03.03.2015 Views

คู่มือรายวิชา BMPV 501-581 - Hosoital Health Vajira

คู่มือรายวิชา BMPV 501-581 - Hosoital Health Vajira

คู่มือรายวิชา BMPV 501-581 - Hosoital Health Vajira

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1<br />

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)<br />

วิชา เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนเมือง 2<br />

Family and Urban Community Medicine 2<br />

รหัสวิชา<br />

<strong>BMPV</strong> 522 / <strong>BMPV</strong>582<br />

จ านวนหน่วยกิต 4<br />

ระยะเวลา<br />

4 สัปดาห์<br />

ผู ้รับผิดชอบวิชา 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

ผู ้สอน 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

ค าอธิบายรายวิชา<br />

ศึกษาการเรียนรู้งานของเวชปฏิบัติครอบครัว และการดูแลสุขภาพของประชาชนและ<br />

ครอบครัวในวัยต่างๆตั ้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ ทั ้งโรคเรื ้อรังและเฉียบพลันในสถานพยาบาลปฐมภูมิ<br />

(primary care) รวมถึงการให้บริการเชิงรุกในชุมชน เช่นการเยี่ยมบ้าน โดยใช้ทักษะการเลือกใช้<br />

เครื่องมือคัดกรอง ทักษะในการวินิจฉัยโรค และทักษะการให้ค าปรึกษาบุคคล ครอบครัว และ<br />

ชุมชน ทั ้งด้านร่างกาย พฤติกรรมสุขภาพ จิตใจ และสังคม<br />

ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence-based<br />

medicine) และรู้จักการน าไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมต่อไป<br />

เป้ าหมาย<br />

เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพตามหลักการเวชศาสตร์ครอบครัว<br />

ในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชนในเขตเมือง น าหลักการของเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขไป<br />

ประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการหน่วยบริการสุขภาพ เพื่อให้ประโยชน์สูงสุด ได้มีทักษะในการให้<br />

ค าปรึกษาปัญหาสุขภาพแก่ผู้ป่ วย ครอบครัว ชุมชน โดยเฉพาะผู้ป่ วยที่ยากต่อการสื่อสาร การแจ้ง<br />

ข่าวร้ายและการดูแลผู้ป่ วยระยะสุดท้าย ฝึ กปฏิบัติงานในหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและ<br />

สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ได้อย่างเหมาะสม


้<br />

ผลลัพธ์ที่ต้องการ<br />

เมื่อนักศึกษาได้ศึกษารายวิชา เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนเมือง 2 แล้วจะต้องมี<br />

คุณสมบัติดังนี<br />

1. มีความสามารถในการให้บริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ<br />

2. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์<br />

3. มีแนวทางการประยุกต์ใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์กับการบริการในระบบสุขภาพ<br />

4. มีทักษะในการสื่อสารและให้ค าปรึกษาแก่ผู้ป่ วย ครอบครัว และชุมชนได้<br />

5. มีทักษะในการบริการดูแลผู้ป่ วยที่บ้านได้อย่างเหมาะสม<br />

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral objectives) เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนศึกษานักศึกษา<br />

สามารถ<br />

1.อธิบายและวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ได้<br />

2.อธิบายหลักการและประยุกต์ใช้เรื่องเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขได้<br />

3.อธิบายหลักการและวิธีการส่งเสริมสุขภาพได้<br />

4.อธิบายหลักการการดูแลผู้ป่ วย ครอบครัวและชุมชนเรื่องสุขภาพ แบบองค์รวม<br />

เบ็ดเสร็จ และผสมผสานได้<br />

5.ฝึ กทักษะการดูแลผู้ป่ วย ครอบครัวและชุมชนเรื่องสุขภาพ แบบองค์รวม เบ็ดเสร็จ และ<br />

ผสมผสาน<br />

6.วิเคราะห์ถึงระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ได้<br />

7.วิเคราะห์ถึงความส าคัญของเวชศาสตร์ครอบครัวต่อระบบสุขภาพได้<br />

8.วิเคราะห์การจัดบริการในรูปแบบเวชศาสตร์ครอบครัวได้<br />

9.ประยุกต์ใช้หลักการในการให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพต่อผู้ป่ วย ครอบครัวและชุมชน<br />

เรื่องสุขภาพในวัยต่างๆ รวมถึงผู้ป่ วยที่มีปัญหา (difficult patient)ได้<br />

10.อธิบายหลักการให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพต่อผู้ป่ วย ครอบครัวและชุมชนปัญหา<br />

เฉพาะเรื่อง ได้แก่ การดูแลผู้ป่ วยระยะสุดท้าย การดูแลผู้ติดยาเสพติด การแจ้งข่าวร้ายแก่<br />

ผู้ป่ วยได้<br />

11.อธิบาย และด าเนินการบริหารจัดการ ดูแลสุขภาพผู้ป่ วยที่บ้าน ได้อย่างเหมาะสม<br />

12.ฝึ กทักษะเขียนรายงานการดูแลผู้ป่ วย และครอบครัวตามแบบเวชศาสตร์ครอบครัวได้<br />

13.อธิบายแนวทางการดูแลผู้ป่ วยที่ได้รับการทารุณกรรมและคัดกรองบุคคลที่มีความเสี่ยง<br />

ที่จะถูกทารุณกรรมจากบุคคลในครอบครัวได้<br />

2


3<br />

เนื้อหาวิชา<br />

1.ระบบสุขภาพ<br />

2.ทฤษฎีระบบครอบครัว<br />

3.การดูแลผู้ป่ วยและครอบครัวแบบองค์รวม<br />

4.ทักษะการให้ค าปรึกษาผู้ป่ วยเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

5.ทักษะการให้ค าปรึกษาผู้ป่ วยที่มีปัญหา<br />

6.การแจ้งข่าวร้าย<br />

7.การเยี่ยมบ้าน<br />

8.เครื่องมือในการประเมินครอบครัว<br />

9.การดูแลสุขภาพตามช่วงอายุ<br />

10.การดูแลผู้ป่ วยระยะสุดท้าย<br />

11.การดูแลสุขภาพชุมชน<br />

12.การส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรครายบุคคล<br />

13.การดูแลสุขภาพบุคลากรทางการแพทย์<br />

14.การวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์<br />

15.เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข<br />

16.เวชจริยศาสตร์<br />

17.การถูกทารุณกรรมและศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กและสตรี<br />

การจัดประสบการณ์เรียนรู ้<br />

1. การบรรยาย (Lecture)<br />

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เป็ นพื ้นฐานและหลักการส าคัญ หรือหัวข้อที่<br />

มีเนื ้อหาซับซ้อน โดยมีรายละเอียดตามแผนการสอน<br />

2. การฝึ กปฏิบัติที่ศูนย์บริการสาธารณสุข<br />

นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์จากบุคลากรในหน่วยบริการปฐมภูมิ ได้ฝึ กปฏิบัติงาน<br />

บริการด้านปฐมภูมิ (primary care)<br />

3. การฝึ กปฏิบัติที่ห้องตรวจผู ้ป่ วยนอก (OPD)<br />

นักศึกษาจะได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่ วยนอกอย่างน้อยคนละ 1 ราย โดยการดูแลใช้<br />

หลักการของเวชศาสตร์ครอบครัวเพื่อให้นักศึกษาฝึ กวิเคราะห์การดูแลผู้ป่ วยแบบองค์รวม โดยมี<br />

อาจารย์เป็ นผู้ควบคุม


4. การน าเสนอการเยี่ยมบ้านผู ้ป่ วย (Home visit care presentation)<br />

เป็ นการน าเสนอกรณี ศึกษาผู้ป่ วยที่นักศึกษาได้เยี่ยมบ้านระหว่างฝึ กปฏิบัติงานที่<br />

ศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึ กหัดคิดวิเคราะห์การดูแลผู้ป่ วยอย่างเป็ นองค์รวม<br />

5. Topic conference<br />

นักศึกษาจะได้รับมอบหมายให้ศึกษาหัวข้อที่ก าหนดให้ ซึ ่งจะเกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพ<br />

ตามช่วงอายุ โดยนักศึกษา 1 กลุ่ม รับผิดชอบ 3-4 หัวข้อ และน ามาน าเสนอในห้องเรียนให้เพื่อน<br />

