ้ าจาก SA node ส าหรับช่วง P-R อาจจะ<br />

ปกติ สั ้นหรือยาวกว่าปกติก็ได้


และคลื ่น QRS ปกติเนื ่องจากจุดก าเนิดไฟฟ้ าอยู่เหนือเวนตริเคิล<br />

อาจพบในคนปกติและในโรคหัวใจรูมาติก โรคหัวใจขาดเลือด<br />

และต่อมไทรอยด์ท างานมากผิดปกติ การแก้ไขอาจไม่ต้องรักษา<br />

หรือลดสาเหตุของความเครียด ถ้ามีโรคหัวใจอยู่อาจให้พวก<br />

Digitalis,Propanolol


• ภาพแสดง เอเตรียลเต้นก่อนจังหวะ<br />

(Premature atrial contraction)


่<br />

่<br />

2. เอเตรียลฟลัตเตอร์ (Atrial flutter)<br />

• เกิดจากมีจุดก าเนิดไฟฟ้ าอื ่นภายในผนังของเอเตรียม ท าหน้าที ่แทน SA node ซึ ่งจะ<br />

กระตุ้นให้เอเตรียมบีบตัว 250 – 400 ครั ้ง/นาที (ส่วนใหญ่มักจะเท่ากับ 300 ครั ้ง/นาที)<br />

ส่วน AV node ไม่สามารถรับสัญญาณไฟฟ้ าได้ทุกจังหวะแต่อาจจะรับได้ในจังหวะที<br />

2,3 หรือ 4 ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้จะมีลักษณะเด่นคือคลื ่น P มีลักษณะ<br />

หยักคล้ายฟันเลื ่อย ซึ ่งเรียกว่าคลื ่น F แทนคลื ่น P อัตราการเต้นของเอเตรียม : เวนตริ<br />

เคิล มักจะเท่ากับ 2:1 (เอเตรียมบีบตัว 300 ครั ้ง/นาที เวนตริเคิลบีบตัว 150 ครั ้ง/นาที)<br />

จังหวะการเต้นของหัวใจมักจะสม ่าเสมอ ยกเว้นสัดส่วนการน าสัญญาณไฟฟ้ าในแต่ละ<br />

จังหวะไม่เท่ากัน ช่วง P-R วัดไม่ได้ ส่วนคลื ่น QRS ปกติ เพราะจุดก าเนิดไฟฟ้ าอยู่ที<br />

เอเตรียม<br />

• พบได้ในผู้ป่วยที ่มีโรคหัวใจโคโรนารี โรคหัวใจเนื ่องจากปอด (Corpulmonale) หรือ<br />

โรคหัวใจรูมาติก


ภาพแสดง เอเตรียลฟลัตเตอร์ (Atrial flutter)


Atrial Flutter


การรักษา<br />

• ในภาวะ acute atrial flutter การรักษาจะเหมือนกับ AF<br />

วัตถุประสงค์ในการรักษาขึ ้นอยู่กับ hemodynamic ถ้าอัตราการเต้นของ<br />

หัวใจห้องล่างเร็วมาก cardiac output ลดลงต้องควบคุมอัตราการเต้นใน<br />

ขณะนั ้น<br />

-cardiovertion ใช้น้อยกว่า 100 J<br />

-rapid atrial pacing<br />

-calcium channel blocker เช่น verapamil<br />

และ diltiazem , beta blocker และ digitalis<br />

เพื ่อใช้ลดอัตราการเต้นของหัวใจ


การรักษา (ต่อ)<br />

-antiarrhythmic drug เช่น amiodarone<br />

• ในภาวะ chronic atrial flutter การ ablate โดยใช้ radio<br />

frequency


3. เอเตรียลฟิบริลเลชั่น (Atrial fibrillation)<br />

• เกิดจากจุดก าเนิดไฟฟ้ าในเอเตรียมท าหน้าที ่แทน SA node โดยปล่อย<br />

สัญญาณไฟฟ้ าในอัตรา 250 – 600 ครั ้ง/นาที เอเตรียมมีการดีโพลาไรเซชั่น<br />

และรีโพลาไรเซชั่นอย่างสับสน ท าให้การบีบตัวของเอเตรียมไม่มีประสิทธิภาพ<br />

สัญญาณไฟฟ้ าจะถูกน าไปยัง AV node อย่างไม่สม ่าเสมอ ลักษณะเด่นของ<br />

คลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้ คือ ไม่มีคลื ่น P แต่จะมีคลื ่นเล็กๆเป็นเส้นขยุกขยิก<br />

