22.02.2015 Views

40 ปี “มาม่า” - rss.thaichamber.org

40 ปี “มาม่า” - rss.thaichamber.org

40 ปี “มาม่า” - rss.thaichamber.org

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

26 THAI COMMERCE


Cover Story <br />

<strong>40</strong> <strong>ปี</strong> <strong>“มาม่า”</strong><br />

ยอดขาย 10,000 ล้านบาท<br />

แบรนด์ไทยผู้ทรงอิทธิพล <br />

…ครองใจผู้บริโภคคนไทย<br />

เรื่อง : สมศักดิ์ ล่ำพงศ์พันธุ์ / ภาพ : มาม่า<br />

ถ้าให้คุณหลับตาและนึกถึงว่า เมื่อเราเดินเข้าไปในครัวของทุกๆ บ้าน<br />

มีสินค้าอะไรบ้างที่เรามักซื้อติดครัวไว้อยู่เสมอๆ <br />

เพื่อว่าเวลาหิวจะได้หยิบรับประทานได้ทันที<br />

หรือถ้าหากเราเป็นเจ้าของร้านค้า ไม่ว่าจะเป็นโชห่วย ยี่ปั๊ว ซาปั๊ว มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต หรือ<br />

แม้ดิสเคาท์สโตร์ขนาดใหญ่ ถ้าเป็นหมวดสินค้าอาหารสำเร็จรูปจะมีสินค้าอะไรบ้าง ที่ทุกร้านค้าต้อง<br />

มีวางไว้บนเชลฟ์ เพื่อให้ลูกค้าได้เลือกซื้อ <br />

เชื่อว่าจะมีคำตอบที่ตรงกันก็คือ มาม่า บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่อยู่กับผู้บริโภคชาวไทยมานานเกือบ <br />

<strong>40</strong> <strong>ปี</strong> ที่ปัจจุบันยังครองใจผู้บริโภคกว่า 50% ของมูลค่าตลาดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปในไทย <br />

อนกลับไปเมื่อประมาณ<strong>ปี</strong> 2515 <strong>ปี</strong>แรกของการก่อตั้ง<br />

ของ บริษัทไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด ผู้ผลิตบะหมี่กึ่ง<br />

สำเร็จรูปตรา <strong>“มาม่า”</strong> นั้น ไม่ใช่เจ้าแรกที่เกิดขึ้นใน<br />

ประเทศไทย แต่ทว่าเป็นแบรนด์ที่เกิดขึ้นเป็นอันดับ 4<br />

โดยเข้ามาช้ากว่า ซันวา บะหมี่ญี่ปุ่น ยำยำ บะหมี่ไต้หวัน<br />

และ ไวไว ของบริษัทผลิตภัณฑ์อาหารไทย <br />

ถึงแม้จะเกิดขึ้นช้ากว่าคู่แข่ง มาม่าก็สามารถพัฒนาในทุกๆ<br />

ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องคุณภาพ รสชาติ มาตรฐานการผลิต<br />

แพ็คเกจจิ้ง เทคโนโลยีในการผลิต การพัฒนารูปแบบการขาย<br />

การทำตลาด ฯลฯ จนสามารถก้าวขึ้นมาอยู่ในลำดับต้นๆ ของ<br />

บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป และสามารถครองตำแหน่งผู้นำมาโดยตลอด<br />

นับสิบๆ <strong>ปี</strong>ต่อกัน <br />

อะไรบ้างที่เป็นคีย์ซัคเซสที่ทำให้มาม่าสามารถก้าวขึ้นมา<br />

ยืนอยู่ในตำแหน่ง “ผู้นำ” ตลาดบะหมี่สำเร็จรูปของประเทศ<br />

ไทย และที่สำคัญชื่อนี้การรับรู้ไม่ได้จำกัดอยู่แค่เมืองไทย ตรง<br />

กันข้ามกลับขจรขจายเป็นแบรนด์ที่ผู้บริโภคกว่าครึ่งโลกก็รู้จัก <br />

ย้อนหลังกลับไปเมื่อ 30 กว่า<strong>ปี</strong>ที่แล้ว มาม่าเกิดขึ้นภายใต้<br />

ร่มเงาของเครือสหพัฒน์ที่เกิดจากการมีสายตาที่ยาวไกลของ<br />

THAI COMMERCE 27


Cover Story <br />

ดร.เทียม โชควัฒนา ผู้ก่อตั้งและขยายอาณาจักรสหพัฒน์จนยิ่ง ไทยในปัจจุบันเล่าว่า กว่าจะถึงวันนี้ของมาม่า สินค้ายี่ห้อนี้ได้<br />