นักศึกษา และอาจารย์ฟังและร่วมอภิปรายความรู้ในหัวข้อนั ้น<br />

6. การศึกษาดูงาน<br />

นักศึกษาจะได้ศึกษาดูงานที่ศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กและสตรี ซึ ่งนักศึกษาได้ศึกษาแนวทางการ<br />

ปฏิบัติงานในสถานที่และสภาพแวดล้อมจริง และน ามาไตร่ตรอง วิเคราะห์โดยอาศัยความรู้เดิมและ<br />

แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้อื่นๆ เพื่อสร้างเป็ นความรู้ใหม่ได้<br />

7. Self directed learning<br />

เพื่อให้นักศึกษามีเวลาศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง ก่อนหรือหลังการเรียนการสอน<br />

โดยจัดให้นักศึกษามีช่วงเวลาที่ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนหรือฝึ กปฏิบัติ<br />

8. การประเมินคุณค่าของงานวิจัย<br />

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการในการประเมินคุณค่าของงานวิจัย และสามารถวิเคราะห์<br />

บทความวิชาการที่ได้รับมอบหมายได้<br />

9. การเยี่ยมบ้าน<br />

นักศึกษาจะได้มีโอกาสฝึ กปฏิบัติงานจริงกับทีมเยี่ยมบ้านของศูนย์บริการสาธารณสุขและ<br />

จะได้เรียนรู้บทบาทหน้าที่ ทีมงานและกระบวนการเยี่ยมบ้านของทีม<br />

10.การประเมินความรู ้ของนักศึกษาระหว่างการเรียน (formative evaluation)<br />

นักศึกษาจะต้องได้รับการประเมินความรู้และทักษะตลอดช่วงเวลาที่ขึ ้นปฏิบัติงานโดย<br />

อาจารย์ทุกท่าน ภายหลังการประเมินอาจารย์จะให้ค าแนะน าย้อนกลับแก่นักศึกษาเป็ นรายบุคคล<br />

4


5<br />

ภาระงานและหน้าที่ของนักศึกษา<br />

1. การฝึ กปฏิบัติงานที่ศูนย์บริการสาธารณสุข<br />

1.1 ออกตรวจผู้ป่ วยนอกของศูนย์บริการสาธารณสุข ฝึ กปฏิบัติงานด้านทักษะทางคลินิ ก<br />

และการท าหัตถการขั ้นพื ้นฐาน (clinical and procedural skills) โดยค านึงการดูแลแบบองค์รวม ฝึ ก<br />

การเขียนรายงานผู้ป่ วยนอก เขียนใบสั่งยา ใบรับรองแพทย์ ใบรับรองความพิการ ใบส่งต่อผู้ป่ วย ใบ<br />

ตอบกลับ ใบชันสูตรบาดแผล ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ หรือแพทย์พี่เลี ้ยง<br />

1.2 ร่วมกิจกรรมเยี่ยมบ้าน(home visit)กับทีมเยี่ยมบ้านของศูนย์และน ามาเสนอที่วิทยาลัยฯ<br />

1.3 ร่วมกิจกรรมอื่นที่ศูนย์ฯ ปฏิบัติอยู่ เช่น กิจกรรมการป้ องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ<br />

งานอนามัยโรงเรียน การด าเนินงานสอบสวนโรค<br />

การสั่งการรักษาพยาบาลใดๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากแพทย์ผู ้ควบคุมดูแลและมี<br />

ลายเซ็นของแพทย์ก ากับในการรักษาทุกครั ้ง ไม่อนุญาตให้สั่งการรักษาทางโทรศัพท์ หรือรับค าสั่ง<br />

(รคส.)<br />

2. การฝึ กปฏิบัติที่ห้องตรวจผู ้ป่ วยนอก<br />

นักศึกษาออกตรวจผู้ป่ วยนอกที่ห้องตรวจเวชศาสตร์ครอบครัว รับผิดชอบดูแลผู้ป่ วยคนละ<br />

1 ราย ฝึ กซักประวัติ ตรวจร่างกาย และสั่งการรักษา ฝึ กโดยค านึงการดูแลแบบองค์รวม ฝึ กการเขียน<br />

รายงานผู้ป่ วยนอก การให้ค าแนะน าผู้ป่ วยภายใต้การควบคุมของแพทย์<br />

3. การน าเสนอการเยี่ยมบ้านผู ้ป่ วย (Home visit case presentation)<br />

ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มเลือกผู้ป่ วยที่ได้ร่วมเยี่ยมบ้านกับศูนย์ฯ และน ามาน าเสนอให้เพื่อน<br />

นักศึกษา และอาจารย์ที่วิทยาลัยฯ ในชั่วโมง HV presentation<br />

4. การน าเสนอ Topic<br />

นักศึกษาแต่ละกลุ่มจะได้รับมอบหมายให้อ่านหนังสือ และน ามาน าเสนอให้เพื่อนนักศึกษา<br />

และอาจารย์ที่วิทยาลัยฯ ในชั่วโมง Topic conference ตามตารางสอน<br />

5. สมุดสะสมงาน<br />

นักศึกษาจะได้รับสมุดสะสมงานคนละ 1 เล่ม เพื่อบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ระหว่างการ<br />

ปฏิบัติงาน 4 สัปดาห์ และนักศึกษาจะต้องส่งสมุดสะสมงานก่อนเข้าห้องสอบในวันสอบ มิฉะนั ้น<br />

จะไม่ได้เข้าสอบ<br />

6. รายงานการดูแลผู ้ป่ วยแบบองค์รวมในความทรงจ า (My memorable patient)<br />

ให้นักศึกษา 1 คน เลือกผู้ป่ วย 1 ราย จากที่นักศึกษาเคยได้ดูแลผู้ป่ วยโดยใช้หลักการดูแล<br />

ผู้ป่ วยแบบเป็ นองค์รวม จะเลือกจาก ward ใดก็ได้ มาเขียนเป็ นรายงาน 1 ฉบับ ความยาวกระดาษ


A4 ไม่เกิน 2 หน้า (พิมพ์หรือเขียนก็ได้ ถ้าพิมพ์ใช้ขนาดตัวอักษร 16 ไม่จ ากัดรูปแบบตัวอักษร) ส่ง<br />

ภายใน 1 สัปดาห์หลังได้รับมอบหมาย<br />

7. รายงานผู ้ป่ วยกรณีศึกษาจริยธรรมทางการแพทย์<br />

ให้นักศึกษา 1 คน เลือกกรณีศึกษาผู้ป่ วย 1 ราย จากที่ก าหนดไว้ให้มาเขียนวิเคราะห์ในด้าน<br />

จริยธรรมทางการแพทย์ เป็ นรายงาน 1 ฉบับ ความยาวกระดาษ A4 1 หน้า (พิมพ์หรือเขียนก็ได้ ถ้า<br />

พิมพ์ใช้ขนาดตัวอักษร 16 ไม่จ ากัดรูปแบบตัวอักษร) ส่งภายใน 1 สัปดาห์หลังได้รับมอบหมาย<br />

8.รายงานการวิเคราะห์คุณค่าบทความ<br />

นักศึกษา 1 คน จะต้องเลือกบทความ 1 เรื่องและวิเคราะห์คุณค่าของบทความนั ้นตาม<br />

แนวทางที่ได้เรียน ส่งภายใน 1 สัปดาห์หลังได้รับมอบหมาย<br />

หมายเหตุ รายงานทุกฉบับ ถ้านักศึกษาส่งรายงานเกินก าหนด จะถูกหักวันละ 10% จากคะแนนที่<br />

ได้ การนับวันให้นับวันหยุดราชการด้วย<br />

6<br />

การประเมินผล<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522 สอบข้อเขียน 70%<br />

รายงานการดูแลผู้ป่ วยแบบองค์รวมฯ 5 %<br />

รายงานผู้ป่ วยกรณีศึกษาจริยธรรมทางการแพทย์ 5 %<br />

รายงานการวิเคราะห์คุณค่าบทความ 15 %<br />

จิตพิสัย 5 %<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 582 สมุดประจ าตัว 10%<br />

การดูแลผู้ป่ วยนอก (OPD) 20%<br />

การน าเสนอการเยี่ยมบ้าน 15%<br />

Topic conference 15%<br />

การปฏิบัติงานที่ศบส. 20%<br />

Evidence-based medicine 10%<br />

จิตพิสัย 10%<br />

เกณฑ์การประเมินผล<br />

- อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์


สัปดาห์ที่ 1<br />

เวลา<br />

8.00-9.00 น.<br />

9.00-10.00 น.<br />

วัน<br />

10.00-11.00 น.<br />

11.00-12.00 น.<br />

ตารางเรียนนศพ.ปี5 กลุ่ม <strong>BMPV</strong> 522/582<br />

จ. อ. พ. พฤ. ศ.<br />

Orientation Holistic medicine ปฏิบัติงาน<br />

ที่ OFM<br />

แนะน าศูนย์ฯ Difficult patient หรือ ศบส.<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

