14.01.2015 Views

เต่าทะเล

เต่าทะเล

เต่าทะเล

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การเดินทางอันแสนยาวไกลของเต่าหัวฆ้อน :<br />

ติดตามข้อมูลจากเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียม<br />

Amazing Travel of Loggerhead turtle: Thailand-Australia<br />

การติดตามการเดินทางเต่าหัวฆ้อนเพศเมียด้วยเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียม หลังจากที่ถูกจับ<br />

ได้และเลี้ยงไว้ที่เกาะมันใน จ.ระยอง เป็นเวลา 10 ปี ท าการปล่อยลงทะเลในวันที่ 1<br />

กรกฎาคม 2545 และก่อนการปล่อยได้ตรวจสอบพันธุกรรม DNA แล้ว พบว่าเป็นเต่าที่มา<br />

จากประชากรในน่านน้ าของประเทศออสเตรเลีย และผลการติดตามพบว่าเต่าหัวค้อนได้<br />

เดินทางไปทางทิศใต้ ผ่านน้ าน้ าประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และเกาะบาลีของอินโดนีเซีย<br />

เข้าสู่น่านน้ าของประเทศออสเตรเลีย สัญญาณดาวเทียมครั้งสุดท้ายแสดงว่าเต่าหัวค้อนอาศัย<br />

อยู่ที่เมืองเดอร์บี้ ซึ่งอยู่ทางชายฝั่งตะวันตกของออสเตรเลีย รวมระยะการเดินทางทั้งสิ้น 135<br />

วัน และได้ระยะทางประมาณ 4,000 กิโลเมตร<br />

เต่าหัวฆ้อน<br />

Loggerhead turtle<br />

ตัดชิ้นเนื้อเยื่อเพื่อน ามาวิเคราะห์<br />

DNA<br />

One female loggerhead turtle was caught incidentally by the fishing<br />

gill net in 1992 around the coast of Mannai Island Sea turtle<br />

Conservation Station, Rayong, Thailand. She was kept in captivity<br />

about 10 years, her body weight increased from 80 kg to 104 kg.<br />

She was released and tracked by satellite transmitter model kiwisat-<br />

101 on 1 July 2002. Genetic study on her population was investigated<br />

before releasing. DNA analysis could prove that her population<br />

should come from Australian water.<br />

1. เตรียมเต่าหัวฆ้อน 2. ติดเครื่องส่งสัญญาณ<br />

ดาวเทียม<br />

ข้อมูลทางพันธุกรรม (Genetic study)<br />

3. ปล่อยเต่าลงสู่ทะเล<br />

The result showed that she traveled southeastward across the Gulf<br />

of Thailand and reached to Malaysian water in 15 days. She<br />

continued journey with steady swimming speed to the ocean passing<br />

tip peninsula Malaysia and Borneo Island to Indonesian water. She<br />

arrived Bali sea of Indonesia in 78 days and crossed to Australian<br />

water, the last signal revealed her location end at the coast of<br />

Western Australia near Derby city. Her travel ended in 135 days of<br />

releasing with the movement distance of about 4,000 km.<br />

DNA Sequences result<br />

เต่าหัวฆ้อนที่วิเคราะห์ผล<br />

มาจากกลุ่มประชากรใน<br />

น่านน้าของประเทศ<br />

ออสเตรเลีย<br />

The result showed that<br />

Loggerhead turtle<br />

should be come from<br />

Australian population<br />

90 E 100 E<br />

110 E 120 E 130 E 140 E<br />

Thailand<br />

Phillipines<br />

10 N<br />

Mannai<br />

Island<br />

1 July 2002<br />

10 N<br />

Malaysia<br />

0<br />

Borneo<br />

Island<br />

0<br />

Indonesia<br />

10 S<br />

Bali<br />

10 S<br />

Western<br />

Australia<br />

135 days<br />

3,985 km<br />

Australia<br />

90 E<br />

100 E<br />

110 E<br />

120 E<br />

130 E<br />

140 E


แหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งหากินของเต่าทะเล<br />

Foraging Habitat of Sea Turtle<br />

เราสามารถพบเต่าทะเลแพร่กระจายได้ในเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก เต่าที่มี<br />

