05.05.2015 Views

ดานการสํารวจอทกธรณีวิ ุ ชุดคูมือการปฏิบัติ

ดานการสํารวจอทกธรณีวิ ุ ชุดคูมือการปฏิบัติ

ดานการสํารวจอทกธรณีวิ ุ ชุดคูมือการปฏิบัติ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ุ<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

กระทรวงทรัพยากรธรร<br />

กระทรวงทรพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

มชาตและสงแวดลอม<br />

รายงานฉบับสมบูรณ เลมที่ 3/10<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ<br />

สํารวจ และพัฒนาบอน้้ําบาดาล<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงาน<br />

ดานการสํารวจอทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550 ถึง 4000-2550<br />

จัดทําโดย มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

ธันวาคม 2551


- กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

ก กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ<br />

และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ชุดคูมือ<br />

การปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

และแผนที่น้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550 ถึง 4000-2550<br />

จัดทําโดย<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

ธันวาคม 2551


ขอมูลบรรณานุกรม<br />

เจาของ : กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

ชื่อเรื่อง : รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550 ถึง 4000-2550<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

พิมพครั้งที่ 1 : เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2551 จํานวน 500 เลม<br />

โรงพิมพ : หางหุนสวนจํากัด โรงพิมพคลังนานาวิทยา 232/199 ม. 6<br />

ถ. ศรีจันทร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000<br />

ISBN 978-974-286-583-2<br />

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ชุดคูมือ<br />

การปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550 ถึง 4000-2550<br />

เจาของโครงการ<br />

เจาของโครงการ<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

จัดทําโดย<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

กระทรวงศึกษาธิการ<br />

คณะที่ปรึกษาโครงการ<br />

นางสาวสมคิด บัวเพ็ง อธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

นายอนันต เกตุเอม รองอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

นายโชติ ตราชู รองอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

คณะกรรมการพิจารณาดําเนินการจางโดยวิธีตกลง<br />

1. นายปราณีต รอยบาง ประธานกรรมการ<br />

2. นายบรรจง พรมจันทร กรรมการ<br />

3. นายอํานาจ เยาวสุต กรรมการ<br />

4. นายสุทธิพล เอี่ยมประเสริฐกุล กรรมการ<br />

5. นางสาวอุไร บางยี่ขัน กรรมการ<br />

คณะกรรมการตรวจสอบงาน<br />

1. นายสุพจน เจิมสวัสดิ์พงษ ประธานกรรมการ<br />

2. ดร.อรนุช หลอเพ็ญศรี กรรมการ<br />

3. นายสุนทร ปญจาสุธารส กรรมการ<br />

4. นายประกอบ อยูคง กรรมการ<br />

5. นางศจีรัตน อุนประเสริฐสุข กรรมการ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ก<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คณะทํางานตรวจสอบมาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและ<br />

แผนที่น้ําบาดาล<br />

1. นายกมลศักดิ์ บัวออน ประธานคณะทํางาน<br />

2. นางสาววิลาวัณย ไทยสงคราม คณะทํางาน<br />

3. นายประกอบ อยูคง คณะทํางาน<br />

4. นายวสันต จันทรแสง คณะทํางานและเลขานุการ<br />

คณะทํางานตรวจสอบมาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงานดานการประเมินศักยภาพแหลงน้ําบาดาล<br />

1. นายสัมฤทธิ์ ชุษณะทัศน ประธานคณะทํางาน<br />

2. นายสุนทร ปญจาสุธารส คณะทํางาน<br />

3. นายเทิดศักดิ์ ทรัพยทวีวัง คณะทํางานและเลขานุการ<br />

คณะทํางานตรวจสอบมาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงานดานการเจาะและพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

1. นายสุพจน เจิมสวัสดิ์พงษ ประธานคณะทํางาน<br />

2. นายสําเริง สโมทัย คณะทํางาน<br />

3. นายพันธศักดิ์ ธีรปญญาภรณ คณะทํางาน<br />

4. นายสุวัฒน เปยมปจจัย คณะทํางาน<br />

5. นายอุโรม แกวจันทร คณะทํางานและเลขานุการ<br />

คณะทํางานตรวจสอบมาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงานดานการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

1. นายชัยพร ศิริพรไพบูลย ประธานคณะทํางาน<br />

2. นายอดิสัย จารุรัตน คณะทํางาน<br />

3. ดร.อรัญญา เฟองสวัสดิ์ คณะทํางาน<br />

4. นางโศภิษฐ ภิรมยเลิศ คณะทํางาน<br />

5. ดร.อรนุช หลอเพ็ญศรี คณะทํางานและเลขานุการ<br />

คณะทํางานตรวจสอบคูมือการปฏิบัติงานดานระบบฐานขอมูลและสารสนเทศน้ําบาดาล<br />

1. นายไพศาล ลักขณานุรักษ ประธานคณะทํางาน<br />

2. นายเทิดศักดิ์ ทรัพยทวีวัง คณะทํางาน<br />

3. นายบุญเลิศ เลิศพฤกษสุกิจ คณะทํางาน<br />

4. นายธนจักร ริจิรวนิช คณะทํางานและเลขานุการ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ข<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คณะทํางาน<br />

1. รศ.ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีสุข หัวหนาโครงการและผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา<br />

2. นายสมชัย วงศสวัสดิ์ รองหัวหนาโครงการและผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา<br />

3. นายเจริญ เชื่อมไธสง ผูเชี่ยวชาญดานการเจาะและพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

4. นายวิฑิต ศิริโภคากิจ ผูเชี่ยวชาญดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

5. นายธีรวัชร อินทรสูต ผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา<br />

6. นายเจตต จุลวงษ ผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา<br />

7. นายธีรศักดิ์ ตั้งสุทธินนท ผูเชี่ยวชาญดานธรณีวิทยา<br />

8. รศ.ดร.วิชัย ศรีบุญลือ ผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมแหลงน้ํา<br />

9. รศ.ฉลอง บัวผัน ผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา<br />

10. ผศ.หลา อาจวิชัย ผูเชี่ยวชาญดานธรณีวิทยา<br />

11. ผศ.ดร.ศรัญญา พรหมโคตร ผูเชี่ยวชาญดานธรณีเคมี<br />

12. รศ.ดร.อลิศรา เรืองแสง ผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมสิ่งแวดลอม<br />

13. ดร.พิพัธน เรืองแสง ผูเชี่ยวชาญดานระบบฐานขอมูลและสารสนเทศน้ําบาดาล<br />

14. นายพรศักดิ์ อรุณกิจกําจร ผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมเครื่องกล<br />

15. ผศ.ดร.อุมา สีบุญเรือง ผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมสิ่งแวดลอม<br />

16. นายโพยม สราภิรมย ผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมโยธา<br />

17. นางกฤษณี คชสาร ผูประสานงานโครงการ<br />

18. น.ส.ศิริรัตน อุปสิทธิ์ นักอุทกธรณีวิทยาและผูประสานงานโครงการ<br />

19. น.ส.ธิดารัตน โคตนนท นักอุทกธรณีวิทยา<br />

20. นายสุวันชัย นาดี วิศวกรเกษตร<br />

21. นายสหราช ทวีพงษ นักอุทกธรณีวิทยา<br />

22. นายประยุทธ เสนชัย นักธรณีวิทยา<br />

23. น.ส.เกวรี พลเกิ้น วิศวกรเกษตร<br />

24. นางนันทนา ศรีบุญลือ เจาหนาที่การเงิน<br />

25. น.ส.ปยะมาศ ลีทองดี เจาหนาที่ธุรการ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ค<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คํานํา<br />

น้ําบาดาลเปนแหลงน้ําที่จําเปนอยางยิ่งตอการดํารงชีพโดยเฉพาะชุมชนที่แหลงน้ําอื่นมีไมเพียงพอกับ<br />

ความตองการ รวมทั้งเปนแหลงน้ําทางเลือกสําหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมและการเกษตร ดังนั้นหาก<br />

กระบวนการปฏิบัติงานดานการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําบาดาล เชน การพัฒนาน้ําบาดาล การสํารวจและ<br />

ประเมินศักยภาพแหลงน้ําบาดาล และการอนุรักษและฟนฟูแหลงน้ําบาดาลไมดําเนินการใหเปนไปตาม<br />

มาตรฐานทางวิชาการ อาจกอใหเกิดความเสียหายตอทรัพยากรน้ําบาดาลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพยากที่จะ<br />

แกไขได ในอดีตที่ผานมาการปฏิบัติงานดานทรัพยากรน้ําบาดาลยังขาดแนวทางปฏิบัติที่ไดมาตรฐานตามหลัก<br />

วิชาการ ดังนั้นในปงบประมาณ 2550 กรมทรัพยากรน้ําบาดาลซึ่งเปนหนวยงานหลักที่รับผิดชอบดานการ<br />

บริหารจัดการทรัพยากรน้ําบาดาลของประเทศไดวาจางมหาวิทยาลัยขอนแกน ใหเปนผูดําเนินงานโครงการ<br />

จัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล เพื่อจัดทํามาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงานครอบคลุม<br />

การปฏิบัติงานดานตางๆ ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล 5 ดาน คือ (1) มาตรฐานและหรือคูมือการปฏิบัติงาน<br />

ดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (2) มาตรฐานและหรือคูมือการปฏิบัติงานดานการประเมิน<br />

ศักยภาพแหลงน้ําบาดาล (3) มาตรฐานและหรือคูมือการปฏิบัติงานดานการเจาะและพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(4) มาตรฐานและหรือคูมือการปฏิบัติงานดานการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรน้ําบาดาล และ (5) คูมือการ<br />

ปฏิบัติงานดานระบบฐานขอมูลและสารสนเทศน้ําบาดาล โดยกระบวนการยกรางโดยผูเชี่ยวชาญดานตางๆ และ<br />

การนํารางมาตรฐานและคูมือเขาสูกระบวนการระดมสมองเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอรางมาตรฐานและคูมือตางๆ<br />

กอนปรับปรุงแกไขเปนรายงานฉบับสมบูรณ ซึ่งประกอบดวยรายงานทั้งหมด 10 เลม ไดแก รายงานสําหรับ<br />

ผูบริหาร จํานวน 1 เลม ชุดมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4 เลม (รวม 25 มาตรฐาน) และชุดคูมือการปฏิบัติงาน 5<br />

เลม (รวม 34 เรื่อง) การตีพิมพชุดมาตรฐานและคูมือการปฏิบัติงานครั้งนี้เปนการจัดทําขึ้นเปนครั้งแรก หากผูใช<br />

พบวามีเนื้อหาสวนใดยังไมครบสมบูรณ มีขอผิดพลาดที่ควรแกไขหรือประสงคจะเสนอแนะความคิดเห็นประการ<br />

ใด โปรดแจงใหกรมทรัพยากรน้ําบาดาลทราบ เพื่อเปนขอมูลสําหรับการพิจารณาแกไขปรับปรุงตอไป<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ง<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ขอขอบคุณคณะผูเชี่ยวชาญ<br />

จากมหาวิทยาลัยขอนแกน และผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน ซึ่งประกอบดวย เจาหนาที่กรมทรัพยากร<br />

น้ําบาดาลจากฝายตางๆ ตัวแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น สมาชิกสมาคมน้ําบาดาลไทย การประปาสวน<br />

ภูมิภาค การประปานครหลวง กรมทรัพยากรน้ํา สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด สมาชิก<br />

ชมรมชางเจาะน้ําบาดาลแหงประเทศไทย ตัวแทนบริษัทที่ปรึกษาดานน้ําบาดาล ตัวแทนผูใชน้ําบาดาล<br />

ภาคเอกชน และนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาตางๆ ที่มีสวนรวมในกระบวนการจัดทํามาตรฐานและคูมือการ<br />

ปฏิบัติงาน ซึ่งจัดทําขึ้นเปนครั้งแรกในป พ.ศ. 2550 นี้ใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี โดยไดใหความอนุเคราะหให<br />

คําแนะนําที่เปนประโยชนและอํานวยความสะดวกตอการดําเนินงานในขั้นตอนตางๆ จึงใครขอขอบพระคุณเปน<br />

อยางสูงไว ณ ที่นี้<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน จ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เลมที่ 1/10 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร<br />

เลมที่ 2/10 ชุดมาตรฐานการปฏิบัติงานดานการสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (มาตรฐาน ทบ ส<br />

1000-2550 ถึง 4000-2550)<br />

(1) มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

บนผิวดิน<br />

(2) มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือกวิธีการสํารวจ<br />

ทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

(3) มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

(4) มาตรฐาน ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห<br />

(5) มาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา<br />

(6) มาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค<br />

(7) มาตรฐาน ทบ ส 3000-2550 การสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ใตผิวดิน<br />

(8) มาตรฐาน ทบ ส 4000-2550 การจัดทําแผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยา<br />

เลมที่ 3/10 ชุดคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (คูมือ ทบ ส 1000-2550 ถึง<br />

4000-2550)<br />

(1) คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน<br />

(2) คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือกวิธีการสํารวจ<br />

ทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

(3) คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

(4) คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน<br />

แบบหักเห<br />

(5) คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา<br />

(6) คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค<br />

(7) คูมือ ทบ ส 3000-2550 การสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ใตผิวดิน<br />

(8) คูมือ ทบ ส 4000-2550 การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

เลมที่ 4/10 ชุดมาตรฐานการปฏิบัติงานดานการประเมิน<br />

ศักยภาพแหลงน้ําบาดาล (มาตรฐาน ทบ ป 3001-2550 ถึง<br />

3008-2550)<br />

(1) มาตรฐาน ทบ ป 3001-2550 การสรางแบบจําลอง<br />

เชิงมโนทัศน<br />

(2) มาตรฐาน ทบ ป 3002-2550 การเลือกใชแบบจําลอง<br />

น้ําบาดาลเชิงคณิตศาสตร<br />

(3) มาตรฐาน ทบ ป 3003-2550 การกําหนดเงื่อนไข<br />

ขอบเขตของแบบจําลองการไหลของน้ําบาดาล<br />

(4) มาตรฐาน ทบ ป 3004-2550 การจําลองการไหล<br />

ของน้ําบาดาลและการเคลื่อนที่ของมวลสาร<br />

(5) มาตรฐาน ทบ ป 3005-2550 การประยุกตใชแบบจําลอง<br />

การไหลของน้ําบาดาลตามสภาพปญหาของพื้นที่<br />

(6) มาตรฐาน ทบ ป 3006-2550 การปรับเทียบผลการ<br />

ประยุกตใชแบบจําลองการไหลของน้ําบาดาล<br />

(7) มาตรฐาน ทบ ป 3007-2550 การวิเคราะหความออนไหว<br />

ของพารามิเตอรที่ใชในแบบจําลองการไหลของน้ําบาดาล<br />

(8) มาตรฐาน ทบ ป 3008-2550 การจัดทํารายงานผลการ<br />

ประยุกตใชแบบจําลองการไหลของน้ําบาดาล<br />

เลมที่ 5/10 ชุดคูมือการปฏิบัติงานดานการประเมิน<br />

ศักยภาพแหลงน้ําบาดาล (คูมือ ทบ ป 1000-2550 ถึง<br />

3000-2550)<br />

(1) คูมือ ทบ ป 1000-2550 การประเมินแหลงน้ําตนทุน<br />

ของแองน้ําบาดาล<br />

(2) คูมือ ทบ ป 2000-2550 การประเมินศักยภาพน้ําบาดาล<br />

ของแองน้ําบาดาลและการจัดทําแผนการใชน้ําบาดาล<br />

(3) คูมือ ทบ ป 3000-2550 การจัดทําแบบจําลองน้ําบาดาล<br />

เชิงคณิตศาสตรและการประยุกตใช<br />

เลมที่ 6/10 ชุดมาตรฐานการปฏิบัติงานดานการเจาะและ<br />

พัฒนาบอน้ําบาดาล (มาตรฐาน ทบ พ 1000-2550 ถึง<br />

7000-2550)<br />

(1) มาตรฐาน ทบ พ 1000-2550 การเจาะเพื่อสํารวจและ<br />

พัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ฉ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เลมที่ 6/10 ชุดมาตรฐานการปฏิบัติงานดานการเจาะและ<br />

พัฒนาบอน้ําบาดาล (มาตรฐาน ทบ พ 1000-2550 ถึง<br />

7000-2550) (ตอ)<br />

(2) มาตรฐาน ทบ พ 2000-2550 การใชและการแปลคา<br />

ขอมูลหยั่งธรณีวิทยาหลุมเจาะ<br />

(3) มาตรฐาน ทบ พ 3000-2550 การออกแบบและกอสราง<br />

บอน้ําบาดาล<br />

(4) มาตรฐาน ทบ พ 4000-2550 การพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(5) มาตรฐาน ทบ พ 5000-2550 การสูบทดสอบปริมาณ<br />

น้ําบาดาล<br />

(6) มาตรฐาน ทบ พ 6000-2550 การเก็บและวิเคราะห<br />

ตัวอยางตะกอนและหินจากหลุมเจาะ<br />

(7) มาตรฐาน ทบ พ 7000-2550 การเก็บตัวอยางน้ําและ<br />

การวิเคราะหคุณภาพน้ําบาดาล<br />

เลมที่ 7/10 ชุดคูมือการปฏิบัติงานดานการเจาะและพัฒนา<br />

บอน้ําบาดาล (คูมือ ทบ พ 1000-2550 ถึง 12000-2550)<br />

(1) คูมือ ทบ พ 1000-2550 การเจาะเพื่อสํารวจและพัฒนา<br />

บอน้ําบาดาล<br />

(2) คูมือ ทบ พ 2000-2550 การใชและการแปลคาขอมูล<br />

หยั่งธรณีวิทยาหลุมเจาะ<br />

(3) คูมือ ทบ พ 3000-2550 การออกแบบและกอสราง<br />

บอน้ําบาดาล<br />

(4) คูมือ ทบ พ 4000-2550 การพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(5) คูมือ ทบ พ 5000-2550 การสูบทดสอบปริมาณ<br />

น้ําบาดาล<br />

(6) คูมือ ทบ พ 6000-2550 การเก็บและวิเคราะหตัวอยาง<br />

ตะกอนและหินจากหลุมเจาะ<br />

(7) คูมือ ทบ พ 7000-2550 การเก็บตัวอยางน้ําและการ<br />

วิเคราะหคุณภาพน้ําบาดาล<br />

(8) คูมือ ทบ พ 8000-2550 การคัดเลือกและติดตั้ง<br />

เครื่องสูบน้ํา<br />

(9) คูมือ ทบ พ 9000-2550 การบํารุงรักษาบอน้ําบาดาล<br />

(10) คูมือ ทบ พ 10000-2550 การออกแบบกอสรางและ<br />

บริหารจัดการระบบประปาบาดาล<br />

(11) คูมือ ทบ พ 11000-2550 การพิจารณาตัดสินใจสําหรับ<br />

ผูวาจางเจาะบอน้ําบาดาล<br />

(12) คูมือ ทบ พ 12000-2550 การประเมินราคากลาง<br />

การเจาะและพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เลมที่ 8/10 ชุดมาตรฐานการปฏิบัติงานดานการอนุรักษ<br />

และฟนฟูทรัพยากรน้ําบาดาล (มาตรฐาน ทบ อ 1000-<br />

2550 และ 6000-2550)<br />

(1) มาตรฐาน ทบ อ 1000-2550 การวางเครือขายบอ<br />

สังเกตการณ การติดตามระดับ และคุณภาพน้ําบาดาล<br />

(2) มาตรฐาน ทบ อ 6000-2550 การอุดกลบบอน้ําบาดาล<br />

เลมที่ 9/10 ชุดคูมือการปฏิบัติงานดานการอนุรักษและ<br />

ฟนฟูทรัพยากรน้ําบาดาล (คูมือ ทบ อ 1000-2550 ถึง<br />

7000-2550)<br />

(1) คูมือ ทบ อ 1000-2550 การวางเครือขายบอสังเกตการณ<br />

การติดตามระดับและคุณภาพน้ําบาดาล<br />

(2) คูมือ ทบ อ 2000-2550 การประเมินความเสี่ยงการ<br />

ปนเปอนของแหลงน้ําบาดาล<br />

(3) คูมือ ทบ อ 3000-2550 การประเมินผลกระทบจากการ<br />

ใชน้ําบาดาลเกินสมดุล<br />

(4) คูมือ ทบ อ 4001-2550 การเติมน้ําลงแหลงน้ําบาดาล<br />

(5) คูมือ ทบ อ 4002-2550 การสรางระบบกักเก็บน้ําใตดิน<br />

ดวยเขื่อนใตดิน<br />

(6) คูมือ ทบ อ 4003-2550 การควบคุมการแพรกระจาย<br />

ของสารปนเปอน<br />

(7) คูมือ ทบ อ 4004-2550 การฟนฟูเพื่อปรับปรุงคุณภาพ<br />

น้ําบาดาลโดยวิธีการทางเคมีและชีวภาพ<br />

(8) คูมือ ทบ อ 5000-2550 การอนุรักษแหลงน้ําบาดาล<br />

(9) คูมือ ทบ อ 6000-2550 การอุดกลบบอน้ําบาดาล<br />

(10) คูมือ ทบ อ 7000-2550 การเก็บตัวอยางและการ<br />

วิเคราะหคุณภาพน้ําบาดาลเพื่อการอนุรักษแหลง<br />

น้ําบาดาล<br />

เลมที่ 10/10 ชุดคูมือการปฏิบัติงานดานระบบฐานขอมูล<br />

และสารสนเทศน้ําบาดาล (คูมือ ทบ ฐ 1000-2550)<br />

(1) คูมือ ทบ ฐ 1000-2550 การปฏิบัติงานดานระบบ<br />

ฐานขอมูลและสารสนเทศน้ําบาดาล<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ช<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สารบัญ<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน 1<br />

1. บทนํา 1<br />

2. ขอบเขต 1<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 1<br />

4. ศัพทบัญญัติ 2<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 3<br />

6. คําอธิบายวิธีการ 3<br />

6.1 การวางแผนการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน 3<br />

6.2 การรวบรวมจัดเก็บขอมูลและการเตรียม การสํารวจฯ 5<br />

6.3 วิธีการจัดทําแผนการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดินและแบบจําลองเชิงมโนทัศนของพื้นที่สํารวจ 9<br />

6.4 คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาภาคสนาม 10<br />

6.5 การรังวัดระดับบอน้ําบาดาลและระดับตําแหนงจุดสํารวจ 13<br />

6.6 การจัดทําตนรางแผนที่และรายงาน 16<br />

7. เอกสารอางอิง 18<br />

8. ภาคผนวก 18<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน 21<br />

1. บทนํา 21<br />

2. ขอบเขต 22<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 22<br />

4. ศัพทบัญญัติ 23<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 23<br />

6. คําอธิบายวิธีการ 24<br />

7. เครื่องมือและอุปกรณ 24<br />

8. การคัดเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบน ผิวดิน 24<br />

8.1 การประยุกตใชวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา 25<br />

8.2 ความแตกตางดานคุณสมบัติทางกายภาพของชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน 25<br />

8.3 สรุปวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินที่ใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา 26<br />

8.4 การเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินตามมาตรฐานสากล 29<br />

9. เอกสารอางอิง 30<br />

หนา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ซ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัด<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะ 33<br />

1. บทนํา 33<br />

2. ขอบเขต 33<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 34<br />

4. ศัพทบัญญัติ 35<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 35<br />

6. คําอธิบายวิธีการ 36<br />

7. เครื่องมือและอุปกรณ 36<br />

7.1 สวนประกอบเครื่องมือ 36<br />

7.2 การเลือกเครื่องมือและการใชเครื่องมือ 37<br />

8. การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ 38<br />

8.1 วิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟา 38<br />

8.2 คาความตานทานไฟฟาปรากฏ 40<br />

8.3 เทคนิคการสํารวจ 41<br />

8.4 การสํารวจแบบการตรวจวัดความตางศักย ไฟฟาตามธรรมชาติ 44<br />

8.5 การสํารวจตรวจวัดความตางศักยไฟฟาแบบเหนี่ยวนําประจุ 45<br />

8.6 คูมือการแปลความหมายขอมูลการสํารวจความตานทานไฟฟาจําเพาะ 46<br />

8.7 การนําเสนอผลการสํารวจ 47<br />

8.8 ขอจํากัดของการสํารวจ 48<br />

9. ความปลอดภัย 48<br />

10. บุคลากร 49<br />

11. เอกสารอางอิง 49<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัด<br />

ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห 51<br />

1. บทนํา 51<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน 51<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 52<br />

หนา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ฌ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

หนา<br />

4. ศัพทบัญญัติ 52<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 53<br />

6. คําอธิบายวิธีการ 53<br />

7. เครื่องมือและอุปกรณ 53<br />

7.1 แหลงกําเนิดคลื่นไหวสะเทือน 54<br />

7.2 หัวรับคลื่นคลื่นไหวสะเทือน 54<br />

7.3 เครื่องบันทึกสัญญาณคลื่นไหวสะเทือน 55<br />

8. การสํารวจดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห 55<br />

8.1 บทสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีคลื่นไหวสะเทือนและกฎของสเนลล 55<br />

8.2 การสํารวจภาคสนาม 57<br />

8.3 การแปลความหมายขอมูล 59<br />

8.4 ขอจํากัดของการสํารวจตรวจวัดความเร็วคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห 66<br />

9. ความปลอดภัย 66<br />

10. บุคลากร 67<br />

11. เอกสารอางอิง 68<br />

คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา 69<br />

1. บทนํา 69<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน 69<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 70<br />

4. ศัพทบัญญัติ 70<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 71<br />

6. เครื่องมือและอุปกรณ 72<br />

6.1 เครื่องมือและอุปกรณการสํารวจ FDEM 72<br />

6.2 เครื่องมือและอุปกรณการสํารวจ TDEM 72<br />

6.3 เครื่องมือและอุปกรณการสํารวจ VLF-EM 72<br />

7. การสํารวจตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา ในสนาม 73<br />

7.1 หลักการของการสํารวจตรวจวัดสนาม แมเหล็กไฟฟา 73<br />

7.2 วิธีการสํารวจตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา 74<br />

7.3 หลักการวิธีการสํารวจแบบ FDEM 74<br />

7.4 หลักการและวิธีการสํารวจแบบ TDEM 76<br />

7.5 หลักการและวิธีการสํารวจแบบ VLF-EM 76<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ญ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

หนา<br />

8. วิธีการแปลความหมายขอมูลและการนําเสนอผลการสํารวจ 78<br />

8.1 การแปลความหมายและการนําเสนอขอมูลการสํารวจ แบบ FDEM 78<br />

8.2 การแปลความหมายและการนําเสนอขอมูลการสํารวจ แบบ TDEM 79<br />

8.3 การแปลความหมายและการนําเสนอขอมูลการสํารวจ แบบ VLF-EM 79<br />

8.4 เอกสารสําหรับการศึกษาคนควาตอไป 79<br />

9. ความปลอดภัย 81<br />

10. บุคลากร 81<br />

11. เอกสารอางอิง 82<br />

คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค 83<br />

1. บทนํา 83<br />

2. ขอบเขต 83<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 84<br />

4. ศัพทบัญญัติ 85<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 85<br />

6. เครื่องมือและอุปกรณ 86<br />

6.1 เครื่อง micro-gravimeters 86<br />

6.2 ชุดเครื่องมือในการรังวัด 87<br />

7. การสํารวจธรณีฟสิกสแบบตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค 87<br />

7.1 หลักการสํารวจแบบตรวจวัดแรงโนมถวง 87<br />

7.2 วิธีการสํารวจแบบตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค 88<br />

7.3 การปรับแกคาผิดวิสัยของบูเกอร 90<br />

7.4 การปรับแกขอมูลแบบอื่นๆ 92<br />

7.5 การนําเสนอผลงานและแปลความหมายการปรับแกขอมูล 92<br />

7.6 ขอจํากัดในการสํารวจ 93<br />

8. ความปลอดภัย 94<br />

9. บุคลากร 94<br />

10. เอกสารอางอิง 95<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550 การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน 96<br />

1. บทนํา 96<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน 96<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ฎ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

หนา<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 97<br />

4. ศัพทบัญญัติ 98<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 99<br />

6. เครื่องมือและอุปกรณ 99<br />

6.1 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการวัดระดับน้ําบาดาลและความลึกบอน้ําบาดาล 99<br />

6.2 อุปกรณที่ใชในการเก็บตัวอยางน้ําบาดาล 101<br />

6.3 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการวิเคราะหคุณสมบัติเบื้องตนของตัวอยางน้ําบาดาล 101<br />

6.4 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการเจาะเก็บตัวอยางดินหินระดับตื้น 102<br />

7. การวัดระดับน้ําบาดาล 102<br />

7.1 การวางแผนและการคัดเลือกจุดวัดระดับน้ําบาดาล 103<br />

7.2 วิธีการสํารวจตรวจวัดระดับน้ําบาดาล 103<br />

7.3 วิธีการนําเสนอและการปะยุกตใชขอมูลระดับน้ํา 104<br />

8. การวัดความลึกบอ 107<br />

9. การเก็บตัวอยางน้ําบาดาลและการวิเคราะหน้ําบาดาลในสนาม 107<br />

9.1 การเตรียมการจัดเก็บตัวอยางน้ําจากบอ น้ําบาดาล 107<br />

9.2 วิธีการใชกระบอกตักแบบตางๆ 108<br />

9.3 การวิเคราะหตัวอยางน้ําบาดาลในสนาม 108<br />

10. การจัดเก็บตัวอยางดินหิน 109<br />

10.1 การเจาะดวยชุดเจาะแบบมือหมุน 109<br />

10.2 การเจาะดวยชุดเจาะแบบดูดตัวอยาง 110<br />

10.3 การเจาะแบบกระแทกหมุน 110<br />

10.4 การเจาะแทงหินตัวอยางแบบกระแทก 111<br />

11. ความปลอดภัย 111<br />

12. บุคลากร 111<br />

13. เอกสารอางอิง 112<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550 การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา 113<br />

1. บทนํา 113<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน 113<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ 114<br />

4. ศัพทบัญญัติ 115<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน 116<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ฏ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

หนา<br />

6. รูปแบบและองคประกอบของแผนที่อุทกธรณีวิทยาตามมาตรฐานสากล 116<br />

6.1 รูปแบบสากลของแผนที่อุทกธรณีวิทยา 116<br />

6.2 องคประกอบที่สําคัญของแผนที่อุทกธรณีวิทยา 117<br />

7. การใชสัญลักษณสําหรับการแสดงในแผนที่อุทกธรณีวิทยา 119<br />

8. หลักปฏิบัติสากลในการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา 120<br />

8.1 หลักปฏิบัติในการแสดงขอมูลในแผนที่ 120<br />

8.2 การจัดลําดับความสําคัญของขอมูล 120<br />

8.3 หลักปฏิบัติการจัดทําคําอธิบายแผนที่ 121<br />

8.4 ขั้นตอนการตรวจสอบแผนที่ 122<br />

9. การจําแนกแผนที่อุทกธรณีวิทยา 122<br />

9.1 การจําแนกแผนที่ตามวัตถุประสงคของการใชงาน 122<br />

9.2 การจําแนกแผนที่ตามระดับความนาเชื่อถือ 124<br />

9.3 การจําแนกแผนที่ตามมาตราสวน 124<br />

9.4 การจําแนกแผนที่ตามประเภทของขอมูล 126<br />

10. การนําเสนอขอมูลในแผนที่อุทกธรณีวิทยา 126<br />

10.1 นําเสนอขอมูลในแผนที่ใหตรงตามธรรมชาติของขอมูลอุทกธรณีวิทยา 127<br />

10.2 ความคลาดเคลื่อนของขอมูล 128<br />

10.3 ลักษณะผันแปรของกลุมขอมูล 129<br />

10.4 หลักเกณฑที่ใชในการประมาณการขอมูลดานอุทกธรณีวิทยา 129<br />

11. เอกสารอางอิง 130<br />

12. ภาคผนวก 131<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน ฐ<br />

ชุดคูมือการปฏิบัติงานดาน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (ส) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