7<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

พักกลางวัน<br />

13.00-14.00 น. <strong>Health</strong> care system<br />

Family assessment<br />

tools กิจกรรม<br />

Evidence base<br />

medicine Medical ethics<br />

14.00-15.00 น.<br />

คณะ<br />

<strong>Health</strong> education Home visit<br />

15.00-16.00 น.<br />

Breaking bad news End of life care<br />

สัปดาห์ที่ 2<br />

เวลา<br />

8.00-9.00 น.<br />

9.00-10.00 น.<br />

วัน<br />

10.00-11.00 น.<br />

11.00-12.00 น.<br />

13.00-14.00 น.<br />

จ. อ. พ. พฤ. ศ.<br />

ปฏิบัติงานที่<br />

OFM หรือ ศบส.<br />

Evidence base<br />

medicine<br />

ปฏิบัติงานที่<br />

OFM หรือ ศบส.<br />

14.00-15.00 น. HV Presentation<br />

15.00-16.00 น. I<br />

SDL<br />

ปฏิบัติงานที่<br />

OFM หรือ ศบส.<br />

พักกลางวัน<br />

Topic conference<br />

(1,2,3) กิจกรรมคณะ<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

Evidence base<br />

medicine<br />

HV Presentation II<br />

ปฏิบัติงานที่<br />

OFM หรือ ศบส.<br />

<strong>Health</strong> economic<br />

ดูงาน OSCC


8<br />

สัปดาห์ที่ 3<br />

วัน<br />

เวลา<br />

8.00-9.00 น.<br />

9.00-10.00 น.<br />

10.00-11.00 น.<br />

11.00-12.00 น.<br />

13.00-14.00 น.<br />

14.00-15.00 น.<br />

15.00-16.00 น.<br />

ตารางเรียนนศพ.ปี5 กลุ่ม <strong>BMPV</strong> 522/582<br />

จ. อ. พ. พฤ. ศ.<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

Evidence base<br />

medicine<br />

HV Presentation III<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

Evidence base<br />

medicine<br />

Topic conference<br />

(4,5)<br />

พักกลางวัน<br />

ปฏิบัติงาน<br />

ที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

กิจกรรม<br />

คณะ<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

Evidence base<br />

medicine<br />

HV Presentation IV<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

Evidence base<br />

medicine<br />

SDL<br />

สัปดาห์ที่ 4<br />

วัน<br />

เวลา<br />

8.00-9.00 น.<br />

9.00-10.00 น.<br />

10.00-11.00 น.<br />

11.00-12.00 น.<br />

13.00-14.00 น.<br />

14.00-15.00 น.<br />

15.00-16.00 น.<br />

จ. อ. พ. พฤ. ศ.<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

HV Presentation V<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

Evidence base<br />

medicine<br />

พักกลางวัน<br />

ปฏิบัติงาน<br />

ที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

กิจกรรม<br />

คณะ<br />

ปฏิบัติงานที่ OFM<br />

หรือ ศบส.<br />

SDL<br />

สอบ<br />

Feedback


ภาคผนวก<br />

9


10<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ เวชปฏิบัติอิงหลักฐานเบื ้องต้น<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายความหมายและความส าคัญของ EBM<br />

2. อธิบายวิธีการปฏิบัติ EBM<br />

3. สามารถตั ้งค าถาม ค้นหาการวิจัย วิพากษ์ และน าไปใช้ได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. เวชปฏิบัติอิงหลักฐาน ส าหรับการรักษา (therapy) , การวินิจฉัย , (dragons) และการ<br />

สรุปรวบรวมข้อมูล (systematic review )<br />

2. การตั ้งค าถาม<br />

3. การค้นหาการวิจัย<br />

4. การวิพากษ์การวิจัย<br />

5. การน าไปใช้ในสถานการณ์จริง<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

- Sheet<br />

- White board<br />

- เอกสารวิจัย (Journal)<br />

แผนการสอน<br />

- บรรยาย และยกตัวอย่างประกอบ 4 ชั่วโมง<br />

- ฝึ กปฏิบัติ 2 ชั่วโมง 30 นาที<br />

- ซักถาม-อภิปราย 2 ชั่วโมง 30 นาที


เอกสารประกอบ<br />

1. Evidence-based medicine : How to practice and teach EBM. Sharon E Straus. et.<br />

al.<br />

2. Users’ Guides to the Medical Literature. Gordon Gugatt, Drummond Rennie<br />

3. Centre for evidence-based medicine ; university health network<br />

(www.cebm.utoronto.ca)<br />

4. Centre for evidence-based medicine (www.cebm.net)<br />

5. How to read a paper ; The basics of evidence- based medicine. Trisha Granhalgh<br />

11


12<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายถึงความส าคัญของเศรษฐศาสตร์สาธรณสุขได้<br />

2. อธิบายความแตกต่างของพื ้นฐานทางเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์<br />

สาธารณสุขได้<br />

3. อธิบายพื ้นฐานการประเมินความคุ้มค่าจากระบบและกระบวนการสุขภาพ<br />

ได้<br />

4. ประยุกต์แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในงานเวชศาสตร์ครอบครัวได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. ความหมายของเศรษฐศาสตร์สุขภาพ<br />

2. ความแตกต่างของเศรษศาสตร์ทั่วไปและเศรษฐศาสตร์สุขภาพ<br />

3. วิธีการประเมินระบบสุขภาพ และกระบวนการสุขภาพโดยอิงตามความ<br />

คุ้มค่า<br />

4. ตัวอย่างการใช้ระบบเศรษฐศาสตร์ในการแพทย์<br />

5. ความคุ้มค่าทางสถิติ คลินิก และทรัพยากร<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

- Sheet<br />

แผนการสอน<br />

1. บรรยาย และยกตัวอย่างประกอบ 2 ชั่วโมง 30 นาที<br />

2. ซักถาม-อภิปราย 30 นาที<br />

เอกสารประกอบ<br />

6. Method for the Economic Evaluation of <strong>Health</strong> Care Programmes, Michael F<br />

Drummond, et al.<br />

7. Clinical Governance in <strong>Health</strong> Care Practice. Thoreya Swage.


13<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ ระบบบริการสุขภาพ<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายลักษณะของระบบสุขภาพที่ดี<br />

2. อธิบายปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระบบสุขภาพ<br />

3. อธิบายระบบการบริบาลสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิ, ทุติยภูมิ และตติยภูมิ<br />

4. อธิบายถึงความส าคัญของระบบบริบาลปฐมภูมิ<br />

5. เข้าใจและอธิบายโครงการระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. เป้ าหมายของระบบสุขภาพ<br />

2. หน้าที่ของระบบสุขภาพ<br />

3. ปัจจัยที่มีผลการทบต่อระบบสุขภาพ<br />

4. ลักษณะของระบบสุขภาพในระดับปฐมภูมิ, ทุติยภูมิ และตติยภูมิ<br />

5. ความส าคัญของระบบสุขภาพระดับปฐมภูมิ<br />

6. โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

- Sheet<br />

แผนการสอน<br />

- บรรยาย และ ซักถาม อภิปราย 2 ชั่วโมง


เอกสารประกอบ<br />

1. Improving health systems: The contribution of family medicine , A guide book ;<br />

A collaborative project of the World Organization of Family Doctors (Wonca)<br />

and the World <strong>Health</strong> Organization (WHO)<br />

2. A Textbook of Family Medicine . Ian R. Mcwhinney<br />

3. คู่มือหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี งบประมาณ 2550 ; ส านักงานหลักประกัน<br />

สุขภาพแห่งชาติ<br />

14


15<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การสื่อสารกับผู้ป่ วยที่ยากต่อการสื่อสาร (difficult patient)<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน อ.พญ.พีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษาแพทย์ชั ้นปี ที่ 5 สามารถ<br />

1.อธิบายหลักการส าคัญของทักษะการสื่อสารและการให้ค าปรึกษาได้<br />

2.อธิบายหลักการสื่อสารกับผู้ป่ วยที่ยากต่อการสื่อสารได้<br />

3.วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ที่ใช้ทักษะการสื่อสารและให้ค าปรึกษาได้<br />