ขนาดโตเต็มวัยมักพบได้ในบริเวณ แนวปะการัง แนวหญ้าทะเล ทะเลสาบ และ<br />

บริเวณปากแม่น ้า เต่าทะเลส่วนใหญ่นั้นมักจะอาศัยอยู่บริเวณเขตชายฝั่ง มีเพียง<br />

เต่ามะเฟือง (Leatherback turtle) เท่านั้นที่ด ารงชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในทะเลเปิด<br />

ช่วงฤดูวางไข่เต่าเพศผู้และเพศเมียจะเดินทางเข้ามาจับคู่ผสมพันธุ์บริเวณที่มี<br />

แหล่งอาหารสมบูรณ์ ซึ่งมักจะอยู่ใกล้ๆกับชายหาดทรายที่จะใช้เป็นแหล่งวางไข่ และ<br />

โดยปกติจะมีเพียงเต่าทะเลเพศเมียเท่านั้นที่เข้ามายังชายหาดทรายเพื่อวางไข่<br />

Distributions of sea turtle are recognized in warm and temperate<br />

sea throughout the world. Adults of most species are found in coral<br />

reef, seagrass bed, lagoon and estuary. Some also venture into the<br />

open sea. Most marine turtle species spend much of their lives in<br />

continental shelves, except the Leatherback tend to inhabit the open sea.<br />

Male turtles do not leave the sea and females only come ashore to<br />

lay their eggs on sandy beaches. During the nesting season, mature males<br />

and females migrate from feeding grounds and mate near the nesting<br />

beach.<br />

เต่าทะเล เป็นสัตว์ที่กินได้ทั้งพืชและสัตว์ ในแต่ละช่วงอายุจะกิน<br />

อาหารแตกต่างกัน อาหารจ าพวกพืช ได้แก่ สาหร่าย หญ้าทะเล ส่วน<br />

สัตว์ที่ชอบ เช่น แมงกะพรุน กุ้ง หอย ปลา ฟองน้ า ฯลฯ ดังนั้นเราจึง<br />

สามารถพบเต่าทะเลได้ในระบบนิเวศที่แตกต่างกัน<br />

Open Sea<br />

“ทะเลเปิด” (Open Sea) เป็นบริเวณที่อยู่ถัดจากเขต<br />

ทะเลชายฝั่งออกไป หลังจากที่เต่าทะเลฟักออกจากไข่มัก<br />

เจริญเติบโตและใช้ชีวิตแรกเริ่มในทะเลเปิด ส าหรับเต่ามะเฟือง<br />

เมื่อโตเต็มวัย ชีวิตส่วนใหญ่ยังอาศัยอยู่ในทะเลเปิด จะเข้ามา<br />

ชายฝั่งเฉพาะในช่วงผสมพันธุ์และวางไข่เท่านั้น อาหารที่โปรด<br />

ปรานมากที่สุดคือ แมงกะพรุน ดังนั้นสาเหตุส่วนหนึ่งที่ท าให้มัน<br />

ตาย คือการกินถุงพลาสติกเนื่องจากคิดว่าเป็นแมงกะพรุน<br />

“แหล่งหญ้าทะเล” (Seagrass bed) เป็นระบบนิเวศที่มี<br />

ความส าคัญต่อการเป็นที่หลบภัยและอาศัยหากินของสัตว์น้ านานาชนิด<br />

รวมไปถึงการเป็นบ้านและแหล่งหากินของเต่าตนุและเต่าชนิดอื่นๆ<br />

ที่แวะเวียนมาอยู่เสมอ ด้วยพฤติกรรมการกินอาหารของเต่าตนุในวัย<br />

เด็กมักกินแมงกะพรุน กุ้ง หอย คล้ายกับเต่าทะเลชนิดอื่นๆ แต่เมื่อโตขึ้น<br />

มักจะเปลี่ยนพฤติกรรมหันมาเป็นพวกที่กินพืช เช่น หญ้าทะเล เป็นต้น<br />

Seagrass bed<br />

จุดเด่นในเต่าทะเลนั้นคือ มีความสามารถในการด าน้ าเก่ง<br />

เต่ามะเฟืองสามารถด าน้ าได้ลึกมากที่สุด อาจด าน้ าได้ลึกถึง<br />

305 เมตร หรือมากกว่านั้น<br />

“แนวปะการัง” (Coral Reef) เป็นระบบนิเวศที่สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการ ทุกคนคงรู้กันดีว่า แนวปะการังมี<br />