คูมือใหใสวงเล็บตอทายและระบุ ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เปนตน โดยมีเครื่องหมาย (ก)<br />

เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่ปรับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน ทบ ส<br />

1000-2550 นี้ไดจัดทําขึ้นภายใตโครงการจัดทํา<br />

มาตรฐานการเจาะ สํารวจและพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

พ.ศ. 2550 เปนสวนหนึ่งของชุดคูมือการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล โดยกรมทรัพยากรน้ํา<br />

บาดาลไดมอบหมายใหคณะผูเชี ่ยวชาญดานอุทก<br />

ธรณีวิทยา ธรณีวิทยา วิศวกรรม เครื่องกล และ<br />

วิศวกรรมโยธา เปนผูดําเนินการรางคูมือการสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน เพื่อใหใชควบคูไปกับ<br />

มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน โดยคูมือฉบับนี ้ ไดกําหนด<br />

ขั้นตอนและแนวทางสําหรับใชในงานสํารวจฯ เพื่อให<br />

ไดผลงานมีมาตรฐานตามที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

กําหนด<br />

2. ขอบเขต<br />

2.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ เปนคูมือที่ใชในงาน<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน เปนงานที่<br />

ประกอบดวยหมวดงานตางๆ เชน การวางแผนการ<br />

สํารวจ (planning) รวบรวมและศึกษาขอมูลอุทก<br />

ธรณีวิทยาตางๆ (desk study) และการสํารวจจัดเก็บ<br />

ขอมูลอุทกธรณีวิทยาภาคสนาม (field investigation)<br />

โดยมีเปาหมายสุดทายอยางนอยจะตองจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาของพื้นที่สํารวจในมาตราสวนที่<br />

เหมาะสม และการจัดสรางแบบจําลองอุทกธรณีวิทยา<br />

เชิงมโนทัศน เชน ภาพตัดขวางทางอุทกธรณีวิทยา<br />

(block diagrams)หรือแผนภาพรั้ว (fence diagrams)<br />

เปนตน รวมไปถึงการจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

เบื้องตน<br />

2.2 หนวยวัดที่ใชในเอกสารคูมือฉบับนี้เปน<br />

หนวยวัดระบบ Systeme Internationale d’Unites (SI<br />

Units)<br />

2.3 เอกสารคูมือฉบับนี้ สามารถใชหรือ<br />

ประยุกตใชเปนแนวทางหรือการกําหนดแนวทางใน<br />

การปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิว<br />

ดินทั่วๆไป งานสํารวจอุทกธรณีวิทยาขั้นรายละเอียด<br />

เฉพาะพื้นที่ ขึ้นอยูกับการตัดสินใจของผูเชี่ยวชาญ<br />

เฉพาะเรื่อง ซึ่งอาจเพิ่มเติมรายละเอียดการสํารวจ<br />

นอกเหนือจากที่ไดกําหนดในเอกสารนี้ได ตามความ<br />

เหมาะสม<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การคัด<br />

เลือกวิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 1<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2003-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของ<br />

คลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนาม<br />

แมเหล็กไฟฟา<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค<br />

- คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่น<br />

ไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

- คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็ก<br />

ไฟฟา<br />

- คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค<br />

3.2 American Society for Testing and<br />

Materials (ASTM):<br />

- D 5730-04 Standard Guide for Site<br />

Characterization for Environmental Purposes With<br />

Emphasis on Soil, Rock, the Vadose and<br />

Groundwater.<br />

- D 5879-02 Standard Guide for<br />

Geotechnical Mapping of Large Underground<br />

Openings in Rocks<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง (groundwater<br />

investigation for pin-point well drilling)<br />

หมายถึง การสํารวจอุทกธรณีวิทยาที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลที่เหมาะสม<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน (subsurface<br />

hydrogeological investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจเพื่อขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินโดย<br />

ใชเครื่องมือหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

(surface hydrogeological investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจเพื่อเก็บขอมูลดานอุทกธรณีวิทยา โดย<br />

ปฏิบัติการสํารวจเฉพาะบนผิวดินที่มิไดใชเครื่องมือ<br />

ใดๆ หยั่งลึกลงไปจากผิวดิน หรือการรวบรวมขอมูล<br />

เกาทั้งที่เปนขอมูลที่ปรากฏบนผิวดินและขอมูลที่อยูใต<br />

ผิวดิน<br />

แบบจําลองเชิงมโนทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

(conceptual site models) หมายถึง แบบจําลองของ<br />

พื้นที่สํารวจ จากขอมูลเบื้องตนของพื้นที่สํารวจเทาที่<br />

มีอยู เพื่อใชในการกําหนดแนวทางและวิธีการสํารวจ<br />

ภาคสนาม<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological models) หมายถึง<br />

แบบจําลองของพื้นที่สํารวจจากขอมูลดานอุทกธรณี<br />

วิทยาที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

เพื่อใชประกอบกับแผนที่อุทกธรณีวิทยาสําหรับการ<br />

กําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 2<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึง กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

การสํารวจฯ หมายถึง การสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาบนผิวดิน<br />

แบบจําลองฯ หมายถึง แบบจําลองเชิงมโน<br />

ทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน<br />

5.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอนและ<br />

วิธีการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดินไวกวางๆ<br />

สําหรับการปรับใชเพื่อใหไดผลงานการสํารวจฯ ตาม<br />

มาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนดโดย<br />

สามารถนําไปประยุกตใชในการสํารวจฯ ตางๆ ดังนี้<br />

5.1.1 เปนคูมือการรวบรวมศึกษาและการ<br />

สํารวจจัดเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตน ในงานสํารวจ<br />

น้ําบาดาลเฉพาะแหง ซึ่งอาจจําเปนตองดําเนินการ<br />

สํารวจตอเนื่อง โดยการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

5.1.2 เปนคูมือการรวบรวมศึกษาและสํารวจ<br />

จัดเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตน ในงานสํารวจจัดทํา<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยา หรืองานสํารวจจัดทําแผนที่น้ํา<br />

บาดาล โดยมีกระบวนการดําเนินงานตอเนื่อง ตาม<br />

มาตรฐาน ทบ ส 4000-2550 และคูมือการสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา ทบ ส 4000-2550<br />

5.1.3 เปนคูมือการรวบรวมศึกษาและการ<br />

สํารวจจัดเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตน ในงานศึกษา<br />

วิจัย แหลงน้ําบาดาลตางๆ เชน การศึกษาวิจัยเพื่อ<br />

ประเมินแหลงน้ําตนทุนของแองน้ํา การศึกษาวิจัยเพื่อ<br />

ประเมินพื้นที่เติมน้ํา การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทํา<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาทางคณิตศาสตร และ<br />

การศึกษาวิจัยทางอุทกธรณีวิทยาดานอื่นๆ<br />

5.2 คูมือสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดินฉบับนี้<br />

ไดกําหนดขั้นตอนและแนวทางการปฏิบัติงานไว<br />

กวางๆ สําหรับการปรับใชกับงานสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยา หรือการศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลตาม<br />

วัตถุประสงคตางๆ ซึ่งมีความตองการรายละเอียดของ<br />

ขอมูลตางกัน โดยเฉพาะปริมาณของขอมูลยอมขึ้นอยู<br />

กับ ขนาดของพื้นที่สํารวจ เวลาและงบประมาณของ<br />

งานสํารวจศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลแตละงาน<br />

6. คําอธิบายวิธีการ<br />

6.1 การวางแผนการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน<br />

ตามมาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 อยาง<br />

นอยตองประกอบดวยงานดานตางๆ ซึ่งลําดับ<br />

ความสําคัญของงานไมจําเปนเรียงลําดับตามหัวขอที่<br />

จะกลาวถึงดังตอไปนี้<br />

6.1.1 การกําหนดวัตถุประสงคและการคัดกรอง<br />

งาน โดยมีขอพิจารณา ดังนี้<br />

(1) การกําหนดวัตถุประสงค<br />

การสํารวจฯ อาจมีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

สํารวจขอมูลดานอุทกธรณีเบื้องตนของงานศึกษาวิจัย<br />

ดานตางๆ ซึ่งผูสํารวจจําเปนตองทําความเขาใจกับ<br />

วัตถุประสงคของชิ้นงานสํารวจนั้นๆ ใหแนชัด สําหรับ<br />

งานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง มีวัตถุประสงคหลัก<br />

เพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลใหได<br />

ปริมาณน้ําเพียงพอ สําหรับตอบสนองความตองการ<br />

แหลงน้ํา อาจจะกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอเพียงบอ<br />

เดียวหรืออาจจําเปนตองสํารวจเพื่อเจาะกลุมบอ<br />

ขึ้นอยูกับความตองการแหลงน้ําและสภาพอุทก<br />

ธรณีวิทยาของพื้นที่สํารวจ หรือในบางพื้นที่อาจไมมี<br />

น้ําบาดาลที่จะใชเพื่อแกไขปญหาความขาดแคลน<br />

แหลงน้ําไดเลย จําเปนตองมีการคัดกรองงาน เพื่อให<br />

งานสํารวจฯมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตาม<br />

มาตรฐาน<br />

(2) การคัดกรองงาน<br />

สําหรับงานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะ<br />

แหง ที่มีปริมาณคําขอสํารวจจํานวนมาก จากหนวย<br />

เจาะของกรมฯ หรือประชาชนในพื้นที่ โดยสวนใหญผู<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 3<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ขอมีความรูจํากัดดานอุทกธรณีวิทยา ในเบื้องตนการ<br />

คัดกรองงานสามารถตัดคําขอสํารวจใหลดปริมาณงาน<br />

ลง ตามการพิจารณาของผูบริหาร ดังนั้นการคัดกรอง<br />

งานเปนงานของผูบริหารระดับสํานักหรือระดับสวน<br />

หรือนักวิชาการที่ไดรับมอบหมายจากผูบริหาร ในชวง<br />

ระหวาง พ.ศ. 2539-2542 งานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะ<br />

แหง เปนงานหนึ่งของกองน้ําบาดาล กรมทรัพยากร<br />

ธรณีที่ไดรับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 9000 และ<br />

มีการคัดกรองคําขอสํารวจตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน<br />

ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 (ภาคผนวก) การคัดกรอง<br />

งานที่นําเสนอในครั้งนี้ไดแกไขดัดแปลงจากขั้นตอน<br />

การปฏิบัติงานดังกลาว ประกอบดวยขั้นตอนการ<br />

ปฏิบัติงาน 9 ขั้นตอน คือ<br />

(1) ขั้นตอนการรับคําขอสํารวจ คําขอ<br />

จากหนวยงานตางๆ หรือจากหนวยเจาะของกรมฯ<br />

หรือจากประชาชนในทองที่ คําขอสํารวจถูกสงมาตาม<br />

สายงาน และลงทะเบียนรับที่สํานักสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาลหรือหนวยงานที่<br />

รับผิดชอบ ผูอํานวยการสํานักจะสงผานคําขอไปที่<br />

สวนสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

(2) ขั้นตอนการตรวจสอบขอมูลของ<br />

พื้นที่สํารวจ ผูอํานวยการสวนสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

จะดําเนินการตรวจสอบขอมูลดานตางๆ ของพื้นที่<br />

สํารวจและตรวจสอบทั้งจากแผนที่ตางๆ และขอมูล<br />

การเจาะในบริเวณพื้นที่สํารวจและพื้นที่ขางเคียง<br />

รวมทั้งวิเคราะหความจําเปนตองสํารวจภาคสนาม<br />

หรือไม หากเห็นวาไมจําเปนตองสํารวจภาคสนาม (N)<br />

ใหบันทึกความเห็นพรอมขอเสนอแนะในคําขอสํารวจ<br />

สงเรื่องกลับสํานักเพื่อทําตอบผูขอ หากเห็นวา<br />

จําเปนตองดําเนินการสํารวจภาคสนาม ใหบันทึก<br />

ความเห็นพรอมขอ เสนอแนะในคําขอสํารวจ สงเรื่อง<br />

ไปยังสายงานสํารวจ<br />

(3) ขั้นตอนการพิจารณาคําขอและ<br />

วิเคราะหระดับความยากงายของงานสํารวจ หัวหนา<br />

สายงานสํารวจจะตรวจสอบขอมูลที่มีอยูอีกครั้งและ<br />

พิจารณาจําแนกความยากงายของงานสํารวจ โดยอาจ<br />

แบงประเภทของงานสํารวจเปนประเภทตางๆ คือ (ก)<br />

ระดับงานงาย มีขอมูลพรอมอยูแลว สงพนักงานไป<br />

ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลที่มีอยู โดยการทํา<br />

reconnaissance investigation ก็เพียงพอ (ข) ระดับ<br />

งานปานกลาง จําเปนตองสํารวจภาคสนาม และ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสเพิ่มเติม อาจมอบหมายใหพนักงาน<br />

สํารวจเปนผูดําเนินการ ภายใตการควบคุมของนัก<br />

ธรณีวิทยา นักอุทกธรณีวิทยาหรือวิศวกรที่ผานการ<br />

อบรมหรือทํางานดานนี้ (ค) ระดับงานยาก จําเปนตอง<br />

มอบหมายใหนักธรณีวิทยา นักอุทกธรณีวิทยาหรือ<br />

วิศวกรที่ผานการอบรมหรือทํางานดานนี้ เปนผู<br />

ดําเนินงานสํารวจภาคสนาม และ (ง) ระดับงานเฉพาะ<br />

ทาง จําเปนตองมอบหมายใหนักธรณีวิทยา หรือ นัก<br />

อุทกธรณีวิทยาผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเปนผู<br />

ดําเนินงานสํารวจภาคสนาม เชน ผูเชี่ยวชาญดานการ<br />

สํารวจหินปูน ผูเชี่ยวชาญดานการสํารวจหินภูเขาไฟ<br />

และหินอัคนี ผูเชี่ยวชาญดานการสํารวจหินตะกอน<br />

เปนตน<br />

(4) ขั้นตอนการสํารวจภาค สนามอาจ<br />

ดําเนินการโดยการจัดทํา reconnaissance investigation<br />

หรือการสํารวจโดยสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน หรืออาจจําเปนตองสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดินควบคูกับการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน ขึ้นอยู<br />

กับระดับความยากงายของงาน<br />

(5) ขั้นตอนการแปลความหมายขอมูล<br />

การสํารวจและการจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

(6) ขั้นตอนการสอบทานรายงานการ<br />

สํารวจ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 4<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(7) ขั้นตอนการทําหนังสือตอบ<br />

(8) ขั้นตอนการประเมินผลการสํารวจ<br />

เปนการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการสํารวจ โดยการ<br />

ตรวจสอบจากผลการเจาะบอน้ําบาดาลในพื้นที่สํารวจ<br />

วาตรงตามผลการสํารวจหรือไมอยางไร<br />

(9) ขั้นตอนการปรับสมุดทะเบียนและ<br />

สิ้นสุดกระบวนการ เปนการลงทะเบียนคําขอสํารวจ<br />

ผลการดําเนินการสํารวจ และการประเมินผลการ<br />

สํารวจ เพื่อเปนขอมูลในการแสดงประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานดานการสํารวจน้ํา<br />

บาดาลเฉพาะแหง<br />

ขั้นตอนการกรองงานและขั้นตอนการ<br />

ปฏิบัติงานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหงตางๆ ดังกลาว<br />

ขางตนอาจสรุปเปนตาราง ดังตารางที่ 2 ในภาคผนวก<br />

6.1.2 การกําหนดขอบเขตพื้นที่สํารวจ<br />

จําเปนตองกําหนดใหสอดคลองกับ<br />

วัตถุประสงคของการสํารวจฯ สําหรับงานศึกษาวิจัย<br />

โดยสวนใหญเจาของโครงการมักจะกําหนดขอบเขต<br />

พื้นที่สํารวจไวแลว แตผูสํารวจฯ ตองตรวจสอบ<br />

ขอบเขตของพื้นที่สํารวจที่กําหนดไวแลว จะจัดเก็บ<br />

ขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาไดตามวัตถุประสงคของงาน<br />

หรือไม ตัวอยางเชนการศึกษาผลกระทบจากการสูบ<br />

น้ําเกลือใตดินในพื้นที่ทําเกลือ เจาของโครงการอาจ<br />

กําหนดขอบเขตพื้นที่สํารวจไวเฉพาะพื้นที่ทําเกลือแต<br />

ในทางอุทกธรณีวิทยาการสูบน้ําใตดิน ณ จุดใดจุด<br />

หนึ่งจะมีผลกระทบเปนวงกวางตามทิศทางการไหล<br />

ของน้ําบาดาล ดังนั้น จําเปนตองกําหนดขอบเขต<br />

พื้นที่สํารวจตามสภาพอุทกธรณีวิทยาใหเหมาะสม<br />

สําหรับการสํารวจฯ ในการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาสวนใหญมักจะกําหนดขอบเขตของหมูบาน<br />

ที่ขาดแคลนแหลงน้ํา หรือขอบเขตพื้นที่โครงการ<br />

ตางๆ เปนขอบเขตพื้นที่สํารวจ เพราะการเจาะบอน้ํา<br />

บาดาลนอกพื้นที่หมูบานหรือนอกพื้นที่โครงการอาจ<br />

เกิดปญหาความขัดแยงขึ้นภายหลัง แตการสํารวจฯ<br />

บางครั้งอาจจําเปนตองกําหนดขอบเขตพื้นที่สํารวจ<br />

ตามสภาพอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่ สําหรับเปนขอมูล<br />

ในการนําขอเสนอแนะจากการสํารวจฯ ตัวอยางเชน<br />

ผลจากการสํารวจธรณีฟสิกสปรากฏวาภายในหมูบาน<br />

หรือพื้นที่โครงการไมมีแหลงน้ําบาดาลเพียงพอ อาจ<br />

จําเปนตองเจาะบอนอกขอบเขตหมูบานหรือพื้นที่<br />

โครงการ หรืออาจจําเปนตองพัฒนาน้ําบาดาลใหได<br />

ปริมาณน้ําที่เพียงพอโดยการเจาะกลุมบอ ซึ่งจะตอง<br />

ขยายพื้นที่สํารวจออกนอกพื้นที่หมูบานหรือพื้นที่<br />

โครงการ เปนตน<br />

6.1.3 งานสรางแบบจําลองเชิงมโนทัศนของ<br />

พื้นที่สํารวจ<br />

ตองทําควบคูกับการวางแผนการสํารวจ<br />

ผลของแบบจําลองฯจะชวยในการตัดสินใจวางแผน<br />

เลือกวิธีการสํารวจที่เหมาะสมไดในขั้นตน และ<br />

หลังจากที่ไดขอมูลภาคสนาม แบบจําลองเชิงมโน<br />

ทัศนของพื้นที่สํารวจจะกลายเปนแบบจําลองอุทก<br />

ธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนในที่สุด วิธีการจัดทําแผนการ<br />

สํารวจและแบบจําลองฯอยูในหัวขอ 6.3<br />

6.2 การรวบรวมจัดเก็บขอมูลและการเตรียม<br />

การสํารวจฯ<br />

6.2.1 การรวบรวมจัดเก็บขอมูล<br />

การรวบรวมจัดเก็บขอมูลตามมาตรฐาน<br />

ทบ ส 1000-2550 ไดกําหนดขั้นตอนการศึกษา<br />

รวบรวมขอมูลจากเอกสารตางๆ ดังตอไปนี้<br />

แผนที่ภูมิประเทศ สําหรับแผนที่ภูมิ<br />

ประเทศมาตราสวน 1:50,000 ไดกําหนดใหใชแผนที่<br />

ระบบ WGS-84 โดยมีขอระวังการใชเครื่อง GPS ใน<br />

การกําหนดจุดพิกัด เนื่องจากพื้นที่ประเทศไทยอยู<br />

ระหวาง UTM Zone 2 zones คือ โซน 47 และโซน<br />

48 โดยดานตะวันออกคือพื้นที่สวนใหญของอีสานอยู<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 5<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ในโซน 48 การกําหนดตําแหนงจุดพิกัดตางๆ ใน<br />

สนามจะตองปรับเปลี่ยนใหอยูในโซนที่ถูกตอง<br />

สําหรับขอมูลสืบหาไดจากแผนที่ภูมิ<br />

ประเทศ ประกอบดวยขอมูลหมวดตางๆ คือ (1) การ<br />

ปกครอง (2) การคมนาคม (3) ภูมิประเทศ (4) อุทก<br />

วิทยา (5) การใชประโยชนที่ดิน<br />

(1) ขอมูลทางดานการปกครอง ไดแก<br />

ขอมูลเกี่ยวกับตําแหนงที่ตั้งและอาณาเขต หรือเขต<br />

การปกครองของอําเภอ ตําบล เขตสุขาภิบาล และ<br />

หมูบานตางๆ รวมทั้งตําแหนงที่ตั้งของวัด โรงเรียน<br />

และตําแหนงจุดพิกัดของพื้นที่สํารวจ<br />

ขอจํากัดการปกครองจากแผนที่ภูมิ<br />

ประเทศ มาตราสวน 1:50,000 ก็คือปญหาการเกิด<br />

ใหมของตําบลและหมูบานตางๆ ซึ่งในชวงระยะ 10 ป<br />

ที่ผานมา มีหมูบานและตําบลใหมเกิดเปนจํานวนมาก<br />

และการปรับปรุงแกไขแผนที่ยังไมทันเหตุการณการ<br />

เปลี่ยนแปลงดังกลาว อยางไรก็ตาม ตําแหนงที่ตั้งของ<br />

วัดและโรงเรียนตางๆ ตามหมูบานตางๆ ในแผนที่ มัก<br />

เปนตําแหนงที่ถูกตองใกลเคียงความเปนจริง<br />

(2) การคมนาคม เปนขอมูลเกี่ยวกับการ<br />

เขาถึงพื้นที่สํารวจหรือเสนทางคมนาคมระดับตางๆ<br />

ตั้งแตระดับทางหลวงแผนดินไปจนถึงทางเทา โดยใน<br />

แผนที่จะกําหนดระดับถนน ตั้งแตระดับ 1 ถึง 9 คือ<br />

ระดับที่ 1 เปนทางหลวงแผนดิน ระดับที่ 8 เปนทาง<br />

เทา สวนระดับที่ 9 เปนทางรถไฟ แตเนื่องจาก<br />

ปจจุบันมีการกอสรางถนนคอนขางมาก ควรสืบหา<br />

ขอมูลการเปลี่ยนแปลงของถนนตางๆ จากแผนนี่ทาง<br />

หลวง ของกรมทางหลวง ซึ่งมีการแกไขปรับปรุงทุกป<br />

(3) หมวดภูมิประเทศ แสดงลักษณะ<br />

พื้นผิวภูมิประเทศของพื้นที่สํารวจ และพื้นที่ใกลเคียง<br />

เชน ทางน้ําระดับตางๆ แหลงน้ําผิวดินตางๆ เสน<br />

แสดงระดับความสูงของพื้นที่ รวมทั้งลักษณะพื้นผิว<br />

ภูมิประเทศอื่นๆ เชน พื้นที่เทือกเขา พื้นที่เนินเขา<br />

พื้นที่ลาดเอียงเชิงเขา ที่ราบลุมระหวางเขา เปนตน<br />

(4) ขอมูลทางดานอุทกวิทยา เปนขอมูล<br />

เกี่ยวของกับสภาพทางอุทกวิทยา หรือสภาพแหลงน้ํา<br />

ผิวดินของพื้นที่ เชน หวย หนอง บึง และแหลงน้ําผิว<br />

ดินอื่นๆ รูปแบบของทางน้ํา ความหนาแนนของทาง<br />

น้ํา ทิศทางการไหลของทางน้ํา สันปนน้ํา รวมไปถึง<br />

ขนาดพื้นที่แหลงรับน้ําเพื่อประมาณการปริมาณน้ําฝน<br />

ที่จะไหลเขาสูแองน้ําบาดาลในแตละป<br />

(5) ขอมูลการใชประโยชนที่ดิน แผนที่<br />

ภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ไดลงขอมูลเกี่ยวกับ<br />

การใชประโยชนที่ดินพอสมควร เปนตนวาพื้นที่ปาไม<br />

ปาชายเลน พื้นที่ไรนา หรือพื้นที่หมูบานและพื้นที่<br />

สาธารณประโยชนอื่นๆ เชน วัด โรงเรียน สนามกีฬา<br />

เปนตน นอกจากนี้ยังมีขอมูลบางสวนเกี่ยวเนื่องกับ<br />

ขอมูลทางอุทกธรณีวิทยา เชน พื้นที่ชายหาด แนว<br />

เนินกันน้ํา แนวคดโคงของทางน้ํา และพื้นที่เหมือง<br />

เปนตน<br />

ขอมูลหมวดตางๆ ที่ปรากฏบนแผนที่ภูมิ<br />

ประเทศลวนเปนขอมูลในชวงระหวางการทําแผนที่<br />

และจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ดังนั้นกอน<br />

ทําการสํารวจฯ ตองมีการตรวจสอบขอมูลปจจุบันจาก<br />

ภาพถายการรับรูระยะไกล เชน Google Earth เปน<br />

ตน<br />

ภาพถายทางอากาศและภาพถายการรับรู<br />

ระยะไกล สามารถใชประโยชนเกี่ยวกับการสํารวจฯ<br />

ไดเปนอยางดี ทั้งนี้เพราะสามารถมองเห็นลักษณะ<br />

ของพื้นผิวโลกไดเปนบริเวณกวางเห็นลักษณะ<br />

พื้นผิวโลกเปน 3 มิติ เสมือนหนึ่งการมองพื้นผิวโลก<br />

จากเครื่องบินหรือจากอวกาศ ดังนั้นภาพถายทาง<br />

อากาศและภาพถายการรับรูระยะไกล นอกจากจะใช<br />

ปรับปรุงขอมูลหมวดตางๆ ตามที่ปรากฏบนแผนที่ภูมิ<br />

ประเทศใหเปนขอมูลปจจุบันแลว ยังใชแปลคาหา<br />

ขอมูลดานตางๆ อันเกี่ยวเนื่องกับการสํารวจอุทก<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 6<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ธรณีวิทยาอื่นๆ ไดอีกเปนตนวา<br />

(1) ขอมูลดานธรณีวิทยาสัณฐาน เปน<br />

ขอมูลดานขอบเขตแอง พื้นที่รับน้ํา รูปแบบทางน้ํา<br />

ความหนาแนนทางน้ํา ในสวนที่แสดงไวไดไมหมดใน<br />

แผนที่ภูมิประเทศ สําหรับเสนทางการคมนาคมและ<br />

การใชประโยชนของที่ดิน เชน บริเวณที่อยูอาศัย<br />

พื้นที่เพาะปลูก หรือพื้นที่ปาไม หรือพื้นที่แหลง<br />

อุตสาหกรรม เปนตน มักจะไดขอมูลที่เปนปจจุบัน<br />

มากกวาแผนที่ภูมิประเทศ<br />

(2) ขอมูลดานธรณีวิทยาภูมิภาค<br />

(regional geology) เปนขอมูลเกี่ยวกับ การกําหนด<br />

ขอบเขตของชั้นหินชนิดตางๆ (อยางคราวๆ) ใน<br />

บริเวณพื้นที่สํารวจได ทั้งนี้โดยการแปลคาจากความ<br />

เขม และจากความหยาบหรือละเอียดของเม็ดสี<br />

(texture) รวมทั้งรูปแบบของทางน้ําในหินชนิดตางๆ<br />

จะมีรูปแบบที่แตกตางกัน ซึ่งเมื่อนําผลจากการแปล<br />

ภาพถายดังกลาวไปตรวจสอบสภาพธรณีวิทยาใน<br />

สนาม ก็สามารถจะจัดทําเปนแผนที่ธรณีวิทยาได<br />

ตอไป<br />

(3) ขอมูลดานธรณีวิทยาโครงสราง จาก<br />

ภาพถาย จะสามารถแปลคาแนวเสนตรงตางๆ ที่<br />

ปรากฏบนภาพถาย ซึ่งอาจจะเปนแนวรอยเลื่อน<br />

(faults) ระบบแนวรอยแตก (jointing systems) ใน<br />

ชั้นหิน แนวรอยเลื่อนรอยแตกในชั้นหิน (fractured<br />

zones) ซึ่งเกิดจากระบบการแตกเลื่อน รวมไปถึง<br />

โพรงถ้ํา รูปแบบและประเภทของโพรงถ้ําในแหลง<br />

หินปูน ซึ่งเปนขอมูลสําคัญสําหรับกําหนดจุดเจาะบอ<br />

น้ําบาดาลในพื้นที่หินแข็งเกือบทุกชนิด ทั้งนี้เพราะ<br />

หินแข็งสวนใหญ มักเปนหินเนื้อแนนไมมีชองวางปฐม<br />

ภูมิที่จะกักเก็บน้ําบาดาลได ดังนั้นในพื้นที่ดังกลาว<br />

การหาน้ําบาดาลหรือการกําหนดจุดเจาะบอน้ําบาดาล<br />

จึงจําเปนตองสํารวจคนหาบริเวณที่เปนแนวรอยแตก<br />

ในเนื้อหินเทานั้น โดยมีหลักเกณฑการคนหาแนว<br />

รอยแตกขนาดใหญๆ และมีการเชื่อมตอระหวางรอย<br />

แตกมากๆ ดังนั้นการเดินสํารวจหรือการสํารวจ<br />

ภาคพื้นดิน เพื่อหารอยแตกของชั้นหินในสนามจะมี<br />

ขอเสียเปรียบ เพราะจะไดขอมูลเฉพาะตรงจุดสํารวจ<br />

เทานั้น ซึ่งอาจไมเพียงพอที่จะประมาณการความ<br />

กวางใหญ และระบบการเชื่อมตอของรอยแตกแยกได<br />

แตการสํารวจคนหารอยแตกโดยอาศัยภาพถายทาง<br />

อากาศหรือภาพถายการรับรูระยะไกล จะมองเห็น<br />

พื้นที่เปนบริเวณกวางในคราวเดียวกัน ทําใหสามารถ<br />

เห็นระบบรอยแตกรอยเลื่อนทั้งระบบไดอยางชัดเจน<br />

ดังนั้นภาพถายจึงมีความสําคัญเปนอยางมากเกี่ยวกับ<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาในบริเวณพื้นที่ดังกลาว<br />

แผนที่ ธรณี วิ ทยาและแผนที่ อุ ทก<br />

ธรณีวิทยา ที่มีอยูในปจจุบันเปนแผนที่ที่มีมาตราสวน<br />

ขนาดเล็ก ซึ่งเหมาะสําหรับการวางแผนการพัฒนา<br />

แหลงน้ําบาดาลระดับประเทศหรือระดับภาคหรือระดับ<br />

จังหวัด ไมสามารถใชในการกําหนดตําแหนงจุดเจาะ<br />

บอน้ําบาดาลในหมูบาน โดยเฉพาะอยางยิ่งหมูบานที่<br />

มีศักยภาพทางน้ําบาดาลต่ํา ซึ่งผลของการเจาะบอน้ํา<br />

บาดาลบางครั้งหางกันเพียงไมกี่เมตร ก็อาจได<br />

ปริมาณน้ําบาดาลที่แตกตางกันสูงมาก อยางไรก็ตาม<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยามาตราสวน 1:500,000 และแผน<br />