4.อธิบายแนวทางการใช้ทักษะการสื่อสารและการให้ค าปรึกษาแก่ผู้ป่ วยที่ยากต่อการ<br />

สื่อสารได้ (difficult patient)<br />

เนื้อหา<br />

1.ทักษะการสื่อสารและการให้ค าปรึกษา<br />

2.ความส าคัญในการเรียนเนื ้อหาการดูแลผู้ป่ วยที่ไม่ให้ความร่วมมือ<br />

3.แนวทางการสื่อสารการผู้ป่ วยที่ยากต่อการสื่อสาร (difficult patient)<br />

4.อาการที่พบได้บ่อย ๆ ในกลุ่มผู้ป่ วยที่ไม่ให้ความร่วมมือ<br />

5.เทคนิคในการเข้าถึง / เข้าใจผู้ป่ วย<br />

การจัดประสบการณ์เรียนรู ้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง<br />

1.บรรยายหลักการของการสื่อสารและการให้ค าปรึกษา 10 นาที<br />

2.ร่วมกันวิเคราะห์กรณีศึกษา<br />

30 นาที<br />

3.บรรยายแนวทางการใช้ทักษะสื่อสารแลการให้ค าปรึกษาในสถานการณ์ต่างๆ 15 นาที<br />

4.นักศึกษาซักถาม 5 นาที<br />

สื่อการสอน<br />

1.Power point<br />

2.เอกสารประกอบกรณีศึกษา<br />

3.เอกสารประกอบการสอน<br />

การประเมินผล<br />

1.MCQ


16<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การแจ้งข่าวร้าย<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน อ.พญ.พีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษาสามารถ<br />

1.อธิบายถึงความส าคัญของการแจ้งข่าวร้ายทางการแพทย์<br />

2.อธิบายขั ้นตอนในการแจ้งข่าวร้าย<br />

3.ปฏิบัติการแจ้งข่าวร้ายในสถานการณ์ผู้ป่ วยจ าลองได้<br />

เนื้อหา<br />

1. ความหมายของข่าวร้าย<br />

2.แนวทางการแจ้งข่าวร้าย<br />

3.การตอบสนองต่อปฏิกริยาของผู้ป่ วย<br />

การจัดประสบการณ์เรียนรู ้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง<br />

1.บทน า 10 นาที<br />

2.บรรยายหลักการแจ้งข่าวร้าย 40 นาที<br />

3.ฝึ กปฏิบัติการแจ้งข่าวร้ายในสถานการณ์ผู้ป่ วยจ าลองพร้อมอภิปราย 60 นาที<br />

4.นักศึกษาซักถาม 10 นาที<br />

สื่อการสอน<br />

1.Power point<br />

2.เอกสารประกอบกรณีศึกษา<br />

3.เอกสารประกอบการสอน<br />

การประเมินผล<br />

CRQ<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

How to Break Bad News, A Guide for <strong>Health</strong> Care Professionals. Robert Buckman


17<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การแพทย์แบบองค์รวม (Holistic medicine)<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายความส าคัญของการแพทย์แบบองค์รวมต่อการท างานเวชศาสตร์<br />

ครอบครัว<br />

2. อธิบายหลักการของการแพทย์แบบองค์รวม (Holistic medicine) , การแพทย์ที่มี<br />

หัวใจของความเป็ นมนุษย์ (Humanized health care) , การแพทย์ที่ยึดผู้ป่ วยเป็ น<br />

ศูนย์กลาง (Patient centered medicine)<br />

3. น าแนวความคิดของการแพทย์แบบองค์รวมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. หลักการของการแพทย์แบบองค์รวม (Holistic medicine)<br />

2. หลักการของการแพทย์ที่มีหัวใจของความเป็ นมนุษย์ (Humanized health care)<br />

3. หลักการของการแพทย์ที่ยึดผู้ป่ วยเป็ นศูนย์กลาง (Patient centered medicine)<br />

4. การน าไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง<br />

สื่อการสอน<br />

a. Power point<br />

b. LCD<br />

c. Sheet<br />

แผนการสอน<br />

- บรรยาย และ ซักถาม อภิปราย 1.30 ชั่วโมง<br />

เอกสารประกอบ<br />

1. การวางพื ้นฐาน ปรัชญาและแนวคิด ใน คู่มือจัดอบรมวิถีชุมชน ; โกมาตร จึงเสถียร<br />

ทรัพย์,<br />

2550<br />

2. Patient-Centered Medicine: Transforming the Clinical Method ; Moira Stewart ,<br />

Judith Belle Brown, W. Wayne Weston ,et.al , 1995


18<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การเยี่ยมบ้าน<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

4. อธิบายความส าคัญของการเยี่ยมบ้าน<br />

5. อธิบายประเภทของการเยี่ยมบ้านทางการแพทย์<br />

6. อธิบายขั ้นตอนการเยี่ยมบ้านอย่างเป็ นระบบ<br />

7. อธิบายการเยี่ยมบ้านโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. ความหมายของการเยี่ยมบ้าน<br />

2. วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน<br />

3. ประเภทของการเยี่ยมบ้าน<br />

4. การเยี่ยมบ้านโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ<br />

5. ขั ้นตอนการเยี่ยมบ้านตามหลัก INHOMESSS<br />

6. ข้อควรระวังในการเยี่ยมบ้าน<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

- Sheet<br />

แผนการสอน<br />

- บรรยาย ยกตัวอย่าง และ ซักถาม 2 ชั่วโมง<br />

เอกสารประกอบ<br />

1. The Physician’s Role in Home <strong>Health</strong> Care. Peter A. Boling<br />

2. Home Care, In A Textbook of Family Medicine . Ian R. Mcwhinney


19<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การประเมินสุขภาพตามวงจรชีวิตครอบครัว<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน 1. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

2. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายถึงการประเมินผู้ป่ วยอย่างเป็ นองค์รวมในแต่ละวงจรชีวิตครอบครัว<br />

2. อธิบายถึงความส าคัญและบทบาทของครอบครัวในระยะต่างๆต่อสุขภาพ<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. การดูแลครอบครัวระยะเพิ่งแต่งงานใหม่<br />

2. การดูแลครอบครัวระยะตั ้งครรภ์<br />

3. การดูแลครอบครัวระยะลูกเล็ก<br />

4. การดูแลครอบครัวระยะวัยรุ่น<br />

5. การดูแลครอบครัวระยะคู่ครอง<br />

6. การดูแลครอบครัวระยะแก่ชรา<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

- นักศึกษาค้นคว้าและน าเสนอในหัวข้อที่รับผิดชอบ<br />

- อภิปรายและซักถาม ในแต่ละครั ้งที่น าเสนอ<br />

เอกสารประกอบ<br />

Family-Oriented Primary Care. Susan McDaniel, Thomas L. Campbell, David B. Seaburn


20<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ ทฤษฎีระบบครอบครัว<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายทฤษฎีระบบครอบครัวได้<br />

2. ประยุกต์หลักส าคัญของทฤษฎีระบบครอบครัวมาใช้ในการประเมินผู้ป่ วยและ<br />

ครอบครัวได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

ทฤษฎีระบบครอบครัว<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

- นักศึกษาค้นคว้าและน าเสนอในหัวข้อที่รับผิดชอบ<br />

- อภิปรายและซักถาม ในแต่ละครั ้งที่น าเสนอ<br />

เอกสารประกอบ<br />

Working with family in primary care: A systems approach to health and illness. Janet<br />

Christie-seely.


21<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ <strong>Health</strong>y family<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายถึงลักษณะของ <strong>Health</strong>y family ได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

<strong>Health</strong>y family<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

- นักศึกษาค้นคว้าและน าเสนอในหัวข้อที่รับผิดชอบ<br />

- อภิปรายและซักถาม ในแต่ละครั ้งที่น าเสนอ<br />

เอกสารประกอบ<br />

Working with family in primary care: A systems approach to health and illness. Janet<br />

Christie-seely.