ความส าคัญต่อมนุษย์มาก นอกจากเป็นแหล่งเลี้ยงตัวของสัตว์น้ าแล้ว ยังเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ทะเลที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ เช่น<br />

เต่าทะเล โดยเฉพาะอย่างยิ่งเต่ากระและเต่าตนุ อาหารของเต่าในแนวปะการัง ได้แก่ สาหร่าย หอย กุ้ง และเต่ากระชอบมาก คือ ฟองน้ า<br />

Sea turtles are not generally considered social animals, however some species do<br />

congregate offshore. Sea turtles can be carnivorous (meat eating), herbivorous (plant<br />

eating), or omnivorous (eat both meat and plant).<br />

Seagrass bed performs a variety of functions within ecosystem. As a habitat,<br />

seagrasses offer food, shelter and essential nursery area for commercial and<br />

recreational fishery species. Sea turtles are as grazers and browsers, and important<br />

consumers at the end of food chain.<br />

Home to more than 25 percent of all marine lives, coral reefs are among the most<br />

fragile ecosystems in the world. Six of the seven species of sea turtles in the world are<br />

found on the reef: Green, Hawksbill, Loggerhead, Flatback, Olive Ridley and Kemp’s<br />

Ridley.<br />

Only Leatherback turtles are normally recognized foraging in the open sea.<br />

Coral Reef<br />

My home


เทคนิคการเก็บน้าเชื้อพ่อพันธุ์เต่าทะเล<br />

Sperm(Semems) Collection Technique for Sea Turtle<br />

ปัจจุบันประชากรเต่าทะเลเริ่มลดน้อยลงและเห็นได้ชัดเจนในประเทศไทย ซึ่งแต่เดิม<br />

ประชากรเต่าทะเลในประเทศไทยนั้นพบได้อย่างชุกชุมทั้งน่านน้ าอ่าวไทยและทะเลอันดามัน<br />

ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของการลดลงของประชาชนเต่าทะเลเกิดจากหลายสาเหตุ อาทิ การติด<br />

เครื่องมือประมง การกินเนื้อและเก็บไข่เต่า การท าลายแนวชายฝั่งทะเลซึ่งเป็นที่ฟักไข่ของ<br />

เต่าทะเล และปัญหาสภาพแวดล้อมของน้ าทะเล เป็นต้น<br />

เทคนิคการเก็บน้าเชื้อพ่อพันธุ์เต่าทะเล จะเป็นฐานข้อมูลความรู้ในเรื่องน าเชื้อ<br />

ของเต่าทะเลในประเทศไทย ที่ผ่านมาการศึกษาการรีดน้ าเชื้อและการตรวจคุณภาพน้ าเชื้อ<br />

เต่าทะเลประสบความส าเร็จในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยท าการศึกษาในเต่าหญ้า ณ<br />

สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเลและป่าชายเลน จังหวัดภูเก็ต โดย<br />

นิสิตคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2550) โดยในครั้งนี้เป็น<br />

การศึกษาต่อเนื่องที่ท าการทดลองในเต่าตนุและเต่ากระ ซึ่งจะเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษา<br />

เพื่อหาวิธีผสมเทียม ในเต่าทะเลให้ประสบความส าเร็จ ซึ่งจะช่วยในการขยายพันธุ์เต่าทะเล<br />

และอนุรักษ์ประชากรเต่าทะเลในคงอยู่ต่อไป<br />

The sea turtle has been recognized as one of endangered<br />

species in the world by IUCN (International Union of Conservation<br />

Nature). But now population of marine turtle in Thailand have been<br />

rapidly. The challenges that sea turtle now face form human activities<br />

every stage of their life cycle, from loss of nesting beach, mortalities by<br />

fishing practices ,eaten by local fisherman and the seawater as critical<br />

habitats for sea turtle.<br />

Sperm Collection Technique for Sea Turtle was based on<br />

knowledge for studies on reproduction in sea turtle (Hawsbill and Green<br />

turtle). This project supported research teams by Phuket Marine Biology<br />

Center, faculty of Veterinary Medicine Kasetsart university and Marine<br />

and Coastal Resource Research Center, the east gulf of Thailand. The<br />

research has been conducted an artificial insemination for protection and<br />

conservative of sea turtles in Thailand.<br />

ขั้นตอนการรีดน้าเชื้อ<br />

Ko Man nai<br />

เป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาและปฏิบัติการรีดเก็บน้าเชื้อในเต่าทะเลด้วย<br />