ที่น้ําบาดาลรายจังหวัด มาตราสวน 1:100,000<br />

ดังกลาวขางตน ใหขอมูลสําคัญๆ สําหรับการสํารวจ<br />

แหลงน้ําไดเปนอยางดี คือ<br />

- ขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับธรณีวิทยา<br />

ทั่วๆ ไป<br />

- ขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับธรณีวิทยา<br />

โครงสราง<br />

- ขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทของ<br />

ชั้นน้ําบาดาล เชน น้ําบาดาลในหนวย<br />

หินตางๆ<br />

- ขอมูลดานการลําดับชั้นหินอุมน้ํา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 7<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- ขอมูลดานปริมาณน้ําบาดาล<br />

- ขอมูลดานคุณภาพน้ําบาดาล<br />

- ขอมูลดานชนิดและระดับความลึกของ<br />

ชั้นน้ําบาดาลโดยประมาณ<br />

การศึกษาขอมูลทางอุทกธรณีวิทยาจาก<br />

แผนที่ดังกลาวขางตนจะไดขอมูลมากเพียงพอ<br />

สําหรับการสรางแบบจําลองเชิงมโนทัศนของพื้นที่<br />

สํารวจใหชัดเจนและถูกตองยิ่งขึ้น<br />

ขอมูลการเจาะบอน้ําบาดาล ซึ่งเจาะโดย<br />

หนวยงานของรัฐทั่วประเทศ ประมาณ 200,000 บอ<br />

และประมาณการไววามีบอน้ําบาดาลที่เจาะโดย<br />

ภาคเอกชนอีกไมนอยกวา 150,000 บอ กระจัด<br />

กระจายอยูทั่วประเทศ แตขณะนี้มีขอมูลการเจาะที่<br />

สมบูรณเพียงไมเกิน 70,000 บอ ศูนยสารสนเทศ<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาลไดติดตามและรวบรวมขอมูล<br />

ดังกลาวใหสมบูรณมากที่สุดเทาที่เปนไปได สําหรับ<br />

ประโยชนที่ไดจากขอมูลการเจาะ โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

เกี่ยวกับการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน สรุปได<br />

ดังตอไปนี้ คือ<br />

- ขอมูลชั้นดินหินที่ระดับความลึกตางๆ<br />

- ขอมูลชนิด ความลึกและความหนาของ<br />

ชั้นน้ําบาดาล<br />

- ขอมูลคุณสมบัติของชั้นน้ําบาดาล และ<br />

ปริมาณน้ําที่สูบได<br />

- ขอมูลคุณภาพน้ําบาดาล<br />

- ขอมูลระดับน้ําบาดาล<br />

- ขอมูลอุทกธรณีวิทยาดานอื่นๆ<br />

รายงานการสํารวจอุทกธรณีวิทยา กรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล มีรายงานประเภท “Groundwater<br />

Open-file Report” ประมาณ 300 เรื่อง ซึ่งเปน<br />

รายงานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาพื้นที่ตางๆทั่ว<br />

ประเทศ นอกจากนี้ฝายสํารวจน้ําบาดาล ไดจัดทํา<br />

เอกสารรายงานการสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง โดย<br />

รวบรวมรายงานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาในพื้นที่<br />

ตางๆ ในลักษณะเปน “บันทึกรายงานการสํารวจ”<br />

(Notes of Groundwater Investigation) จํานวนไม<br />

นอยกวา 2,500 ฉบับ รายงานการสํารวจ ดังกลาว<br />

สามารถใชเปนกรณีตัวอยางสําหรับการสํารวจฯใน<br />

พื้นที่ที่มีสภาพอุทกธรณีคลายคลึงกัน<br />

6.2.2 วิธีการเตรียมแผนที่พื้นฐาน<br />

(1) ขั้นตอนการลงตําแหนงพื้นที่สํารวจ<br />

สําหรับการสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง ใหขยายแผน<br />

ที่ภูมิประเทศ มาตรสวน 1:50,000 ครอบคลุมพื้นที่<br />

สํารวจในมาตราสวนที่เหมาะสม<br />

(2) ตรวจสอบและแกไขขอมูลหมวดตางๆ<br />

ในแผนที่ภูมิประเทศดวยภาพถายการรับรูระยะไกล<br />

เพื่อใหไดขอมูลที่เปนปจจุบันมากที่สุด อยางนอยตอง<br />

ตรวจสอบดวยภาพถายการรับรูระยะไกล Google<br />

Earth<br />

(3) ตรวจสอบและแกไขขอมูลหมวดธรณี<br />

วิทยาและอุทกธรณีวิทยาดวยภาพถายทางอากาศ<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่จําเปนตองสํารวจหาน้ํา<br />

บาดาลในชั้นหินแข็ง กําหนดตําแหนงจุดตรวจสอบ<br />

ตางๆ ที่จําเปนตองสํารวจตรวจสอบภาคสนามลงใน<br />

แผนที่พื้นฐาน<br />

(4) กําหนดขอบเขตพื้นที่สํารวจลงในแผน<br />

ที่พื้นฐาน ซึ่งนอกจากจะมีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่<br />

หมูบานแลว ยังตองครอบคลุมพื้นที่ที่มีโครงสรางทาง<br />

ธรณีวิทยาหรือหนวยหินทางอุทกธรณีวิทยาที่<br />

เอื้ออํานวยตอการใหน้ําบาดาล เชนแนวรอยเลื่อน<br />

หรือแนวรอยแตก หรือชั้นหินที่กักเก็บน้ําบาดาลอื่นๆ<br />

เปนตน และบางครั้งอาจจําเปนตองครอบคลุมไปถึง<br />

แหลงน้ําผิวดินอื่นๆ ที่ปรากฏในพื้นที่ขางเคียง<br />

(5) ลงตําแหนงบอน้ําบาดาลที่ไดเจาะไว<br />

แลวพรอมขอมูลบอในแผนที่พื้นฐาน รวมทั้งการลง<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 8<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตําแหนงพื้นที่สํารวจจากรายงานการสํารวจน้ําบาดาล<br />

เฉพาะแหงที่เคยสํารวจไวแลวในพื้นที่ขางเคียง<br />

6.3 วิธีการจัดทําแผนการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

บนผิวดินและแบบจําลองเชิงมโนทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

6.3.1 วิธีการจัดทําแผนการสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาบนผิวดิน<br />

จากขั้นตอนที่ผานมาการวางแผนการ<br />

สํารวจไดกําหนดวัตถุประสงคของงาน และรวบรวม<br />

ขอมูลตางๆ บริเวณพื้นที่สํารวจและพื้นที่ขางเคียง<br />

เพื่อนําขอมูลตางๆ มาวิเคราะหเพื่อจัดทําแผนการ<br />

สํารวจฯและแบบจําลองฯ ตอไป<br />

จากการวิเคราะหขอมูลทั้งหมด สิ่งที่ตอง<br />

ทราบเพื่อนํามาทําแผนการสํารวจฯภาคสนาม ไดแก<br />

ประเภทและปริมาณขอมูลที่ตองตรวจสอบเพิ่มเติม<br />

เพื่อจะกําหนดวิธีตรวจสอบขอมูลและวิธีการจัดเก็บ<br />

ขอมูลที่ตองการ โดยการจัดทําแผนการสํารวจจะทํา<br />

ควบคูไปกับการสรางแบบจําลองเชิงมโนทัศนของ<br />

พื้นที่สํารวจ โดยแผนการสํารวจจะเปนสวนประกอบ<br />

ของแบบจําลองฯดวย ผลของแบบจําลองฯจะทําให<br />

ทราบวิธีการสํารวจที่เหมาะสมกับพื้นที่สํารวจมาก<br />

ที่สุด<br />

แผนการสํารวจ ประกอบดวย<br />

- วิธีการสํารวจและจัดเก็บขอมูล<br />

ภาคสนาม<br />

- แผนการใชบุคลากรและเครื่องมือ<br />

ที่จําเปนในการสํารวจ<br />

- แผนการใชบุคลากรและเวลาที่ใช<br />

ในการ สํารวจ<br />

6.3.2 วิธีการจัดทําแบบจําลองเชิงมโนทัศนของ<br />

พื้นที่สํารวจ<br />

ตามมาตรฐาน ทบ ป 3000-2550 การ<br />

สรางแบบจําลองเชิงมโนทัศนของพื้นที่สํารวจ อยาง<br />

นอยตองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ (1) สรางแนว<br />

คิดเพื่อแกปญหาของพื้นที่นั้น (2) กําหนดสวน<br />

ประกอบของแบบจําลองฯ ประกอบดวย แผนการ<br />

สํารวจและการสอบทานวิธีการสํารวจ (3) การทวน<br />

สอบแบบจําลองฯ<br />

(1) แนวคิดการจัดทําแบบจําลองเชิง<br />

มโนทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

แตละพื้นที่สํารวจอาจมีแบบจําลองฯ<br />

หลายรูปแบบขึ้นอยูกับขอมูลเบื้องตนที่ไดจากการ<br />

รวบรวมและศึกษาดังกลาวขางตน ตัวอยางเชน<br />

แนวคิดในการแกไขปญหาความขาดแคลนแหลงน้ํา<br />

ของพื้นที่สํารวจนั้นๆ เปนตนวา พื้นที่สํารวจบริเวณ<br />

เชิงเขาและมีแนวคิดวาสามารถแกไขปญหาดวยน้ํา<br />

บาดาล อาจเสนอแนวคิดโดยการจัดทําแบบจําลองฯ<br />

ได 3 รูปแบบคือ รูปแบบที่ 1 สํารวจหาน้ําบาดาล<br />

ระดับตื้นจากชั้นกรวดทรายตอนบน รูปแบบที่ 2<br />

สํารวจหาน้ําบาดาลระดับลึกจากชั้นหินแข็งที่ถูกปด<br />

ทับอยูขางลาง และรูปแบบที่ 3 ในกรณีที่พื้นที่สํารวจมี<br />

แหลงน้ําบาดาลไมเพียงพอ อาจเสนอแนวคิดในการ<br />

สํารวจหาน้ําบาดาลจากพื้นที่ขางเคียง แตหากพื้นที่<br />

สํารวจและพื้นที่ขางเคียงไมมีแหลงน้ําบาดาลไม<br />

เพียงพอและมีแหลงน้ําผิวดินที่นาจะพัฒนาขึ้นใช<br />

แกปญหาได ก็อาจเสนอแบบจําลองฯ ในการแกไข<br />

ปญหาความขาดแคลนแหลงน้ําของพื้นที่สํารวจนั้น<br />

ดวยแหลงน้ําผิวดิน และหากพื้นที่สํารวจและพื้นที่<br />

ขางเคียงไมมีทั้งแหลงน้ําบาดาลและมีแหลงน้ําผิวดินที่<br />

จะพัฒนาขึ้นใชได ก็อาจเสนอแบบจําลองฯ ในการ<br />

แกไขปญหาความขาดแคลนแหลงน้ําของพื้นที่สํารวจ<br />

นั้น ระบบถังน้ํากลาง (water bank systems) หรือการ<br />

สรางถังกักเก็บน้ําฝนตามครัวเรือนตางๆ หรือการ<br />

สรางโองแจกโอง<br />

(2) สวนประกอบของแบบ จําลองเชิง<br />

มโนทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

สวนประกอบที่สําคัญมี 2 สวนคือ สวนที่ 1<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 9<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

แผนการสํารวจ ซึ่งจัดทําขึ้นเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค<br />

ของโครงการที่ตั้งไว โดยสวนสําคัญของแผนการ<br />

สํารวจ ไดแก วิธีการสํารวจและจัดเก็บขอมูล แผนการ<br />

ใชบุคลากรและเครื่องมือ แผนการใชบุคลากรและเวลา<br />

สวนที่ 2 การสอบทานวิธีการสํารวจในแผนการสํารวจ<br />

ในกรณีที่มีวิธีการสํารวจสําหรับการจัดเก็บขอมูล<br />

ประเภทเดียวกันหลายวิธี จะตองสอบทานเพื่อพิสูจน<br />

ใหเห็นวา วิธีการสํารวจที่เลือกใชเปนวิธีที่เหมาะสม<br />

มากที่สุด<br />

(3) การทวนสอบแบบจําลองเชิงมโน<br />

ทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

ในกรณีที่มีแบบจําลองฯที่จะใชในการ<br />

แกไขปญหาของพื้นที่หลายรูปแบบ ดังตัวอยางในขอ<br />

(1) เพื่อพิสูจนใหเห็นวา แบบจําลองฯ ที่เลือกใชเปน<br />

รูปแบบที่เหมาะสมมากที่สุด<br />

6.4 คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาภาคสนาม<br />

งานสํารวจภาคสนามเปนงานพื้นฐานของ<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยา ไมวาการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยานั้นจะมีวัตถุประสงคใดก็ตาม ผูสํารวจตอง<br />

สํารวจขอมูลทางดานอุทกธรณีวิทยา และทําความ<br />

เขาใจในดานธรณีวิทยาน้ําบาดาลของพื้นที่สํารวจให<br />

ละเอียดวาในบริเวณพื้นที่สํารวจจะหาน้ําบาดาลได<br />

จากหินชนิดใด มีชั้นน้ําบาดาลกี่ชั้น แตละชั้นมี<br />

ขอบเขตและลักษณะการแผขยายตัวเปนแบบใด<br />

ดังนั้นการสํารวจทางดานอุทกธรณีวิทยาอันเกี่ยวเนื่อง<br />

กับงานในดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยา อาจแบง<br />

ออกเปนการสํารวจในหมวดตางๆ ไดดังนี้<br />

6.4.1 การสํารวจดานภูมิประเทศธรณี<br />

สัณฐานวิทยา ขอมูลดานภูมิประเทศและธรณีสัณฐาน<br />

วิทยาของพื้นที่สํารวจ โดยขอมูลสวนใหญไดจาก<br />

ขั้นตอนการรวบรวมขอมูล เชน ขอมูลจากแผนที่ภูมิ<br />

ประเทศ และขอมูลจากการแปลความหมายภาพถาย<br />

ทางอากาศและภาพถายการรับรูระยะไกล สําหรับการ<br />

สํารวจภาคสนามจะเปนการตรวจสอบความถูกตอง<br />

ของขอมูลที่ไดจากการแปลความหมายดังกลาว และ<br />

งานที่จะตองปฏิบัติในภาคสนาม โดยสรุปดังนี้ คือ<br />

(1) การสํารวจคนหาแหลงน้ําซึมน้ําซับ<br />

ตามพื้นที่ที่ลาดเอียงเชิงเขา<br />

(2) การสํารวจคนหารองรอยของธารน้ํา<br />

ใตผิวดินระดับตื้น<br />

(3) การสํารวจตรวจสอบระดับความสูง<br />

ของพื้นที่ ของจุดสํารวจตางๆ อาจใชระดับความสูง<br />

เปรียบเทียบ เพื่อใชเปนขอมูลสําคัญสําหรับการ<br />

ประมาณการทิศทางการไหลของน้ําบาดาล<br />

6.4.2 การสํารวจดานอุทกธรณีวิทยา<br />

ภูมิภาค ขอมูลบางสวนอาจไดจากการแปล<br />

ความหมายภาพถายอากาศและภาพถายการรับรู<br />

ระยะไกล และจากแผนที่ธรณีวิทยาและแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยามาตราสวนตางๆ เปนตนวา ขอมูลในดาน<br />

ชนิดของหินและการเรียงลําดับชั้นหิน หนวยหินทาง<br />

ธรณีวิทยาและทางอุทกธรณีวิทยา ดังนั้นการสํารวจ<br />

เพื่อคนหาขอมูลทางดานอุทกธรณีวิทยา สําหรับการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาในภาคสนามซึ่งโดยสวนใหญ<br />

จะตองสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยารายละเอียด<br />

ของพื้นที่สํารวจ ในมาตราสวน 1:25,000 หรือ<br />

1:5,000 จึงมีความจําเปนตองตรวจสอบขอมูลที่ได<br />

จากขั้นตอนการเตรียมการ รวมไปถึงการสํารวจ<br />

รายละเอียดเพิ่มเติม ไดแก การสํารวจเพื่อทราบชนิด<br />

และคุณสมบัติในการกักเก็บน้ําบาดาล รวมถึง<br />

คุณสมบัติทางชลศาสตรอื่นๆของหินในพื้นที่สํารวจ<br />

โดยเฉพาะหินที่เปนแหลงใหน้ําบาดาลหรือเปนชั้นหิน<br />

อุมน้ํา รวมทั้งการเรียงลําดับชั้นหินหรือหนวยลําดับ<br />

ชั้นหินทางอุทกธรณีวิทยา (hydrogeological sequences)<br />

ของพื้นที่สํารวจโดยละเอียด ตามมาตรฐาน<br />

ASTM D 5879-93 ไดกําหนดมาตรฐานการตรวจสอบ<br />

กลุมหินตางๆ ไวดัง ตอไปนี้<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 10<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(1) ชนิดของหิน พรอมคํานิยามของหิน<br />

(definitive and adjectives) ตัวอยางเชน<br />

หินทราย, อารโคสิก (ประกอบดวย<br />

แรเฟลดสปารมาก) (Sandstone, arkosic)<br />

หินปูน, มีลักษณะเนื้อทราย, แสดง<br />

ชั้นหินชัดเจน (Limestone, sandy, well-bedded)<br />

(2) สีหิน (color and range) อธิบายให<br />

ชัดเจน ตัวอยางเชน มีสีแดงเขมถึงน้ําตาลแดง(crimson<br />

to reddish brown), มีริ้วสีเหลืองหรือออกเหลือง<br />

แสดงถึงทิศทางการไหลของน้ํา (small yellow yellowish<br />

strip presented according to water flow direction)<br />

(3) ลักษณะเนื้อหิน (texture) ตัวอยาง<br />

เชน (เม็ดแรหรือเม็ดตะกอน) มีขนาดปานกลางถึง<br />

ละเอียด (medium to fine grained), มีการคัดขนาดดี<br />

(well sorted), (เม็ดแรหรือเม็ดตะกอน) แสดงลักษณะ<br />

มีเหลี่ยมมุมถึงมีเหลี่ยมบางดาน (angular to subangular)<br />

(4) แรประกอบหิน (rock forming<br />

minerals) ตัวอยางเชน แรควอรตซ (quartz) ไมโคร<br />

ไคลน (microcline) ไบโอไทต (biotite) มัสโคไวต<br />

(muscovite) คลอไรต (chlorite) เปนตน<br />

(5) ระดับความแข็งของเนื้อหิน (rock<br />

hardness scale) ระดับความผุกรอนของเนื้อหิน ระบุ<br />

ตามตารางที่ 3 (degree of weathering) ตาม<br />

Terzaghi’s Guide ระบุตามตารางที่ 4 (ภาคผนวก)<br />

(6) ชนิดของวัสดุที่ไดจากการผุพัง<br />

(types of weathering products) ตัวอยางเชน แรดิน<br />

(clay), ทราย (sand), ทรายปนแรดิน (clayey sand)<br />

เปนตน<br />

6.4.3 การสํารวจดานโครงสรางธรณี<br />

วิทยา การสํารวจอุทกธรณีวิทยาโดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาในบริเวณพื้นที่ที่หินใหน้ํา<br />

เปนหินแข็ง ขอมูลดานโครงสรางธรณีวิทยาจะเปน<br />

ขอมูลที่มีความสําคัญอยางยิ่ง ทั้งนี้เนื่องจากหินแข็ง<br />

โดยสวนใหญแลวมักเปนหินแข็งเนื้อแนนไมมีรูพรุน<br />

ปฐมภูมิสําหรับการกักเก็บน้ําบาดาล แตกักเก็บน้ํา<br />

บาดาลตามชองวางทุติยภูมิหรือที่เกิดจากโครงสราง<br />

ธรณีวิทยา โครงสรางธรณีวิทยาที่เอื้ออํานวยตอการ<br />

กักเก็บน้ําบาดาลในแหลงหินแข็งไดแก โครงสราง<br />

ตางๆ ตามมาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 ซึ่งไดกําหนด<br />

มาตรฐานขั้นต่ําในการตรวจสอบขอมูลธรณีวิทยา<br />

โครงสรางในสนาม โดยแบงออกเปน 2 หมวดคือ<br />

หมวดที่ 1 ธรณีวิทยาโครงสรางที่มีผลทําใหเกิด<br />

ลักษณะผิดวิสัยของชั้นหิน (rock defects) เชน ระบบ<br />

แนวรอยแยกในชั้นหิน (jointing system) แนวรอย<br />

เลื่อน (faults) การผุกรอนของเนื้อหิน(weathering<br />

and decomposition) และหมวดที่ 2 โครงสรางในเนื้อ<br />

หินชนิดตางๆ คือ หินตะกอน (sedimentary rocks)<br />

หินแปรและหินอัคนี ดังนี้<br />

(1) ระบบแนวรอยแยกในชั้นหิน ให<br />

ตรวจแนวรอยแยกวา เปนแนวรอยที่เปดหรือปด หาก<br />

เปนแนวรอยแยกปดใหตรวจสอบวัสดุประสาน<br />

(cementing materials) รวมทั้งใหตรวจวัดขนาด<br />

ระยะหาง จํานวน และทิศทางการวางตัวของระบบ<br />

แนวรอยแยกที่สําคัญ<br />

(2) แนวรอยเลื่อน ใหระบุชนิดของแนว<br />

รอยเลื่อน (dip-slip, normal, reverse, thrust, strikeslip)<br />

ใหตรวจวัดขนาดของแนวรอยเลื่อนและขนาด<br />

ของการเคลื่อนตัว (displacement) ใหระบุชนิดวัสดุที่<br />

ทับถมอยูในแนวรอยเลื่อนนั้น (filling materials :<br />

mylonite, gouge, breccia)<br />

(3) การผุกรอนของเนื้อหิน โดยให<br />

ตรวจสอบระดับการผุกรอนทางกลศาสตร (mechanical<br />

weathering) ระดับการผุกรอนทางเคมี (chemical<br />

weathering) ระดับการผุกรอนอันเกิดจากสายน้ําแร<br />

รอน (hydrothermal) และระดับการผุกรอนอันเกิดจาก<br />

ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (oxidation reaction)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 11<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(4) ในกลุมหินตะกอน ใหระบุประเภท<br />

ของชั้นหิน (stratified, bedded, massive, lensed)<br />

ตรวจสอบระดับการประสานตัวและชนิดของวัตถุ<br />

ประสาน (degree of cementation and type of<br />

cementing materials) ตรวจหาการวางตัวเฉียงระดับ<br />

(cross-bedding) ซึ่งสามารถสืบหาทิศทางการไหล<br />

ของทางน้ําในอดีตกาล และซากดึกดําบรรพ (fossils)<br />

ซึ่งสามารถสืบหาอายุของชั้นหิน<br />

(5) ในกลุมหินแปร ใหระบุระดับการแปร<br />

สภาพของหิน (grade of metamorphism) และ<br />

ลักษณะเนื้อหิน (migmatitic, cataclastic, schistose,<br />

gneissic, foriated)<br />

(6) ในกลุมหินอัคนี ใหระบุลักษณะเนื้อ<br />

หิน (alphanitic, porphyritic, zoned, dike, intrusive,<br />

extrusive, flow banding)<br />

นอกจากนี้ ในการสํารวจอุทกธรณีวิทยามี<br />

ความจําเปนตองสํารวจเพื่อตรวจสอบขอมูลดาน<br />

โครงสรางธรณีวิทยาเพิ่มเติม นอกเหนือจากขอ<br />

กําหนดตามมาตรฐานการทดสอบวัสดุแหงสหรัฐ<br />

อเมริกา (ASTM D 5879-93) ซึ่งกําหนดไวสําหรับ<br />

การสํารวจดานธรณีเทคนิคเทานั้น โดยมีรายการที่<br />

จะตองสํารวจเพิ่มเติม ดังนี้<br />

(7) โพรงหินปูนใตผิวดิน การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาในบริเวณพื้นที่แหลงหินปูน สิ่งที่นัก<br />

อุทกธรณีวิทยาคนหาคือ โพรงถ้ําหินปูนใตผิวดิน โดย<br />

การสํารวจธรณีวิทยาภาคพื้นดินจะดําเนินการสํารวจ<br />

คนหาเครื่องหมายหรือลักษณะที่จะนําไปสูโพรง<br />

หินปูนใตดิน (Gyögy, 1977) ไดแก<br />

- พื้นที่บริเวณชั้นหินปูนที่โผลใหเห็น<br />

แสดงลักษณะภูมิประเทศสูงต่ําชัดเจน หรือเห็นเปน<br />

แทงสูงสลับกับหุบเขา (tower karst) ทั้งนี้สามารถ<br />

แบงแยกระดับของภูมิประเทศแบบคาสต (karst<br />

topography) ที่เกิดจากการผุพังของหินปูน (บริเวณ<br />

เทือกเขานั้นมีสวนประกอบของหินปูนอยูมาก)<br />

ออกเปนระดับตางๆ เชน youth stage karst, mature<br />

stage karst หรือ tower karst<br />

- แหลงน้ําซับน้ําซึม (spring outlets<br />

หรือ spring seepage) ตามบริเวณพื้นที่เชิงเขา<br />

- แสดงลักษณะภูมิประเทศแบบคาสต<br />

ใตผิวดิน (sub-surface karst features) ปรากฏตาม<br />

บริเวณพื้นที่ลาดเอียงเชิงเขาในรูปแบบตางๆ เชน<br />

ปลองหินปูน (karst shafts) พื้นที่ราบแองหินปูน<br />

(doline plains) หลุมยุบ (sink holes) แองน้ําที่เกิด<br />

จากการยุบตัว (collapse ponds) เปนตน<br />

(8) แนวรอยแตกในชั้นหิน (fractured<br />

zones) เกิดในหินแข็งแทบทุกชนิดโดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

แนวรอยแตกที่เกิดจากการบีบอัดในชั้นหินแปรจะมี<br />

แนวรอยแตกอยางเปนระบบสามารถตรวจสอบ<br />

ทิศทางได ในลักษณะเปนระบบแนวรอยแตก แตแนว<br />

รอยแตกในชั้นหินแข็งที่มีคุณคาสามารถเปนแหลงกัก<br />

เก็บน้ําบาดาล จะตองเปนแนวรอยแตกที่มีการ<br />

เชื่อมตอสัมพันธกันเทานั้น รอยแตกที่ไมเชื่อมตอถึง<br />

กันน้ําบาดาลที่กักเก็บอยูตามแนวรอยแตกไมสามารถ<br />

ไหลเชื่อมติดตอกันได ก็ยากที่จะเจาะบอพัฒนาน้ํา<br />

บาดาลขึ้นใชประโยชนได ระบบการเชื่อมตอของแนว<br />

รอยแตกในชั้นหินแข็งประเภทหนึ่งไดแกแนวรอยแตก<br />

เปนโซนกวาง (shrinkage cracks) ซึ่งมักเกิดใน<br />

หินดินดานแข็ง (hard shale) ทั้งในกลุมหินโคราช<br />

ตอนลาง และในกลุมหินลําปาง บอน้ําบาดาลที่เจาะใน<br />

โซนแนวรอยแตกเหลานี้มักไดน้ําบาดาล ปริมาณน้ํา<br />

ขึ้นอยูกับความหนาแนนของโซนรอยแตก<br />

(9) โครงสรางหินคดโคง (anticline and<br />

syncline) โครงสรางหินคดโคงรูปกระทะหงาย-กระทะ<br />

คว่ํา ในหินแข็งชนิดตางๆ อาจเอื้ออํานวยตอการกัก<br />

เก็บน้ําบาดาลได โดยเฉพาะตรงบริเวณสวนโคงงอ<br />

ของชั้นหินแข็ง มักจะเกิดการแตกหักของหินแข็งเปน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 12<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

แนวยาว รวมทั้งโครงสรางคดโคงรูปกระทะหงาย จะ<br />

เปนโครงสรางที่เปนแองกักเก็บน้ําบาดาลได<br />

(10) โครงสรางแองหินบนผิวหินแข็งใต<br />

ผิวดิน ตามบริเวณพื้นที่ลาดเอียงเชิงเขาหินแกรนิต<br />

มักพบโครงสรางที่เปนแองหินใตผิวดิน โดยแองหินนี้<br />

อาจเกิดจากการที่มวลแกรนิตขนาดใหญมีการผุพัง<br />

บริเวณผิวนอกสวนดานบนที่สัมผัสกับหินชนิดอื่น ทํา<br />

ใหเกิดเปนหลุมลึกลงไปในเนื้อหินแกรนิตนั้น หรืออาจ<br />

เกิดจากการที่ขณะที่สวนประกอบของเหลวรอนซึ่ง<br />

เปนตนกําเนิดมวลแกรนิต ถูกดันใหแทรกขึ้นมานั้น<br />

เนื่องจากแรงดันใตพิภพไมสม่ําเสมอและขึ้นกับ<br />

สวนประกอบของเปลือกโลกบริเวณนี้ จึงทําใหรูปราง<br />

มวลแกรนิตมีลักษณะสูงต่ําไมราบเรียบตาม<br />

สภาพแวดลอมขณะแข็งตัวเปนหิน ทําใหบางแหงโผล<br />

เหนือผิวดิน บางแหงกลับยุบตัวเปนแอง การเจาะบอ<br />

น้ําบาดาลตรงบริเวณกนแองมักจะไดน้ําบาดาล ซึ่ง<br />

หากบริเวณนี้เปนสวนที่เปนหินแกรนิตผุ จะประกอบ<br />

ไปดวยกอนแกรนิตขนาดใหญ (granite boulder) ปน<br />

อยูกับชั้นดินเหนียวปนทราย<br />

6.5 การรังวัดระดับบอน้ําบาดาลและระดับ<br />

ตําแหนงจุดสํารวจ<br />

งานสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดินโดย<br />

สวนใหญ มีความจําเปนตองทราบขอมูลระดับความสูง<br />

ของบอและจุดสํารวจตางๆ ขอมูลดังกลาวอาจหาได<br />

จากการอานแผนที่ภูมิประเทศ หรืออาจตองใชทีมงาน<br />

ในการเดินรังวัดระดับความสูงถายทอดจากตําแหนง<br />

จุดความสูงมาตรฐาน (benchmark) ทั้งนี้ขึ้นกับความ<br />

ละเอียด (accuracy) ของขอมูลที่ตองการ โดยสามารถ<br />

แบงงานรังวัดออกเปนชั้นงานตางๆตามความละเอียด<br />

ของงาน ตั้งแตงานรังวัดชั้น 1 จนถึงงานรังวัดชั้น 3<br />

ดังนั้น การใชขอมูลระดับความสูงของการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน จําเปนตองเลือกใชระดับความ<br />