22<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การดูแลสุขภาพในชุมชน<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายความหมายของชุมชนได้<br />

2. อธิบายถึงปัจจัยต่างๆ ในชุมชนที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชนได้<br />

3. อธิบายบทบาทของแพทย์ในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนได้<br />

4. ประยุกต์ใช้ทรัพยากรในชุมชนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. Definition of community<br />

2. The community as the context of the family<br />

3. The clinician in the context of the community<br />

4. A practical guide to community assessment<br />

5. The community as a resource for the clinician<br />

6. The community as the object of care<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

- นักศึกษาค้นคว้าและน าเสนอในหัวข้อที่รับผิดชอบ<br />

- อภิปรายและซักถาม ในแต่ละครั ้งที่น าเสนอ<br />

เอกสารประกอบ<br />

Working with family in primary care: A systems approach to health and illness. Janet<br />

Christie-seely.


23<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรครายบุคคล<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายความหมายของการส่งเสริมสุขภาพได้<br />

2. อธิบายความหมายของการป้ องกันโรคระดับ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ ได้<br />

3. อธิบายบทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. ความหมายของการส่งเสริมสุขภาพ<br />

2. ความหมายของการป้ องกันโรค ระดับ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ ได้<br />

3. บทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

- นักศึกษาค้นคว้าและน าเสนอในหัวข้อที่รับผิดชอบ<br />

- อภิปรายและซักถาม ในแต่ละครั ้งที่น าเสนอ<br />

เอกสารประกอบ<br />

Working with family in primary care: A systems approach to health and illness. Janet<br />

Christie-seely.


24<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การดูแลผู้ป่ วยสูงอายุและครอบครัว<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายของผู้สูงอายุได้<br />

2. ประยุกต์หลักการดูแลผู้ป่ วยสูงอายุและครอบครัวไปใช้ในเวชปฏิบัติได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. การเปลี่ยนแปลงทางร่างของผู้สูงอายุ<br />

2. การประเมินสุขภาพของผู้สูงอายุ<br />

3. การประเมินสุขภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ<br />

4. ประเมินครอบครัวของผู้สูงอายุ<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

- นักศึกษาค้นคว้าและน าเสนอในหัวข้อที่รับผิดชอบ<br />

- อภิปรายและซักถาม ในแต่ละครั ้งที่น าเสนอ<br />

เอกสารประกอบ<br />

Working with family in primary care: A systems approach to health and illness. Janet<br />

Christie-seely.


25<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การดูแลสุขภาพบุคลากรทางการแพทย์<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน 1. แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

2. นายแพทย์อรรถพล ฉัตรอารียกุล<br />

3. นายแพทย์ชวนันท์ สุมนะเศรษฐกุล<br />

4. แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. อธิบายหลักการดูแลสุขภาพในมิติต่างๆ (ส่งเสริม ป้ องกัน รักษา ฟื ้ นฟู) แก่<br />

บุคลากรทางการแพทย์ได้<br />

2. อธิบายโรค หรือ ภาวะทางสุขภาพที่พบบ่อยของบุคลากรทางการแพทย์ได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

สื่อการสอน<br />

1. Why medicine- family influences on career choice<br />

2. The impaired physician<br />

3. Illness in colleague or family member<br />

4. Nurse’s family<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

- นักศึกษาค้นคว้าและน าเสนอในหัวข้อที่รับผิดชอบ<br />

- อภิปรายและซักถาม ในแต่ละครั ้งที่น าเสนอ<br />

เอกสารประกอบ<br />

Working with family in primary care: A systems approach to health and illness. Janet<br />

Christie-seely.


26<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. มีความเข้าใจในหลักการและจุดมุ่งหมายของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

2. มีความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

3. มีความเข้าใจเกี่ยวกับระยะของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

4. มีความเข้าใจถึงเทคนิคที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระยะต่าง ๆ ได้<br />

5. สามารถยกตัวอย่างบอกระยะต่าง ๆ ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมถึงบอก<br />

กิจกรรมที่ควรจัดให้กับคนไข้ได้<br />

6. รู้ถึงหลักการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนไข้ได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. การปฏิบัติตัวที่มีผลต่อสุขภาพ<br />

2. ความส าคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

3. ทฤษฎีที่ส าคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Prochska Trantheoretical Model)<br />

4. ระยะต่าง ๆ ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

5. การประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

6. กระบวนการและเทคนิค ที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

7. หลักการสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

- Sheet<br />

แผนการสอน<br />

1. น าเข้าสู่บทเรียน 1 นาที<br />

2. การปฏิบัติตัวที่มีผลต่อสุขภาพ 5 นาที<br />

3. ความส าคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 นาที


27<br />

4. ทฤษฎีที่ส าคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Prochska Trantheoretical Model) 5<br />

นาที<br />

5. ระยะต่าง ๆ ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้อมยกตัวอย่าง 30 นาที<br />

6. การประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้อมยกตัวอย่าง 30 นาที<br />

7. กระบวนการและเทคนิค ที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5<br />

นาที<br />

8. หลักการสื่อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5 นาที<br />

9. อภิปราย – ซักถาม 20 นาที<br />

เอกสารประกอบ<br />

- คู่มือ<br />

- Glan2.K.,Lewis,F.M.,&Rimer,B.K. (1997) health behavior and health<br />

education : Theory research and practice. San Francisco : Jossey -Bass.<br />

- Insel, P.M.,& Roth, W.T.(2002) Core concepts in health (9 th ed). Boston :<br />

Meoraw Hill


28<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ จริยธรรมทางการแพทย์<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. มีความรู้ด้านจริยธรรมทางการแพทย์<br />

2. ทราบความส าคัญในการเรียนในหัวข้อจริยธรรมทางการแพทย์<br />

3. ทราบถึงรายละเอียดที่มีในด้านต่าง ๆ ของจริยธรรมทางการแพทย์<br />

4. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อกรณีตัวอย่างที่อาจพบในชีวิตความเป็ น<br />

แพทย์<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. ความส าคัญในการเรียนเรื่องจริยธรรมทางการแพทย์<br />

2. หัวข้อต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางการแพทย์<br />

3. กรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางการแพทย์ (Ethics workup)<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

- Sheet<br />

แผนการสอน<br />

1. น าเข้าสู่บทเรียน 2 นาที<br />

2. ความส าคัญในการเรียนเรื่องจริยธรรมทางการแพทย์ 5 นาที<br />

3. หัวข้อต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางการแพทย์ 15นาที<br />

4. กรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางการแพทย์ (Ethics workup) 10 นาที<br />

5. ตัวอย่างกรณีศึกษา โดยให้นักศึกษาแพทย์ร่วมอภิปราย กรณีต่าง ๆ ที่พบได้บ่อย<br />

ในชีวิตความเป็ นแพทย์<br />

60 นาที<br />

น าเสนอแนวคิดต่าง ๆ ในแต่ละกรณี 3-5 กรณีศึกษา<br />

6. อภิปราย – ซักถาม 15 นาที<br />

เอกสารประกอบ<br />

- Family-Oriented Primary Care : Susan McDaniel


29<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ เครื่องมือการดูแลผู้ป่ วยและครอบครัว<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน แพทย์หญิงพีรนุช โรหิตเสถียร<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ เมื่อนักศึกษาศึกษาหัวข้อนี ้จบแล้วนักศึกษาสามารถ<br />

1. อธิบายเครื่องมือแต่ละชนิดที่ใช้ในการดูแลผู้ป่ วยและครอบครัว<br />

2. อธิบายประโยชน์ของเครื่องมือแต่ละชนิดได้<br />

3. ประยุกต์ใช้เครื่องมือแต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมในการดูแลผู้ป่ วย<br />

และครอบครัว<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. เครื่องมือในการดูแลครอบครัวชนิดต่างๆ ได้แก่ family genogram, time flow<br />

chart, family life cycle, family mapping , practice ฯลฯ<br />

สื่อการสอน<br />

สไลด์ Power Point<br />

แผนการสอน<br />

น าเข้าสู่บทเรียน 5 นาที<br />

ตัวอย่างผู้ป่ วยและครอบครัว<br />

15 นาที<br />

การบรรยาย<br />

90 นาที<br />

การซักถาม<br />

10 นาที<br />

เอกสารประกอบ<br />

- เอกสารประกอบการบรรยาย


30<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การดูแลผู้ป่ วยระยะสุดท้าย<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน แพทย์หญิงสุปราณี อ่างแก้ว<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1. มีความเข้าใจถึงแนวทางการดูแลผู้ป่ วยระยะสุดท้าย<br />