วิธี Electroejaculation ไฟฟ้า (ดัดแปลงจาก Platz, C. และคณะ,1980 และ Wood, F. และ<br />

คณะ,1982) การศึกษาคุณภาพน้าเชื้อทางกายภาพ และลักษณะเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่ง<br />

ได้แก่ ปริมาตร ลักษณะ ความเป็นกรดเป็นด่าง ความเข้มข้นของอสุจิ ด้วย hemacytometer<br />

การตรวจดูรูปร่างของตัวอสุจิด้วยการย้อมสี Eosin-Nigrosin และ Diff-Quick, William, 0.1%<br />

Toluidene blue และ Gentian violet การเก็บรักษาตัวอสุจิด้วยอาหารเลี้ยงตัวอสุจิ (รวมทั้ง<br />

เปรียบเทียบคุณภาพของน้าเชื้อในระหว่างสปีชีส์ของเต่าสามชนิด คือ เต่าหญ้า เต่าตนุ และ<br />

เต่ากระ<br />

The objective of the project are to study Semen<br />

collection by Electroejaculation and Semen evaluation of Sea turtle,<br />

for example, volume, characteristic, pH, concentration, sperm<br />

morphology, colour stain (Eosin-Nigrosin ,Diff-Quick, William,<br />

0.1% Toluidene blue,Gentian violet) and preserve extender.<br />

ตัวอย่างน้าเชื้อเต่ากระ<br />

1. ตรวจสอบประวัติของเต่าเพศผู้ และบันทึกข้อมูลพื้นฐานของเต่าทะเล<br />

2. วางยาให้สัตว์ซึมด้วยด้วย Ketamine 2.5 mg/kg และ Detomidine 0.015 mg/kg<br />

Method<br />

1. Record character of sea turtle , size, weight, microship<br />

number.<br />

2. Sedative by inject Ketamine 2.5 mg/kg and Detomidine<br />

0.015 mg/kg . Test righting response and withdrawal<br />

reflex of sea turtle.<br />

3 Semen collection by Electroejaculation (electric60 Hz).<br />

Take rectal probe into cloaca about 29-33 cm depth<br />

3. การกระตุ้นการหลั่งน้าเชื้อ ใช้เครื่อง Electroejaculator ใช้กระแสไฟฟ้าสลับ<br />

ความถี่ 60 Hz โดยใช้ rectal probe เส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 1.6 เซนติเมตร โดย<br />

ท้าการต่อเข้ากับท่อพีวีซี ก่อนการใช้ทุกครั้งทาด้วย K-Y jelly (Johnson & Johnson,<br />

New Brunswick, Newjersey) เพื่อการหล่อลื่นในระหว่างการสอด probe ซึ่งจะสอด<br />

ผ่านช่องทวารร่วม เข้าไปยัง rectum ด้วย blind technique ลึกประมาณ 29-33<br />

เซนติเมตร โดยความลึกในการสอด probe ขึ้นอยู่กับขนาดของเต่าพ่อพันธุ์<br />

การศึกษาคุณภาพน้าเชื้อเต่าทะเลจากลักษณะทางกายภาพ<br />

และลักษณะเชิงปริมาณและคุณภาพ<br />

เบื้องหลังความส้าเร็จ (Acknowledgements)<br />

Phuket Marine Biology Center,<br />

faculty of Veterinary Medicine Kasetsart university<br />

Marine and Coastal Resource Research Center, the east gulf of<br />

Thailand.


สาเหตุการลดลงของเต่าทะเลและแนวทางการอนุรักษ์<br />

Threats facing Sea Turtle and the way to conserve<br />

ในธรรมชาติเต่าทะเลมีอุปสรรคในการขยายพันธุ์มาก เริ่มต้นจากแม่เต่า<br />

ต้องหาชายหาดที่เงียบสงบในการขึ้นวางไข่ และเมื่อลูกเต่าฟักออกเป็นตัว ก็ต้อง<br />

พยายามเอาตัวรอดจากศัตรูโดยล าพัง ท าให้อัตราการรอดตายของลูกเต่าเหลือ<br />

น้อยมาก เพียงไม่ถึงร้อยละหนึ่งเท่านั้นเอง นอกจากนี้ปัจจุบันยังมีภัยที่เกิดจาก<br />