ใหญ่ได้ในทุกวันนี้<br />

ผ่านอุปสรรคต่างๆ มากมาย ซึ่งนับเป็นกรณีศึกษาที่ดีสำหรับ<br />

ยุคนั้น สหพัฒน์ได้ชื่อว่าเป็นผู้ผลิตสินค้าอุปโภคสัญชาติไทย ผู้ประกอบการ ตลอดจนนักการตลาด นักศึกษา ในการศึกษา<br />

ที่แข็งแกร่งมากในการต่อกรกับยักษ์ข้ามชาติ ไม่ว่าจะเป็น แนวความคิด แนวการบริหารธุรกิจ ที่ยึดเอาปัญหาอุปสรรคเป็น<br />

คอลเกต ยูนิลีเวอร์ ฯลฯ แต่ในฟากฝั่งของสินค้าอาหารนั้น แนวทางก้าวสู่ความสำเร็จ <br />

สหพัฒน์ยังไม่มีสินค้าจำนวนมากนัก เมื่อมีโอกาสได้รู้จัก บริษัท <br />

เพรซิเดนท์เอ็นเตอร์ไพรส์ จากประเทศไต้หวัน ผ่านทาง “คุณ โดยสรุปบทเรียนในช่วงเริ่มต้นที่ไม่ประสบความสำเร็จว่า...<br />

เจน ศิริวงศ์” เป็นผู้ริเริ่มโปรเจกต์การผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ประการแรก คือ ผู้ริเริ่มไม่รู้ตลาดที่แท้จริง จึงมีความคาด<br />

ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ ดร.เทียม โชควัฒนา มาโดยตลอดจึง หวังที่ดีเลิศ ซึ่งตลาดยังไม่มีใครรู้จักและยอมรับ เพราะเป็น<br />

เชิญชวนสหพัฒน์เข้าร่วมหุ้นด้วย<br />

สินค้าใหม่ ผู้บริโภคยังไม่ตอบรับปัญหาจึงตามมา เรื่องเงิน<br />

ไทยเพรซิเดนท์ฟู้ดส์ จึงเกิดขึ้นด้วยความร่วมมือ 3 ฝ่าย ทุนหมุนเวียน เพราะเงินที่ลงทุนกันในช่วงแรกเพียง 3 ล้านบาท<br />

คือ ไต้หวัน เจ้าของโนว์ฮาวการผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปในสมัย ซึ่งได้ใช้ซื้อที่ดิน เครื่องจักร สร้างโรงงานก็หมดแล้ว พอการ<br />

นั้น, คุณเจน ศิริวงศ์ ผู้ริเริ่มและเป็นผู้จัดการธนาคารกรุงเทพ ขายไม่ได้ตามเป้า สภาพคล่องทางการเงินก็สะดุด<br />

สาขาราชวงศ์ ส่วนสหพัฒน์รับหน้าที่ในการขายและการตลาด “บะหมี่มาม่าขายซองละ 2 บาท แต่ก๋วยเตี๋ยวเรือราคา 6<br />

คนจีนโบราณสอนไว้ว่า “จนแล้วแก้ แก้แล้วรอด” <br />

จึงมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เป็นการเปลี่ยน<br />

เพื่อความอยู่รอด ที่ทำให้มี <strong>“มาม่า”</strong> จนถึงปัจจุบัน<br />

ตามศักยภาพและความพร้อมที่มีอยู่ในมือ<br />

ในช่วงเริ่มต้น แม้มาม่าจะเกิดขึ้นด้วยความร่วมมือที่ลงตัว<br />

คือ การผลิต การเงิน และการตลาด แต่เมื่อถึงเวลาที่ทำงาน<br />

จริงๆ เส้นทางการก่อเกิดของมาม่าก็ไม่ได้โรยไปด้วยกลีบ<br />

กุหลาบ เพราะเจอปัญหาและอุปสรรคนานัปการ ประการแรก<br />

คือ ยุคสมัยนั้น มาม่าขายซองละ 2 บาท และเป็นสินค้าใหม่ที่<br />

คนไทยยังไม่คุ้นเคย ขณะที่ข้าวแกงในยุคนั้นจานละไม่ถึงบาท <br />

ปัญหาถัดมา คือ การบริหารองค์กรภายใน แบ่งหน้าที่การ<br />

ผลิตโดยชาวไต้หวัน การขายและการตลาดโดยสหพัฒน์ ส่วน<br />

กรรมการผู้จัดการของไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์สมัยนั้น คือ คุณทอง<br />