2. ทราบถึงหลักการในการดูแลผู้ป่ วยระยะสุดท้าย<br />

3. ทราบถึงแนวทางในการช่วยเหลือทางจิตใจให้กับผู้ป่ วยและญาติในระยะ<br />

ต่าง ๆ ของผู้ป่ วย<br />

4. ทราบถึงแนวทางในการประเมินผู้ป่ วย<br />

5. ทราบถึงแนวทางในการประเมินอาการที่พบบ่อย เช่น อาการปวดและ<br />

แนวทางในการให้การรักษา<br />

6. ทราบถึงการดูแลผู้ป่ วยระยะใกล้ตาย<br />

7. วิธีการดูสังเกตและการให้ค าแนะน าเพื่อการดูแลผู้ป่ วยระยะใกล้ตาย<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1. ความหมายของระยะสุดท้ายของชีวิต<br />

2. การช่วยเหลือทางจิตใจต่อผู้ป่ วยระยะสุดท้ายและญาติ<br />

3. การสื่อสารกับผู้ป่ วยระยะสุดท้าย<br />

4. การดูแลผู้ป่ วยและญาติต่อการปฏิบัติตัว<br />

5. การเลือกใช้ยาระงับอาการปวดที่เหมาะสม<br />

6. การดูแลผู้ป่ วยในสถานที่ต่าง ๆ<br />

7. วิธีการสังเกตและการให้ค าแนะน าเพื่อการดูแลผู้ป่ วยระยะใกล้ตาย<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

- Sheet


31<br />

แผนการสอน<br />

เอกสารประกอบ<br />

1. น าเข้าสู่บทเรียน 2 นาที<br />

2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา 10 นาที<br />

3. อภิปรายถึงเนื ้อหาที่เกี่ยวข้อง<br />

- ระยะสุดท้ายของชีวิต<br />

- การให้การช่วยเหลือ<br />

- การสื่อสาร<br />

60 นาที<br />

- การให้ยาระงับปวด<br />

- การดูแลระยะใกล้ตาย<br />

4. สรุปเนื ้อหา<br />

15 นาที<br />

5. อภิปราย-ซักถาม 15 นาที<br />

- A TEXTBOOK OF FAMILY MEDICINE : Ina R. McWhinney, M.D.


32<br />

แผนการสอนรายหัวข้อ (Topic Module)<br />

หัวข้อ การดูแลผู้ป่ วยที่ถูกทารุณกรรม<br />

รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522<br />

ชื่อผู ้สอน นางสิริพร เขียนประเสริฐ<br />

วัตถุประสงค์หัวข้อ<br />

เมื่อนักศึกษาแพทย์จบการศึกษาหัวข้อนี ้แล้วสามารถ<br />

1.อธิบายแนวทางการดูแลผู้ป่ วยที่ได้รับการทารุณกรรมได้<br />

2.คัดกรองบุคคลที่มีความเสี่ยงที่จะถูกทารุณกรรมจากบุคคลในครอบครัวได้<br />

เนื้อหาหัวข้อ<br />

1.ความหมายของการทารุณกรรม<br />

2.ลักษณะของผู้ที่ถูกทารุณกรรมและผู้ที่เสี่ยงต่อการถูกทารุณกรรม<br />

3.ผลกระทบทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ของผู้ที่ถูกการทารุณกรรม<br />

4.ระบบการให้บริการของศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กและสตรี วิทยาลัยแพทยศาสตร์<br />

กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล<br />

สื่อการสอน<br />

- Power point<br />

- LCD<br />

แผนการสอน<br />

1.น าเข้าสู่บทเรียน 1 นาที<br />

2. บรรยาย 30 นาที<br />

3. ศึกษาดูงานที่หน่วยสังคมสงเคราะห์ 25 นาที<br />

4. อภิปราย-ซักถาม 4 นาที


แบบประเมินการน าเสนอ Topic conference (15 %) รายวิชา <strong>BMPV</strong> 582<br />

33<br />

ชื่อนักศึกษา 1............................................................................ 4........................................................................... กลุ่มที่.....................................................<br />

2............................................................................ 5............................................................................ อาจารย์ผู้ประเมิน...................................<br />

3............................................................................ 6............................................................................ วันที่.......................................................<br />

ประเด็น คะแนนที่ได้ 4 3 2 1<br />

1. เนื ้อหาของการน าเสนอให้อาจารย์ประเมิน<br />

ประเด็นดังต่อไปนี ้ (4%)<br />

- ความครบถ้วนของเนื ้อหา<br />

- ความถูกต้องของเนื ้อหา<br />

- ความกระชับได้ใจความส าคัญ<br />

2. ทักษะการใช้สื่อ (3%)<br />

- สื่อที่ใช้อ่านง่ายเห็นตัวอักษรชัดเจน<br />

- จ านวนเนื ้อหาต่อ 1 slide เหมาะสม<br />

3. ทักษะการใช้ภาษา และการน าเสนอ (4%)<br />

- พูดชัดฟังเข้าใจ<br />

- การแต่งกายสุภาพ<br />

- หันหน้าเข้าหาผู้ฟังมีการสบตาผู้ฟัง<br />

- มีการโต้ตอบกับผู้ฟังเมื่อมีการซักถาม<br />

4. การตรงต่อเวลา (4%)<br />

( ก าหนดเวลา 20 นาที)<br />

รวมคะแนนที่ได้ (15%)<br />

ครบถ้วนทั ้ง 3 ประเด็น<br />

ครบถ้วนทั ้ง 4 ประเด็น<br />

ตรงหรือก่อนเวลา<br />

ขาด 1 ประเด็น<br />

ครบถ้วนทั ้ง 2 ประเด็น<br />

ขาด 1 ประเด็น<br />

เกิน 1-3 นาที<br />

ขาด 2 ประเด็น<br />

ขาด 1 ประเด็น<br />

ขาด 2 ประเด็น<br />

เกิน 3-5 นาที<br />

ขาดทั ้ง 3 ประเด็น<br />

ขาดทั ้ง 2 ประเด็น<br />

ขาด 3 ประเด็น<br />

เกินมากกว่า 5 นาที


34<br />

แบบประเมินจิตพิสัยของนักศึกษา รายวิชา <strong>BMPV</strong> 522 (5%) <strong>BMPV</strong> 582 (10%)<br />

ชื่อผู้ประเมิน..........................................................................................กลุ่ม................กลุ่มย่อยที่........................วันที่ประเมิน....................................<br />

เกณฑ์การประเมิน 1 = น้อยมาก 2 = น้อย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากที่สุด<br />

ชื่อสกุล<br />

หัวข้อที่ประเมิน<br />

1. แต่งกายสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ<br />

( 2 %)<br />

2. มีสัมมาคารวะ ( 2 %)<br />

3. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ<br />

มอบหมาย ( 2 %)<br />

4. มีความกระตือรือร้นในการเรียน<br />

( 2 %)<br />

5. มีความตรงต่อเวลา ( 2 %)<br />

รวมคะแนนที่ได้ (10%)<br />

หมายเหตุ : เกณฑ์ในการประเมินนักศึกษาเป็ นรายบุคคลให้กรอกเป็ นตัวเลข ดังนี ้<br />

เกณฑ์การประเมิน 1 = น้อยมาก 2 = น้อย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากที่สุด


35<br />

แบบประเมินสมุดสะสมงาน (Portfolio) 10 % รายวิชา <strong>BMPV</strong> 582<br />

ชื่อนักศึกษา.....................................................................................กลุ่มที่...........................อาจารย์ผู้ประเมิน.......................................................... วันที่............................<br />

ประเด็น คะแนนที่ได้<br />

1.ความถูกต้องของเนื ้อหา (5%)<br />

2.หัวข้อที่เลือกมาบันทึกมีประโยชน์ (1%)<br />

3.ความสะอาดเรียบร้อย (2%)<br />

4.ส่งตรงเวลา (2%)<br />

รวมคะแนนที่ได้ ( 10%)


้<br />

36<br />

แบบประเมินการน าเสนอการเยี่ยมบ้าน 15% รายวิชา <strong>BMPV</strong> 582<br />

ชื่อ นศพ.1................................................................................4................................................................................ กลุ่มที่..................................................................<br />

2................................................................................5................................................................................ อาจารย์ผู้ประเมิน................................................<br />

3................................................................................6................................................................................ วันที่....................................................................<br />