กิจกรรมของมนุษย์ ซึ่งท าให้เต่าทะเลมีปริมาณลดลงอย่างรวดเร็วทั่วโลก<br />

ดังนั้นสาเหตุการลดลงของเต่าทะเล จึงแบ่งเป็น 2 ประการหลัก คือ ภัย<br />

หรือข้อจ ากัดตามธรรมชาติ และ ภัยจากกิจกรรมของมนุษย์<br />

In nature, sea turtle reproduction is recommenced that there<br />

are a small number of recruitments for each individual due to high<br />

mortality of the off springs. Eggs and hatchlings always face to<br />

many predators alone, the survival rate of hatchling then may be<br />

lower than one of a hundred. In addition, now there are many<br />

threats from human activities affecting to the number of sea turtle<br />

population around the world.<br />

In summary threats facing sea turtle are divided into two<br />

reasons: threats or limits by natural condition and human threats.<br />

ภัยหรือข้อจ ากัดทางธรรมชาติ<br />

Natural threats or limits<br />

- อัตราการรอดต่้าตามธรรมชาติ<br />

เนื่องจากมีศัตรูหลายชนิด การ<br />

รอด ประมาณ 0.1 %<br />

-ใช้เวลานานในการเจริญเติบโตจน<br />

เต็มวัย ประมาณ 25-30 ปี<br />

- การเจ็บป่วย<br />

- ภัยจากธรรมชาติ เช่น พายุ และ<br />

มรสุมรุนแรง<br />

- Low survival rate, only 0.1%<br />

due to various natural<br />

predators<br />

- Slow reproductive maturity,<br />

need up to 25-30 years to<br />

reach sexual reproduction<br />

- Sickness<br />

- Natural disasters such as<br />

Tsunami.<br />

ภัยจากมนุษย์<br />

Human threats<br />

- การบุกรุกแหล่งวางไข่ของเต่าทะเล<br />

เพื่อพัฒนาเป็นที่อยู่อาศัยและการ<br />

ท่องเที่ยว ท าให้เกิดความเสื่อมโทรม<br />

ของแหล่งขยายพันธุ์และแหล่งอาหาร<br />

ของเต่าทะเล<br />

- การเก็บไข่ การล่าเต่าทะเลเพื่อบริโภค<br />

และขาย หรือท าสิ่งประดับตกแต่ง<br />

- การติดเครื่องมือประมงโดยบังเอิญ<br />

เช่น อวนลาก อวนลอย เบ็ดราว<br />

- Loss of suitable nesting habitat<br />

due to unsustainable coastal and<br />

tourism development<br />

- Unsustainable consumption and<br />

trading in turtle meat, eggs and<br />

shell<br />

- Accidental drowning in fishing<br />

operations such as trawl net,<br />

drift net, long line hook.<br />

แนวทางการอนุรักษ์<br />

Conservation Measures<br />

- ป้องกันถิ่นที่อยู่อาศัยและแหล่ง<br />

วางไข่<br />

- รณรงค์สร้างจิตส านึกและให้ความรู้<br />

เกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่าทะเลกับ<br />

ประชาชนทั่วไป<br />

- น าเครื่องมือแยกเต่าทะเลในการท า<br />

ประมงทะเล เพื่อแยกเต่าทะเลที่จะติด<br />

มาในการท าประมง<br />

- Protect and conserve nesting<br />

beaches.<br />

- Educate and aware responsibility<br />

for the conservation and<br />

management of sea turtles<br />

- Develop and use of "Turtle<br />

Excluder Device" to work with<br />

fishing trawl net.<br />

เครื่องมือแยกเต่าทะเล<br />

Turtle Excluding Device-TED


สถานภาพปัจจุบันของเต่าทะเลทั่วโลก<br />

Sea turtle situation around the world<br />

ปัจจุบันเต่าทะเลทุกชนิดถูกจัดว่าเป็นสัตว์หายากและมี<br />

ความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ตามประกาศของ International<br />