ละเอียดของขอมูลระดับความสูงตามความจําเปน<br />

6.5.1 ขอมูลระดับความสูงจากการประมาณการ<br />

ขอมูลระดับความสูงอาจประมาณการได<br />

คราวๆจากแผนที่ภูมิประเทศ กรมแผนที่ทหาร มาตรา<br />

สวน 1:50,000 ซึ่งแสดงระดับความสูงของพื้นที่ตางๆ<br />

ในแผนที่ดวยเสนระดับความสูง มีระยะระหวางเสนชั้น<br />

ความสูง (contour interval) เทากับ 10 เมตร หรืออาจ<br />

หาระดับความสูงของตําแหนงที่ตองการจากการแปล<br />

ความหมายภาพถายทางอากาศ โดยวิธีการ<br />

เปรียบเทียบความเหลื่อมของตําแหนงของจุด 2 จุด<br />

(parallax) คือตําแหนงของจุดที่ตองการทราบระดับ<br />

ความสูงกับตําแหนงของยอดเขาที่ทราบระดับความ<br />

สูงที่ชัดเจน การประมาณการขอมูลระดับความสูงจาก<br />

แผนที่ภูมิประเทศหรือภาพถายทางอากาศ สวนใหญมี<br />

ความละเอียด ±5 เมตร โดยประมาณ ซึ่งเพียงพอ<br />

สําหรับการประมาณการทิศทางการไหลของน้ําบาดาล<br />

ในพื้นที่ลาดชัน หรือการจัดทําแบบจําลองทางอุทก<br />

ธรณีวิทยาในพื้นที่ทั่วไป<br />

6.5.2 การหาขอมูลระดับความสูงจากเครื่องมือ<br />

ไดแก เครื่องวัดระดับความสูง (altimeter)<br />

ซึ่งสามารถใหขอมูลไดละเอียดกวาการประมาณการ<br />

จากแผนที่ แตการใชเครื่องวัดระดับความสูงทุกครั้ง<br />

จะตองทําการปรับเทียบ (calibrate) เครื่องมือจากจุด<br />

ที่ทราบระดับความสูง ทั้งกอนและหลังการใชงาน<br />

รวมทั้งตองตรวจสอบระดับแรงดันบรรยากาศขณะใช<br />

งาน หากในชวงระหวางใชงานมีแรงดันบรรยากาศ<br />

ผิดปกติจะตองปรับแกคาแรงดันบรรยากาศใหถูกตอง<br />

เครื่องวัดระดับความสูงมีหลายรูปแบบ เชน เครื่องวัด<br />

ระดับความสูงแบบ Robust ที่ใหความละเอียดของ<br />

ขอมูลระดับความสูงในพื้นที่ราบไดดี เครื่องวัดระดับ<br />

ความสูงแบบกลองสองระดับ (hand level) ซึ่งติดตั้ง<br />

ในเข็มทิศแบบ Brunton (Meridian, and Abney<br />

Models) เปนกลองสองระดับเพื่อสองหา true horizon<br />

line ซึ่งสามารถปรับใชในการหาระดับความสูงได<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 13<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(Barnes, 1981) เครื่องกําหนดตําแหนงจุดพิกัด<br />

(GPS) สามารถใชหาคาระดับความสูงไดเชนเดียวกัน<br />

6.5.3 การหาระดับความสูงโดยการรังวัด<br />

ตามมาตรฐานกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

ทบ ส 1000–2551 กําหนดใหเปนงานสํารวจฯใน<br />

พื้นที่ราบ ที่ตองวิเคราะหระบบการไหลและการ<br />

เคลื่อนที่ของน้ําบาดาลในชั้นหินอุมน้ํา ซึ่งตองมีขอมูล<br />

ระดับความสูงของบอน้ําบาดาลและจุดสํารวจตางๆ ที่<br />

ไดจากการรังวัดระดับความสูงของตําแหนงดังกลาว<br />

ซึ่งมาตรฐานไดกําหนดใหเปนงานรังวัดชั้น 3 คือ<br />

อยางนอยจะตองรังวัดระดับความสูงดวยกลองระดับ<br />

(leveling tele-scope) หรือการรังวัดดาวเทียมจีพีเอส<br />

แบบสถิติ (static global positioning system survey)<br />

โดยมีขั้นตอนและวิธีการสํารวจ (กรมชลประทาน,<br />

2548) ดังนี้<br />

(1) วิธีการรังวัดพิกัดดวยเครื่องรับ<br />

สัญญาณดาวเทียม<br />

เปนวิธีการรังวัดเพื่อกําหนดตําแหนง<br />

จากดาวเทียมจีพีเอสหรือระบบดาวเทียมอื่น โดยนํา<br />

เครื่องรังวัดไปตั้งรับสัญญาณที่ตําแหนงหมุดหลักฐาน<br />

หรือจุดที่ตองการหาคาพิกัด ตามเสนโครงขายการ<br />

รังวัดที่ไดจัดเตรียมไวลวงหนา แลวนําผลการรังวัดมา<br />

ประมวลผลและปรับแกโครงขาย คาพิกัดที่คํานวณได<br />

ตองมีคาพิกัดทางยีออเดซี (geodetic coordinates)<br />

และคาพิกัดกริดยูทีเอ็ม (universal transverse mercator,<br />

UTM) บนพื้นหลักฐานสากล WGS 84 (world<br />

geodetic system 1984) และบนพื้นหลักฐานอินเดีย<br />

2518 (Indian 1975 datum)<br />

(1.1) วิธีการรังวัดงานวงรอบ<br />

เปนวิธีการรังวัดเพื่อคํานวณหาพิกัด<br />

ตําแหนงของจุดตางๆ โดยการวัดมุมและวัดระยะที่<br />

เชื่อมตอระหวางจุดในลักษณะตอเนื่องกัน (traverse)<br />

คาพิกัดตองคํานวณเปนคาพิกัดกริดยูที<br />

เอ็ม บนพื้นหลักฐาน WGS 84 หรือ Indian 1975<br />

(1.2) วิธีการสํารวจโยงคาระดับ<br />

เปนวิธีการรังวัดเพื่อคํานวณหา<br />

คาระดับความสูง (กําหนดสูง-แผนที่ทหาร) ของหมุด<br />

หลักฐานหรือจุดตางๆ ซึ่งอางอิงกับพื้นระดับน้ําทะเล<br />

ปานกลาง (รทก หรือ mean sea level) โดยการวัดคา<br />

ตางระดับตอเนื่องจากจุดถึงจุด ดวยกลองระดับและไม<br />

แบงสวนเมตร<br />

(2) การโยงคาพิกัดดวยวิธีการวงรอบ<br />

ชั้นที่ 3<br />

(2.1) ขอกําหนดเฉพาะและมาตรฐาน<br />

ความถูกตอง<br />

(2.1.1) การวัดมุม<br />

- ความละเอียด ใชกลองวัดมุมที่มีความ<br />

ละเอียด 1 ลิปดาหรือดีกวา กรณีที่ใช<br />

กลองวัดมุมอิเลคทรอนิคสตองมีความ<br />

ละเอียด 20 ฟลิปดา หรือดีกวา<br />

- จํานวนสถานี (ศูนย) ของการวัด ไดแก<br />

2 สถานี<br />

- ความตางของแตละสถานีกับคา<br />

ปานกลางไมเกิน 10 ฟลิปดา<br />

- สถานีแรกและสถานีสุดทายของการวัด<br />

มุมตองไมเปนหมุดเดียวกัน<br />

(2.1.2) การวัดระยะ<br />

- ใชเครื่องวัดระยะอิเลคทรอนิคส หรือ<br />

โซลานเหล็ก (steel tape)<br />

- ความละเอียดของการวัดระยะ<br />

1/7,500 หรือดีกวา<br />

(2.1.3) การวัดอาซิมุทดาราศาสตร<br />

- ทําการรังวัดอาซิมุท ทุก 30-40 มุม<br />

- จํานวนสถานีของการวัด 8-12 สถานี<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 14<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- probable error ของผลปานกลาง<br />

ไมเกิน 5 ฟลิปดา<br />

- จํานวนแกของมุมวงรอบเมื่อตรวจสอบ<br />

กับคาอาซิมุทไมเกินมุมละ 5 ฟลิปดา หรือ 15 ฟลิป<br />

ดา (N เปนจํานวนมุม)<br />

- ความคลาดเคลื่อนในการบรรจบทาง<br />

ตําแหนง เมื่อปรับแกมุมแลวไมเกิน 1/5,000<br />

(2.2) การกรุยแนวและสรางหมุดหลักฐาน<br />

- คนหาหมุดหลักฐานที่จะใชออกงาน<br />

และเขาบรรจบ ซึ่งเปนหมุดหลักฐานชั้นที่ 3 หรือชั้นที่<br />

สูงกวา<br />

- กรุยแนวเสนวงรอบจากหมุดหลักฐานที่<br />

ทราบคาแลว เขาเขตโครงการพรอมทั้งกําหนด<br />

ตําแหนงของหมุดวงรอบและตําแหนงที่จะสรางหมุด<br />

หลักฐานถาวร<br />

- สรางหมุดชั่วคราว (หมุดไม) ทุกหมุด<br />

วงรอบ<br />

(2.3) การวัดมุมและวัดระยะ<br />

- วัดมุมทุกหมุดวงรอบ<br />

- วัดระยะระหวางหมุดวงรอบ<br />

- วัดอาซิมุทดาราศาสตร เพื่อควบคุม<br />

ทิศทางของเสนวงรอบทุก 40 มุมหรือนอยกวา<br />

(2.4) การคํานวณ<br />

- ตรวจสอบคามุมและระยะใหอยูใน<br />

เกณฑตามขอ 2.1<br />

- คํานวณคาพิกัดในระบบพิกัดยูทีเอ็ม<br />

(3) งานโยงคาระดับโดยวิธีการระดับ<br />

ชั้นที่ 3<br />

(3.1) ขอกําหนดเฉพาะและมาตรฐาน<br />

ความถูกตอง<br />

(3.1.1) เครื่องมือและอุปกรณ<br />

- ใชกลองระดับอัตโนมัติหรือกลอง tilting<br />

ซึ่งมีความไวของหลอดระดับ 60 ฟลิปดาตอ 2 มิลลิ<br />

เมตร หรือดีกวา<br />

- ใชกลองระดับดิจิตอล (digital level)<br />

ซึ่งมีกําลังขยายของกลองสอง ไมนอยกวา 24 เทา<br />

และความเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทําระดับไป-กลับ<br />

2.00 มิลิเมตร/กิโลเมตร หรือดีกวา<br />

- ใชไมแบงสวนเมตรแบบธรรมดา หรือ<br />

ใชไมแบงสวนเมตรชนิดแถบรหัส (bar code) ซึ่ง<br />

ประกอบ ดวยหลอดระดับฟองกลมประกอบและเหล็ก<br />

รองรับไมแบงสวนเมตร (ground plates)<br />

(3.1.2) การปฏิบัติงานสนาม<br />

- ความยาวของสายการระดับไมเกิน 40<br />

กิโลเมตร<br />

- ทําระดับเที่ยวเดียว (single run) ถา<br />

หมุดหลักฐานที่ใชออกงานและเขาบรรจบ อยูหางกัน<br />

ไมเกิน 20 กิโลเมตร ถาเกิน 20 กิโลเมตร ใหทําระดับ<br />

แบบไป-กลับ<br />

- ถาไมมีหมุดหลักฐานเขาบรรจบ ใหทํา<br />

ระดับแบบไป-กลับ โดยเดินระดับเที่ยวทํากลับ ผาน<br />

หมุดหลักฐานทุกหมุดของเที่ยวทําไป<br />

- แบงสายการระดับออกเปนตอน ความ<br />

ยาวตอนละ 1-3 กิโลเมตร<br />

- การอานคาระดับใหอานทั้งสามสายใย<br />

คือ สายใยบน (U) สายใยกลาง (M) และสายใยลาง<br />

(L) โดยใหผลบวกของสายใยบนกับสายใยลางเทียบ<br />

กับ 2 เทา ของสายใยกลางตองไมเกิน 2 มิลลิเมตร<br />

- ระยะไกลสุดระหวางกลองกับไมระดับ<br />

ไมเกิน 100 เมตร<br />

- หมุดออกงานและหมุดบรรจบตองไมใช<br />

หมุดเดียวกัน<br />

- ความคลาดเคลื่อนระหวางเที่ยวทําไป<br />

กับเที่ยวทํากลับ และในการเขาบรรจบหมุดไมเกิน 12<br />

มิลลิเมตร (K=ระยะทางเปนกิโลเมตร)<br />

(3.2) การกรุยแนวและสรางหมุดหลักฐาน<br />

- คนหาหมุดหลักฐานการระดับที่ 3 หรือ<br />

ชั้นสูงกวา เพื่อใชออกงานและเขาบรรจบ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 15<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- กรุยแนวสายการระดับและกําหนด<br />

ตําแหนงที่จะสรางหมุดหลักฐาน<br />

- สรางหมุดหลักฐานถาวร<br />

แบบ ข ทุกระยะ 4-5 กิโลเมตร<br />

แบบ ค ทุกระยะ 2 กิโลเมตร<br />

(3.3) การวัดระดับ<br />

เครื่องมือ วิธีการวัด และคํานวณปรับแก<br />

ใหเปนไปตามเกณฑกําหนดของงานระดับชั้นที่ 3<br />

6.6 การจัดทําตนรางแผนที่และรายงาน<br />

6.6.1 การจัดทําตนรางแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

แผนที่ตนรางอุทกธรณีวิทยาอาจประกอบ<br />

ดวยแผนที่หลัก (main map) และแผนที่ประกอบอื่นๆ<br />

(accessories maps) หรือมีเพียงแผนที่หลักขึ้นอยูกับ<br />

ชิ้นงาน ดังนี้<br />

แผนที่หลัก (main map) เปนการจัดทํา<br />

ตนรางแผนที่อุทกธรณีในสนาม เพื่อนําเสนอขอมูลที่<br />

ไดจากขั้นตอนการรวบรวมขอมูลและการเตรียมการ<br />

และขั้นตอนการสํารวจภาคสนาม ในรูปแบบของแผน<br />

ที่ครอบคลุมพื้นที่สํารวจทั้งหมด โดยการลงขอมูล<br />

ตางๆในแผนที่ ใหใชสัญลักษณและคําอธิบายแผนที่<br />

ตามมาตรฐานสากล (รายละเอียดในเอกสารมาตรฐาน<br />

ทบ ส 4000-2550)<br />

แผนที่ประกอบ (accessories maps)<br />

เปนแผนที่แสดงรายละเอียดของขอมูลที่ไดจากการ<br />

สํารวจภาคสนาม เฉพาะตรงบริเวณพื้นที่ที่ดําเนินการ<br />

สํารวจขอมูลรายละเอียด ซึ่งอาจขยายมาตราสวนของ<br />

แผนที่ใหมีมาตราสวนใหญกวาแผนที่หลัก เพื่อความ<br />

สะดวกในการลงขอมูลการสํารวจขั้นรายละเอียด โดย<br />

ในแผนที่ประกอบทุกแผนจะตองแสดงตําแหนงของ<br />

พื้นที่ในแผนที่หลัก สัญลักษณและคําอธิบายแผนที่ให<br />

ใชหลักเกณฑเชนเดียวกับแผนที่หลัก<br />

องคประกอบหลักของแผนที่ตามขอ<br />

กําหนดของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ทบ ส 4000-<br />

2550 แผนที่หลักและหรือแผนที่ประกอบ ตองแสดง<br />

องคประกอบตางๆ ดังนี้<br />

(1) มาตราสวนของแผนที่ เปน graphic<br />

scale พรอมคําอธิบายเกี่ยวกับมาตราสวนของแผนที่<br />

(2) ลูกศรกํากับทิศ<br />

(3) ตําแหนงการเก็บตัวอยาง (น้ําและ<br />

หิน) พรอมหมายเลขตัวอยาง<br />

(4) ตําแหนงการถายรูปสําหรับเปนภาพ<br />

ประกอบรายงาน<br />

(5) ในแผนที่หลักตองแสดงตําแหนงที่มี<br />

การสํารวจศึกษาขอมูลขั้นรายละเอียด<br />

(6) ในแผนที่หลักตองแสดงตําแหนงของ<br />

แนวตัดขวาง หรือตําแหนงของ block diagrams<br />

ตางๆ<br />

(7) ในแผนที่ประกอบตองแสดงวันที่และ<br />

ชวงระยะเวลาในการสํารวจขอมูลรายละเอียด<br />

6.6.2 การจัดทําแบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิง<br />

มโนทัศน<br />

นอกจากการจัดทําตนรางแผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยาแลว จําตองคาดการณถึงสภาพอุทกธรณีวิทยา<br />

ใตผิวดิน โดยการจัดทําแบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิง<br />

มโนทัศนของพื้นที่สํารวจตามขอมูลที่ไดจากขั้นตอน<br />

ตางๆของการสํารวจฯ โดยจําลองสภาพอุทก<br />

ธรณีวิทยาใตผิวดินจากขอมูลที่มีอยู เพื่อคาดคะเนถึง<br />

ลักษณะชั้นหินอุมน้ําในพื้นที่ เชน ความลึก ความหนา<br />

การแผกระจายตัวของชั้นหิน เปนตน<br />

ในการจัดทําแบบจําลองอุทกธรณีวิทยา<br />

เชิงมโนทัศน สามารถแสดงไดหลายรูปแบบ อาจเปน<br />

ภาพตัดขวางทางอุทกธรณีวิทยา(block diagrams)<br />

หรือแผนภาพรั้ว(fence diagrams) เปาหมายสําคัญ<br />

ของการจัดทําแบบจําลองฯ คือ เพื่อใชเปนเครื่องมือ<br />

ในการวางแผนสํารวจขั้นตอไป เชน จําเปนตองสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสหรือไม หากจําเปนจะสํารวจดวยวิธีใดลึก<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 16<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เพียงไร จะเสนอขอมูลอยางไรใหเหมาะสม จําเปน<br />

ตองเจาะสํารวจหรือไม หากจําเปนจะเจาะดวยวิธีใด<br />

ลึกเพียงไร และเสนอขอมูลดวยวิธีใด<br />

6.6.3 การจัดทํารายงานการสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาบนผิวดิน<br />

ตามขอกําหนดกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

รายงานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดินทุกฉบับ<br />

อยางนอยตองมีองคประกอบสําคัญ ดังตอไปนี้ คือ<br />

(1) บทนํา (ประกอบดวยวัตถุประสงค<br />

ของการสํารวจอุทกธรณีวิทยา และรายละเอียดของ<br />

โครงการ)<br />

(2) ผลจากการรวบรวมและการศึกษา<br />

ขอมูล<br />

(3) ผลจากการสํารวจภาคสนาม<br />

(ประกอบดวยวิธีการสํารวจและขอจํากัดตางๆ)<br />

(4) สภาพอุทกธรณีวิทยาเชิงภูมิภาค<br />

และเชิงพื้นที่<br />

ตัวอยางการเขียนรายงานเกี่ยวกับ<br />

สภาพอุทกธรณีวิทยา เชน การสํารวจน้ําบาดาล<br />

เฉพาะแหงในพื้นที่หนึ่งซึ่งปกคลุมดวยตะกอนจําพวก<br />

แกรนิตผุ (weathered granite) เปนพื้นที่ราบเชิงเขาที่<br />

มีขนาดพื้นที่ 500x500 ตารางเมตรโดยประมาณ มี<br />

เขาหินแกรนิตโผลใหเห็นทางดานทิศตะวันตกและทิศ<br />

ตะวันตกเฉียงเหนือ สวนดานทิศตะวันออกของพื้นที่<br />

ราบดังกลาวเปนทะเล ความหนาของตะกอนแกรนิตผุ<br />

ไมทราบแนชัด มีขอมูลจากจุดเจาะบอน้ ําบาดาลเดิม<br />

เพียงจุดเดียว เจาะลึก 30 เมตร ไดน้ําจากชั้นทราย<br />

จําพวก granite wash ที่ระดับความลึกระหวาง 25-30<br />

เมตรโดยประมาณ ลึกลงไปจากชั้นทรายดังกลาวเปน<br />

ชั้นหินแกรนิตแข็ง (fresh granite) ซึ่งโดยทั่วไปไมให<br />

น้ําบาดาล ยกเวนกรณีเจาะพบแนวรอยแตกในชั้นหิน<br />

คาดหมายวาชั้นทราย granite wash นาจะเกิดใน<br />

ลักษณะเปนทางน้ํายุคเกา (paleo channel) โดยมี<br />

แนวไหลจากบริเวณพื้นที่เขาดานทิศตะวันตกผาน<br />

บริเวณพื้นที่ราบเชิงเขาลงสูทะเลดานทิศตะวันออก<br />

การสํารวจหาแหลงน้ําบาดาลไดตั้งเปาหมายในการ<br />

สํารวจคนหาแหลงน้ําบาดาลระดับตื้นจากชั้นทราย<br />

ดังกลาว หรือจากแนวรอยแตกบนผิวหินแกรนิตสด<br />

เทานั้น สวนน้ําบาดาลในรอยแตกระดับลึก นาจะมี<br />

ความกรอยหรือเค็ม อันเนื่องมากจากอิทธิพลจากน้ํา<br />

ทะเล<br />

(5) สภาพปญหาในพื้นที่สํารวจ<br />

ตัวอยางการเขียนรายงาน (เนื้อหา<br />

ตอเนื่องจากขอ 4) จากขอมูลอุทกธรณีวิทยาที่ไดจาก<br />

การสํารวจภาคสนามดังกลาว จําเปนตองทําการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสเพิ่มเติม โดยใชวิธีสํารวจแบบ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ เพื่อหาลักษณะ<br />

ความลึกความหนาตลอดจนการแผกระจายตัวของชั้น<br />

ทราย granite wash และตรวจสอบวาในพื้นที่สํารวจมี<br />

ชั้นทรายกี่ชั้น รวมทั้งการตรวจสอบความเค็มของน้ํา<br />

บาดาลที่พบในชั้นทรายที่เปนชั้นหินอุมน้ํา แต<br />

เนื่องจากสภาพของพื้นที่สํารวจเปนพื้นที่แคบมี<br />

สิ่งกอสรางเกือบเต็มพื้นที่ รวมทั้งมีสภาพทางอุทก<br />

ธรณีวิทยาที่ไมเอื้ออํานวยตอการสํารวจ ดังขอสรุป<br />

ตอไปนี้<br />

- ชั้นทราย granite wash ที่เคยเจาะพบ<br />

มีลักษณะเปน paleo-channel โดยมีการเกิดของชั้น<br />

ทรายเปนแนวจริงหรือไม หรือเปนเพียงกระเปาะ<br />

ทรายที่เกิดในลักษณะเปน alluvial fan ตรงเชิงเขา<br />

เทานั้น<br />

- นอกเหนือไปจากชั้นทรายgranite<br />

wash ซึ่งหากเปน paleo-channel จริง ในบริเวณ<br />

พื้นที่สํารวจจะมี paleo-channel ที่อยูลึกหรือตื้นกวา<br />

เดิมอีกหรือไม และหากมีจะมีลักษณะการแผขยายตัว<br />

อยางไร<br />

- ความหนาของตะกอนแกรนิตผุใน<br />

บริเวณ พื้นที่สํารวจ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 17<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- ปญหาเรื่อง lateral resistivity variation<br />

เนื่องจากพื้นที่สํารวจดานหนึ่งเปนเขาหิน granite<br />

มีคา apparent resistivity สูงมาก สวนอีกดานหนึ่ง<br />

เปนทะเลที่มีคา apparent resistivity ที่ต่ํามากๆ<br />

- ปญหาเรื่องน้ําเค็มเนื่องจากพื้นที่<br />

สํารวจเปนชายฝงทะเล หากมีการสูบน้ําบาดาลจาก<br />

แนวรองน้ําเกาขึ้นใชในอัตราสูง อาจชักนําใหน้ําทะเล<br />

รุกล้ําเขาสูชั้นน้ําบาดาลได<br />

7. เอกสารอางอิง<br />

กรมชลประทาน, 2548. หลักการสํารวจและจัดทํา<br />

แผนที่, คณะทํางานปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่ภูมิประเทศ, การสัมมนาเชิง<br />

ปฏิบัติการ, 25-27 สิงหาคม 2548.<br />

ราชบัณฑิตยสถาน, 2532. ศัพทวิทยาศาสตร ฉบับ<br />

ราชบัณฑิตยสถาน, บริษัทเพื่อนพิมพ จํากัด.<br />

วิฑิต ศิริโภคากิจ., 2542. การสํารวจน้ําบาดาล, กรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล, กรุงเทพฯ.<br />

American Society for Testing and Materials<br />

(ASTM), 2004. Standard Guide for Site<br />

Characterization for Environmental Purposes<br />

With Emphasis on Soil, Rock, the Vadose<br />

and Groundwater, D 5730-04.<br />

American Society for Testing and Materials<br />

(ASTM), 2002. Standard Guide for<br />

Geotechnical Mapping of Large<br />

Underground Openings in Rocks, D 5879-<br />

02.<br />

Brassington, R., 1988. Field Htdrogeology,<br />

Geological Society of London Professional<br />

Handbook Series.<br />

Gyögy, D.,1977. The Cave of Hungary: Bulletin of<br />

the Hungarian Speleological Soceity (HU<br />

ISSN 0324-6221), Budapest, p. 19 –26.<br />

8. ภาคผนวก<br />

ขั้นตอนการกรองงานและขั้นตอนการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยา ดังแสดงในตารางที่ 1-4<br />

ตารางที่ 1 ขั้นตอนการกรองงานและขั้นตอนการสํารวจอุทกธรณีวิทยาเฉพาะแหงตามมาตรฐาน ISO 9000<br />

หัวขอ<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

10<br />

11<br />

12<br />

กองน้ําบาดาล<br />

กระบวนการ<br />

คําขอสํารวจ<br />

พิจารณา<br />

ตรวจสอบขอมูลในสํานักงาน<br />

วิเคราะหความจําเปน<br />

สํารวจธรณีฟสิกสในสนาม<br />

แปลคาขอมูล<br />

ทํารายงานการสํารวจ<br />

ตรวจสอบรายงาน<br />

ทําหนังสือตอบ<br />

สรุปผลการสํารวจ<br />

ประเมินผลการสํารวจ<br />

ปรับสมุดทะเบียน/จบ<br />

ผูขอ<br />

ฝ.พนบ 1-6<br />

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน Procedure Manual<br />

ชื่องาน : การสํารวจน้ําบาดาล<br />

ฝ. แผนงาน<br />

ผอ.กน.<br />

หฝ. สํารวจ สายงาน ฝายธุรการ<br />

N<br />

Y<br />

Y<br />

N<br />

N<br />

Y<br />

รหัส :<br />

เริ่มใช :<br />

แผนที่ :<br />

สมุดรับ<br />

แผนที่<br />

IV-1<br />

RS-1<br />

กน1/2541<br />

บันทึก<br />

เริ่มตน/สิ้นสุด ดําเนินการ พิจารณา สื่อสาร<br />

(จาก กรมทรัพยากรน้ําบาดาล, ไมระบุพ.ศ.)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 18<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 2 ตารางแสดงขั้นตอนการกรองงานและขั้นตอนการสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง<br />

งานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง รหัสที่ใช<br />

หัวขอ<br />

กระบวนการดําเนินงาน ผูขอ ผอ. ผอ.สวน/ สายงาน ธุรการ<br />

สํานัก/ ผอ,แผนก<br />

ผอ.ศูนยฯ<br />

1 คําขอสํารวจ ลงรับ<br />

2 ตรวจสอบขอมูล N<br />

∗<br />

3 พิจารณา/วิเคราะหความสําคัญ N<br />

Y<br />

∗<br />

Y<br />

4 สํารวจภาคสนาม ∗<br />

5 แปลคาขอมูล/จัดทํารายงาน ∗<br />

6 สอบทานรายงาน Y N<br />

∗<br />

7 ทําหนังสือตอบ ∗<br />

8 ประเมินผลการสํารวจ ∗<br />

9 ปรับสมุดทะเบียน/จบ ลงสมุด<br />

ทะเบียน<br />

จุดเริ่มตน / จุดสิ้นสุด ดําเนินการ พิจารณา ประสานงาน<br />

∗ ใหกําหนดแบบฟอรม / รหัสพรอมกํากับ ว. / ด. / ป. สําหรับตรวจสอบขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินงาน<br />

ตารางที่ 3 ระดับความแข็งของหินชนิดตางๆ<br />

ระดับความแข็ง /<br />

ประเภทของหิน<br />

หินรวนที่มีความแข็ง<br />

นอยมากหรือดิน<br />

แรงกด<br />

โดยประมาณ<br />

การทดสอบความแข็งในสนาม<br />

(มิลลิปาสคาลร)<br />

0.6-1.25 ขีดขูดไดดวยเล็บนิ้วหรือปรากฏรอยบุบเมื่อทุบเบาๆ ดวยคอนธรณี หรือ<br />

การขุดลอกจําเปนตองใชเครื่องมือหรือสามารถขุดลอกเปลือกไดดวยมีด<br />

พก<br />

1.25-5.0 ตัวอยางหินยุยเปนผง เมื่อขูดดวยปลายคอนธรณี<br />

หินรวนที่มีความแข็ง<br />

นอย<br />

หินรวนที่มีความแข็ง 5.0-12.5 เปนรอยขีดตื้นๆ ประมาณ 1-3 มม. เมื่อขูดดวยปลายคอนธรณี<br />

นอยปานกลาง<br />

หินแข็งปานกลาง 12.5-50 ไมสามารถขูดลอกเปลือกหินไดดวยมีดพก<br />

หินแข็ง 50-100 การทุบหินใหแตก ตองทุบแรงๆ ดวยคอนธรณีมากกวา 1 ครั้ง<br />

หินแข็งมาก 100-250 การทุบหินใหแตก ตองทุบแรงๆ ดวยคอนธรณีหลายๆ ครั้ง<br />

หินแกรง > 250 หินจะแตกเปนเกล็ดเล็กเกล็ดนอยเทานั้น เมื่อทุบแรงๆ ดวยคอนธรณี<br />

หลายๆ ครั้ง<br />

(จาก ASTM, 2002)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 19<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 4 ระดับความผุกรอนของหินตาม Tarzaghi’s Guide<br />

หินดั้งเดิม หินที่ผานการจุมน้ํา อบแหงและปนหลายๆ<br />

ครั้ง หรือผานการตากแดดตากฝนนานๆ<br />

การ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ทางปริมาตร<br />

ของหิน<br />

การจัดกลุม<br />

มีเสียงกังวานเมื่อ<br />

ทุบดวยคอน<br />

ไมมีการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง (a) หินแข็ง (solid rock)<br />

นอยวัดไมได<br />

แตกเปนชิ้นเล็กๆ ผิวรอยแตกเรียบ (b) หินมีรอยแตกในเนื้อหิน (finely<br />

fissured unaltered rock)<br />

แตกเปนชิ้นเล็กๆ ผิวรอยแตกเปนมัน และ<br />

พบรองรอยเศษแรเนื้อละเอียดซึ่งเปนแรที่<br />

แปรสภาพจากแรดั้งเดิมในหินเนื่องจากการ<br />

ผุพัง (fine grained weathering products)<br />

(c) หินมีการยอยสลายผุพังเล็กนอย<br />

(slightly decomposed rock)<br />

แตกยุยเปนเม็ดทรายหรือทรายละเอียด (d) หินทรายที่มีวัตถุประสานไมคงทน<br />

(sandstone with unstable cement)<br />

มีเสียงหนักทึบ<br />

เมื่อทุบดวยคอน<br />

แตกเปนเศษหินเหลี่ยมเล็กๆไมปรากฏการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางเคมี<br />