เจน ศิริวงศ์ ซึ่งเป็นลูกชายของคุณเจน ศิริวงศ์ เป็นผู้ดูแลด้าน<br />

การเงินและภาพรวมของบริษัท การประสานงานไม่สู้ราบรื่นนัก<br />

จึงนำมาซึ่งวิกฤตการณ์ในยุคแรก<br />

พิพัฒ พะเนียงเวทย์ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัท ไทย<br />

เพรซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด (มหาชน) หนึ่งในคีย์แมนคนสำคัญที่<br />

ทำให้ มาม่า กลายเป็นสินค้าทรงอิทธิพลครองใจผู้บริโภคคน<br />

สลึง ของที่ผู้บริโภคเคยชินราคาถูกกว่า ขณะที่ของใหม่ที่<br />

ผู้บริโภคไม่รู้จัก ราคาแพงกว่า ยอดขายก็ไม่เกิด การโยนความ<br />

รับผิดชอบก็เกิดขึ้น ฝ่ายขายก็โทษฝ่ายผลิต ฝ่ายผลิตก็โทษ<br />

ฝ่ายขาย เป็นของธรรมดาของธุรกิจที่มีปัญหา”<br />

อีกประการหนึ่งที่สำคัญมาก เรื่องการสื่อสารทางด้านภาษา<br />

การจะทำธุรกิจกับไต้หวันร่วมทุนกับไต้หวัน ก็ควรรู้ภาษาไต้หวัน<br />

ดังนั้นการสื่อสารด้านภาษาเป็นเรื่องที่สำคัญมาก การทำธุรกิจ<br />

กับต่างชาติควรมีความรู้ทางด้านภาษาอย่างน้อย 2 ภาษา แต่<br />

ถ้าได้ถึง 3 ภาษาหรือมากกว่านั้นก็ยิ่งดี <br />

พิพัฒ กล่าวย้ำว่า นี่คือความผิดพลาดที่น่าศึกษาจนทำให้<br />

ไม่ประสบความสำเร็จในช่วงเริ่มต้น คนจีนโบราณสอนไว้ว่า<br />

“จนแล้วแก้ แก้แล้วรอด” จึงมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่<br />