ประเด็น คะแนนที่ได้ 4 3 2 1<br />

1. ข้อมูลทั่วไปของครอบครัว<br />

และให้อาจารย์ประเมินความ<br />

ครอบคุลมของ ประเด็นดังนี<br />

น าเสนอได้ครบถ้วนทั ้ง 4<br />

ประเด็น<br />

ขาด 1 ประเด็น ขาด 2 ประเด็น ขาด 3 ประเด็น<br />

(4%)<br />

1.1 น าเสนอสถานที่ตั ้งของ<br />

บ้าน แผนที่ แผนผังบ้านได้<br />

ชัดเจน<br />

1.2 น าเสนอประวัติของ<br />

ผู้ป่ วยทั ้ง disease และ illness<br />

1.3 น าเสนอข้อมูลทั่วไป<br />

เช่น สิทธิการรักษา อาชีพ<br />

รายได้ ศาสนา ความเชื่อ ฯลฯ<br />

1.4 Identity index case<br />

และ caregiver ได้


แบบประเมินการน าเสนอการเยี่ยมบ้าน 15% รายวิชา <strong>BMPV</strong> 582<br />

ประเด็น คะแนนที่ได้ 4 3 2 1<br />

2. การน าเสนอเครื่องมือในการ<br />

ประเมินครอบครัว (3%)<br />

เครื่องมืออื่นๆ คือ family time<br />

flow, family life cycle,<br />

INHOMESSS, holistic frame<br />

work<br />

3. สรุปปัญหาและให้การ<br />

วินิจฉัยครอบครัว (1%)<br />

4. วิเคราะห์ และเสนอแนว<br />

ทางแก้ไขปัญหา (5%)<br />

5. การตรงต่อเวลา (2%)<br />

(ก าหนดเวลา 20 นาที)<br />

รวมคะแนนที่ได้ (15%)<br />

น าเสนอ Genogram ได้<br />

ถูกต้อง และมีการใช้<br />

เครื่องมืออื่นๆ ได้เหมาะสม<br />

สรุปปัญหาส าคัญของผู้ป่ วย<br />

และครอบครัวได้อย่างเป็ น<br />

องค์รวม (ครบทั ้งกาย จิต<br />

สังคม)<br />

สามารถวิเคราะห์ปัญหาได้<br />

อย่างเป็ นองค์รวมเสนอแนว<br />

ทางการแก้ไขปัญหาได้<br />

สอดคล้องกับปัญหาของ<br />

ครอบครัว<br />

น าเสนอ Genogram ได้พอ<br />

เข้าใจ อาจไม่สมบูรณ์ และมี<br />

การใช้เครื่องมือประเมินอื่นๆ<br />

ได้อย่างเหมาะสม แม้จะไม่<br />

สมบูรณ์<br />

สรุปปัญหาเฉพาะทางกายของ<br />

ผู้ป่ วย และบุคคลอื่นใน<br />

ครอบครัว<br />

วิเคราะห์ปัญหาของครอบครัว<br />

ได้สอดคล้องกับข้อมูล แต่ยัง<br />

ไม่เป็ นองค์รวม เสนอแนวทาง<br />

แก้ไขปัญหาได้สอดคล้องการ<br />

วิเคราะห์<br />

น าเสนอเฉพาะ Genogram<br />

และถูกต้องครบถ้วนแต่ไม่<br />

ใช้เครื่องมือประเมินอื่นๆ<br />

เลย<br />

สรุปปัญหาเฉพาะทางกาย<br />

ของผู้ป่ วยไม่มีของบุคคล<br />

อื่นในครอบครัว<br />

วิเคราะห์ปัญหารายบุคคล<br />

ไม่สามารถวิเคราะห์ใน<br />

ระดับครอบครัวได้ เสนอ<br />

แนวทางการแก้ไขปัญหา<br />

สอดคล้องกับการวิเคราะห์<br />

37<br />

น าเสนอ Genogram ไม่<br />

ถูกต้อง อ่านไม่เข้าใจ<br />

หรือไม่ตรงกับข้อมูลของ<br />

ครอบครัว และไม่ใช้<br />

เครื่องมือประเมินอื่นเลย<br />

ไม่มีการประเมินปัญหา<br />

ของผู้ป่ วยและครอบครัว<br />

ไม่สามารถแสดงการ<br />

วิเคราะห์ และเสนอแนว<br />

ทางการแก้ไขปัญหาใน<br />

ระดับครอบครัวได้<br />

หรือไม่สามารถท าได้จริง<br />

ในสังคมไทย<br />

ภายในเวลาที่ก าหนด เกินเวลา 1-3 นาที เกินเวลา 3-5 นาที เกินเวลามากกว่า 5 นาที


38<br />

แบบประเมินทักษะการตรวจผู ้ป่ วยนอก 20 % (OPD เวชศาสตร์ครอบครัว) วิชา <strong>BMPV</strong> 582<br />

ชื่อนักศึกษา...........................................................................................กลุ ่มที่.......................วันที่ฝึ กปฏิบัติ...........................................................<br />

หัวข้อประเมิน คะแนนที่ได้ 3 2 1 0<br />

1. การซักประวัติ (3%) ซักประวัติได้ข้อมูลทั ้งด้าน<br />

disease และ illness ครบทุก<br />

มิติแห่งสุขภาพ ภายใต้กรอบ<br />

เวลาที่เหมาะสม<br />

ซักประวัติได้ข้อมูลdisease<br />

and illness แม้ไม่ครอบคลุม<br />

ทุกมิติ แต่ได้ประเด็นส าคัญ<br />

หรือได้ครบถ้วนแต่ใช้<br />

เวลานานเกินไป<br />

ซักประวัติได้ข้อมูลของ<br />

ผู้ป่ วยแต่ disease หรือ<br />

illness อย่างเดียว<br />

ซักประวัติไม่ได้ประเด็น<br />

ส าคัญ หรือ วกวน จนไม่<br />

สามารถให้การวินิจฉัย<br />

ได้<br />

2. การตรวจร่างกาย (3%) ตรวจร่างกายได้ถูกต้อง แปล<br />

ผลจากการตรวจได้ถูกต้อง<br />

ภายใต้กรอบเวลาที่เหมาะสม<br />

ตรวจร่างกายได้ถูกต้อง แต่<br />

ไม่ครบถ้วน เช่น ไม่ได้<br />

ตรวจบางระบบที่ส าคัญต่อ<br />

การวินิจฉัยแยกโรค หรือ<br />

ตรวจได้ถูกต้องครบถ้วนแต่<br />

ใช้เวลานานเกินไป<br />

ตรวจร่างกายเฉพาะระบบที่<br />

เป็ นปัญหาที่น าผู้ป่ วยมาพบ<br />

แพทย์ ไม่ตรวจระบบอื่นๆ<br />

เลย แต่สามารถแปลผล<br />

ตรวจได้ถูกต้อง<br />

ตรวจร่างกายไม่ถูกต้อง<br />

หรือแปลผลจากการ<br />

ตรวจไม่ถูกต้อง หรือไม่<br />

ตรวจระบบที่ส าคัญจน<br />

ท าให้ไม่สามารถให้การ<br />

วินิจฉัยได้


39<br />

แบบประเมินทักษะการตรวจผู ้ป่ วยนอก 20 % (OPD เวชศาสตร์ครอบครัว) วิชา <strong>BMPV</strong> 582<br />