เปลี่ยนแปลงจน<br />

ตรวจวัดได<br />

(e) หินที่มีสวนประกอบอยูระหวางหิน<br />

,แรดิน สวนประกอบหลักเปนหิน<br />

(intermediate between rock & clay,<br />

rock dominant)<br />

เปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง เปนสาร<br />

แขวนลอยพวกเศษดิน<br />

(f) หินที่มีสวนประกอบอยูระหวางหิน,แร<br />

ดิน สวนประกอบหลักเปนแรดิน<br />

(intermediate between rock & clay,<br />

clay dominant)<br />

เปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง เปนสาร<br />

แขวนลอยพวกเศษดินและตะกอนเหลี่ยม<br />

พวกเศษหินแตก<br />

(g) หินที่มีการยอยสลายโดยสมบูรณ<br />

(thoroughly decomposed)<br />

ละลายน้ํากลายเปนสารแขวนลอยสมบูรณ<br />

แบบ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

มากวัดไมได<br />

(h) ตะกอนแรดินเนื้อละเอียด และทราย<br />

ละเอียดจับตัวกันอัดแนนในสภาพอากาศ<br />

แหง (clay silt and very fine sand in<br />

dry or very compacted condition)<br />

(จาก ASTM, 2002)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 20<br />

คูมือ ทบ ส 1000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550<br />

การคัดเลือกวิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (ส) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

คูมือใหใสวงเล็บตอทายและระบุ ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เปนตน โดยมีเครื่องหมาย (ก)<br />

เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่ปรับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการคัดเลือกวิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินฉบับนี้ ไดจัดทําขึ้นภายใตโครงการจัดทํา<br />

มาตรฐานการเจาะ สํารวจและพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

พ.ศ. 2550 เปนสวนหนึ่งของชุดคูมือการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล โดยกรมทรัพยากรน้ํา<br />

บาดาลไดมอบหมายใหคณะผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณี<br />

วิทยา ธรณีวิทยา วิศวกรรม เครื่องกล และวิศวกรรม<br />

โยธา เปนผูดําเนินการรางคูมือการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน เพื่อใหใชควบคูไปกับ มาตรฐาน<br />

ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือกวิธีการสํารวจทางธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดิน โดยคูมือฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอน<br />

และแนวทางสําหรับใชในงานสํารวจฯ เพื่อใหได<br />

ผลงานมีมาตรฐานตามที่กรมฯกําหนด<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินเปนการสํารวจหา<br />

ขอมูลในเชิงลึก โดยใชเครื่องมือการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดินตรวจวัดคุณสมบัติทางกายภาพตางๆของ<br />

ชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ และจาก<br />

การแปลความหมายจากขอมูลการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดิน ทําใหสามารถประมาณการความลึกความ<br />

หนาของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินในพื้นที่สํารวจได<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน มีวิธีการสํารวจ<br />

หลายวิธี ขึ้นอยูกับคุณสมบัติทางกายภาพของชั้นดิน<br />

ชั้นหินใตผิวดินที่ตองการตรวจวัด เชน ตองการ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ ตรวจวัดความ<br />

เร็วของคลื่นไหวสะเทือนที่วิ่งผานชั้นหิน ตรวจวัด<br />

ความเปนตัวนําแมเหล็กไฟฟา หรือตรวจวัดความ<br />

หนาแนนของชั้นดินชั้นหิน เปนตน<br />

การคัดเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

นั้นขึ้นอยูกับปจจัยหลายๆ อยาง หากเลือกวิธีการ<br />

สํารวจที่ถูกตองเหมาะสมกับปจจัยตางๆ ก็จะทําให<br />

สามารถแปลความหมายขอมูลการสํารวจไดงาย<br />

ไดผลการสํารวจที่ถูกตองแมนยํา รวมทั้งประหยัด<br />

คาใชจายและเวลาในการสํารวจภาคสนาม ซึ่งบาง<br />

กรณีอาจจําเปนตองใชการสํารวจธรณีฟสิกสหลายวิธี<br />

ควบคูกันไป เพื่อใหไดขอมูลการสํารวจที่ครบถวน<br />

อยางไรก็ตาม ผลการสํารวจยอมขึ้นกับปจจัยตางๆ<br />

โดยสรุปคือ<br />

1.1 ความชํานาญของผูดําเนินการสํารวจเปน<br />

ปจจัยที่สําคัญที่สุด โดยผูสํารวจตองเปนผูวาง<br />

แผนการสํารวจ ดําเนินการจัดเก็บขอมูลการสํารวจ<br />

ภาคสนาม และการแปลความหมายขอมูลการสํารวจ<br />

นอกจากจะตองเขาใจอยางถองแทเกี่ยวกับ<br />

รายละเอียดดานทฤษฎี วิธีการสํารวจ และวิธีการแปล<br />

ความหมายขอมูลแลว ยังจําเปนตองรูสภาพอุทก<br />

ธรณีวิทยาของพื้นที่ที่สํารวจดวย ดังนั้นการเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินจะตองวิเคราะห<br />

แบบจําลองทางอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่ที่สํารวจอยาง<br />

ละเอียด<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 21<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

1.2 ผลจากการวิเคราะหแบบจําลองทางอุทก<br />

ธรณีวิทยา ที่ไดจากขั้นตอนการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

บนผิวดิน มักไดขอมูลใตผิวดินโดยประมาณเทานั้น<br />

ขอมูลดังกลาวเพียงพอสําหรับการศึกษาวิจัยดานอุทก<br />

ธรณีวิทยาในพื้นที่สํารวจหรือไม หากไมเพียงพอ<br />

จําเปนตองสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินหรือไม หาก<br />

จําเปนจะดําเนินการสํารวจดวยวิธีใด โดยปกติการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินจะมีบทสรุปคือ แบบ<br />

จําลองทางธรณีฟสิกสของพื้นที่สํารวจ ซึ่งจะแสดง<br />

ขอมูลอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

ความลึกและความหนาของชั้นน้ําที่ระดับความลึก<br />

ตางๆ พรอมการลําดับชั้นหินทางธรณีฟสิกส การแผ<br />

กระจายตัวของชั้นน้ํา รวมทั้งคุณภาพความกรอยเค็ม<br />

ของน้ําในชั้นน้ํา<br />

2. ขอบเขต<br />

2.1 เอกสารคูมือฉบับนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุ<br />

ประสงคหลัก เพื่อใชในการคัดเลือกวิธีการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินที่เหมาะสมสําหรับประยุกตใชในการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยา ภายใตสภาพอุทกธรณีวิทยา<br />

ของพื้นที่สํารวจแบบตางๆ<br />

2.2 วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินที่กลาว<br />

ถึงในเอกสารคูมือฉบับนี้ เปนวิธีการสํารวจที่ใชในงาน<br />

ทั่วๆไป โดยผานการตรวจสอบและยอมรับในระดับ<br />

สากลวา มีประสิทธิภาพนาเชื่อถือสําหรับการ<br />

ประยุกตใชในการสํารวจดานอุทกธรณีวิทยา ธรณี<br />

เทคนิค และการสํารวจสิ่งฝงกลบมลพิษ (ASTM;<br />

D6429-99 Reapproved, 2006)<br />

2.3 วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินที่กลาว<br />

ถึงในเอกสารคูมือนี้ จะครอบคลุมเฉพาะวิธีการสํารวจ<br />

ที่นํามาประยุกตใชในดานการสํารวจดานอุทกธรณี<br />

วิทยาเทานั้น โดยประกอบดวยวิธีการสํารวจ 4 วิธี คือ<br />

การสํารวจดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

(resistivity methods) การสํารวจดวยวิธีการตรวจวัด<br />

ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห (shallow<br />

seismic refraction method) การสํารวจดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา (electromagnetic<br />

methods, EM methods) การสํารวจดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค (micro-gravity methods)<br />

2.4 เอกสารคูมือฉบับนี้จะสรุปวิธีการประยุกต<br />

ใชการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินแบบตางๆ ดังกลาว<br />

แตไมครอบคลุมถึงรายละเอียดดานทฤษฎี วิธีการ<br />

สํารวจ และวิธีการแปลความหมายขอมูลการสํารวจ<br />

ซึ่งรายละเอียดดังกลาวจะปรากฏในเอกสารคูมือการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินแตละวิธี (คูมือ ทบ ส<br />

2002-2550 ถึง ทบ ส 2005-2550)<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2003-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของ<br />

คลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนาม<br />

แมเหล็กไฟฟา<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค<br />

- คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 22<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่น<br />

ไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

- คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็ก<br />

ไฟฟา<br />

- คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค<br />

3.2 American Society for Testing and<br />

Materials (ASTM):<br />

- D6429-99 (Re 2006) Standard Guide<br />

for Selecting Surface Geophysical Methods<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง (groundwater<br />

investigation for pin-point well drilling)<br />

หมายถึง การสํารวจอุทกธรณีวิทยา ที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลที่เหมาะสม<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน (subsurface<br />

hydrogeological investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจเก็บขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินโดย<br />

ใชเครื่องมือหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

(surface hydrogeological investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจโดยใชเครื ่องมือทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

เพื่อที่จะจัดเก็บขอมูลดานธรณีวิทยาและอุทกธรณี<br />

วิทยา โดยมิไดใชเครื่องมือใดๆหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

แบบจําลองเชิงมโนทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

(conceptual site models) หมายถึง การสรางรูป<br />

แบบจําลองของพื้นที่สํารวจจากขอมูลเบื้องตนของ<br />

พื้นที่สํารวจเทาที่มีอยู เพื่อใชในการกําหนดแนวทาง<br />

และวิธีการสํารวจภาคสนาม<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological models) หมายถึง การ<br />

สรางรูปแบบจําลองของพื้นที่สํารวจจากขอมูลดาน<br />

อุทกธรณีวิทยาที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน เพื่อใชประกอบกับแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

สําหรับการกําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึง กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

การสํารวจฯ หมายถึง การสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาบนผิวดิน<br />

แบบจําลองฯ หมายถึง แบบจําลองเชิงมโน<br />

ทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน<br />

5.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ไดกําหนดวิธีการ<br />

คัดเลือกการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน สําหรับสภาพ<br />

อุทกธรณีวิทยาของพื้นที่สํารวจแบบตางๆ สําหรับการ<br />

ปรับใชเพื่อใหไดผลงานการสํารวจตรงตามมาตรฐานที่<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด โดยสามารถนําไป<br />

ประยุกตใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาตางๆ ดังนี้<br />

5.1.1 ใชเปนคูมือในการคัดเลือกวิธีการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดิน สําหรับงานสํารวจน้ําบาดาล<br />

เฉพาะแหง ซึ่งอาจตองดําเนินการสํารวจตอเนื่องดวย<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินตามมาตรฐาน ทบ<br />

ส 3000-2550<br />

5.1.2 ใชเปนคูมือในการคัดเลือกวิธีการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดิน สําหรับงานสํารวจจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยา โดยมีกระบวนการสํารวจจัดทําแผนที่<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 23<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

อุทกธรณีวิทยาตอเนื่องตามมาตรฐาน ทบ ส 4000-<br />

2550<br />

5.1.3 ใชเปนคูมือในการคัดเลือกวิธีการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดิน สําหรับงานศึกษาวิจัยแหลงน้ํา<br />

บาดาลตางๆ เชน การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินปริมาณ<br />

น้ําสํารองแองน้ํา การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินพื้นที่เติม<br />

น้ํา การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทําแบบจําลองอุทก<br />

ธรณีวิทยาทางคณิตศาสตร และการศึกษาวิจัยทาง<br />

อุทกธรณีวิทยาดานอื่นๆ<br />

5.2 คูมือการคัดเลือกวิธีการธรณีฟสิกสบนผิว<br />

ดินฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอนและแนวทางการปฏิบัติ<br />

งานไวกวางๆ สําหรับการปรับใชกับงานสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาหรือการศึกษาวิจัยอุทกธรณีวิทยาตาม<br />

วัตถุประสงคตางๆ ซึ่งตองการรายละเอียดของขอมูล<br />

ตางกัน โดยเฉพาะปริมาณของขอมูลยอมขึ้นอยูกับ<br />

ขนาดของพื้นที่สํารวจ เวลาและงบประมาณของงาน<br />

สํารวจศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลแตละงาน ดังนั้น<br />

ขั้นตอนและแนวทางการปฏิบัติงานที่ไดกําหนด<br />

เอกสารฉบับนี้ อาจเปลี่ยนแปลงไดตามที่ผูเชี่ยวชาญ<br />

ของโครงการศึกษาวิจัยแตละโครงการจะเห็นสมควร<br />

6. คําอธิบายวิธีการ<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินเปนขั้นตอนการ<br />

สํารวจภาคสนามที่ตอเนื่องจากการสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาบนผิวดิน โดยมีเปาหมายเพื่อจัดทํารูปแบบอุทก<br />

ธรณีวิทยาใตดินในขั้นตอนสุดทายของการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน ซึ่งจําลองสภาพอุทกธรณีวิทยา<br />

ใตผิวดินไดคราวๆ โดยการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินเปนการสํารวจบนผิวดิน โดยใชเครื่องมือทาง<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินตรวจวัดคุณสมบัติทางกายภาพ<br />

ของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ และ<br />

ดวยการแปลความหมายจากขอมูลการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดิน ทําใหสามารถประมาณการความลึก<br />

ความหนาของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินในพื้นที่สํารวจ<br />

ภายใตการประมาณการทางวิทยาศาสตร<br />

7. เครื่องมือและอุปกรณ<br />

รายการเครื่องมือและอุปกรณการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินที่เกี่ยวของกับเอกสารคูมือฉบับนี้<br />

ประกอบดวย ชุดเครื่องมือการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินจํานวน 4 ชุดดวยกันคือ<br />

(1) ชุดเครื่องมือการสํารวจตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ พรอมอุปกรณ<br />

(2) ชุดเครื่องมือการสํารวจตรวจวัดความเร็วของ<br />

คลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห พรอมอุปกรณ<br />

(3) ชุดเครื่องมือการสํารวจตรวจวัดสนามคลื่น<br />

แมเหล็กไฟฟา พรอมอุปกรณ<br />

(4) ชุดเครื่องมือการสํารวจตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

อยางละเอียด พรอมอุปกรณ<br />

รายละเอียดของชุดเครื่องมือแตละชนิดไดแสดง<br />

ไวในมาตรฐานและคูมือปฏิบัติการดานการสํารวจของ<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล ตั้งแตการสํารวจดวยการ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ (คูมือ ทบ ส<br />

2002-2550) การสํารวจดวยการตรวจวัดความเร็ว<br />

คลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห (คูมือ ทบ ส 2003-2550)<br />

การสํารวจดวยการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา<br />

(คูมือ ทบ ส 2004-2550) และการสํารวจดวยการ<br />

ตรวจวัดความโนมถวงจุลภาค (คูมือ ทบ ส 2005-<br />

2550)<br />

8. การคัดเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดิน<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน เปนการสํารวจ<br />

โดยการตรวจวัดหาคุณสมบัติทางทางกายภาพของชั้น<br />

ดินชั้นหินใตดิน ซึ่งเปนลักษณะการหาขอมูลใตผิวดิน<br />

ทางออม การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินมีหลายวิธี<br />

ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการสํารวจ โดยทั่วไปการ<br />

เลือกใชวิธีการสํารวจขึ้นอยูกับปจจัยหลายๆ อยาง<br />

เชน ความแตกตางดานคุณสมบัติทางกายภาพของชั้น<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 24<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ดินชั้นหินใตผิวดิน (physical contrast) ในพื้นที่สํารวจ<br />

ซึ่งจําเปนตองเลือกวิธีการสํารวจใหเหมาะสม เพื่อให<br />

ไดขอมูลที่มีความถูกตองมากที่สุด นอกจากนี้ยังมี<br />

ปจจัยอื่นๆ เชน คาใชจายและระยะเวลาที่ใชในการ<br />

สํารวจ รวมไปถึงแผนการนําเสนอขอมูลการสํารวจ<br />

เปนตน<br />

ตามมาตรฐานการทดสอบวัสดุแหงสหรัฐอเมริกา<br />

D6429-99 (Reapproved 2006) ไดกําหนดขั้นตอน<br />

การเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน ดังนี้<br />

8.1 การประยุกตใชวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

บทสรุปของการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน ตามมาตรฐาน ทบ ส 1000 - 2550 คือการ<br />

สรางแบบจําลองอุทกธรณีวิทยา ซึ่งจําลองสภาพอุทก<br />

ธรณีวิทยาใตผิวดินของพื้นที่สํารวจจากขอมูลการเจาะ<br />

ที่มีอยูอยางจํากัด ใหเปนแบบจําลองคราวๆ พรอม<br />

ขอสรุปเพื่อเปนแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

ปริมาณขอมูลและการแปลความหมาย<br />

ขอมูลเปนปจจัยสําคัญในการบงชี้ความถูกตองแมนยํา<br />

ของงานสํารวจอุทกธรณีวิทยาดานตางๆ โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งขอมูลอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน ซึ่งไดจากการ<br />

เจาะสํารวจพรอมดวยกระบวนการหยั่งธรณี (well<br />

logging) แตการสํารวจดวยวิธีดังกลาวตองเสีย<br />

คาใชจายสูงและใชเวลามากเมื่อเปรียบเทียบกับการใช<br />

ขอมูลจากการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

โดยทฤษฎีของการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิว<br />

ดินดวยวิธีการตางๆ ขอมูลที่ไดจากการสํารวจ<br />

ภาคสนามเปนขอมูลเชิงปริมาณ แตโดยสวนใหญ<br />

สามารถแปลความหมายขอมูลดังกลาวใหเปนขอมูล<br />

เชิงคุณภาพได การแปลความหมายขอมูลการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินจําเปนตองทราบสภาพอุทกธรณี<br />

วิทยาของพื้นที่สํารวจ โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลการ<br />

เจาะที่ใชเปนขอมูลเปรียบเทียบ (key wells) นอก<br />

จากนี้การแปลความหมายจําเปนตองใชประสบการณ<br />

ความเชี่ยวชาญและความละเอียดรอบคอบของผูแปล<br />

สําหรับโปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชในการแปลความหมาย<br />

ขอมูลการสํารวจธรณีฟสิกสนั้น ไมสามารถผนวก<br />

ขอมูลรายละเอียดดานอุทกธรณีวิทยาหรือรายละเอียด<br />

อื่นๆที่อาจมีความสําคัญเขาไปในกระบวนการแปล<br />

ความหมาย จึงควรใชขอมูลที่ไดจากโปรแกรมเพื่อการ<br />

เปรียบเทียบเทานั้น<br />

8.2 ความแตกตางดานคุณสมบัติทางกายภาพ<br />

ของชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธี<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดินชั้นหิน<br />

ใตผิวดินรวมทั้งของเหลวในชั้นดินชั้นหินนั้น จะตอง<br />

คํานึงถึงความแตกตางดานความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ (resistivity contrast) ของชั้นดินชั้นหินที่<br />

ระดับความลึกตางๆในพื้นที่สํารวจ ซึ่งจําเปนตองมีคา<br />

ความแตกตางสูงเพียงพอที่จะจําแนกชั้นดินชั้นหินนั้น<br />

ออกจากกันดวยคาความตานทานไฟฟาจําเพาะได<br />

(resistivity layers) ในทํานองเดียวกันการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการอื่นๆ จําเปนตองคํานึงถึง<br />

ความแตกตางของคาที่เปนตัวจําแนกหรือแบงแยกชั้น<br />

ดินชั้นหินออกจากกัน เชน คาความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือน (velocity contrast) คาความหนาแนน<br />

(density contrast) คาแรงโนมถวง (gravity contrast)<br />

ของชั้นดินชั้นหินบริเวณพื้นที่สํารวจนั้น เพื่อที่จะ<br />

สามารถจําแนกออกเปนชั้นตามคุณสมบัติที่แตกตาง<br />

กันได<br />

ตัวอยางเชน การเลือกวิธีสํารวจของการ<br />

สํารวจแนวรอยตอระหวางชั้นน้ําเค็มและจืด ซึ่ง<br />

คุณสมบัติของชั้นน้ําเค็มและจืดจะมีความแตกตางดาน<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นทรายน้ําจืดกับชั้น<br />

ทรายน้ําเค็มคอนขางสูง ในขณะที่ความเร็วของคลื่น<br />

ไหวสะเทือนที่วิ่งผานชั้นทรายน้ําเค็มและชั้นทรายน้ํา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 25<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

จืดมีคาใกลเคียงกันมาก สวนความหนาแนนของชั้น<br />

ทรายน้ําเค็มและชั้นทรายน้ําจืดมีความแตกตางกัน<br />

เพียงเล็กนอย แตสามารถตรวจวัดไดดวยเครื่อง<br />

ตรวจวัด ในการปฏิบัติการสํารวจจริงอาจพบปญหา<br />

ปลีกยอย เชน ในกรณีที่พื้นที่สํารวจปกคลุมดวยชั้น<br />

ดินเค็ม การสํารวจตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะจะประสบปญหาได เนื่องจากเปนขอจํากัดของ<br />

วิธีการสํารวจ<br />

การสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดินที่<br />

ประยุกตใชในดานการสํารวจแหลงน้ําบาดาล โดยสวน<br />

ใหญจะใชวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

แตหลายๆกรณีจําเปนตองใชวิธีการตรวจวัดอื่นๆ<br />

ควบคูไปดวย<br />

8.3 สรุปวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินที่ใช<br />

ในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

การคัดเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินจําเปนตองอาศัยปจจัยตางๆ หลายประการ<br />

รวมไปถึงความรูพื้นฐานดานธรณีฟสิกสเพื่อเลือก<br />

วิธีการสํารวจที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ความลึกที่<br />

ตองการทราบขอมูล รวมทั้งคาใชจายและเวลาที่ใชใน<br />

การสํารวจ สําหรับหัวขอนี้จะสรุปวิธีการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินที่ใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา 4<br />

วิธี ดังนี้<br />

8.3.1 วิธีการสํารวจตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะแบบกระแสตรง<br />

การสํารวจตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะแบบกระแสตรง (direct current resistivity<br />

methods, DC) เปนการสํารวจโดยการปลอยกระแส<br />

ไฟฟากระแสตรงลงสูใตดินผานขั้วหลักไฟฟากระแส<br />

(current electrodes) สองขั้วคือ C 1 และ C 2 และ<br />

ตรวจวัดความตางศักยทางไฟฟา (voltage potentials)<br />

บนผิวดิน จากขั้วหลักไฟฟาความตางศักยสองขั้ว<br />

(potential electrodes) คือ P 1 และ P 2 ซึ่งปกอยูตรง<br />

กลางของระยะหางระหวาง C 1 และ C 2 โดยเปนการ<br />

ตรวจวัดความตางศักยไฟฟาของดินหินใตผิวดินที่<br />

ระดับความลึกตางๆ<br />

การประยุกตใชการสํารวจแบบตรวจวัด<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะแบบกระแสตรงอาจใช<br />

เปนวิธีสํารวจของการสํารวจแบบหยั่งลึก(vertical<br />

electrical resistivity sounding, VES) การสํารวจ<br />

แบบตัดแนว (resistivity profiling) หรือการสํารวจ<br />

แบบทั่วพื้นที่ (resistivity mapping)<br />

ระดับความลึกที่สามารถตรวจวัดไดดวย<br />

วิธีนี้ ขึ้นอยูกับระยะหางของขั้ว C 1 และ C 2 สภาพ<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดินชั้นหินใตดิน<br />

และพลังงานไฟฟาที่ปลอยลงใตผิวดิน โดยปกติ<br />

สามารถวัดไดถึงระดับความลึกมากกวา 300 เมตร<br />

ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาดพื้นที่สํารวจที่ตองมากพอสําหรับ<br />

การลากสาย ไฟฟาและตอกหลักขั้วไฟฟา และ<br />

คุณสมบัติของชั้นดินชั้นหินบริเวณพื้นที่สํารวจ<br />

เครื่องมือสํารวจที่มีประสิทธิ-ภาพในการปลอย<br />

พลังงานไฟฟาไดสูง ทําใหอาจสามารถตรวจวัดไดลึก<br />

ถึง 500 เมตร หรือมากกวา<br />

ขีดความสามารถในการสํารวจแบบหยั่ง<br />

ลึกโดยปกติสามารถหาความลึกหรือความหนาของชั้น<br />

ดินชั้นหินใตผิวดินไดประมาณ 3 - 4 ชั้น การสํารวจ<br />

ดวยวิธีนี้ มีขอจํากัดของการสํารวจคอนขางนอย เมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับการสํารวจดวยวิธีอื่นๆ โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งสภาพแวดลอมของพื้นที่สํารวจที่สงผลกระทบ<br />

ตอการสํารวจเชน แนวสํารวจอยูใกลแนวสาย<br />

ไฟฟาแรงสูง หรือใกลแนวทอประปา หรือสิ่งกอสราง<br />

ใตผิวดินอื่นๆ อาจมีผลตอการตรวจวัดบางแตไมมาก<br />

ถึงกับไมสามารถสํารวจได<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 26<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

8.3.2 วิธีการสํารวจตรวจวัดความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห<br />

การสํารวจตรวจวัดความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเหเปนการตรวจวัดคุณสมบัติทาง<br />

กายภาพของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินดานความเร็วของ<br />

คลื่นไหวสะเทือนที่วิ่งผาน โดยอาศัยทฤษฎีเสียงและ<br />

Snell’s law เมื่อทําใหเกิดเสียงบนผิวดิน คลื่นไหว<br />

สะเทือนจะวิ่งลงสูใตผิวดินผานตัวกลางคือชั้นหินใตผิว<br />

ดินดวยความเร็วระดับหนึ่ง และเมื่อมีการเปลี่ยนชนิด<br />

หิน ความเร็วคลื่นไหวสะเทือนที่กําลังเคลื่อนที่ผานนั้น<br />

จะเปลี่ยนไปตามคุณสมบัติของหินชั้นที่สอง และตรง<br />

บริเวณแนวรอยตอระหวางชั้นหิน (interface) คลื่น<br />

ไหวสะเทือนบางสวนจะถูกสะทอนกลับขึ้นสูผิวดิน<br />

(reflected wave) บางสวนจะเดินทางผานชั้นหินลึกลง<br />

ไป หลักการของการสํารวจแบบนี้จะตรวจจับสวนของ<br />

คลื่นไหวสะเทือนที่หักเหกลับขึ้นสูผิวดินและแปล<br />

ความ หมายขอมูลการสํารวจเพื่อหาความลึกและ<br />

ความหนาของชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน<br />

การประยุกตใชการสํารวจตรวจวัดความ<br />

เร็วคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห สามารถนํามาใชใน<br />

การสํารวจดานอุทกธรณีวิทยาในการตรวจวัดความลึก<br />

ของระดับน้ําบาดาล การตรวจสอบคนหาชั้นน้ําบาดาล<br />

ตามแนวรอยแตกรอยเลื่อนในชั้นหินแข็ง และโครง<br />

สรางอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินอื่นๆ<br />

ระดับความลึกที่สามารถตรวจวัดไดดวย<br />

วิธีนี้ขึ้นอยูความเขมของพลังงานตนกําเนิดของคลื่น<br />

ไหวสะเทือนที่อยูบนผิวดินและคุณสมบัติทางกายภาพ<br />

ของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินโดยปกติความลึกในการ<br />

ตรวจวัดจะไมเกิน 30 เมตร แตอาจสํารวจไดลึกกวานี้<br />

มากหากใชวัตถุระเบิดเปนตนกําเนิดคลื่น<br />

ขีดความสามารถในการสํารวจแบบหยั่ง<br />

ลึกสามารถตรวจวัดความลึกของชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน<br />

ไดประมาณ 3-4 ชั้น ความลึกของการสํารวจที่ได<br />

ขึ้นกับระยะหางของตัวรับคลื่นไหวสะเทือน (geophones)<br />

โดยทั่วไปอยูระหวาง 2-6 เมตร ระยะหาง<br />

ของตัวรับคลื่นไหวสะเทือนมากจะไดขอมูลระดับลึก<br />

กวาระยะหางที่นอยกวา<br />

การสํารวจดวยวิธีนี้ มีขอจํากัดที่สําคัญ<br />

คือ ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนในชั้นดินชั้นหิน<br />

ระดับตื้นจะตองนอยกวาความเร็วของคลื่นไหว<br />

สะเทือนในชั้นดินชั้นหินระดับลึกลงไปเสมอ หากชั้น<br />

หินที่มีความเร็วคลื่นไหวสะเทือนสูงวางทับอยูบนชั้น<br />

หินที่มีความเร็วคลื่นไหวสะเทือนที่มีความเร็วคลื่นต่ํา<br />

จะไมสามารถตรวจวัดชั้นหินที่มีความเร็วคลื่นต่ําได<br />

เพราะคลื่นที่วัดไดจะเปนคลื่นที ่วิ่งอยูในชั้นหินที่มี<br />

ความเร็วคลื่นสูงเทานั้น ขอจํากัดอีกประการหนึ่งคือ<br />

ไมสามารถตรวจวัดชั้นหินบางๆที่อยูลึกจากผิวดิน<br />

มากๆ ได<br />

8.3.3 วิธีการสํารวจตรวจวัดสนามแมเหล็ก<br />

ไฟฟา<br />

การสํารวจดวยการตรวจวัดสนาม<br />

แมเหล็กไฟฟา สามารถจําแนกเปน 3 แบบ ไดแก<br />

การตรวจวัดดวยวิธี frequency domain electromagnetic<br />

survey (FDEM) ซึ่งบางครั้งอาจเรียกวา terrain<br />

conductivity การตรวจวัดแบบ time domain electromagnetic<br />

survey (TDEM) และการตรวจวัดแบบ<br />

very-low frequency electromagnetic survey (VLF-<br />

EM) สําหรับการประยุกตใชในการสํารวจดานอุทก<br />

ธรณีวิทยาจะใชเฉพาะ FDEM และ VLF-EM เทานั้น<br />

สําหรับ TDEM มักใชในการสํารวจหามวลโลหะ (metallic<br />

bodies) ใตผิวดิน เชน การสํารวจตรวจหาสิ่ง<br />

กอสรางใตดินหรือการสํารวจแรโลหะ เปนตน<br />

หลักการของการสํารวจแบบ FDEM และ<br />

VLF-EM เปนการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาทุติย-<br />

ภูมิ (secondary electromagnetic field, H S ) ที่เกิด<br />

จากการเหนี่ยวนําของสนามแมเหล็กไฟฟาปฐมภูมิ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 27<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(primary electromagnetic field, H P ) โดยการสํารวจ<br />

แบบ FDEM สนาม H P สรางขึ้นโดยขดลวดสง<br />

สัญญาณ (transmitter coil) สวน VLF-EM อาศัยสวน<br />

ที่เปนสนามแมเหล็กของคลื่นวิทยุความถี่ต่ํา (ระหวาง<br />

3-30 kHz) จากสถานีวิทยุความถี่ต่ําที่ใชในการทหาร<br />

เปนตัวกําเนิดสนาม H P<br />

สนาม H P ในพื้นที่สํารวจจะเคลื่อนที่ใน<br />

แนวระนาบทั้งบนดินและใตผิวดิน เมื่อเคลื่อนที่<br />

กระทบสิ่งกีดขวางคือ ชั้นหินใตผิวดินที่เปนแนวผิด<br />

วิสัยก็จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนาม H S ซึ่งเคลื่อนที่ใน<br />