เป็นการเปลี่ยนเพื่อความอยู่รอด ที่ทำให้มี <strong>“มาม่า”</strong> จนถึง<br />

ปัจจุบัน<br />

ด้านการเงิน เพื่อเพิ่มสภาพคล่อง จึงขอเรียกหุ้นเพิ่มตาม<br />

จำนวนที่จดทะเบียนไว้เป็น 6 ล้านบาท ส่วนของไต้หวันไม่มี<br />

28 THAI COMMERCE


การลงทุนเพิ่มและถอนหุ้นไปในที่สุด<br />

ฉะนั้นผู้ถือหุ้นใหม่จึงเป็นคนไทยทั้งหมด<br />

แล้วเมื่อผ่านพ้นวิกฤตแล้ว เพื่อสนองความ<br />

ต้องการของตลาดจึงได้เพิ่มกำลังการผลิต<br />

โดยได้จดทะเบียนเพิ่มทุนตามความ<br />

ต้องการของกิจการ ณ ปัจจุบันไทยเพรซิ<br />

เดนท์ฟูดส์มีทุนจดทะเบียน 2<strong>40</strong> ล้านบาท<br />

แต่เรียกชำระเพียง 180 ล้านบาท และใน<br />

<strong>ปี</strong> 2521 เมื่อมีโอกาสได้นำหุ้นเข้าจด<br />

ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์<br />

ด้านการผลิต เมื่อไต้หวันถอนหุ้นแล้ว<br />

เราก็ต้องพึ่งพาตัวเอง โดยคิดค้นรสชาติ<br />

ใหม่ๆ นอกจากรสซุปไก่ที่ชาวไต้หวันมา<br />

สอนไว้ รสหมูสับ รสต้มยำกุ้ง และรส<br />

ต้มยำกุ้งน้ำข้น ซึ่งเป็น 3 รสชาติที่เป็นที่<br />

นิยมของคนไทยและคนต่างชาติ<br />

ด้านการตลาดก็ต้องยกให้คุณเทียม<br />

โชควัฒนา ซึ่งเป็นบรมครูทางการตลาด<br />

ของไทย ใช้กลยุทธ์ในการสร้างตรา <br />

<strong>“มาม่า”</strong> ให้เป็นที่รู้จักของคนไทยทั่ว<br />

ประเทศ โดยการสาธิตการปรุงและให้<br />

ทดลองชิมตามตลาดสดและแหล่งชุมชน<br />

ต่างๆ พร้อมลงสื่อโฆษณาทั้งทางทีวีและ<br />

วิทยุทั่วประเทศ<br />

ส่วนการขายนั้น บริษัทสหพัฒน์ถือ<br />

เป็นบริษัทคนไทยที่มีเครือข่ายช่องทางจัด<br />

จำหน่ายที่ครบทุกช่องทาง ทำให้มาม่า<br />

สามารถกระจายได้ทั่วถึงเกือบ 100<br />

เปอร์เซ็นต์ของร้านค้า ตามที่ข้อตกลงเขต<br />

การค้าเสรีอาเซียน หรือ อาฟต้า (AFTA) ได้เริ่มมีผลบังคับใช้<br />

แล้วตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ที่ผ่านมา อาเซียนได้เปิด<br />

การค้าเสรีไม่เสียภาษี และใน<strong>ปี</strong> 2558 จะเปิดเต็มรูปแบบ ซึ่ง<br />

จะมีทั้งเงินทุน บุคลากร ซึ่งถือเป็นโอกาสและอุปสรรคของผู้<br />

ประกอบการคนไทย โอกาส คือ แทนที่เรามีตลาดภายใน<br />

ประเทศ มีประชากรประมาณ 60 กว่าล้านคน ตลาดอาเซียน<br />

ใหญ่ขึ้นเป็น 580 กว่าล้านคน เราสามารถขายสินค้าให้ผู้<br />

บริโภคอีก 10 เท่า ในเวลาเดียวกัน ประเทศคู่ค้าก็สามารถนำ<br />

สินค้ามาแข่งกับเรา ดังนั้นถ้าคุณมีความพร้อมและความ<br />

สามารถก็มีโอกาสขยายธุรกิจมากมายแต่ถ้าความสามารถของ<br />

การแข่งขันไม่สู้ดีก็จะประสบปัญหามากมายที่จะตามมา<br />

ความสามารถของการแข่งขัน ประกอบด้วย เทคโนโลยีใน<br />

การผลิต การบริหารต้นทุน และคุณภาพสินค้า ประสิทธิภาพ<br />

ของเครื่องจักรที่จะลดต้นทุนทางด้านพลังงานและใช้คนงานที่<br />

น้อยกว่า ทำให้สินค้าที่ผลิตออกมามีคุณภาพดี ต้นทุนต่ำ ตรง<br />

กับความต้องการของกลุ่มลูกค้า สร้างแบรนด์ของตนเอง สร้าง<br />

ตราสินค้าของตนเอง และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้าทั้งภายใน<br />

ประเทศและต่างประเทศ<br />

เศรษฐกิจของประเทศไทย เมื่อเทียบกับประเทศใกล้เคียงก็มี<br />

ขนาดไม่ต่างกันมากนัก เพียงแต่แตกต่างในชนิดของธุรกิจ และ<br />

THAI COMMERCE 29


30 THAI COMMERCE


Cover Story <br />

ก็มีสินค้าหลายประเภทที่เหมือนกัน เช่น สินค้าเกษตร ไม่ว่า<br />

ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย และยางพารา จะชนะคู่แข่งจากต่าง<br />

ประเทศได้ก็ต่อเมื่อคุณภาพดีกว่า และต้นทุนถูกกว่า รัฐบาลก็<br />

มีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมด้านการเกษตรและบุคลากรที่<br />

เชี่ยวชาญด้านนี้บ้านเรามีพร้อมก็ควรจะพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อ<br />

เป็นจุดแข็ง และเพื่อผลักดันให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก<br />

ตามความหวังที่รัฐบาลได้วางไว้ แทนที่จะขายวัตถุดิบล้วนๆ ซึ่ง<br />

ไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ประเทศเราจะได้ประโยชน์ไม่มากนัก<br />

หากว่าคุณภาพและราคาของเราสามารถสู้ได้แล้ว ก็ต้องมา<br />

คำนึงถึงการเลือกคู่ค้าที่เหมาะสม เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่เรา<br />

จะต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ นอกเหนือจากการกระตุ้นกำลัง<br />