Union of the Conservation of Nature and Natural<br />

Resources (IUCN) ใน Red Data Book มีการรณรงค์ให้หลาย<br />

ประเทศร่วมลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่ง<br />

ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (Convention on<br />

International Trade in Endangered Species of Fauna<br />

and Flora: CITES)<br />

Nowadays, all species of sea turtle are classified<br />

as endangered animals in announcement of<br />

International Union of the Conservation of Nature and<br />

Natural Resources (IUCN) listing in Red Data Book. In<br />

addition, many countries agreed to sign on the<br />

convention on International Trade in Endangered<br />

Species of Fauna and Flora (CITES) which could help<br />

and prevent some turtles from their threats.<br />

World map of marine turtles<br />

ท าไมต้องพิทักษ์เต่าทะเล<br />

Why save sea turtles<br />

จะมีใครรู้บ้างไหมว่า เต่าทะเล สามารถว่าย<br />

น้ าในมหาสมุทรได้เก่งมาก ในบางตัวอยู่ไกล<br />

บ้านเกิดของมันเป็นพันไมล์ อีกทั้งมันยังมี<br />

อายุยืนอาจจะมากกว่ามนุษย์ นอกจากนี้<br />

เต่าทะเลยังถือว่าเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงการ<br />

เปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมบริเวณ<br />

ชายฝั่งและในทะเลทั่วโลกอีกด้วย<br />

ก ล่ า ว กั น ว่ า เ ต่ า ท ะ เ ล คื อ ทู ต แ ห่ ง<br />

มหาสมุทร เป็นตัวแทนของการอนุรักษ์<br />

สัตว์ต่างๆในท้องทะเล มีความหมายสื่อถึง<br />

ความต้องการให้มีการปกป้องดูแล ชายฝั่ง<br />

และมหาสมุทร และการเชื่อมโยงความ<br />

ร่วมมือกันระหว่างผู้คนทุกมุมโลก<br />

Because many sea turtles disperse<br />

and migrate over thousands of<br />

kilometers and take 30 to 50 years to<br />

mature, they are important<br />

indicators of the health of coastal<br />

and marine environments on both<br />

local and global scales.<br />

In a word: sea turtles are<br />

"ambassadors of the oceans", for<br />

conserving these animals means<br />

protecting the seas and coastal<br />

areas, which in turn means<br />

protecting a complex,<br />

interconnected world on which<br />

human societies depend.<br />

Indian Ocean – South-East Asian Marine<br />

Turtle Memorandum of Understanding<br />

The Memorandum of Understanding<br />

on the Conservation and Management<br />

of Marine Turtles and their Habitats<br />

of the Indian Ocean and South-East<br />

Asia puts in place a framework<br />

through which States of the Indian<br />

Ocean and South-East Asian region, as<br />

well as other concerned States, can<br />

work together to conserve and<br />

replenish depleted marine turtle<br />

populations for which they share<br />

responsibility. This objective will be<br />

achieved through the collective<br />

implementation of an associated<br />

Conservation and Management Plan.<br />

ข้อตกลงด้านการอนุรักษ์และการจัดการแหล่งที่อยู่อาศัย<br />

ของเต่าทะเล เป็นโครงการสร้างความร่วมมือของประเทศ<br />

ในเขต Indian Ocean และ South-East Asia ซึ่งจะ<br />

ประสานความร่วมมือและรับผิดชอบในการติดตาม<br />

สถานภาพของเต่าทะเล การสงวนรักษาและป้องกันการ<br />

ลดลงของประชากรเต่าทะเล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง<br />

ความร่วมมือในการอนุรักษ์และแนวทางจัดการเต่าทะเล<br />

ร่วมกัน<br />

From : /www.ioseaturtles.org/<br />

Signatory State ประเทศที่ลงนามแล้ว<br />

Other Range States, not yet<br />

Signatories ประเทศที่ยังไม่ลงนาม<br />

บันทึกข้อตกลงว่าด้วยเต่าทะเลในภูมิภาค<br />

ประเทศที่ลงนาม<br />

Signatory State : As at 1 July 2007<br />

Australia<br />

Bahrain<br />

Bangladesh<br />

Cambodia<br />

Comores<br />

Eritrea<br />

India<br />

Indonesia<br />

Islamic Republic of Iran<br />

Jordan<br />

Kenya<br />

Madagascar<br />

Mauritius<br />

Myanmar<br />

Oman<br />

Pakistan<br />

Philippines<br />

Saudi Arabia<br />

Seychelles<br />

South Africa<br />

Sri Lanka<br />

Thailand<br />

United Arab Emirates<br />

United Kingdom<br />

United Rep. of Tanzania<br />

United States of America<br />

Viet Nam

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!