ทิศทางที่ตั้งฉากกับสนาม H P หรือในมุมประมาณ π/2<br />

ตัวรับสัญญาณ ไดแก ขดลวดรับสัญญาณ (receiving<br />

coil) ของการสํารวจแบบ FDEM หรือเครื่องรับ<br />

สัญญาณของการสํารวจแบบ VLF-EM จะแสดงคา<br />

สนามแมเหล็กที่ผิดปกติ ณ จุดสํารวจ เนื่องจากเปน<br />

สัญญาณที่เปนผลรวมทางเวคเตอรของสนาม H P และ<br />

H S แทนที่จะเปนสนาม H P แตอยางเดียว<br />

จากหลักการดังกลาว การสํารวจแบบ<br />

FDEM และ VLF-EM จึงเหมาะสําหรับการสํารวจ<br />

ตรวจหาแนวผิดวิสัยของชั้นหินใตผิวดิน หรือการ<br />

เปลี่ยนแปลงของชั้นหินในแนวระนาบ (lateral<br />

variation) ในขณะที่การสํารวจดวยวิธีการตรวจวัด<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะ เหมาะสําหรับการสํารวจ<br />

ตรวจหาการเปลี่ยนแปลงของชั้นหินในแนวดิ่ง<br />

(vertical variation)<br />

ระดับความลึกของการสํารวจแบบ FDEM<br />

ขึ้นอยูกับระยะหางระหวางขดลวดสงสัญญาณและ<br />

ขดลวดรับสัญญาณ ซึ่งโดยสวนใหญสามารถตรวจวัด<br />

ไดตั้งแต 0.75 ถึง 60 เมตร สําหรับการสํารวจแบบ<br />

VLF-EM ความลึกที่สามารถตรวจวัดไดขึ้นอยูกับคา<br />

ความเปนสื่อไฟฟาของชั้นหินใตดิน โดยสวนใหญ<br />

สามารถตรวจวัดไดลึกไมเกิน 30 เมตร<br />

การสํารวจแบบ FDEM และ VLF-EM<br />

สามารถจัดเก็บขอมูลในภาคสนามไดรวดเร็ว โดยใช<br />

ผูปฏิบัติงานเพียง 1 หรือ 2 คน จึงนิยมใชเปนวิธีการ<br />

สํารวจแบบนํารองเพื่อใหไดขอมูลเบื้องตน ในการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาที่มีพื้นที่สํารวจขนาดใหญ กอน<br />

จะสํารวจขอมูลรายละเอียดดวยการสํารวจแบบ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะตอไป<br />

ขอจํากัดของการตรวจวัดสนาม แมเหล็ก<br />

ไฟฟานั้น ไดแก ความไวตอสิ่งรบกวนจากสภาพ<br />

แวดลอมของพื้นที่สํารวจ ไมวาจะเปนสายไฟฟา รั้ว<br />

ลวดหรือเหล็กหรือสังกะสี หลังคาสังกะสี แนวฝงทอ<br />

ประปา หรือสิ่งกอสรางอื่นๆ นอกจากนี้วิธีการสํารวจ<br />

แบบ VLF-EM แนวผิดวิสัยของชั้นหินใตดินจะตอง<br />

วางตัวตั้งฉากหรือเกือบตั้งฉากกับของสถานี<br />

วิทยุกระจายเสียงที่สงสัญญาณคลื่นวิทยุความถี่ต่ํา จึง<br />

จะสามารถตรวจพบได<br />

8.3.4 วิธีการสํารวจตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค<br />

การสํารวจตรวจวัดแรงโนมถวงเปนการ<br />

ตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงของแรงดึงดูดโลก ที่เกิดจาก<br />

การเปลี่ยนแปลงความหนาแนนของชั้นหินใตผิวดิน<br />

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจความเปลี่ยนแปลงผิดวิสัยใน<br />

แนวระนาบ สามารถบงชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงของ<br />

ความหนาแนนของชั้นหินในแนวระนาบ การตรวจวัด<br />

แรงโนมถวงจุลภาค สามารถตรวจวัดความเปลี่ยน<br />

แปลงของความหนาแนนที่นอยมากๆ ของชั้นหิน<br />

ใตดินได<br />

การสํารวจดวยวิธีตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค โดยสวนใหญเปนการสํารวจแบบตัดแนว<br />

(profiling) หรือสํารวจแบบทั่วพื้นที่ (mapping) โดยมี<br />

สถานีสํารวจที่มีระยะหางระหวาง 2 ถึง 5 เมตร ใน<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยา สามารถประยุกตใชในการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาในโพรงหินใตดินไดเปนอยางดี<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 28<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งสามารถใชในการจําแนกประเภท<br />

ของโพรงถ้ําใตดินออกเปน clay-filled, water-filled,<br />

or air-filled cavities ไดดีกวาการสํารวจดวยวิธีการ<br />

อื่นๆ<br />

ความลึกในการสํารวจขึ้นอยูกับขนาดของ<br />

วัตถุหรือขนาดของโพรงถ้ําใตดิน และความละเอียด<br />

ของการตรวจวัด ในสภาวะปกติสามารถตรวจหา<br />

โพรงหินปูนใตดินไดในระดับความลึกเกินกวา 100<br />

เมตรได การปฏิบัติงานสํารวจภาคสนามถึงแมจะ<br />

สามารถปฏิบัติงานไดคนเดียวไดแตการสํารวจแตละ<br />

สถานีตองใชความละเอียดและใชเวลามาก ทั้งนี้อีกทั้ง<br />

ทุกสถานีตองรังวัดระดับความสูงดวยงานรังวัดที่มี<br />

ความละเอียดระดับ ±1 เซนติเมตร และจําเปนตอง<br />

ปรับแกคาที่วัดได (corrections) กอนนําไปแปล<br />

ความหมายขอมูล<br />

8.4 การเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ตามมาตรฐานสากล<br />

จากการคนควารวบรวมเอกสารและรายงาน<br />

ระดับสากลที่เกี่ยวของกับการเลือกวิธีการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดิน พบวามีเอกสารที่เกี่ยวของกับการ<br />

เลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน เชน เอกสาร<br />

การเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินในพื้นที่ฝง<br />

กลบขยะ (Benson et al., 1982) เอกสารการเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินสําหรับงานธรณี<br />

เทคนิค (Ward, 1990) เอกสารการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดิน (Olhoeft, 1988) และมีเอกสารนาสนใจ<br />

จํานวน 2 เลม คือ เอกสารมาตรฐานการทดสอบวัสดุ<br />

แหงสหรัฐอเมริกา (D6429-99 Reapproved 2006)<br />

และเอกสารองคการปองกันดานสิ่งแวดลอมแหง<br />

สหรัฐอเมริกา (EPA/625/R-92/007, 1993) ดังขอสรุป<br />

ตอไปนี้ คือ<br />

8.4.1 เอกสารมาตรฐานการทดสอบวัสดุแหง<br />

สหรัฐอเมริกา (D6429-99 Reapproved 2006)<br />

ครอบคลุมขอเสนอแนะมาตรฐานการคัดเลือกวิธีการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินทั่วๆ ไปในรูปตารางโดย<br />

ใหระดับความสําคัญ “A” สําหรับวิธีการสํารวจที่<br />

เหมาะสมที่สุดสําหรับการประยุกตใชตามลําพังวิธี<br />

เดียว และความสําคัญ “B” สําหรับวิธีการสํารวจระดับ<br />

รองเพื่อประยุกตใชตามลําพังวิธีเดียว หรือใชควบคู<br />

กับวิธีการอื่นในกรณีตองสํารวจหลายวิธี ดังตารางที่ 1<br />

8.4.2 เอกสารองคการปองกันดานสิ่ง แวดลอม<br />

แหงสหรัฐอเมริกา (EPA/625/R-92/007, 1993) ได<br />

เสนอแนะการเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดิน สําหรับงานสํารวจการปนเปอนใตผิวดิน<br />

ภายใตสภาพอุทกธรณีวิทยาตางๆ โดยสรุปในตาราง<br />

ที่ 2<br />

8.4.3 การประยุกตใชการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินสําหรับการสํารวจทางอุทกธรณีวิทยา โดยสวน<br />

ใหญจะใชวิธีการสํารวจดวยการตรวจวัดความตาน<br />

ทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน แตสภาพ<br />

อุทกธรณีของพื้นที่สํารวจบางแหงจําเปนตองใชวิธีการ<br />

สํารวจแบบอื่นควบคูกันไปดวย และในบางสภาพพื้นที่<br />

อาจใชวิธีการสํารวจวิธีอื่นเปนหลักขึ้นอยูกับความ<br />

เหมาะสม เอกสารมาตรฐานฉบับนี้จะแสดงวิธีการ<br />

สํารวจที่เหมาะสมสําหรับสภาพอุทกธรณีของพื้นที่<br />

สํารวจแบบตางๆ ดังสรุปในตารางที่ 3<br />

8.4.4 การคัดเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินตามตารางที่ 1 ดังกลาวขางตน เปนเพียงขอมูล<br />

เบื้องตน ภายใตสภาพแวดลอมของพื้นที่สํารวจปกติ<br />

ทั่วๆไป ซึ่งกอนทําการสํารวจธรณีฟสิกส ทุกครั้ง<br />

ผูดําเนินการสํารวจตองทําการตรวจสอบสภาพ<br />

แวดลอมของพื้นที่สํารวจโดยละเอียด เชน ตรวจสอบ<br />

แนวพาดผานของสายไฟและเสา ไฟฟาแรงสูง<br />

ตําแหนงเสาสัญญาณสถานีวิทยุกระจายเสียง แนวฝง<br />

ทอประปาใตดิน หรือสิ่งกอสรางใตดินอื่นๆ รวมทั้ง<br />

ควรหาขอมูลวาในชวงเวลาที่จะทําการสํารวจมีการ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 29<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สํารวจธรณีฟสิกสดวยวิธีเดียวกันในพื้นที่ใกลเคียง<br />

หรือไม ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ลวนแตมีอิทธิพลตอผลการ<br />

สํารวจทั้งสิ้น<br />

9. เอกสารอางอิง<br />

American Society for Testing and Materials<br />

(ASTM), 2006. Standard Guide for Selecting<br />

Surface Geophysical Methods, D6429-99<br />

(Re 2006).<br />

US Environmental Protection Agency (US. EPA),<br />

1993. Use of Airborne, Surface, and Borehole<br />

Geophysical Techniques at Contaminated<br />

Sites, a Reference Guide, EPA/<br />

625/R-92/007.<br />

ตารางที่ 1 การเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

การประยุกตใชงาน<br />

การสํารวจ<br />

ตรวจวัด<br />

ความเร็วคลื่น<br />

ไหวสะเทือน<br />

แบบหักเห<br />

การสํารวจ<br />

ตรวจวัดความ<br />

ตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะ<br />

การสํารวจ<br />

ตรวจวัด<br />

สนามแมเหล็ก<br />

ไฟฟา แบบ VLF<br />

วิธีการ<br />

สํารวจ<br />

ตรวจวัดแรง<br />

โนมถวง<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน A A B<br />

การสํารวจชั้นดินปกคลุมและชั้นดินตะกอนหินรวน A A B<br />

การสํารวจชั้นหินแข็งที่ระดับความลึกตางๆ B B B B<br />

การสํารวจระดับความลึกของระดับน้ําบาดาล A B B B<br />

การสํารวจแนวรอยแตก แนวรอยเลื่อนใตผิวดิน B B A B<br />

การสํารวจโพรงและหลุมยุบใตผิวดินในหินปูน B B B A<br />

การสํารวจในพื้นที่แหลงฝงกลบขยะ B B<br />

การสํารวจการรุกล้ําของน้ําเค็มในชั้นน้ํา A B<br />

การสํารวจชั้นน้ําบาดาลเค็ม A B<br />

การสํารวจสิ่งกอสรางใตผิวดิน A<br />

หมายเหตุ: A หมายถึง วิธีการที่ควรเลือกใชเปนอันดับแรก และสามารถประยุกตใชตรวจวัดวิธีเดียวได<br />

B หมายถึง วิธีการที่ควรเลือกใชเปนอันดับรองหรือควรใชควบคูกับวิธีอื่น<br />

(ดัดแปลงจาก ASTM, 2006)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 30<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 2 การเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินสําหรับงานสํารวจการปนเปอนใตผิวดิน<br />

วิธีการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดิน<br />

การสํารวจตรวจวัด<br />

ความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

การสํารวจตรวจวัด<br />

ความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห<br />

การสํารวจตรวจวัด<br />

สนามคลื่น<br />

แมเหล็กไฟฟา<br />

วิธีการสํารวจตรวจวัด<br />

แรงโนมถวงจุลภาค<br />

สภาพอุทกธรณีวิทยา<br />

ประยุกตใชในการสํารวจการปนเปอนใตผิวดินในสภาพอุทกธรณีวิทยาตางๆ อยางกวางขวาง เพื่อ<br />

สํารวจลักษณะการแพรขยายของสารปนเปอน มีลักษณะคลายวิธีการสํารวจแบบ EM ยกเวนการ<br />

ตรวจหาวัสดุโลหะใตผิวดิน วิธีนี้มีระดับความลึกของการสํารวจ โดยสวนใหญไมเกิน 200 เมตร แต<br />

หากใช power booster อาจสํารวจไดลึกเกินกวา 500 เมตร<br />

ประยุกตใชในการสํารวจความหนาของชั้นตะกอนหินรวน และความลึกของชั้นหินแข็ง และ<br />

ประยุกตใชในการหาแนวรอยแตกรอยเลื่อนในชั้นหินแข็งใตผิวดิน ระดับความลึกของการสํารวจ<br />

โดยสวนใหญไมเกิน 50 เมตร ยกเวนกรณีการใชระเบิดเปนตนกําเนิดเสียงภายใตสภาพอุทกธรณี<br />

ใตผิวดินที่เหมาะสม อาจสํารวจไดลึกเกินกวา 100 เมตร<br />

ประยุกตใชในการสํารวจโครงสรางอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนสําหรับการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสดวยวิธีการอื่น อาจประยุกตใชในการสํารวจการแพรขยายของสารปนเปอน และ<br />

อัตราการเคลื่อนที่ของ contamination plumes รวมไปถึงมลพิษที่ถูกกลบฝงและสิ่งกอสรางใตผิว<br />

ดิน เชน แนวทอและวัสดุโลหะอื่นๆ วิธีนี้มีระดับความลึกโดยสวนใหญไมเกิน 30 เมตร สําหรับ<br />

VLF<br />

ประยุกตใชในการประมาณการความลึกของชั้นตะกอนหินรวน ที่วางตัวเหนือชั้นหินแข็ง หรือ<br />

ประยุกตใชในการสํารวจขอบเขตของพื้นที่ฝงกลบขยะ ในกรณีที่สิ่งฝงกลบมีความหนาแนน<br />

แตกตางจากชั้นดินธรรมชาติในพื้นที่นั้น การสํารวจดวยวิธีนี้สามารถใชในการสํารวจหาโพรง<br />

หินปูนใตดิน และชองวางอันเกิดจากแนวรอยแตกรอยเลื่อนในชั้นหินแข็งไดดี<br />

(ดัดแปลงจาก USEPA, 1993)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 31<br />

คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน


้<br />

รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ<br />

ส 2002-2550<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (ส) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ํา้าบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที<br />

่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

คูมือใหใสวงเล็บตอทายและระบุ<br />

ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เปนตน โดยมีเครื่องหมาย (ก)<br />

เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่ปรั<br />

รับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะฉบับนี้<br />

จัดทําขึ้น<br />

ภายใตโครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจและ<br />

พัฒนาบอน้ําบาดาล พ.ศ. 2550 เปนสวนหนึนึ<br />

่งของชุด<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล<br />

โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาลไดมอบหมายใหคณะ<br />

ผูเชี่ยวชาญด ดานอุทกธรณีวิทยา ธรณีวิทยา วิศวกรรม<br />

เครื่องกล และวิศวกรรมโยธา เปนผูดําเนินการราง<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

เพื่อใหใช<br />

ควบคูไปกับมาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกส สบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ โดยคูมือฉบับนี้จะกําหนด<br />

ขั้นตอนและแนวทางสําหรับใชในงานสํารวจฯ เพื่อให<br />

ไดผลงานตามมาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

กําหนด<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีตรวจวัด<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

เปนการสํารวจเพื่อตรวจ<br />

วัดคุณสมบัติ ติความตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดิน<br />

ชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ<br />

โดยการ<br />

ตรวจวัดหรือสํารวจดวยเครื่องวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ (resistivity meter)<br />

ซึ่งเปนการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินที่นํามาประยุกตใชในการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยามากที่สุดวิธีหนึ่ง ทั้งนี้เนื่องจากมีความ<br />

เหมาะสมหลายดาน เชน สามารถประยุกตใชกับ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

33<br />

สภาพอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินเกือบทุกรูปแบบ มี<br />

สิ่งรบกวนการสํารวจจากสภาพแวดลอมของพื<br />

พื ้นที่<br />

สํารวจนอยกวาวิธีการสํารวจอื่นๆ มีวิธีการสํารวจ<br />

หลายวิธีใหเลือกใชตามความเหมาะสม รวมทั้ง<br />

สามารถสํารวจขอมูลความเค็ม ทั้งของน้ําบาดาลใน<br />

ชั้นน้ําและชั้นดินชั้นหินเค็มใตผิวดิน อยางไรก็ตาม<br />

บางครั้งนอกจากการสํารวจดวยวิธีตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะแลว อาจจําเปนตองทําการ<br />

สํารวจทางธรณีฟสิกสวิธีการอื<br />

่นๆ ควบคูไปดวย<br />

เพื่อใหไดขอมูลที่ถู<br />

ถูกตองครบถวนมากยิ่งขึ้น<br />

2. ขอบเขต<br />

2.1 วัตถุประสงคและการประยุกตใชงาน<br />

2.1.1 เอกสารคูมือฉบับนี้<br />

นี้ครอบคลุมเนื้อหา<br />

ทั่วๆไปในดานเครื่องมือและอุปกรณ วิธีการสํารวจ<br />

วิธี ธีการแปลความหมายขอมูล วิธีการนําเสนอผลการ<br />

สํารวจ และขอจํากัดของการสํารวจ สําหรับการสํารวจ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดินชั้นหิน<br />

ใต ตผิวดินและน้ําบาดาลในชั้นน้ําตางๆ โดยใชเครื่อง<br />

สํารวจแบบไฟฟากระแสตรง (DC resistivity meters)<br />

2.1.2 เอกสารคูมือฉบับนี้มีวัตถุประสงคหลั<br />

ลักใน<br />

การจัดทําเพื่อใชเปนคูมือการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิว<br />

ดินดวยวิธีตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

สําหรับประยุกตใชเฉพาะการสํารวจดานอุทก<br />

ธรณีวิทยาเทานั้น<br />

บางสวนของเนื้อหาอาจเกี่ยวพัน<br />

ันกับ<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

การประยุกตใชในดานสํารวจธรณี<br />

ณีเทคนิคหรือการ<br />

สํารวจสิ่งแวดลอมบาง<br />

2.2 ขอจํากัดของคูมือ<br />

2.2.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ไมครอบคลุมถึ<br />

ถึง<br />

รายละเอียดดานเครื่องมือและอุปกรณ และภาคทฤษฎี<br />

ตางๆ แตจะนําเสนอรายชื่อเอกสาร และตําราที่<br />

เกี่ยวของใหผูใชเอกสารคูมือฉบับนี้<br />

ไปศึกษาคนควา<br />

ดวยตนเอง<br />

2.2.2 เอกสารคูมือฉบับนี้มีขอบเขตจํากัดเฉพาะ<br />

การนําวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิ<br />

วิธี<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

ที่นํามาประยุกต<br />

ใชในดานการสํารวจทางอุทกธรณีวิทยาเปนหลัก เชน<br />

การสํารวจแบบหยั่งลึก (sounding)<br />

แบบตัดแนว<br />

(profiling) แบบทั่วพื้นที่ (mapping) โดยมีวิธีการจั จัด<br />

ขั้วไฟฟา (electrodee configurations) แบบ Schlum-<br />

berger, Wenner หรื รือแบบ Dipole-Dipole เทานั้น<br />

2.2.3 เอกสารคูมือฉบับนี้ไม<br />

มครอบคลุมไปถึ ถึง<br />

วิธีการจัดขั้วไฟฟาแบบพิเศษอื่นๆ เชน Half-Wenner<br />

array, Half-Schlumberger array, gradient confi-<br />

guration, หรือ linear electrode array ซึ่งโดยสวน<br />

ใหญเปนวิธีการสํารวจสําหรับประยุกตใชในดานการ<br />

สํารวจแหลงแร สํารวจธรณีเทคนิคหรือการสํารวจ<br />

สิ่งแวดลอม เปนสวนใหญ<br />

2.2.4 เอกสารคูมือฉบับนี้ไดสรุปวิธีการสํารวจ<br />

แบบบ spontaneous potential method (SP method)<br />

และแบบ induced polarization method (IP method)<br />

ที่เกี่ยวของกับการสํารวจการปนเปอนแหลงน้ําบาดาล<br />

เทานั้น แตไมครอบคลุมถึงรายละเอียดและวิธีการ<br />

สํารวจแบบ 3-D resistivity method และ complex<br />

resistivity methods<br />

แตจะแนะนํารายชื่อเอกสารและ<br />

ตําราที่เกี่ยวของ<br />

2.2.5 หนวยวัดที่ใชใน<br />

นคูมือฉบับนี้เป ปน<br />

หนวยวัด Système<br />

Internationale d’Unitès ( SI<br />

Units) สํ สาหรับหนวยวัดที ที่ใชในการสํารวจแบบ resistivity<br />

methods มีหนวยวัดเปน โอหม-เมตร (Ohm<br />

meters, Ω-m)<br />

2.2.6 ขอความที่เกี่ยวของกับความ<br />

ปลอดภัยในเอกสารฉบับนี้ ครอบคลุมเฉพาะความ<br />

ปลอดภัยในการใชเครื่องมือที่มีมาตรฐานและอยูใน<br />

สภาพสมบูรณพรอมใชงานเทานั้น ไมครอบคลุมถึง<br />

ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หรืออุบััติเหตุใดๆ ที่<br />

อาจเกิดขึ<br />

้นจากการปฏิบัติงานภาคสนาม ซึ่งตาม<br />

ขั้นตอนของเอกสารคูมือฉบับนี้ ผูใชงานจําเปนตอง<br />

คํานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินทุก<br />

ขั้นตอนของการปฏิบัติงาน<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ<br />

ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ<br />

ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-25500 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะ<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2003-25500 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของ<br />

คลื่นไหวสะเทือนแบบหักเหห<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2004-25500 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนาม<br />

แมเหล็กไฟฟา<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2005-25500 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค<br />

- คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

34<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


้<br />

้<br />

รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่น<br />

ไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

- คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็ก<br />

ไฟฟา<br />

- คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค<br />

3.2 American Society<br />

for Testing and<br />

Materials (ASTM):<br />

- D6431-99 (Re 2005) Standard Guide<br />

for Using Direct Current Resistivity methods for<br />

Subsurface Investigation.<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

(surface<br />

geophysical investigation) หมายถึง การสํารวจโดย<br />

ใชเครื่องมือทางธรณีฟสิกสบนผิวดินเพื่อที่จะจัดเก็บ<br />

ขอมูลดานธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา โดยมิไดใช<br />

เครื่องมือใดๆ<br />

หยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

การสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง<br />

(groundwater<br />

investigation for pin-point well drilling)<br />

หมายถึง การสํารวจอุทกธรณีวิทยาที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อกําหนดตํ ตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลที่เหมาะสม<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน (subsurface<br />

hydrogeological<br />

Investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจเพื<br />

่อเก็บขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

โดยใชเครื่องมือเจาะหรือหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกส (geophysical<br />

models) หมายถึง แบบจําลองลักษณะธรณีวิทยาหรือ<br />

กายภาพอื่นๆ ของพื้นที่จากขอมูลการสํารวจธรณี<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

35<br />

ฟสิ สิกส เพื่อใหขอมู มูลดานความลึกของแบบจําลองอุทก<br />

ธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนมีความถูกตองแมนยํายิ่งขึ<br />

้น<br />

แบบจําลองทางธรณีฟ<br />

ฟสิกสสองมิติ (2-D<br />

geophysical profiles) หมายถึ ถึง ภาพเปนแนวยาว<br />

แสดงขอมูลชั้นดินหินในเชิงลึกที<br />

ที่ไดจากการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกส<br />

แบบจําลองทางธรณีฟ<br />

ฟสิกสสามมิติ (3-D<br />

resistivity models) หมายถึง ภาพสามมิติแสดงข<br />

ขอมูล<br />

ชั้นดินหินทั้งในเชิ<br />

ชิงกวาง ยาว และลึกที่ไดจากการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกส<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological<br />

models) หมายถึง<br />

แบบจําลองของพื<br />

้นที่สํารวจ จากขอมูลดานอุทกธรณี<br />

วิทยาที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

เพื พื่อใชประกอบกัับแผนที่อุทกธรณีวิทยาสําหรับการ<br />

กําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึง กรมทรั รัพยากรน้ําบาดาล<br />

การสํารวจฯ หมายถึง การสํารวจธรณี<br />

ฟสิ สิกสบนผิวดิน<br />

แบบจําลองฯ หมายถึ ถึง แบบจําลองทาง<br />

ธรณีฟสิกส<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน<br />

5.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ไดกํ<br />

กําหนดวิธีการสํารวจ<br />

ดวยการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

เพื่อ<br />

ประยุกตใชใหเหมาะสมกับสภาพอุทกธรณีวิทยา<br />

สําหรับการปรับใชเพื่อใหไดผลงานการสํารวจตรงตาม<br />

มาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด<br />

โดย<br />

สามารถนําไปประยุกตใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ตางๆ ดังนี้<br />

5.1.1 ใชเปนคูมือในการคัดเลือกวิธีการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะ สําหรับงานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ซึ่งอาจตองดําเนินการสํารวจตอเนื่อง ดวยการสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน ตามมาตรฐาน ทบ ส 3000-<br />

2550<br />

5.1.2 ใชเปนคู<br />

มือในการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดิ ดนดวยการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

สําหรับงานสํารวจจััดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา โดยมี<br />

กระบวนการสํารวจจัดทําแผนที<br />

ที ่อุทกธรณีวิทยา<br />

ตอเนื่อง ตามมาตรฐาน ทบ ส 4000-2550<br />

5.1.3 ใชเปนคู<br />

มือในการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดิ ดนดวยการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

สําหรับงานศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลตางๆ เชน การ<br />

ศึกษาวิจัยเพื่อประเมินปริมาณน้ําสํารองในแองน้ํา<br />

บาดาล การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินพื้นที่เติมน้ํา การ<br />

ศึกษาวิจัยเพื่อจัดทําแบบจําลองอุทกธรณีวิทยาทาง<br />

คณิตศาสตร และการศึกษาวิจัยทางอุทกธรณีวิทยา<br />

ดานอื่นๆ<br />

5.2 เอกสารคูมือฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอนและ<br />

แนวทางการปฏิบัติงานไวกวางๆ สําหรับการปรับใช<br />

กับงานสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวั<br />

วัด<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะ ตามวัตถุประสงคตางๆ<br />

ซึ่งอาจมีความตองการรายละเอียดของขอมูลตางกัน<br />

โดยเฉพาะปริมาณของขอมูลยอมขึ้นอยูกับขนาดของ<br />

พื้นที<br />

่สํารวจ เวลาและงบประมาณของงานสํารวจ<br />

ศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลแตละงาน ดังนั้นขั้นตอน<br />

และแนวทางการปฏิ<br />

ฏิบัติงานที่ไดกําหนดไวในเอกสาร<br />

ฉบับนี้ อาจเปลี่ยนแปลงไดตามที่ผูเชี่ยวชาญของ<br />

โครงการศึกษาวิจัยแตละโครงการจะเห็นสมควร<br />

6. คําอธิบายวิธีการ<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวั<br />

วัด<br />

ความตานทานไฟฟ<br />

ฟาจําเพาะเปนขั้ั้นตอนการสํารวจ<br />

ภาคสนามที่ตอเนื่องจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน โดยเปนการสํารวจบนผิวดินโดยใชเครื่องมื<br />

มือ<br />

ทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน ตรวจวั วัดคุณสมบัติทาง<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

36<br />

กายภาพของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึก<br />

ตางๆ และดวยการแปลความหมายจากขอมูลการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน ทําใหสามารถประมาณ<br />

การความลึกและความหนาของชั้นดินชั้นหินตางๆใต<br />

ผิวดินในพื้นที่สํารวจ ภายใตการประมาณการทาง<br />

วิทยาศาสตร<br />

7. เครื่องมือและอุปกรณ<br />

7.1 สวนประกอบเครื่องมือ<br />

เครื่องมือที่ใชในการสํารวจตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ<br />

เครื่องวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะแบบใชไฟฟา<br />

กระแสตรง (DC resistivity meter) มีแหลงกําเนิด<br />

ไฟฟาเปนแบตเตอรี่ เปนเครื่องสํารวจขนาดเล็ก<br />

(portable) มีขีดความสามารถในการตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาของชั้นดินชั้นหิน (measuring depth)<br />

จํากัดอยูที่ความลึกโดยปกติไมเกิน 200 เมตร แต<br />

ปจจุบันมีเครื่องขยายแรงดันไฟฟา (current booster)<br />

อาจขยายแรงดันไฟฟาจนสํารวจไดถึงระดับความลึก<br />

มากกวา 500 เมตร ในกรณีที่ชั้นดินชั้นหิ<br />

หินใตผิวดินมี<br />

ความแตกตางในดานความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

(resistivity<br />

contrast) ไมแตกตางกันมากนัก ปจจุบัน<br />

เครื่องมือที่ใชในกรมทรัพยากรน้ําบาดาลทั้งหมดเปน<br />

เครื่องประเภทนี้ทั้งสิ้น อีกประเภทหนึ่งเปนเครื่องวัด<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะแบบใชไฟฟากระแสสลับ<br />

(AC resistivity meter) เครื่องตรวจวัดประเภทนี้ขนาด<br />

ใหญใชระบบไฟฟากระแสสลับ มีเครื่องกําเนิดไฟฟา<br />

เปนแหลงกําเนิดพลังงาน ขีดความสามารถในการ<br />

ตรวจวัดไดถึงระดับความลึ<br />

ลึกมากกวา 1,000 เมตร<br />

มาตรฐาน ASTM D6431-99 Reapproved,<br />

2005 (ASTM, 2005) ไดกําหนดใหเครื่องวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะทั้ง 2 ประเภท ตองประกอบ<br />

ดวยสวนประกอบหลัก (รูปที่ 1) ดังนี้<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