การซื้อในประเทศแล้ว เรื่องการค้าชายแดนกับประเทศเพื่อน<br />

บ้านก็ต้องได้รับการส่งเสริมอย่างเป็นรูปธรรม และลดปัญหา<br />

ด้านการเมืองไม่ให้มาเป็นอุปสรรคของการค้า ส่วนประเทศใน<br />

กลุ่มอาเซียนก็เป็นกลุ่มคู่ค้ายุทธศาสตร์หลักที่เราจะต้องขายของ<br />

เข้าไปให้ได้<br />

คู่ค้าที่สำคัญอีกรายที่เราจะต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก<br />

ก็คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนอกเหนือไปจากกำลังซื้อที่<br />

มหาศาลจากจำนวนประชากรมากถึง 1300 ล้านคนแล้ว จีนยัง<br />

เป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์กับไทยเป็นอย่างดี และมี<br />

ภูมิประเทศที่อยู่ใกล้เคียงกัน มีเศรษฐกิจและกำลังการซื้อที่ดี<br />

ถ้าการคมนาคมขนส่งได้รับการพัฒนาให้มีความสะดวกมากขึ้น<br />

โอกาสในการค้าขายระหว่างกันก็จะเพิ่มขึ้นด้วย <br />

แต่อย่างไรก็ตาม ต้องไม่ลืมการป้องกันไม่ให้ประเทศอื่นๆ<br />

เข้ามาแย่งชิงตลาดภายในของเราด้วย ซึ่งก็หนีไม่พ้นเรื่องการ<br />

แข่งขันด้านราคาและคุณภาพของสินค้าให้อยู่ในสภาวะที่<br />

สามารถแข่งขันกับสินค้าจากประเทศคู่ค้าของเราให้ได้<br />

ปัจจุบันมาม่า นอกจากสนองความต้องการของตลาดเมือง<br />

ไทยแล้ว ยังได้ส่งออกไปขายทั่วโลกอีก 50 ประเทศ โดยมีการ<br />

ลงทุนตั้งโรงงานการผลิตในประเทศพม่าและกัมพูชา มีการขาย<br />

Technical Know-how (ความรู้การผลิต) ให้กับประเทศ<br />

เนปาล ได้ขายเครื่องจักรที่ใช้แล้วพร้อมเทคนิคการผลิตไปยัง<br />

ประเทศศรีลังกา และได้ลงทุนผลิตถ้วยกระดาษที่นครฉงฉิน<br />

และเมืองเฉินตู มณฑลเสฉวน และกำลังจะขยายไปเมืองหนาน<br />

ฉิน (Nanxun) ที่ภาคตะวันออกของจีน นี่คืออาณาจักรทั้งหมด<br />

ของมาม่าในระยะเวลาเกือบ <strong>40</strong> <strong>ปี</strong><br />

กลยุทธ์ในการสร้างตรา <br />

<strong>“มาม่า”</strong> ให้เป็นที่รู้จัก<br />

ของคนไทยทั่วประเทศ<br />

โดยการสาธิตการปรุง<br />

และให้ทดลองชิมตามตลาดสด<br />

และแหล่งชุมชนต่างๆ <br />

พร้อมลงสื่อโฆษณา <br />

ทั้งทางทีวีและวิทยุทั่วประเทศ<br />

<br />

THAI COMMERCE 31


Cover Story <br />

ประวัตินายพิพัฒ พะเนียงเวทย์<br />

<br />

ชื่อ-นามสกุล : พิพัฒ พะเนียงเวทย์<br />

วัน เดือน <strong>ปี</strong>เกิด : 4 กรกฎาคม 2482 อายุ : 71 <strong>ปี</strong> <br />

บุตร-ธิดา : จำนวน 7 คน (ชาย 3 คน หญิง 4 คน)<br />

ที่อยู่อาศัย : 8 ซอยเลิศนิมิต ถนนรามคำแหง 44 แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 102<strong>40</strong><br />

สถานที่ทำงาน : 304 อาคารทีเอฟกรุ๊ป ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-374-4730 โทรสาร 02-374-2174<br />

<br />

การศึกษา : <br />

- Bachelor’s Degree in Education Science, Quanzhou Physical Culture Institute, People’s Republic of China<br />

- ปริญญาโทจาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ (Master of Business Administration)<br />

- หลักสูตร Stanford Executive Program at Stanford University, California, USA. (24 มิ.ย.-18 ส.ค. 2532) <br />

- ได้รับทุนเข้ารับการสัมมนาในหลักสูตร Top Management Seminar on Japanese Business (TOPS-V) of The Association for <br />