เรียกว่าคลื ่น f แทน (จึงไม่มีช่วง P-R) และจังหวะไม่สม ่าเสมอ (หากจังหวะ<br />

สม ่าเสมอ แสดงว่ามีการขัดขวางการน าสัญญาณไฟฟ้ าอย่างสมบูรณ์ที ่ AV<br />

junction หรือ complete heart block ร่วมด้วย) อัตราการเต้นของหัวใจ<br />

อาจจะเร็วหรือช้า ขึ ้นอยู่กับจ านวนสัญญาณไฟฟ้ าที ่ส่งออกจากเอเตรียมไปยัง<br />

เวนตริเคิล


ภาพแสดง เอเตรียลฟิบริลเลชั่น (Atrial fibrillation)


การรักษาพยาบาล<br />

• บันทึก าEKG 12 Lead , notify<br />

• hemodynamic ไม่คงที ่กลุ ่มนี ้อาจต้องท า synchronized cardioversion<br />

(100-200 J) ต้องประเมินก่อนท าว่ามีภาวะ hypokalemia และได้ digitalis<br />

มาก่อนหรืไม่ เนื ่องจากอาจเกิด ventricular arrhythmia ได้ง่าย<br />

• การ convert atrial fibrillation ให้กลายเป็น sinus rhythm ยาที ่ใช้ได้แก่<br />

procainamide, ibutilide, flecainide, propafenone และ<br />

amiodarone


การรักษาพยาบาล (ต่อ)<br />

• ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจห้องล่าง ได้แก่ยาในกลุ ่ม calcium<br />

channel blocker เช่น diltiazem,<br />

beta blocker เช่น metoprolol , digoxinหรือ amiodarone<br />

• Anticoagulation โดยการให้ warfarin คุมให้ INR อยู่ที ่ 2-3


ความผิดปกติที ่มีจุดก าเนิดจาก AV junction มี<br />

การขัดขวางการน าสัญญาณไฟฟ้ าไปยัง AV node<br />

• 1.การขัดขวางขั ้นที ่ 1 (First degree AV block) จุดก าเนิดไฟฟ้ ามาจาก<br />

SA node และมีการน าสัญญาณไฟฟ้ าตามระบบการน าสัญญาณไฟฟ้ าหัวใจ<br />

แต่สัญญาณไฟฟ้ าล่าช้ากว่าปกติที ่บริเวณ AV node ก่อนที ่จะส่งสัญญาณ<br />

ต่อไปยังเวนตริเคิล ดังนั ้นลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้ จึงเหมือนกับ<br />

คลื ่นไฟฟ้ าหัวใจจังหวะปกติ ยกเว้นช่วง P-R ยาวกว่าปกติ คือมากกว่า 5<br />

ช่องเล็ก หรือนานหว่า 0.20 sec. เกิดขึ ้นได้ในทุกกลุ ่มอายุ และในผู้ป่วย<br />

โรคหัวใจ อาจเนื ่องจากยา ได้แก่ Digitalis,Quinidine และ Procanamind<br />

ถ้ายังส่งสัญญาณไป Ventricle ได้ก็ไม่มีปัญหา ไม่มีการรักษาที ่เฉพาะเจาะจง


First degree AV<br />

block


First degree AV block


2. การขัดขวางขั ้นที ่ 2 (Second degree AV block)<br />

• จุดก าเนิดไฟฟ้ าอยู่ใน SA node แต่การน าสัญญาณไฟฟ้ าจาก<br />

เอเตรียมไปสู่เวนตริเคิลบางจังหวะถูกขัดขวาง ท าให้อัตราการเต้น<br />

ของเวนตริเคิลน้อยกว่าของเอเตรียม


2.1 การขัดขวางขั ้นที ่ 2 แบบที ่ 1 (Mobitz type I หรือ<br />

Wenckebach)<br />

• ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้ มีลักษณะส าคัญคือช่วง P-R ยาวขึ ้น<br />