รูปที่ 1 schematic circuit และสวนประกอบ<br />

ของเครื่องสํารวจ resistivity meter<br />

(ดัดแปลงจาก Griffiths<br />

and King, 1965)<br />

7.1.1 แหลงกําเนิดพลั<br />

ลังงาน (battery หรือ<br />

generator)<br />

7.1.2 เครื่องปรับและ<br />

ะปลอยพลังงานกระแส<br />

ไฟฟา (transmitter หรือ G-Box)<br />

7.1.3 เครื่องตรวจวัดค<br />

ความตางศักยทางไฟฟา<br />

(receiver หรือ V-Box)<br />

7.1.4 หลักเหล็กสําห<br />

หรับเปนขั้วไฟฟ ฟา (steel<br />

electrode) เรียกวา หลักขั้ ขั้วไฟฟา เปนแทงเหล็กไร<br />

สนิมตันทรงกลม เสนผาศูนยกลางประมาณ 1 นิ้ว<br />

ยาวประมาณ<br />

1 เมตร ปลายดานหนึ่งเหลาแหลม<br />

สําหรับปกหรือตอกลงไปในดิน สวนปลายอีกดานหนึ่ง<br />

ตอกับสายไฟฟา และตอเขาเครื่อง V-Box หรือ G-<br />

Box จํานวนน 4 หลักคือ current electrodes 2 ขั้ว<br />

(เมื่อตอเขาสายไฟฟาเขาเครื่อง G-Box) และ potential<br />

electrodes จํานวน 2 ขั้ว (เมื่อตอเขาสายไฟฟา<br />

เขาเครื่อง V-Box ซึ่งบางครั้งอาจมีความจําเปนตองใช<br />

non-polarizing electrodes)<br />

7. 1.5 หลักหรือถวยกระเบื้อง ใชเปนหลัก<br />

ขั้วไฟฟาสําหรับการตรวจวัดความตางศักยไฟฟาตาม<br />

ธรรมชาติ เนื่องจากสามารถปองกันการเกาะตัวของ<br />

ประจุไฟฟา (polarization) ทําดวยกระเบื้องไมเคลือบ<br />

(porous ceramic) มีลักษณะเปนรูปถวยมีฝาเกลียว<br />

ปดสวนบน ภายในบรรจุสารละลายของ CuSO<br />

4 มี<br />

แทงทองแดงจุมในสารละลายและตอเชื่อมขึ้นบนฝา<br />

ปดดานบนสําหรับเปนขั้วไฟฟาตอกับสายไฟฟา<br />

7.1.6 มวนสายไฟฟา (cable reels) จํานวน<br />

4 มวน เปนสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวพรอมที่มวน<br />

สายไฟฟาแบบมื<br />

มือหมุน สําหรัับตอเชื่อมระหวาง<br />

current electrodes กับ G-Box จํานวน 2 มวน เปน<br />

สายไฟฟามวนใหญมีความยาวสายไฟ ระหวาง 500-<br />

1, 000 เมตร และสําหรับตอเชื่อมระหวาง potential<br />

electrodes กับ V-Box จํานวนน 2 มวน สายไฟยาว<br />

ประมาณ 200 เมตร<br />

7.1.7 สายไฟฟาสําหรับการตอเชื่อม<br />

connecting cables ตางๆ เครื่องมือรุนใหมประเภท<br />

portable resistivity meter มักจะรวม battery, G-Box<br />

และ V-Box อยูในกลองเดียวกันเพื่อความสะดวกใน<br />

การขนยาย สําหรับเครื่องขยายแรงดันไฟฟา<br />

สวน<br />

ใหญมักเปนอุปกรณพิเศษที่ตองจัดซื้อเพิ่มเติม<br />

7.2 การเลือกเครื่องมือและการใชเครื่องมือ<br />

ตามมาตรฐาน ASTM D6431-99 Reapproved<br />

2005 ไดกําหนดสวนประกอบทั่วๆ ไปของ<br />

เครื่องตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะดังกลาว<br />

ขางตนแลว ยังได ดกําหนดมาตรฐานเครื่องมือและการ<br />

ใช ชเครื่องมือ (ASTM, 2005) ดังนี้<br />

7.2.1 บริษัทผูผลิตเครื่องตรวจวัดความตาน<br />

ทานไฟฟาจําเพาะสวนใหญ ผานการตรวจสอบ<br />

มาตรฐานแลว ซึ่งมีทั้งเครื่องปรับและปลอยพลังงาน<br />

กระแสไฟฟา (transmitter) และเครื่องตรวจวัดความ<br />

ตางศักยทางไฟฟา (receiver) รวมอยูในกลองเดียว<br />

กันและแยกออกจากกัน กระแสไฟฟาที่ใชในเครื่อง<br />

DC<br />

resistivity meter จะตองปรับไดในชวงระหวาง<br />

milliamps ถึงหลายๆ amps สําหรับการตรวจวัดตาม<br />

ระดับความลึกที่ตองการ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

37<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

7.2.2 เครื่องตรวจวัดความตานทานไฟฟ<br />

ฟา<br />

จําเพาะจะตองมีสัญญาณเตือน (signal<br />

enhance-<br />

ment) เพื่อเตือนใหปรับเปลี่ยนกระแสไฟฟาที่ใชใน<br />

กรณีที่ปลอยกระแสไฟฟาลงสูชั้นดินนอยหรือมาก<br />

เกินไป<br />

7.2.3 เครื่องตรวจวัดความตานทานไฟฟ<br />

ฟา<br />

จําเพาะจะตองหนวยความจําสําหรับบันทึกขอมูลการ<br />

สํารวจ และสามารถสื่อสารกับระบบคอมพิวเตอร เพื<br />

่อ<br />

การถายเทขอมูล พิมพขอมูล และการแปลความหมาย<br />

ขอมูล<br />

7.2.4 อุปกรณการเชื่อมตอสายไฟระหวาง<br />

เครื่องมือสํารวจและหลักขั้วไฟฟาตางๆ จะตองแนน<br />

ปราศจากการรั่วของกระแสไฟฟา มีระบบปองกันฝุน<br />

และความชื้น หากปฏิบัติงานในพื้นที่ชื้นแฉะควรพัน<br />

สวนเชื่อมตอดวยเทปกันน้ํา<br />

7.2.5 การตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

อาจถูกรบกวนดวยสิ่งกอสรางตางๆ เชน สายไฟฟา<br />

แรงสูง ทอประปาใตดิน หรือเครื่องสํารวจตรวจวั<br />

วัด<br />

ความตานทานไฟฟ<br />

ฟาจําเพาะเครื่องอื่นที่ทํางานใน<br />

พื้นที ที่ใกลเคียงกัน<br />

7.2.6 สิ่งที่ตองระมัดระวัง คือ การรั่วของกระแส<br />

ไฟฟาจากการตอสายไฟฟาไมแนนน ไมสะอาด หรื รือ<br />

เปยกชื้นหรือสายไฟฟาที่มีเปลือกหุมไมสมบูรณ<br />

8. การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะในภาคสนาม<br />

สามารถแบงออกเป<br />

ปน 2 สวนใหญๆ<br />

คือ สวนที่ 1 วิธี<br />

การจัดวางหลักขั้วไฟฟาทั้ง 4 หลัก<br />

ซึ่งมีรูปแบบการ<br />

จัดหลักขั้วไฟฟาตามมาตรฐานสากลหลายวิธี แตละ<br />

วิธีมีขอดีขอดอยที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับสภาพอุทก<br />

ธรณี<br />

วิทยาของพื้นที ที่สํารวจและวัตถุประสงคของการ<br />

สํารวจ สวนที่ 2 เทคนิคของการสํารวจ (field<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

38<br />

techniques) เปนวิธีการสํารวจเพื่อเก็บขอมูลความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน ซึ่ง<br />

ประกอบดวยการสํารวจแบบหยั่งลึก (sounding) แบบ<br />

ตัดแนว ( profiling) แบบทั่วพื้นที่ (mapping)<br />

ดัง<br />

รายละเอียดตอไปนี้<br />

8.1 วิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟา<br />

วิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟา (field, pegging<br />

procedures หรือ electrode configurations หรือ<br />

electrodee array หรือ electrode layout) คือวิธีการจัด<br />

หลักขั้วไฟฟา (electrodes<br />

หรือ electric poles) ทั้ง 4<br />

หลัก โดยทั่วไปการสํารวจโดยวิธี resistivity methods<br />

จะมีหลักหรือขั้วไฟฟาซึ่งประกอบดวยขั้วปลอย<br />

กระแสไฟฟาหรือ current<br />

electrodes 2 ขั้ว (คือ C 1<br />

และ C 2 ) และขั้ววัดความตางศักยไฟฟาหรือ potential<br />

electrodes อีก 2 ขั้ว (คืออ P 1 และ P 2 ) วิธีการจัดวาง<br />

หลักขั้วไฟฟาทั้ง 4 หลักมี มีหลายวิธี (Vingoe, 1979)<br />

เชน (1) Wenner (2) Schlumbergerr (3) Half-<br />

(6) linear<br />

และ (7) gradient configurations เปนตน<br />

Wenner (4) Half-Schlumberger (5) Dipole-Dipole,<br />

แตสําหรับการสํารวจดานอุทกธรณีวิทยา ตามมาตรฐาน<br />

ASTM D6431-99 Reapproved 2005 กําหนดใหใชวิธี<br />

จัดวางหลักขั้วไฟฟาเพียง<br />

3 วิธี คือ (1) Wenner (2)<br />

Schlumberger และ (3) Dipole-Dipole มีราย ละเอียด<br />

วิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟาตางๆ ดังนี้<br />

8.1.11 วิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ Wenner<br />

การจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ Wenner<br />

หลักขั้วไฟฟาทุกหลักตอกลึกลงไปในดินโดยตั้งฉาก<br />

กับผิวดิน ตองตอกหลักขั้ ั้วไฟฟาจนแนนไมโยกคลอน<br />

หลักขั้วไฟฟาทุกหลักจะวางตัวอยูในแนวเสนตรง<br />

เดียวกัน และมีระยะหางระหวางหลัก (a)<br />

เทาๆ กัน<br />

ทั้ง 4 หลัก<br />

การตรวจวัดคาความตานทานไฟฟามัก<br />

เริ่มที่ความลึก 2 เมตร (a<br />

= 2 เมตร) อานคาความ<br />

ตานทานไฟฟาที่ระดับความลึก 2 เมตร<br />

บันทึกคาที่<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

อานไดลงในตารางบันทึก<br />

จนถึงระดับความลึกที่<br />

ตองการ ตัวอยางเชน หากตองการสํารวจถึงระดับ<br />

ความลึก 100 เมตร โดยอานคาความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะของชั้นดินชั้นหินทุกๆ 2 เมตร จะตองเปลี่ยน<br />

ตําแหนงหลัักไฟฟาทั้ง 4 หลักจํานวน 50 ครั้ง สวน<br />

สายไฟฟา C 1 และ C 2 จะขยายออกจากจุดศูนยกลาง<br />

ดานละ 150 เมตร (รูปที่ 2)<br />

a<br />

C 1<br />

P 1<br />

P 2<br />

C 2<br />

รูปที่ 2 แสดงลักษณะการตอกหลักขั้วไฟฟาแบบ<br />

Wenner (Vingoe, 1979)<br />

การจัดวางหลักไ<br />

ไฟฟาแบบ Wenner เปน<br />

วิธีการจัดวางหลักหรือขั้วไฟฟาที่ใชกันมากที่สุดวิธี<br />

หนึ่ง เนื่องจากมีขอดีตางๆ<br />

โดยสรุปดังนี้<br />

(ASTM,<br />

2005)<br />

- สามารถสํารวจไดลึกกวาวิธีการอื่นๆ<br />

โดยใชแรงดัน ันกระแสไฟฟาที่เทากัน เนื่องจากทุกครั้ง<br />

ที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับความลึกของการตรวจวัด คู<br />

ของหลักขั้วไฟฟาความตางศักยจะขยายตัวออกไป<br />

พรอมกับคูของหลักขั้วไฟฟากระแสดวยระยะการ<br />

ขยายตัวที่เทาๆ กันเสมอ<br />

- ความผิดพลาดจากตําแหนงการปกหลัก<br />

ในสนามจะมีนอยมาก เนื นื่องจากทุกครั้ั้งที่มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงระดับความลึกของการตรวจวัดหลัก<br />

ขั้วไฟฟาทั้ง 4 หลักจะขยายตัวออกไปพรอมๆ กัน<br />

ดวยระยะการขยายตัวที่เทาๆ<br />

กันเสมอ<br />

8.1.2 วิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ<br />

Schlumberger<br />

การจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ Schlum-<br />

berger หลักขั้วไฟฟาทุกหลักตอกลึกลงไปในผิวดิน<br />

โดยวางตัวอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน และมีระยะหาง<br />

ระหวางหลักนอกหางกันเทากับระยะ AB สวนหลักใน<br />

ทั้ง<br />

2 หลักอยูตรงกึ่งกลางของ AB<br />

และหางกันเทากับ<br />

ระยะ MN โดย AB จะตองมีคา 5 เทาถึง 20 เทา ของ<br />

MN (รูปที่ 3)<br />

การจัดวางหลักไฟฟาแบบ Schlum-<br />

berger<br />

เปนวิธี ธการจัดวางหลักหรือขั้วไฟฟาที่ขอดี<br />

ตางๆ โดยสรุปดังนี้<br />

- ลดปญหาดาน lateral resistivity varia-<br />

tion ในการสํารวจในพื้นที่ที่ชั้นหินใตผิวดินไมได<br />

วางตัวอยูในแนวระนาบหรือใกลแนวระนาบ<br />

- ใชเวลาในการสํารวจนอยกวาวิธีการ<br />

อื่นๆ ในการสํารวจที่ความลึกเดียวกันและภายใต<br />

สภาพอุทกธรณีวิทยาแบบเดียวกัน<br />

A<br />

M N<br />

P<br />

C 1<br />

P 1<br />

รูปที่ 3 แสดงลัักษณะการตอกหลักขั้วไฟฟาแบบ<br />

Schlumberger (Vingoe, 1979)<br />

8.1.3 วิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ<br />

Dipole-Dipole<br />

การสํารวจโดยวิธี Dipole-Dipole เป ปนวิธี<br />

ใช ชกันมากในการสํารวจแหลงแรสํ<br />

สารวจและธรณีวิทยา<br />

โครงสรางใตผิวดิ<br />

ดน แตอาจประยุ ยุกตใชในการสํารวจ<br />

ทางอุทกธรณีวิทยาบาง โดยเฉพาะในกรณีการสํารวจ<br />

หาโพรงหินปูนใตดิ<br />

ดิน (Vingoe, 1979) และการสํารวจ<br />

P 2<br />

C 2<br />

B<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

39<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ<br />

สํารวจ และพัฒนาบ อน้ําบาดาล<br />

การปนเปอนในชั้นน้ํา โดยทั่ว ไปการสํารวจดวยวิธี<br />

Dipole-Dipole<br />

จะแสดงผลในลั ลักษณะ “pseudo-<br />

section”<br />

ของบริเวณพื้นที่สํารวจ<br />

(รูปที่ 4) เพื่อ<br />

กําหนดบริเวณ conducting zone ในการสํารวจแหลง<br />

แรหรือธรณี วิทยาโครงสรางใตผิวดินตางๆ ซึ่งการ<br />

สํารวจดังกลาวจําเปนตองใชเครื่องมือสํารวจที<br />

ที่มี<br />

กําลัง ังไฟฟาสูง<br />

na<br />

a<br />

a<br />

C 1 C 2<br />

P 1 P 2<br />

รูปที่ 4 แสดงวิธี ธการจัดวางหลักหรือขั้ว ไฟฟา<br />

แบบ Dipole-Dipole (Vingoe, 1997)<br />

การจัดวางหลักไฟฟาแบบ dipole-dipole<br />

เปนวิ วิธีการจัดวางหลักหรือขั้วไฟฟาที<br />

่มีขอดีตางๆ โดย<br />

สรุปดังนี้<br />

- ใชสายไฟฟาในการสํารวจสั้นกวา<br />

วิธีการอื่นในการสํารวจที่ความลึกใกลเคียงกัน<br />

- การใชสายไฟฟาสั้นจะลดปญหากระแส<br />

ไฟฟ ฟารั่วไดดี<br />

- ไดขอมูลลักษณะการวางตัวของชั้นหินน<br />

(dip,<br />

strike) ใตผิวดิน<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งโพรงหินปูนน<br />

ใตดิน<br />

8.2 คาความตานทานไฟฟาปรากฏ<br />

การสํารวจตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึก<br />

ตางๆ คาที่ตรวจวัดไดจากสนามเปนคาความตานทาน<br />

ไฟฟ ฟาปรากฏ (ρ a ) ตัวอยางเชน ในพื้นที่สํารวจมีชั้น<br />

ดินชั<br />

้นหินที่มีคาความตานทานไฟฟาจําเพาะที่<br />

แตกตางกัน 3 ชั้นโดยชั้นที่ 1, 2, และ 3 มีคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจริง (true resistivity, ρ) เทากับ 20,<br />

200, และ 500 Ωm ตามลําดับ คาที่อานไดในสนาม<br />

สําหรับชั้นที่ 2 จะเปนคาความตานทาน<br />

ไฟฟาเฉลี่ยระหวางชั้นที่<br />

1 และ 2 สวนชั้นที่ 3 จะเปน<br />

คาเฉลี่ยระหวางชั้นที่ 1, 2, และ 3 คาความตานทาน<br />

ไฟฟาเฉลี่ยคือคาความตานทานไฟฟาปรากฏ ซึ่งมิได<br />

มีคาเทากัับ (20 + 200 + 500) หาร 3 แตมีคาผันแปร<br />

ตามปจจัยตางๆ 3 ประการ คือ คา ρ ความหนาของ<br />

resis-tivity<br />

layers แตละชั้น และวิธีการจัดวางหลัก<br />

ขั้วไฟฟา<br />

สําหรับในเอกสารคูมือฉบับนี้ไมครอบคลุม<br />

ภาคทฤษฎีการคํานวณคาความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ เนื<br />

่องจากมีรายละเอียดในหนังสือวิชาการดาน<br />

นี้โดยเฉพาะ โดยมีรายชื่อบางสวนอยูในเอกสารอางอิง<br />

สวนวิธีการคํานวณคาความตานทาน<br />

ไฟฟาปรากฏ มีวิธีการคํานวณในแตละรูปแบบการจัด<br />

วางหลักขั้วไฟฟาที่เกี่ยวพันกับภาคทฤษฎีที่สลับ<br />

ซับซอนโดยเริ่มตนจากกฎของโอหม (Ohm’s Law)<br />

ดังนั้นจึงขอสรุปสูตรสําหรับการคํานวณคาความ<br />

ตานทานไฟฟาปรากฏ แตละรูปแบบการ<br />

รจัดวางหลัก<br />

ขั้วไฟฟาที<br />

่ไดกลาวมาแลวว ดังนี้<br />

8.2.1<br />

รูปแบบการจััดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ<br />

Wenner<br />

การจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบบ Wenner มี<br />

ระยะการจัดหลักขั้วไฟฟาที่เทาๆ กันทั้ง 4 หลัก (รูปที่<br />

2) ดังนั้นสูตรการคํานวณคาความตานทานไฟฟา<br />

ปรากฏ คือ<br />

ρ a = (∆V / I) * 2 π a<br />

เมื่อ ∆V คือ<br />

คาความตางศักยทางไฟฟา<br />

(อานไดจาก volt meter ของเครื่อง resistivity meter)<br />

I คือ คาแรงดันไฟฟา (อานไดจาก amp.<br />

meter ของเครื่อง resistivity meter)<br />

a คือ ระยะหางของการจัดหลักขั้วไฟฟา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

40<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

8.2.2 รูปแบบการจัดวา<br />

างหลักขั้วไฟฟาแบบ<br />

Schlumberger<br />

การจัดวางหลัก<br />

กขั้วไฟฟาแบบ Schlumberger<br />

มีระยะการจัดหลักขั้วไฟฟาทั้ง<br />

4 หลักไม<br />

เทากัน (รูปที<br />

่ 3) และเมื่อ L มีระยะหางมากกวา 5 เทา<br />

ของระยะ m สูตรสําหรับการคํานวณคาความตานทาน<br />

ไฟฟาปรากฏ<br />

คือ<br />

/<br />

8.2.3 รูปแบบการจัดวา<br />

างหลักขั้วไฟฟาแบบ<br />

Dipole-Dipole<br />

เปนรูปแบบกา<br />

รจัดวางหลักขั้ั้วไฟฟาที่<br />

ประกอบดวยคูของหลักขั้วไฟฟากระแส<br />

2 หลักที่<br />

วางตัวใกลๆ กัน (ระยะ a) และคูของหลักขั้วไฟฟา<br />

ความตางศักย 2 หลักที่วางตัวใกลๆ กัน (ระยะ a<br />

เชนกัน) โดยหลักทั้ง 2 คูวางตัวอยูในเสนตรงเดียวกัน<br />

และมีระยะหางกันเทากับ na<br />

โดย n จะเริ่มตั้งแต 1,<br />

และขยายความยาวของแนวสํารวจออกไปเรื่<br />

รอยๆ จาก<br />

n เทากับ 1 เปน 2, 3, 4, 5 ไปเรื่อยๆ จนกวาจะถึง<br />

ความลึกการสํารวจที่ตองการ (รูปที่ 4) สูตรสําหรับ<br />

การคํานวณคาความตานทานไฟฟาปรากฏ คือ<br />

<br />

1 2/<br />

8.3 เทคนิคการสํารวจ<br />

เทคนิคการสํารวจ<br />

หมายถึง วิธีการสํารวจ<br />

เพื่อเก็บขอมูลดานธรณีฟสิกสในสนาม ซึ่งนอกจากวิธี<br />

การจัดวางหลักขั้วไฟฟา (electrode configurations)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

/ <br />

<br />

<br />

41<br />

เมื่อ ∆V คือคาศักยทางไฟฟาา (อานได<br />

จาก volt meter ของเครื่อง resistivity meter)<br />

I คือ คาแรงดันไฟฟา (อานไดจาก ampmeter<br />

ของเครื่อง resistivity meter)<br />

AB<br />

เปนระยะหางระหวาง current<br />

electrodes ของการจัดหลักขัขั<br />

้วไฟฟา<br />

MN เปนระยะหางระหวาง potential<br />

electrodes ของการจัดหลักขัขั<br />

้วไฟฟา<br />

ทั้ง<br />

3 วิธีการดังกลาวขางตนแลว การเลือกเทคนิคการ<br />

สํารวจและวิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟาใหเหมาะสมกับ<br />

พื้นที่สํารวจ อาจถื ถือไดวาเปนหัวใจสําคัญในการสํารวจ<br />

เก็ ก็บขอมูล ผูสํารวจตองเขาใจสภาพทางธรณีวิทยาใน<br />

บริเวณพื้นที่สํารวจอยางชัดเจน จากขั้นตอนการสราง<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนของพื<br />

้นที่<br />

สํารวจ จนถึงขั้ั้นตอนการวางแผนการสํารวจ<br />

นอกจากนี้กอนที่จะเริ่มดําเนินการสํารวจ ผูสํารวจตอง<br />

กําหนดแผนการหรือวิธีการเสนอผลงานของงาน<br />

สํารวจชิ้นนั้นไวลวงหนา กอนที่จะกําหนดเทคนิคการ<br />

สํารวจ และวิธีการจัดวางขั้วไฟฟา ดังนั้นการเลือก<br />

เทคนิคการสํารวจดังกลาว จึงขึ้นอยูกับการวินิจฉัย<br />

ของผูสํารวจ และสภาพทางธรณีวิทยาของพื<br />

้นที่<br />

สํารวจ สําหรับเทคนิคการสํารวจเพื่อตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ มี 4 วิธี ได ดแก<br />

8.3.1 วิธีการสํารวจแบบหยั่งลึก<br />

การสํ สารวจแบบหยั่งลึก (vertical<br />

elec-<br />

หรือ depth sounding เปนการสํารวจที่มีวัตถุประสงค<br />

หลักในการเก็บขอมูลดานคาความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะที่เปลี่ยนแปลงในแนวดิ่ง (vertical resistivity<br />

variation) ที่จุดสํารวจจุดใดจุดหนึ่งในบริเวณพื<br />

้นที่<br />

trical resistivity sounding, VES) หรือ resistivity drilling<br />

เพื พื่อหารูปแบบการเปลี่ยนแปลงในแนวดิ่ง เพื่อสราง<br />

ลักษณะการแบงชั้นของชั้นดินชั้นหินตามคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ (resistivity<br />

layers) ของจุด<br />

สํารวจนั้น ผลของการสํารวจที่จะไดรับคือ จํานวนชั้น<br />

ที่มีการเปลี่ยนแปลงคาความตานทานไฟฟาปรากฏ<br />

(ρa) และความหนาของ resistivity<br />

layers บริเวณนั้น<br />

การสํ สารวจ VES<br />

เลือกวิธีการวางหลัก<br />

ขั้วไฟฟาได 2 แบบคือ Schlumberger และ Wenner<br />

arrays<br />

(1) การสํารวจดวยวิ<br />

วิธี Wenner<br />

array<br />

เริ่ มตนหาความตานทานไฟฟาปรากฏ (ρ a ) ของชั้น ั้นดิน<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ที่ระดับความลึก 2 เมตร แลวขยายความลึกของการ<br />

ตรวจวัดครั้งละ 2 เมตร จนถึงระดับความลึกที่ตองการ<br />

(ในแตละจุดสํารวจมักตรวจวัดถึงระดับความลึกไมต่ํา<br />

กวา 100 เมตร) ดังนั้นการสํารวจดังกลาวจะเริ่มตน<br />

ดวยระยะหางระหวางหลักขั้วไฟฟา (electrode<br />

spacing) กําหนดใหเปนระยะ a มีคาเทากับ 2 เมตร<br />

อานและคํานวณหาคาความตานทานไฟฟาปรากฏ<br />

(ρ a ) ของชั้นดินที่ระดับความลึก 2 เมตร แลวจึงขยาย<br />

electrode spacing<br />

เปน 4 เมตร ดวยการยายหลั ลัก<br />

ขั้วไฟฟาไปที่ตําแหนงใหม โดยใหหลักขั้วไฟฟาทั้ง<br />

4<br />

หลักอยูในแนวเดียวกัน และระยะ a มีคาเทากับ 4<br />

เมตร<br />

การสํารวจจะดําเนินการตามรูปแบบดังกลาว<br />

ขางตนตอไปเรื่อยๆ<br />

(2) การสํารวจดวยวิธี Schlumberger<br />

array<br />

เปนวิธีการตรวจสอบเพื่อหา vertical resistivity<br />

variation ที่จุดกึ่งกลางระหวางขั้ววัดความตางศักย<br />

ไฟฟ ฟา (potential electrodes) หรือกึ่งกลางของระยะ<br />

MN เชนเดียวกับการสํารวจดวยวิธีของ Wenner แต<br />

การขยายความลึกของการสํารวจแบบ Schlum-<br />

berger จะไมขยายขั้ว P 1 และ P 2 จนกวาระยะของ<br />

AB จะมากกวาระยะะ MN เกิน 20 เทา จึงขยายระยะ<br />

MN ออกไป<br />

8.3.2 วิธีการสํารวจแบบตัดแนว<br />

วิธีการสํารวจแบบตัดแนว (resistivity<br />

profiling<br />

หรือ trenching) เปนการสํารวจที่มีวัตถุ<br />

ประสงคหลัก ในการเก็บขอมูลดานคาความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะที่เปลี่ยนแปลงในแนวราบหรือแนว<br />

ขนานพื้นผิวโลก (horizontal resistivity variation)<br />

โดยใชวิธี constantt electrode spacing กลาวคื คือ<br />

การตรวจวัดเพื่อสํารวจคาความตานทานไฟฟาปรากฏ<br />

ที่ระดับความลึกใดความลึกหนึ่งเพียงคาเดียว เชน<br />

ตองการทราบคาความแตกตางคาความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะที่เปลี่ยนแปลงในแนวราบของชั้นหินที่<br />

ระดับความลึก 30 เมตร ก็จะตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟาที่ระดับความลึก 30<br />

เมตร เพียงคาเดียว ใน<br />

กรณีที่ใชวิธีการจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ Wenner<br />

ระยะ a จะเทากับ 30 เมตร ตรวจวัดคาเพี พียงครั้งเดียว<br />

แลวเคลื่อนยายเครื่องมือสํารวจทั้งชุดไปอานคาความ<br />

ตานทานไฟฟาที่จุดตอไป ซึ่งวางอยูในแนวสํารวจ<br />

เดียวกัน โดยกําหนดใหมี มีระยะ a เทาเดิม เชน ใน<br />

บริเวณพื้นที่สํารวจมีแนว<br />

fault zones ตัดผานตรง<br />

กลางของบริเวณพื้นที่สํารวจในแนวเหนือ-ใต การวาง<br />

แนวสํารวจจะตองวางอยูในแนวทิศตะวันออก-ทิศ<br />

ตะวันตก หรือตั้งไดฉากกับแนว fault zones และ<br />

สมมติวาในพื้นที่สํารวจดังกลาว ดานซีกตะวันตกเปน<br />

ดานที่มีหินแข็งจําพวกหินทราย (sandstone) ซึ่งมีคา<br />

ความตานทานไฟฟาปรากฏประมาณ 2000 Ωm อยูที่<br />

ระดับความลึกนอยกวา 10 เมตร สวนดานซีกตะวัน<br />

ออกของพื<br />

้นที่ หินชนิดเดียวกันนี้อยูที่ระดับความลึก<br />

มากกวา 30 เมตร ตอนบนของหินแข็งดังกลาวปก<br />

คลุมดวยชั้นตะกอนหินรวน ซึ่งมีคา ρ a ประมาณ 50<br />

Ωm การสํารวจโดย resistivity trenching กําหนด<br />

ระยะ constant electrodee spacing เทากับ 30 เมตร<br />

ตรวจวัดตามจุดตางๆ ในแนวสํารวจที่วางไวในแนว<br />

ทิศตะวันออก-ทิศตะวันตกก แลวนําคา ρ a ที่อานไดจาก<br />

จุดตางๆมาสราง resistivity<br />

section ดังรูปที่ 5<br />

วิธีการสํารวจแบบตัดแนวอาจสํารวจโดยใชรูปแบบ<br />

การจัดวางหลักขั้วไฟฟาแบบ Schlumberger,<br />

Wenner หรือ แบบ Dipole-Dipole arrays<br />

ก็ได<br />

8.3.33 วิธีการสํารวจแบบทั่วพื้นที่<br />

วิธีการสํารวจแบบทั่วพื้นที<br />

ที่ (resistivity<br />

mapping)<br />

เปนการสํารวจที่มีวัตถุประสงค<br />

คหลัก ในการ<br />

เก็บขอมูลดาน horizontal resistivity variation และ<br />

แสดงผลการสํารวจในรูปแผนที่ โดยมีวิธีการสํารวจ<br />

เชนเดียวกับการสํารวจแบบตัดแนว เพียงแตวางจุด<br />

สํารวจใหทั่วพื้นที่ในลักษณะเปนระบบตาราง (grid<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

42<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

system) แทนการวางจุดสํารวจตามแนวสํารวจเทานั้น<br />

เมื่อไดคาความตานทานไฟฟาปรากฏของชั้นดินชั้น<br />

หินใตผิวดินที่ระดับความลึกเดียวกัน ตามจุดสํารวจ<br />

ตางๆ ทั่วพื้นที่สํารวจ ทําใหสามารถพล็อตเปน resistivity<br />

contour maps ของพื้นที่สํารวจได<br />

(รูปที่ 6)<br />

ปกติมักทําการสํารวจดวยการตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟาปรากฏของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความ<br />