Overseas Technical, Japan (28 ส.ค.-2 ก.ย. 2532)<br />

- จบการศึกษาหลักสูตร ป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 2 ที่สถาบันวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (<strong>ปี</strong> 2533)<br />

- เข้ารับการอบรมหลักสูตร Distinguished Senior Executive Program in Government and Business <br />

ใน Havard University, USA. (<strong>ปี</strong> 2534)<br />

- Directors Certification Program, Thai Institute of Directors (<strong>ปี</strong> 2547)<br />

- ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง<br />

<br />

ประวัติการทำงาน :<br />

อดีต <br />

- บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน)<br />

- บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด<br />

- บริษัท ฟาร์อีสท์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน)<br />

ปัจจุบัน <br />

- กรรมการผู้อำนวยการ บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด (มหาชน)<br />

- รองประธานกรรมการ บริษัท เพรซิเดนท์อินเตอร์ฟูด จำกัด<br />

บริษัท นอร์ทเทิร์น เทคโนโลยี จำกัด (ประเภทธุรกิจผลิตเครื่องจักรบรรจุซอง)<br />

- ประธานกรรมการ บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จำกัด (มหาชน)<br />

บริษัท เพรซิเดนท์เบเกอรี่ จำกัด (มหาชน)<br />

บริษัท ซันโกแมชีนเนอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด<br />

บริษัท ไดอิชิแพ็คเกจจิ้ง จำกัด<br />

บริษัท ไทย โอ.พี.พี.จำกัด (มหาชน) (ประเภทธุรกิจบรรจุภัณฑ์พลาสติก)<br />

- กรรมการ บริษัท เพรซิเดนท์โฮลดิ้ง จำกัด<br />

บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)<br />

บริษัท เพรซิเดนท์เดนิชฟูดส์ จำกัด<br />

บริษัท แม่โขงเดลต้าซัคเซสเวนเจอร์ จำกัด<br />

บริษัท ไทย-เมียนมาร์ซัคเซสเวนเจอร์ จำกัด<br />

กรรมการที่ปรึกษา บริษัท ที เอ็ม ฟูดส์ จำกัด<br />

<br />

หน้าที่และกิจกรรมทางสังคม : <br />

อดีต<br />

ปัจจุบัน<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

32 THAI COMMERCE<br />

นายกสมาคมว่ายน้ำสมัครเล่นแห่งประเทศไทย 3 สมัย<br />

นายกสมาคมธรรมศาสตร์บริหารธุรกิจ<br />

กรรมการบริหาร (เหรัญญิก) ของคณะกรรมการ สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ (FINA)<br />

กรรมการรองเลขาธิการ คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย<br />

ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายการตลาดและสิทธิประโยชน์ของคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย<br />

ผู้ประสานงานกิจการต่างประเทศของคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย<br />

กรรมการในคณะกรรมการบริหารโครงการปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ<br />

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

รองประธานกรรมการหอการค้าไทย <br />

กรรมการสภามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย


THAI COMMERCE 33


Cover Story <br />

Pipat Paniangvait<br />

<strong>40</strong> years “MAMA”<br />

with annual sales of 10,000 million baht<br />

Influential Thai Brand….Maintaining<br />

Consumer Popularity<br />

Close your eyes and imagine yourself walking in every<br />

household kitchen, what is the product that you are frequently<br />

bought and stored in the kitchen for a ready-to-eat meal?<br />

If you were a shop owner whether it is a small kiosk, minimart or a big supermarket, in the<br />

food division, what is the product that every shop always stores in the shelf for their customers to<br />

purchase?<br />

I believe that one of the answers would be “Mama”, instant noodles that stay with Thai<br />

consumer over <strong>40</strong> years. Nowadays, “MAMA” acquires the share of more than 50% of instant<br />