เรื ่อยๆโดยอาจจะเริ ่มตั ้งแต่ช่วง P-R น้อยกว่า 0.12 sec. จนกระทั่งมาก<br />

ว่า 0.20 sec. และมีบางจังหวะที ่มีคลื ่น P แต่ไม่มีคลื ่น QRS ตาม<br />

ดังนั ้นคลื ่น P จึงมีมากกว่าคลื ่น QRS จึงท าให้จังหวะการเต้นของหัวใจ<br />

ไม่สม ่าเสมอ ส่วนรูปร่างของคลื ่น QRS จะปกติเนื ่องจากจุดก าเนิดไฟฟ้ า<br />

อยู่เหนือเวนตริเคิล<br />

• มักเกิดในผู้ป่วยที ่มีกล้ามเนื ้อหัวใจส่วนล่างตาย (Inferior wall<br />

myocardial infarction) หรือพิษจากยา Digitalis


• การขัดขวางขั ้นที ่ 2 แบบที ่ 1 (Mobitz type I)


Second degree AV block Mobitz I


่<br />

2.2 การขัดขวางขั ้นที ่ 2 แบบที ่ 2 (Mobitz type II)<br />

• ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้ มีลักษณะต่างจากการขัดขวางขั ้นที ่ 2 แบบที ่ 1<br />

คือ ช่วง P-R ในจังหวะที ่มีการน าสัญญาณไฟฟ้ าจะคงที ่และปกติ แต่มีบางจังหวะที<br />

มีคลื ่น P แต่ไม่มีคลื ่น QRS ตาม ดังนั ้นคลื ่น P จึงมีจ านวนมากกว่าคลื ่น QRS<br />

ตั ้งแต่ 2,3 หรือ 4 เท่า ส่วนรูปร่างของคลื ่น P และ QRS ปกติ เพราะจุดก าเนิด<br />

สัญญาณไฟฟ้ ามาจาก SA node<br />

• การรักษาให้ยากลุ ่ม Isopertorinol และ Epinephrine ; ใส่ Pacemaker


การขัดขวางขั ้นที ่ 2 แบบที ่ 2<br />

(Second degree AV block Mobitz type II)


Second degree<br />

AV block Mobitz II


Second degree<br />

AV block Mobitz II


An 48 year olds male with alteration of conscious<br />

High grade AV blocks


High grade AV blocks


3. การขัดขวางขั ้นที ่ 3 หรือการขัดขวางอย่างสมบูรณ์ (Third<br />

degree AV block หรือ Complete heart block)<br />

• เกิดจากการขัดขวางการน าสัญญาณไฟฟ้ าอย่างสมบูรณ์ที ่ AV junction ท าให้ขัดขวาง<br />

การน าสัญญาณไฟฟ้ าทั ้งหมดจาก SA node ไม่ให้ผ่านไปยังเวนตริเคิล ดังนั ้นเอเตรียม<br />

และเวนตริเคิลท างานเป็นอิสระต่อกัน โดยเอเตรียมจะเต้นในอัตรา 60 – 120 ครั ้ง/นาที<br />

ส่วนการเต้นของเวนตริเคิลขึ ้นอยู่กับต าแหน่งของจุดก าเนิดไฟฟ้ า (ตั ้งแต่น้อยกว่า 40<br />

ครั ้ง/นาที ถึง 60 ครั ้ง/นาที) ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้ มีลักษณะส าคัญ คือ<br />

จังหวะการเต้นของเอเตรียมและเวนตริเคิลสม ่าเสมอ แต่เป็นอิสระต่อกัน ดังนั ้นคลื ่น P<br />

กับคลื ่น QRS จึงไม่มีความสัมพันธ์กันท าให้ช่วง P-R ไม่สม ่าเสมอ อัตราการเต้นของ<br />

เอเตรียมเร็วกว่าเวนตริเคิล เพราะมีบางจังหวะของคลื ่น P ที ่ไม่มีคลื ่น QRS ตาม<br />

ส าหรับรูปร่างของคลื ่น QRS จะแคบหรือกว้างก็ได้ ขึ ้นกับต าแหน่งที ่สัญญาณไฟฟ้ าถูก<br />

ขัดขวาง ถ้ามีการขัดขวางและมีจุดก าเนิดไฟฟ้ าต ่ากว่า AV node คลื ่น QRS จะกว้าง<br />

กว่าปกติ


• การขัดขวางขั ้นที ่ 3 หรือการขัดขวางอย่างสมบูรณ์ (Third degree AV<br />

block หรือ Complete heart block)