หัวข้อประเมิน คะแนนที่ได้ 3 2 1 0<br />

มีการพิจารณาส่งตรวจ<br />

เพิ่มเติมที่เหมาะสม โดย<br />

ค านึงถึงความคุ้มทุน<br />

3. การส่งตรวจเพิ่มเติม<br />

(2%)<br />

4. การวางแผนดูแล<br />

ผู้ป่ วยอย่างเป็ นองค์รวม<br />

(5%)<br />

5. การให้ความรู้ด้าน<br />

สุขภาพ<br />

(2%)<br />

มีการวางแผนการดูแลผู้ป่ วย<br />

อย่างเป็ นองค์รวม เป็ น<br />

รูปธรรม ครบถ้วนทั ้งใน<br />

disease and illness จัดล าดับ<br />

ความส าคัญของปัญหาได้ดี<br />

สามารถให้ค าแนะน าในการ<br />

ปฏิบัติตัว และให้ความรู้<br />

เรื่องการป้ องกันโรคที่<br />

ส าคัญในชุมชน ร่วมกับ<br />

ส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะกับ<br />

เพศและวัยของผู้ป่ วย<br />

มีการพิจารณาส่งตรวจที่ไม่<br />

ผิดหลักการ แต่ไม่ได้<br />

ประยุกต์ให้เข้ากับ<br />

สถานการณ์จริงในระดับ<br />

ปฐมภูมิ<br />

วางแผนดูแลผู้ป่ วยอย่างเป็ น<br />

องค์รวม แต่ไม่สามารถ<br />

ประยุกต์ให้เข้ากับ<br />

สถานการณ์จริง ครอบคลุม<br />

disease and illness<br />

สามารถให้ค าแนะน าในการ<br />

ปฏิบัติตัวได้ และ ยังให้<br />

ความรู้เรื่องการป้ องกันโรค<br />

ที่ส าคัญในชุมชน หรือให้<br />

ความรู้เรื่องการส่งเสริม<br />

สุขภาพที่เหมาะสม<br />

พิจารณาส่งตรวจทาง<br />

ห้องปฏิบัติการไม่ผิด<br />

หลักการแต่ไม่ครบถ้วน<br />

พอที่จะช่วยวินิจฉัยได้<br />

วางแผนการดูแลเฉพาะ<br />

ปัญหาที่น าผู้ป่ วยมาได้<br />

อย่างถูกต้อง แต่ไม่ได้<br />

ค านึงถึงมิติอื่นๆ ของ<br />

สุขภาพ<br />

ให้ค าแนะน าเฉพาะการ<br />

ปฏิบัติตัวในเรื่องที่ผู้ป่ วย<br />

มาพบแพทย์เท่านั ้น<br />

ไม่ได้ค านึงถึงการสร้าง<br />

เสริมสุขภาพ หรือ<br />

ป้ องกันโรคในด้านอื่นๆ<br />

พิจารณาส่งตรวจทาง<br />

ห้องปฏิบัติการมากเกิน<br />

ความจ าเป็ น ไม่ช่วยใน<br />

การวินิจฉัย และยังท าให้<br />

ผู้ป่ วยเสียประโยชน์<br />

ไม่สามารถวางแผนการ<br />

ดูแลผู้ป่ วยได้ ขาดองค์<br />

ความรู้เรื่องปัญหาที่พบ<br />

บ่อยในระดับปฐมภูมิ<br />

ไม่ได้ให้ค าแนะน าใดๆ<br />

เพียงแต่ให้การรักษาตาม<br />

อาการ หรือตามโรคที่มา<br />

เท่านั ้น


40<br />

แบบประเมินทักษะการตรวจผู ้ป่ วยนอก 20 % (OPD เวชศาสตร์ครอบครัว) วิชา <strong>BMPV</strong> 582<br />

หัวข้อประเมิน คะแนนที่ได้ 3 2 1 0<br />

ใช้ถ้อยค าเข้าใจง่าย ไม่วกวน กิริยาสุภาพ ถูกกาลเทศะ กิริยาสุภาพ ถูกกาลเทศะ<br />

กิริยาสุภาพ ถูกกาลเทศะ เปิ ด อธิบายโดยใช้ศัพท์เฉพาะ/ อาจเสียงดัง หรือพูดห้วน<br />

โอกาสให้ผู้ป่ วยถามตาม ภาษาอังกฤษปนบ้าง แต่ก็ ไปบ้าง แต่ไม่ถึงกับไม่<br />

สมควร<br />

เข้าใจได้ เปิ ดโอกาสให้ เหมาะสม ใช้ลักษณะ oneway<br />

ผู้ป่ วยถามตามสมควร<br />

communication เป็ น<br />

6. ทักษะการสื่อสาร<br />

กับผู้ป่ วย (3%)<br />

7. ทักษะการบันทึก<br />

เวชระเบียน (2%)<br />

บันทึกได้ถูกต้อง กระชับ ไม่<br />

วกวน ข้อมูลชัดเจนไม่ก ากวม<br />

ไม่ใส่ความเห็นส่วนตัวใน<br />

ส่วนที่เป็ นข้อมูลเชิง<br />

subjective บันทึกทั ้ง positive<br />

และ negative finding ที่<br />

ส าคัญได้<br />

บันทึกได้ถูกต้อง อาจยาว<br />

หรือวกวนไปบ้าง แต่อ่าน<br />

เข้าใจได้ แยกข้อมูล S และ<br />

O ออกจากกันได้ อาจ<br />

บันทึกไม่ชัดเจนบางส่วน<br />

หรือใช้สัญลักษณ์ไม่เป็ น<br />

สากลบ้าง แต่ไม่ท าให้<br />

ข้อมูลบิดเบือนไป<br />

ส่วนใหญ่<br />

บันทึกพอเข้าใจได้ อาจ<br />

บันทึกแบบพรรณนา ไม่<br />

สามารถแยก S กับ O ได้<br />

ชัดเจน อาจมีการใช้<br />

สัญลักษณ์ หรือบันทึก<br />

บางส่วนไม่ชัดเจนจนอาจ<br />

ท าให้สับสน<br />

แสดงกิริยา หรือใช้ค าพูด<br />

ที่ไม่เหมาะสม หรือไม่<br />

สามารถอธิบายให้ผู้ป่ วย<br />

เข้าใจได้ หรือใช้ลักษณะ<br />

การสื่อสารแบบทางเดียว<br />

ไม่เปิ ดโอกาสให้ถาม<br />

บันทึกวกวน จนไม่<br />

สามารถจับประเด็นของ<br />

ข้อมูลได้ หรือบันทึกไม่<br />

ชัดเจนจนท าให้ข้อมูลผิด<br />

ไปจากความเป็ นจริง<br />

คะแนนรวม (20%)......................................................<br />

ผู ้ประเมิน......................................................................................


41<br />

แบบประเมินการปฏิบัติงานที่ศูนย์บริการสาธารณสุข นักศึกษาแพทย์นักศึกษาแพทย์ชั ้นปี ที่ 5<br />

รายวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนเมือง 2 ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกันและสังคม วิทยาลัยแพทยศาสตร์<br />

กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล<br />

ศูนย์บริการสาธารณสุข..................................ชื่อนักศึกแพทย์………………….………………รหัส ………………<br />

ผู้ประเมิน ………………………………………………………………...ต าแหน่ง………………………………..<br />

หัวข้อ เนื้อหา ดีมาก ดี ปานกลาง<br />

ต้อง<br />

ปรับปรุง<br />

K - ความรู้ในด้านส่งเสริมสุขภาพและการป้ องกันโรค<br />

ความรู ้ - การเยี่ยมบ้าน<br />

20% - ความรู้ในด้านการรักษาพยาบาล<br />

A - ความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน<br />

ทัศนคติ - ความตรงต่อเวลา<br />

40% - การปฏิบัติตามกฏระเบียบของสถานที่<br />

- มนุษยสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน<br />

- ความเป็ นผู้น า<br />

- ความเหมาะสมของการปฏิบัติตัวในฐานะนักศึกษา<br />

แพทย์<br />

P - การปฏิบัติงานและดูงานในศบส.<br />

การ<br />

ปฏิบัติ - การออกเยี่ยมบ้าน<br />

40% - การออกด าเนินกิจกรรมอื่นในชุมชน<br />

- การบูรณาการความรู้ในงานส่งเสริม, ป้ องกัน และ<br />

ฟื ้ นฟูสุขภาพ<br />

ข้อเสนอแนะ/ปรับปรุง<br />

………………………………………………………………………………………………………………………<br />

………………………………………………………………………………………………………………………<br />

………………………………………………………………………………………………………………………<br />

……………………………………………………………………………………………………………………..<br />

ลงชื่อ……………………............ผู้ประเมิน<br />

(............................................)


42<br />

วันที่ประเมิน................................................<br />

แบบประเมินการเรียนการสอน<br />

วิชา <strong>BMPV</strong> 522/582<br />

เพศ ชาย หญิง<br />

ให้แสดงความคิดเห็นเป็ นคะแนนตามหัวข้อต่างๆ ในช่วงคะแนนอาจารย์แต่ละท่าน<br />

5 มากที่สุด 4 มาก 3 ปานกลาง 2 น้อย 1น้อยที่สุด<br />

หัวข้อ อ.สุปราณี อ.อรรถพล อ.ชวนันท์ อ.พีรนุช<br />

1. หัวข้อที่ท าการสอนตรงตามวัตถุประสงค์<br />

2. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับนักศึกษา<br />

3. สื่อการสอนที่ใช้<br />

4. บรรยากาศการเรียนการสอน<br />

5. สามารถน าไปประยุกต์ใช้ได้จริง<br />

6. ความทันสมัยในวิชาความรู้<br />

รวม<br />

ปัญหาและข้อเสนอแนะอื่นๆ<br />

......................................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................................

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!