noodles market in Thailand.<br />

“Pipat Paniangvait” .<br />

ating back to 2515, the year that “Thai<br />

President Food Co,.Ltd” founded, the<br />

manufacture of “MAMA” instant noodles was<br />

not the first instant noodles brand but was ranked as<br />

No.4 in the market. They came behind “SANWA”<br />

Japan Noodles, “YUM YUM” Taiwan Noodles and<br />

“WAI WAI” of the Thai food producer. <br />

Although, “MAMA” was a newbie in the market<br />

but yet “MAMA” has shown the ability to improve<br />

in all aspects including quality, taste, manufacturing<br />

standard, packaging, technology used in production<br />

process, sales and marketing and etc. It has<br />

continually remained as a leading brand in the market<br />

for a decade. <br />

30 years ago, MAMA was born under the control<br />

of Sahapat Group by the vision of Dr. Tiam<br />

Chokwattana, the founder of Sahapat Group, who led<br />

his family to become a powerful conglomerate until<br />

today. <br />

At that time, Sahapat was well-known as one of<br />

the strongest Thai commodity manufacturer that could<br />

cope with other giant multi-national companies such<br />

as Colgate, Uniliver and etc. However, Sahapat did<br />

not have many food products. Then, Sahapat was<br />

introduced to the President Enterprise Company from<br />

Taiwan by Khun Jane Siriwong who was the initiator<br />

of instant noodles production project and has a good<br />

relationship with Dr. Thiam Chokwattana for a long<br />

period of time. So, the President Enterprise Company<br />

invited Sahapat to join a partnership with them. <br />

Thai President Food was established under the<br />

cooperation among 3 parties which were Taiwan<br />

(owner of “know how”, an instant noodle<br />

manufacturer), Mr. Jane Siriwong, the initiator and<br />

manager of Bangkok Bank at Ratchawong Branch<br />

and Sahapat which was responsible for sales and<br />

34 THAI COMMERCE


Cover Story <br />

marketing under their capacity and availability in<br />

hand. <br />

At the beginning, although MAMA seemed to be<br />

a perfect cooperating among production, financial and<br />

marketing, but in reality it was not as smooth as it<br />

should be. It was because they faced many problems<br />

and obstacles. Firstly, the price of “MAMA” at that<br />

time was about two baht per package, comparing to<br />

cost of a meal which was less than one baht, and<br />

also it was new and unfamiliar products for Thai<br />

market. <br />

Second problem was the <strong>org</strong>anization management.<br />

The production line was managed by Taiwanese<br />

while sales and marketing was managed by Sahapat.<br />

At the first age, Mr. Tongjane Siriwong, son of Mr.<br />

Jane Siriwong, was a Managing Director and Mr.<br />

Jane was in charge of financial and <strong>org</strong>anization<br />

images. However, the cooperation among all parties<br />

was not relatively smooth in which led to the crisis<br />

at that time. <br />

Mr. Pipat Paniangvait, Managing Director of Thai<br />

President Food Plc was one of the key persons who<br />

turn “MAMA” to be the influential product<br />

maintaining popularity among Thai consumers. We<br />

could say that “MAMA” has been gone through<br />

many challenges and obstacles which can be a<br />

business model or case study for other entrepreneurs,<br />

marketing officers as well as students to learn the<br />

idea, the management system and the <strong>org</strong>anization<br />

that turns their obstacles to be a success. <br />

<br />

Summary of the lesson from their experiences<br />

First, the founder did not know very much about<br />

the actual market so their expectation would be<br />

higher than it should be. Due to MAMA was quite<br />

new for the market and people were not familiar<br />

with their products, so product responses were not so<br />

good and this led to funding and financial liquidity<br />

problems.<br />

The amount of capital at first was only 3 millions<br />

bath which were spent on purchasing property,<br />

machines, and plantation. When the sales did not<br />

reached the target, the financial liquidity was halted.<br />

“MAMA” was two baht per package while<br />

noodles on the street cost less than one baht. The<br />

products that consumers was familiar with came with<br />

the lower price compared to the new fresh higher<br />

price and not well-known products. The returns on<br />

sale did not meet their expectation. According to<br />

this situation the sales and the production line started<br />

to put a blamed on each other, and this was a basic<br />

thing when running businesses. <br />

One important thing is a language barrier, if you<br />

want to do business and investment in Taiwan then<br />

you should know how to speak Taiwanese.<br />

It can be said that, communication is very<br />

important. It needs the knowledge of at least two<br />

languages or as good as three or more to dealing the<br />

business with foreigners. <br />

Mr. Pipat realized that these undesired experiences<br />

at the beginning were good lessons for MAMA. The<br />

ancient Chinese phrase said “when you are poor you<br />

solve it and when you solve it, you will get better”<br />

so, this brought the enormous change to MAMA and<br />

continue to serve consumers as a most reliable brand<br />

until today. <br />

In terms of financial, in order to increase<br />

liquidity, the company raised the amount of capital to<br />

6 millions bath from the share holders and Taiwan<br />