Complete heart block


Sick Sinus Syndrome


ความผิดปกติที ่มีจุดก าเนิดจากเวนตริเคิล<br />

1. ความผิดปกติที ่เกิดจากการท างานของเวนตริเคิลถูกรบกวน<br />

• เกิดจากมีจุดก าเนิดไฟฟ้ าในเวนตริเคิลท าหน้าที ่ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ าแทน<br />

SA node เป็นบางจังหวะ ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้ คือ มีคลื ่น<br />

QRS กว้างกว่าปกติเป็นบางจังหวะ และเกิดขึ ้นก่อนที ่ SA node จะ<br />

ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ า อัตราการเต้นของหัวใจมักจะปกติ นอกจากนี ้อาจ<br />

พบลักษณะที ่เรียกว่า การชดเชยแบบสมบูรณ์ (Complete<br />

compensatory pause) คือจังหวะที ่ตามหลังคลื ่นQRS ที ่ผิดปกติ จะ<br />

เกิดช้ากว่าปกติ ดังนั ้นจะพบว่าระยะระหว่างคลื ่น R ที ่น าหน้าและ<br />

ตามหลังจังหวะที ่ผิดปกติ (PVC) เท่ากับ 2 เท่าของช่วง R-R ปกติ


เวนตริเคิลเต้นก่อนจังหวะ<br />

• (Premature ventricular contraction)


้<br />

• เวนตริเคิลเต้นก่อนจังหวะ จะมีลักษณะต่างๆกัน บางประเภทไม่เป็นอันตราย<br />

แต่บางประเภทเป็นอันตราย ซึ ่งลักษณะของเวนตริเคิลเต้นก่อนจังหวะที ่เป็น<br />

อันตราย มีดังนี<br />

1.มีจังหวะที ่ผิดปกติเกิดขึ ้นมากกว่า 6 ครั ้ง/นาที<br />

2.มีจังหวะที ่ผิดปกติทุกจังหวะที ่ 2 (Ventricular bigeminy<br />

หรือ bigeminy PVCs)


เวนตริเคิลเต้นก่อนจังหวะทุกจังหวะที ่ 2 (Ventricular<br />

bigeminy)


3.จังหวะที ่ผิดปกติมีคลื ่น R อยู่บนหรือซ้อนคลื ่น T (R on T<br />

phenomenon) เกิดจากการที ่มีดีโพลาไรเซชั่นของเวนตริเคิล ในขณะที ่การ<br />

รีโพลาไรเซชั่นของเวนตริเคิลในจังหวะก่อนยังไม่สมบูรณ์ ดังภาพ<br />

คลื ่น R อยู่บนหรือซ้อนคลื ่น T (R on T phenomenon)


4.จังหวะที ่ผิดปกติเกิดจากจุดก าเนิดไฟฟ้ าที ่ต่างกัน (มากกว่า 1 ต าแหน่ง) ใน<br />

เวนตริเคิล (Multifocal PVCs) ดังภาพที ่ 14<br />

เวนตริเคิลเต้นก่อนจังหวะที ่มีจุดก าเนิดไฟฟ้าต่างกัน (Multifocal PVCs)


2.เวนตริเคิลเต้นเร็วกว่าปกติ (Ventricular tachycardia : VT)<br />

• เกิดจากมีจุดก าเนิดไฟฟ้ าในเวนตริเคิลท าหน้าที ่ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ าแทน<br />

SA node อย่างน้อย 4 จังหวะติดต่อกัน ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ<br />

ชนิดนี ้ คือ อัตราการเต้นของเวนตริเคิลเร็วกว่าปกติ (140 – 220 ครั ้ง/<br />

นาที) และมีคลื ่น QRS กว้างเหมือนเวนตริเคิลเต้นก่อนจังหวะ (PVCs)<br />

โดยทั่วไปมักจะไม่พบคลื ่น P และไม่มีช่วง P-R


• เวนตริเคิลเต้นเร็วกว่าปกติ (Ventricular tachycardia)


3.เวนตริคิวลาร์ฟิบริลเลชั่น (Ventricular fibrillation : VF)<br />

• เกิดจากมีจุดก าเนิดไฟฟ้ าในเวนตริเคิลท าหน้าที ่ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ า<br />

อย่างรวดเร็ว ท าให้ไม่มีการบีบตัวของหัวใจ ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจ<br />