company was not interested in and finally retreated.<br />

Therefore, the proportion of share was 100%<br />

dominated by Thais. When they made it through the<br />

crisis, they increased their production line to respond<br />

to the demand of market and register to increase<br />

capital investment. At the present time, Thai President<br />

Food Plc have authorized capital amount of 2<strong>40</strong><br />

millions bath but payment called only 180 millions<br />

bath and in 1978 the company registered to the stock<br />

market. <br />

In production sector, after the Taiwanese has<br />

withdrawn, we have to rely on ourselves by<br />

innovating new flavors, beside the chicken soup<br />

THAI COMMERCE 35


Cover Story<br />

flavor learnt from the Taiwanese. The new flavors<br />

were minced pork flavor, Tom Yum Kung flavor,<br />

and pottage tom yum kung flavor. Those three<br />

flavors are popular among Thais and foreigners.<br />

In the marketing sector, no one can compare to<br />

Mr. Thiam Chokwattana who is regarded as a master<br />

of marketing in Thailand. He used strategies to create<br />

a brand “MAMA” and made it become well-known<br />

in all over the country by demonstrating to the<br />

market and community about how to cook in order<br />

to give people a taste and also use the media to<br />

advertise both in televisions and radios.<br />

For sale sectors, Sahapat is one of the Thai<br />

companies having a lot of linkages and channels of<br />

distribution which helps “MAMA” to be able to<br />

distribute their products to almost 100% of grocery<br />

stores.<br />

According to the ASEAN Free Trade Agreement<br />

(AFTA) which has been now activated since 1st<br />

January 2010. The AFTA makes ASEAN becomes<br />

tariff-free and it will completely open in 2015. This<br />

means free flow of capital and workforces which<br />

could be an opportunity, as well as barrier at the<br />

same time, for Thai entrepreneurs. Thailand has 60<br />

millions of population, however, the ASEAN<br />

population is about 580 millions. Under this<br />

circumstance, we could sell products about ten times<br />

higher. On the other hand, our trade partners could<br />

bring their products to sell against us too.<br />

Therefore, if you have a good preparation and<br />

capability to cope with this condition, then you<br />

would have a good chances to expand your<br />

businesses. On the other hand, if you lack of<br />

competitive ability, you could face many following<br />

problems.<br />

The competitive abilities are consist of<br />

manufacturing technology, capital management and the<br />

machines efficiency that can reduce costs of<br />

production, costs of energy consumption and also<br />

reduce the number of labour forces. The products<br />

coming out with a high quality and low cost, would<br />

meet the customer needs and would automatically<br />

create their own brand and trademark. Finally, they<br />

must have a good relationship with both domestic<br />

and international trade partners.<br />

Compared to the neighboring countries, Thailand’s<br />

economy is not much different in size but the types<br />

of business are different. Some product categories are<br />

the same such as agricultural products including rice,<br />

tapioca, canes and rubber tree. If Thailand needs to<br />

be the leader of market, we have to ensure the better<br />

quality of products and cost saving. Thai government<br />

needs to support agricultural industries and specialize<br />

them as well as developing to foster our strengths in<br />

order to be the world’s cuisine hub.<br />

If our product quality and price could compete<br />

with the rival, what we have to do next is to seek<br />

for the appropriate trade partners which is going to<br />

be the targeted group that we need to focus on.<br />

Besides stimulating the purchasing rate in the country,<br />

the border trades with neighboring countries also have<br />

to be supported with fairness and without political<br />

agenda, because political issues should not be a trade<br />

obstacle. ASEAN countries are the strategic trade<br />

partners that we have to get in and seeking<br />

cooperation with them.<br />

Another partner that we should focus on is China,<br />

due to it has huge purchasing power with 1300<br />

millions of population. Moreover, Thailand and China<br />

has a close relation like relatives, having an<br />

appropriate trade location. If transportation between<br />

two countries is improved, the trade between two<br />

countries will significantly improve as well.<br />

However, do not f<strong>org</strong>et to protect the domestic<br />

market from foreign investment, including the price<br />

competition in order to maintain international standard<br />

of our products to complete with our competitors.<br />

Nowadays, “MAMA” not only fulfills Thai market<br />

needs but they are also exporting to 50 countries.<br />

Also, investing in the production plant in Myanmar<br />

and Cambodia, selling the “Know-How” techniques to<br />

Nepal, selling their old machines and production<br />

techniques to Sri-Lanka, investing in paper cup in<br />

ChernTu, Sichuan, China as well as planning to<br />

continue its expansion to Nanxun in the east of<br />

China. Finally, all above these are the story of<br />

“MAMA KINGDOM” for almost four decades.<br />

36 THAI COMMERCE


AD<br />

THAI COMMERCE 37

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!