ชนิดนี ้ คือ ไม่มีคลื ่น PQRST แต่มีคลื ่นลักษณะขยุกขยุยไม่สม ่าเสมอ<br />

ถ้าคลื ่นสูงหรือหยาบเรียกว่า “Coarse VF” ถ้าคลื ่นเล็กๆหรือละเอียด<br />

เรียกว่า “Fine VF”


เวนตริคิวลาร์ฟิบริลเลชั่นชนิดหยาบ<br />

(Coarse ventricular fibrillation)


• เวนตริคิวลาร์ฟิบริลเลชั่นชนิดละเอียด<br />

(fine ventricular fibrillation)


Torsade de pointes


Junctional rhythm


4. เวนตริเคิลหยุดเต้น (Ventricular standstill)<br />

• เกิดจากสัญญาณไฟฟ้ าจาก SA node ถูกขัดขวาง ดังนั ้นการ<br />

ท างานของเวนตริเคิลจึงขึ ้นอยู่กับจุดก าเนิดไฟฟ้ าในเวนตริเคิล<br />

เท่านั ้น เมื ่อจุดก าเนิดไฟฟ้ าในเวนตริเคิลไม่ปล่อยสัญญาณไฟฟ้ า<br />

ก็จะท าให้เวนตริเคิลหยุดเต้น ลักษณะของคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจชนิดนี ้<br />

คือ คลื ่น P ปกติ ไม่มีคลื ่น QRS ตาม ไม่มีช่วง P-R ในจังหวะ<br />

ที ่เวนตริเคิลหยุดเต้น


เวนตริเคิลหยุดเต้น (Ventricular standstill)


Cardiac Defibrillation<br />

• Defibrillation เป็นการรักษาโดยการปล่อยกระแสไฟฟ้ าตรงที ่มี<br />

พลังงานสูงเข้าสู่หัวใจในช่วงเวลาสั ้นเป็นวินาทีเพื ่อให้หัวใจที ่ก าลังเต้นไม่<br />

สม ่าเสมออยู่เกิด temporary depolarization ท าให้ electrical<br />

activity ในหัวใจทุกชนิดหยุดไปชั่วขณะเปิดโอกาสให้กล้ามเนื ้อหัวใจ<br />

สามารถรับสัญญาณไฟฟ้ าจาก SA nodeตามปกติได้ใหม่<br />

• สาเหตุของหัวใจหยุดเต้นอย่างเฉียบพลันที ่เกิดขึ ้นบ่อยที ่สุดคือ VF<br />

• VF จะเปลี ่ยนเป็น asystole ภายในไม่กี ่วินาทีถ้าไม่รีบรักษา<br />

• -การท า CPR อย่างเดียวไม่สามารถเปลี ่ยน VF ให้กลับมาเต้นปกติได้


การท างานของเครื ่อง<br />

• Defibrillation เป็นการปล่อยกระแสไฟฟ้ าเข้าสู่หัวใจใน<br />

ปริมาณมากโดยไม่ค านึงถึงว่าจังหวะการปล่อย<br />

กระแสไฟฟ้ านั ้นจะสอดคล้องกับจังหวะการเต้นของหัวใจ<br />

ผู้ป่วยหรือไม่<br />

• Cardioversion เพื ่อการรักษา arrhythmia อื ่น ๆ


้<br />

พยาบาลมีบทบาทอย่างกว้างขวางในการดูแลผู้ป่วยหัวใจเต้นผิด<br />

จังหวะ การประเมินสภาพผู้ป่วย การอ่านคลื ่นไฟฟ้ าหัวใจได้อย่างถูกต้อง<br />

และการให้การพยาบาลอย่างรวดเร็วเหมาะสม นอกจากจะช่วยป้ องกัน<br />

ไม่ให้ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะรุนแรงขึ ้น และช่วยป้ องกันภาวะแทรกซ้อน<br />

ต่างๆที ่อาจเกิดขึ ้นจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะแล้ว ยังช่วยให้ผู้ป่วยรอด<br />

ชีวิตจากการถูกคุกคามโดยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที ่รุนแรง นอกจากนี<br />

การให้ความรู้แกผู้ป่วยในการปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน จะช่วยป้ องกันการ<br />

กลับเป็นซ ้าของโรค และเพิ ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย


แบบฝึ กหัดที่3<br />

ECG TEST


Thank you for attention

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!