ลึก 3 - 5 ระดับ เพื่อจัดเก็บขอมูลทั้งในดานน vertical<br />

และ lateral variations พรอมๆกัน ตัวอยางเชน แนว<br />

รอยตอระหวางชั้นหินทรายและหินดินดานน หรือการ<br />

สํารวจหาลักษณะการวางตัวและความหนาของชั้น<br />

กรวดทรายทางน้ํายุคเกา เปนตน<br />

การสํารวจเก็บ<br />

ขอมูลที่จุดสํารวจตางๆ<br />

อาจเลือกใชเทคนิคการสํารวจไดหลายแบบ<br />

อาจเปน<br />

แบบ Wenner, Schlumberger หรือ Dipole-Dipole<br />

arrays ขึ้นอยูกับความลึก สภาพธรณีวิทยา และ<br />

เครื่องมือการสํารวจ<br />

8.3.4 วิธี resistivity pseudo-sections<br />

การสํารวจ resistivity pseudo-section มี<br />

สวนคลายคลึงกับการสํารวจแบบ resistivity<br />

trenching<br />

ในดานการวางจุดสํารวจในแนว profile ตัดขวาง<br />

แสดงธรณีวิทยาโครงสรางใตผิวดินของพื้นที่สํารวจ<br />

และมีสวนคลายคลึงกับการทํา resistivity mapping<br />

ตรงที่ใช fixed spacing ที่ระดับความลึกหลายระดับ<br />

(4-5 ระดับความลึก) เนื่องจากตองการเก็บขอมูลเพื่อ<br />

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคาความตานทานไฟฟาปรากฏ<br />

(ρρ a ) ของชั้นหินใตผิวดินทั้งในดานน vertical และ lateral<br />

resistivity<br />

variations<br />

โดยมีการเสนอผลงานในรูป<br />

cross-section เฉพาะตามแนว profile ของการสํารวจ<br />

เริ่มตนดวยการวางแนว profile กําหนด<br />

จุดสํารวจบน profile กําหนดระดับความลึกของการ<br />

สํารวจ อานคาและบันทึกขอมูลการสํารวจ โดยในแต<br />

ละจุดสํารวจจะอ<br />

อานคาบันทึกขอมูล 4-5 ครั้ง ตาม<br />

ระดับความลึกตางๆที่กําหนดไว<br />

ซึ่งการสํารวจอาจ<br />

เลื อกใช field procedures ไดหลายแบบ ดังที่ไดกลาว<br />

มาแลว แตวิธีที่นิยมใชกันมากที่สุด<br />

ไดแกวิธี Dipole-<br />

Dipole ผลของการสํารวจจะแสดงในรูป crosssection<br />

ตามแนว profile ของการสํารวจ โดยการ<br />

พล็อตคา ρ a ที่ทุกระดับความลึก ตามจุดสํารวจตางๆ<br />

200--<br />

X<br />

X<br />

X<br />

คา a ( - m)<br />

100--<br />

50--<br />

E<br />

X<br />

X<br />

Sediments<br />

X<br />

X<br />

X<br />

จุดสํารวจ<br />

F<br />

W<br />

Depth (m)<br />

--10<br />

--20<br />

sandstone<br />

--30<br />

รูปที่ 5 แสดง resistivity section จากการสํารวจดวย<br />

วิธี resistivity trenching ในบริเวณพื้นที่ ที่มีแนวรอย<br />

เลื่อนตัดผานน (ดัดแปลงจาก Griffith and King, 1976)<br />

รูปที่ 6 แสดง resistivity map จากการสํารวจดวย<br />

วิธี resistivity trenching. (ASTM, 2005)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

43<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(รูปที<br />

่ 7) การแปลคาขอมูลการสํารวจ resistivity<br />

pseudo-section มักจะแปลคาขอมูลไดยาก โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งการสํารวจดวยวิธี Dipole-Dipole<br />

แตก็ให<br />

ขอมูลดานธรณีวิทยาโครงสรางใตผิวดินแบบตางๆ<br />

ไดดี เพื่อใชเปนขอมู มูลในการสํารวจในขั้นรายละเอียด<br />

ตอไป<br />

รูปที่ 7 แสดง resistivity pseudo-section จากการ<br />

สํารวจ Dipole -Dipole รวม 5 ระดับความลึก<br />

(Vingoe, 1997)<br />

จากรูปบริเวณสวนกลางของรูปเสน iso-<br />

resistivity contour lines แสดงคา ρ a ต่ําแสดงลักษณะ<br />

เปนโพรงหินปูนใตผิวดินไดอยางเดนชัด<br />

8.4 การสํารวจแบบการตรวจวัดความตางศักย<br />

ไฟฟ ฟาตามธรรมชาติ<br />

การสํารวจแบบการตรวจวัดความตาง<br />

ศักย ยไฟฟาตามธรรมชาติ (spontaneous<br />

potential,<br />

SP method) เป ปนการตรวจวัดความตางศักยทาง<br />

ไฟฟ ฟาที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติบนผิวดิน ซึ่งเกิดจาก<br />

สาเหตุ 2 ประการคือ<br />

(1) เกิดจากการเปลี่ยนแปลง<br />

สภาวะสมดุลทางเคมี<br />

มีของของเหลวใตผิวดิน (electro-<br />

chemical differences) และ (2) เกิดจากการเคลื่อนที่<br />

ของของเหลวใตผิวดิน (electro-kinetic effect หรือ<br />

streaming potentials) ในการสํารวจแบบ SP method<br />

นํามาประยุกตใชไดเฉพาะในพื้นที่สํารวจมีสภาพผิว<br />

ดินคอนขางชื้น หรือ 1st. resistivity layer มีคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะคอนขางต่ําเทานั้น รวมทั้งมี<br />

ขอจํากัดในกรณีที่สํารวจใกลสถานีวิทยุ กระจายเสียง<br />

โดยเอกสารฉบับนี้ไดสรุปวิธีการสํารวจแบบการ<br />

ตรวจวัดความตางศักยไฟฟาตามธรรมชาติ ดังนี้<br />

8.4.1<br />

วิธีการสํารวจภาคสนามสําหรั<br />

รับ SP<br />

method<br />

วิธีการสํารวจสามารถทําไดโดยใชหลักขั้ว<br />

ไฟฟาเพียง 2 หลัก คือ P1 และ P 2 โดยหลักขั้วทั้งสอง<br />

จะตองเป ปนหลักขั้วไฟฟาที่ปองกันการเกาะตัวของ<br />

ประจุไฟฟา (non-polarizing electrodes)<br />

ไดแก หลัก<br />

กระเบื้อง ปกหรือฝงแนนบนผิวดิน รอยตอระหวาง<br />

ขั้วไฟฟาและสายไฟฟาตางๆ จะตองแนนปราศจาก<br />

การรั่วของกระแสไฟฟา การสํารวจเริ่มตนโดยหลัก P 1<br />

จะปกแนนอยูกับที่ สวนหลัก P 2 จะปกใกลๆกับ P 1<br />

เมื่ออานคาความตางศักย<br />

ทางไฟฟา (∆V)<br />

หนวยเปน<br />

milli-volts<br />

(mV) แลวจะเลื่อนหลัก P 2 ออกไปเรื่อยๆ<br />

ตามแนวสํารวจ เมื่อนําขอมูลการสํารวจภาคสนามมา<br />

พล็อตตามแนวสํารวจ ก็จะไดขอมูลการเปลี่ยนแปลง<br />

ของความตางศักยไฟฟาตามธรรมชาติของชั้นดินชั้น<br />

หินใตผิวดิน (SP profile, รูปที่ 8) โดยปกติการสํารวจ<br />

ดวยวิธีนี้ จะสํารวจที่ความลึกไดไมเกิน 30<br />

เมตร<br />

8.4.2<br />

การแปลความหมายและการเสนอผลงาน<br />

นอกจากจะเสนอผลงานการสํารวจใน<br />

ลักษณะการตัดแนว ดังกลาวขางตนแลวว หากวางจุด<br />

สํารวจทั่วพื้นที่ดวยวิธีการวางจุดสํารวจเปนตาราง ก็<br />

อาจนําเสนอผลงานในรูปแบบ SP mapping ได โดย<br />

สวนใหญขอมูลที่ไดจากการสํารวจเปนเพียงขอมูล<br />

เปรียบเที ทียบ การแปลความหมายขอมูลแบบ quantitative<br />

interpretation ทําไดโดยวิธีการใช geometric<br />

curve matching หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

44<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


นําใหเกิด<br />

รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ele<br />

ตร<br />

m<br />

วิธี<br />

โด<br />

C 2<br />

สล<br />

กร<br />

จะ<br />

C 2<br />

คา<br />

รูปที่ 8 วิธีการสํารวจแบบ<br />

SP method และผลการ<br />

สล<br />

สํารวจแบบ SP profiling (EPA/625/R-92/007 ,1993) อยู<br />

8.4.3 การประยุกตใช<br />

SP method<br />

คล<br />

โดยสวนใหญใ<br />

ใชสําหรับงานดานธรณี<br />

ขั้ว<br />

เทคนิค เชน<br />

การสํารวจหารอยรั่วของเขื<br />

ขื่อน การ<br />

ดัง<br />

สํารวจหารองรอยการไหลของน้ําใตดินในการทํานาย<br />

หน<br />

การเลื่อนทะลายของดิน (land slide) สําหรับดานอุทก<br />

กร<br />

ธรณี วิทยา อาจประยุกตใชในกรณีที่น้ําบาดาลมีการ<br />

กร<br />

ไหลคอนขางเร็ว หรือในกรณีที่น้ําบาดาลมีการ<br />

คอ<br />

แปรเปลี่ยนคุณภาพน้ําที่รวดเร็ว เชน การไหลของน้ํา<br />

คา<br />

บาดาลในโพรงหินปูนใตดิน หรือเพื่อสังเกตการ<br />

แบ<br />

เคลื่อนที่ของสารปนเปอนในน้ําบาดาล (moving<br />

of<br />

ผิว<br />

contaminantt plumes) เปนต ตน<br />

กา<br />

8.5 การสํารวจตรวจวัดความตางศักยไฟฟา<br />

m<br />

แบบเหนี่ยวนําประจุ<br />

ขอ<br />

การสํารวจแบบการตรวจวัดความตาง<br />

ศักยไฟฟาแบบเหนี่ยวนําประจุหรือ IP methods เปน นํา<br />

การตรวจวัดความตางศักยทางไฟฟาเคมีของชั้นดิน<br />

สิ่ง<br />

ชั้นหินใตผิวดินที่ตอบสนอง (electro-chemical<br />

สํา<br />

response) การเหนี่ยวนําของกระแสไฟฟาที<br />

่ปลอยลง ฉบ<br />

ไปจากบนผิวดิน โดยการปลอยกระแสไฟฟาจากหลัก<br />

แส<br />

ขั้วไฟฟา C 1 และ C 2 จากผิวดินเพื่อเหนี่ยว<br />

ectro-chemical response ในชั้นหินใตผิวดิน<br />

แลว<br />

รวจวัดความตางศักยทางไฟฟาา (∆V) หนวยเปน<br />

illi-volts (mV) ในการสํารวจแบบ IP methods มี<br />

ธีการสํารวจ 2 วิธีคือ (1) time domain IP method<br />

ดยการปลอยกระแสไฟฟาจากหลักขั้วไฟฟา C 1 และ<br />

2 แลวหยุดการปลอยกระแสไฟฟาและวัดอัตราการ<br />

ลายตัวของความตางศักยไฟฟาหลังหยุดการปลอย<br />

ระแสไฟฟา และ (2) frequency domain IP method<br />

ะปลอยกระแสไฟฟาสลับจากหลักขั้วไฟฟา C 1 และ<br />

2 ตลอดเวลาและวัดคา electrical resistivity (ρ)<br />

ซึ่ง<br />

า ρ จะคอยลดลงไปเรื่อยๆ เมื่อปลอยกระแสไฟฟา<br />

ลับเปนเวลานานๆ อัตราการลดลงของคา ρ จะขึ้น<br />

กับสภาพชั้นดินชั้นหินใตผิวดินน<br />

โดยหลัักการการสํารวจแบบ IP Methods<br />

ลายกับการปลอยกระแสไฟฟาจาก transmitter ผาน<br />

วหลักไฟฟา C 1 และ C 2 ลงสูชั้ ชั้นดิน กระแสไฟฟา<br />

งกลาวจะไปชาร รจไฟในวัตถุนําไฟฟาใตดิน เสมือน<br />

นึ่งการชารจแบตเตอรี่ และเมื่อหยุดการปลอย<br />

ระแสไฟฟา ในวัตถุนําไฟฟาใตดินจะยังมี<br />

ระแสไฟฟาที่เกิดจากการเหนี่ยวนําดังกลาว และจะ<br />

อยๆสลายตัวไปตามระยะเวลา<br />

ในการตรวจวัดจาก<br />

า ∆V จากเครื่อง<br />

volt meter เปนการวัดเพื่อหารูป<br />

บบการสลายตัวของกระแสไฟฟาในตัวนําไฟฟ<br />

ฟาใต<br />

วดินดังกลาว ซึ่งโดยหลักการมีลักษณะเชนเดียวกับ<br />

ารสํารวจแบบตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา (electro-<br />

agnetic methods) ดังรายละเอียดในเอกสาร<br />

คูมือ<br />

องกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ทบ ส 2004-2550<br />

การสํารวจดวย IP method โดยสวนใหญจะ<br />

าไปประยุกตใชในดานธรณี<br />

ณีเทคนิค และดาน<br />

งแวดลอมมากกวาการนําไปประยุกตใชในดานการ<br />

ารวจอุทกธรณีวิทยา (ASTM, 2005) ดังนั้นเอกสาร<br />

บับนี้จะไมกลาวถึงรายละเอียดของการสํารวจ แตจะ<br />

สดงรายชื่อเอกสารที่เกี่ยวของเพื่อสามารถนําไป<br />

ศึกษาคนควาดวยตนเอง ดังนี้<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

45 คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เอกสารสําหรับคนควาเกี<br />

่ยวกับการสํารวจ<br />

แบบบ IP methods (EPA/625/R-92/007, 1993)<br />

Barker, R.D., 1974. “The Interpretation<br />

of Induced Polarization Sounding<br />

Curves in Fre-<br />

quency Domain” Geophysics prospecting, 22(4),<br />

pp. 610-626.<br />

Corwin, R.F., 1990. “The Self-Potential<br />

Method for Environmental and Engineering<br />

Applications” Geotechnical and Geophysics, Vol.<br />

1: Review and Tutorial, S.H., Ward (ed.) Soc. Of<br />

Explor. Geophy.<br />

Lange, A.L., and J.F., 1988. Quinlan,<br />

“Mapping Caves from the Surface of Karst<br />

Terranes by the Natural Potential Method” In:<br />

Proc. Second Conf. on Environmental Problems<br />

in Karst Terranes and Their Solutions (Nashvill,<br />

TN),<br />

National Water Well Association, Dublin,<br />

OH, pp. 369-390.<br />

8.6 คูมือการแปลความหมายขอมูลการสํารวจ<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

8.6.1 การแปลความหมายขอมูลการสํารวจแบบ<br />

หยั่งลึก<br />

(1) การแปลความหมายขอมูลดวยวิธี<br />

partial curve matching เปนวิธีการแปลความ หมาย<br />

ดวยการเปรียบเทียบขอมูลการสํารวจจากภาคสนาม<br />

หรือกราฟการสํารวจในสนาม (field curves) เปรียบ-<br />

เทียบกับกราฟทฤษฎี (theoretical curves) เริ่มตน<br />

จากการคํานวณคาความตานทานไฟฟาปรากฏ<br />

(หัวขอ 8.2) เมื่อนําคา ρ a ที่ความลึกตางๆ มาพล็อต<br />

กับความลึกใน logarithmic paper (scale 16) จะได<br />

กราฟความตานทานไฟฟาปรากฏ (field curves) ของ<br />

จุดสํารวจนั้น สําหรับวิธีการแปลความหมายขอมู<br />

มูล<br />

ดวยวิธี partial curve<br />

matching ในปจจุบันไมนิยมใช<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

46<br />

สวนใหญจะแปลความหมายดวยโปรแกรมคอมพิว-<br />

เตอร (ASTM, 2005)<br />

(2) การแปลขอมูลการสํารวจ VES ดวย<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

การแปลขอมูลการสํารวจวิธีนี้ มีการ<br />

นํามาใชเปนครั้งแรกเมื่อป 1977 ที่ Sydney<br />

โดย<br />

Merrick (1977) และมีการปรับปรุงเพื่อใหขีดความ<br />

สามารถสู สงขึ้น (Davis, 1979) ปจจุบันมีการพัฒนา<br />

โปรแกรมใชอยางแพรหลายและสามารถใชได<br />

แมกระทั่งเครื่องคํานวณขนาดเล็กที่มีคาความจําไม<br />

มากนัก เชน SHARP PC-1150, PC-1251, Hewlett<br />

Packard 41CS, CASIO<br />

FX 702, หรือ<br />

PB Series<br />

เปนตน<br />

นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมคอมพิวเตอรที่<br />

ผลิตโดยผูผลิตเครื่องมือสํารวจอีกเปนจํานวนมาก<br />

(ASTM, 2005) ในป 1986 บริษัท Atlas Copco<br />

ABEM AB ประเทศสวีเดนไดพัฒนาโปรแกรมการ<br />

แปลความหมายที่สมบูรณแบบชื่อ ABEM<br />

Super<br />

VES ในขณะที่บริษัท OYO Corporation<br />

ก็ไดพัฒนา<br />

โปรแกรมที่มีความสามารถใกลเคียงกันชื่อ GRIVEL<br />

ในอีก 2 ปตอมา โปรแกรมเหลานี้มีการพัฒนาอยาง<br />

ตอเนื่อง และเปนชุดใชงานระดับมืออาชี<br />

ชีพเปนระยะ<br />

เวลาหลายป ปจจุบันโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับ<br />

การแปลความหมายขอมูลสามารถหาไดจากผูผลิต<br />

เครื่องมือสํารวจทั่วๆไป<br />

ผูใชสามารถปอนขอมูลอุทก<br />

ธรณีวิทยาเขาไปเพื่อใหไดแบบจําลองทางธรณีฟสิกส<br />

มีสภาพใกลเคียงกับสภาพอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

ของพื้นที่สํารวจ ซึ่งแบบจําลองทางธรณีฟ<br />

ฟสิกสที่ได มี<br />

ทั้งแบบสองและสามมิติ (2-D, 3-D resistivity<br />

models)<br />

8.6.2<br />

การแปลความหมายขอมูลการสํารวจแบบ<br />

ตัดแนวและแบบสํารวจทั่วพื้นที่<br />

ขอมูลจากการสํารวจตรวจวัดความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ ดวยวิธีการสํารวจแบบตัดแนว<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

และแบบสํารวจทั่วพื้นที่เปนขอมูลเชิงคุณภาพ<br />

กลาวคือเปนขอมูลเชิงเปรียบเทียบ ไมสามารถนํามา<br />

แปลความหมายใหเปนขอมูลเชิงปริมาณ ไมวาจะเปน<br />

การคํานวณหาคาความตานทานไฟฟาที่แทจริง (true<br />

resisitivity) หรือการคํานวณหาคาความลึกความหนา<br />

ที่แทจริง (true depth and thickness) ของชั้นหินที่<br />

ระดับลึกลงไปจากผิวดิน<br />

เอกสารฉบับนี้ไม<br />

มกลาวถึงรายละเอียดของ<br />

การแปลความหมายขอมูลการสํารวจความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะไว ดังนั้นจึงแนะนําเอกสารที่เกี่ยวของ<br />

สําหรับผูใชคูมือนี้ เพื่อศึกษาคนควาดวยตนเอง<br />

ดังตอไปนี้<br />

เอกสารสําหรับค<br />

คนควาเกี่ยวกับการสํารวจ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟ<br />

ฟาแบบหยั่งลึกโดยใชวิธี<br />

partial curve matching method (EPA/625/R-92/<br />

007, 1993)<br />

Kalenov, E.N., 1957. “Interpretation of<br />

Vertical Electrical Sounding Curves” Gosto-<br />

W.W.,<br />

pekhizdat, Moscow.<br />

Mooney, R.M. ., and Wetzel,<br />

1956. “The Potential about a Point Electrode and<br />

Apparent Resistivity Curves for a Two-, Threeand<br />

Four Layered Earth” University of Minnesota<br />

Press. Minneapolis, MN.<br />

Orellana, E., and Mooney, H. M., 1972.<br />

“Two- and Three-Layer Master Curves and<br />

Auxiliary Point Diagrams for Vertical Electrical<br />

Sounding Using Wenner Arrangement” Inter-<br />

K. L.,<br />

sciencia, Madrid, Spain.<br />

Van Nostrand, R. G., and Cook,<br />

1966. “Interpretation of Resistivity Data” U.S.<br />

Geological Suevey Professional Paper 499.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

47<br />

Verna, R. K., “Master Table for Electro-<br />

New York.<br />

magnetic Depth Sounding Interpretation” Plenum,<br />

8.7 การนําเสนอผลการสํารวจ<br />

แผนการนําเสนอขอมูลที่ไดจากการสํารวจ<br />

เริ่ รมจากการพิจารณาสภาพอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

ซึ่งไดขอมูลจากแบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโน<br />

ทัศน ซึ่งสรุปรวบยอดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

บนผิวดิน จากนั้นควรพิจารณาจากวัตถุประสงคการ<br />

สํารวจวา ตองการรายละเอียดขอมูลใดเพิ่มเติม<br />

มาก<br />

นอยเพียงใด เพื่อใชเปนแนวทางในการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดิน<br />

เมื่อพิจารณารายละเอียดในดาน<br />

ตางๆ ครบถวนแลว กําหนดแผนการเพื่อทําการ<br />

สํารวจ โดยหากเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสดวย<br />

วิธี ธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ ขั้นตอน<br />

ตอไปคือ การเลือกเทคนิคการสํารวจ รวมทั้งวิธีการ<br />

จัดวางหลักขั้วไฟฟาใหเหมาะสม<br />

เพื่อสามารถกําหนด<br />

ระยะเวลา กําลังคน งบประมาณ รวมถึงอุปกรณ<br />

เครื่องมือตางๆที่จะตองใชได<br />

แผนการนําเสนอขอมูลขึ้นอยูกับการแปล<br />

ความหมายขอมูลการสํารวจวาจะออกมาในลักษณะใด<br />

ซึ่งแตกตางกันไปตามวิธีการสํารวจ ไดแก<br />

8.7.1 ขอมูลการสํารวจแบบหยั่งลึก<br />

มักนําเสนอในลักษณะเปนจุด แสดงขอมูล<br />

เกี<br />

่ยวกับชั้นดินชั้นหินใตผิวดินตามคุณสมบัติความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ ณ ตําแหนงจุดสํารวจนั้นๆ<br />

โดยมีขอไดเปรียบคือสามารถแปลความหมายขอมูล<br />

การสํารวจเพื่อหาความลึกและความหนาตามที่<br />

ที่เปน<br />

จริงของชั้นดินหินซึ่งทําการแบงแยกเปนชั้นโดยใชคา<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะเปนเกณฑ และหากมีจุด<br />

สํารวจ VES<br />

หลายๆ จุดในแนวเสนตรงเดียวกันก็<br />

สามารถนําเสนอในรูปแบบของ geophysical cross<br />

sections ได แตจําเปนตองใชงบประมาณและเวลา<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจํ<br />

จําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

มากกวาการสํารวจตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะแบบอื่นๆ<br />

8.7.2 ขอมูลการสํารวจแบบตัดแนวและแบบ<br />

ทั่วพื้นที่<br />

มักนําเสนอเปนในลักษณะเปนแบบ<br />

จําลองสองมิติ หรือแบบจําลองสามมิติ แตคาตางๆ ที่<br />

แสดงในแบบจําลองทั้งหมดไมวาจะเปนความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะ คาความลึกความหนาของชั้น<br />

ดินหินซึ่งทําการแบงแยกเปนชั้นโดยใชคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะเปนเกณฑนั้<br />

นั้น ลวนแตเปนคา<br />

ขอมูลเชิงเปรียบเทียบเทานั้น<br />

8.7.3 แบบจําลองทางธรณีฟสิ<br />

สกส<br />

ขอสรุปสุดทายสําหรับการนําเสนอผล<br />

สํารวจตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ ไดแกการ<br />

นําเสนอแบบจําลองทางธรณีฟสิกส ซึ่งสามารถ<br />

ตกแตงแบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนจาก<br />

การสํารวจอุทกธรณี<br />

ณีวิทยาบนผิวดินใหชัดเจนยิ่งขึ้น<br />

ซึ่งมีขอมูลสําคัญที่จะตองนําเสนอในแบบจําลองทาง<br />

ธรณีฟสิกส คือ พื้นที<br />

่ที่มีชั้นน้ําผิดปกติ (groundwater<br />

anomalies) ประเภทของชั้นน้ํา ความลึก และความ<br />

หนาของชั้นน้ํา<br />

8.8 ขอจํากัดของการสํารวจ<br />

ขอจํากัดของการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินโดยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

สามารถสรุปได ตามมาตรฐานการทดสอบวัสดุแหง<br />

สหรัฐอเมริกา (ASTM, D6431-99, 2006) ดังนี้<br />

8.8.1 การแปลความห<br />

หมายขอมูลการ<br />

สํารวจตั้งอยูบนสมมติฐานวา ชั้นดินชั้นหินใตผิวดินใน<br />

พื้นที่สํารวจวางตัวตามแนวระนาบหรือใกลเคียงกับ<br />

แนวระนาบ ชั้นหินทุกชั้นตองวางตัวขนานกันหรือ<br />

เกือบขนานกันและชั้นหินทุกชั้นตองมีคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะสม่ําเสมอเทากันหรือเกือบ<br />

เทากันทั้งชั้น หากสภาพอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

48<br />

สํารวจไมเปนไปตามขอสมมติฐานดังกลาว การแปล<br />

ความอาจเกิดความผิดพลาดได<br />

8.8.2 กรณีพื้นที่สํารวจมีชั้นดินชั้นหินใต<br />

ผิวดินหลายชั้น หากมีชั้นหินบางๆที<br />

่มีคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะที<br />

่ใกลเคียงกัน ชั้นหินบางๆ<br />

ดังกลาวจะไมสามารถสํารวจพบไดดวยวิ<br />

วิธีการสํารวจ<br />

ตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

8.8.3 กรณีพื้นที่สํารวจมีชั้นดินชั้นหินใต<br />

ผิวดิน 3 ชั้น หากมีชั้นหินบางๆ ที่มีคาความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะสูงมาก และวางตัวอยูระหวางกลางโดย<br />

ปดทับดานบนและดานลางดวยชั้นหินที่มีคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะต่ําา (ρ 1 ρρ 3 ) จะเกิด<br />

ปญหาการลัดวงจรของกระแสไฟฟาจะวิ่งทะลุผานชั้น<br />

หินชั้นที่ 2 ไปยังชั้นที่ 3 โดยไมสามารถหาคาความ<br />

ตานทานไฟฟาจําเพาะของหินชั้นที่<br />

2 ได (suppression<br />

problem) และในทางตรงกันขาม หากชั้น<br />

หินระหวางกลางดังกลาวคาความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะต่ํามาก เมื่อเปรียบเทียบกับคาความตานทาน<br />

ไฟฟาจําเพาะของชั้นหินที่ปดทับบนและลาง (ρ 1 >>><br />

ρ 2


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

Where ρ 1 >>ρ 3<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

จากขั้วหลักหรือคอน และควรป องกันเศษ ธร<br />

นเขาตาดวยการสวมแวนปองกันน<br />

ดา<br />

9.4 การปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่ที่มี<br />

กา<br />

ย เชน ใกลแนวสายไฟฟาแรงดันสูง โรงงาน รา<br />

มเคมีภัณฑ โรงงานอุตสาหกรรมอื่น ฟารม ดัง<br />

ะอื่นๆ เปนความรับผิดชอบและอยูใน<br />

ผูร<br />

ณของผูสํารวจโดยตรง<br />

ธร<br />

ฝก<br />

Where ρ 1 >>> ρ 2


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

U.S. . Army Corps of Engineers, 1995. Geophy-<br />

sical Exploration for Engineering and Envi-<br />

ronmental Investigation, EM 1110-1-1802,<br />

1995.<br />

Vingoe, P., 1997.<br />

Electrical Resistivity Survey,<br />

Atlas Coppco, ABEM, Sweden.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

50<br />

คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ<br />

ส 2003 -2550<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความเร็<br />

ร็ว<br />

ของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (ส) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ํา้าบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที<br />

่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

มาตรฐานให หใสวงเล็บตอทายและระบุ ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เป ปนตน โดยมีเครื่องหมาย<br />

(ก) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที<br />

่ปรับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

ฉบับนี้ไดจัดทําขึ้นภายใตโครงการจัดทํามาตรฐานการ<br />

เจาะ สํารวจและพัฒนาบอน้ํ้าบาดาล พ.ศ. 2550 เปน<br />

สวนหนึ่งของชุดคูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและ<br />

แผนที่น้ําบาดาล โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาลได<br />

มอบหมายใหคณะผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา<br />

ธรณีวิทยา วิศวกรรม เครื่องกล และวิศวกรรมโยธา<br />

เปนผูดําเนินการรางคูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน เพื่อใหใชควบคูไปกับมาตรฐาน ทบ<br />

ส 2003-<br />

2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

โดยคูมือฉบับนี้ จะกําหนดขั้นตอนและแนวทางสําหรับ<br />

ใชในงานสํารวจฯ เพื่อใหไดผลงานตามมาตรฐานที่<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีตรวจวัด<br />

ความเร็วของคลื่นไหวสะเทื<br />

ทือนแบบหักเห (seismic<br />

refraction method) เปนการสํารวจเพื่อตรวจวัด<br />

คุณสมบัติทางกายภาพของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่<br />

ระดับความลึ ลึกตางๆ ที่ยินยอมใหคลื่นไหวสะเทือนวิ่ง<br />

ผานดวยการตรวจวัดหรือสํารวจดวยเครื่องมือ<br />

(seismographs)<br />

บนผิวดิน ซึ่งเปนการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินที่นํามาประยุกตใชในการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาวิธี ธีหนึ่ง เนื่องจากสามารถนํามาประยุกตใช<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

51<br />

ในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาในชั้นหินแข็งไดดี และผล<br />

การสํารวจโดยสวนใหญสามารถแปลความหมายและ<br />

วิเคราะหขอมูลการสํารวจในเชิงคุณภาพ ไดอยาง<br />

ละเอียดและถูกตองแมนยํา อยางไรก็ตามการสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาโดยวิธีทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

หลายๆ กรณีมีความจําเปนตองอาศัยการสํารวจทาง<br />

ธรณีฟสิกสวิธีการอื่นๆ ควบคูไป<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน<br />

2.1 วัตถุประสงคและการประยุกตใชงาน<br />

2.1.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ครอบคลุมเนื้อหาทั่วๆ<br />

ไปในดานเครื่องมือและอุปกรณ วิธีการสํารวจ วิธี ธีการ<br />

แปลความหมายข<br />

ขอมูล วิธีการนําเสนอผลการสํารวจ<br />

และขอจํากัดของการสํารวจ สําหรับการสํารวจ<br />

ตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเหของ<br />

ชั้นดินชั้นหินใตผิวดินและน้ําบาดาลในชั้นหินอุมน้ํา<br />

ตางๆ<br />

2.1.2 เอกสารคูมือฉบับนี้มีวัตถุประสงคหลั<br />

ลักใน<br />

การจัดทําเพื่อใชเปนคูมือการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิว<br />

ดินดวยวิธีตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบ<br />

หักเห สําหรับประยุกตใชเฉพาะการสํารวจดานอุทก<br />

ธรณีวิทยาเทานั้นน บางสวนของสาระอาจเกี่ยวพันกับ<br />

การประยุกตใชในดานสํารวจธรณีเทคนิคหรือการ<br />

สํารวจสิ่งแวดลอมบาง<br />

2.1.3 หนวยวัดที่ใชในคูมือฉบับนี้เปนหนวยวัด<br />

Système Internationale d’Unitès<br />

(SI Units) สําหรับ<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

หนวยวัดที่ใชในการสํารวจแบบ seismic refraction<br />

method มีหนวยวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนเปน<br />

เมตร/มิลลิวินาที (meter/milliseconds, m/ms)<br />

2.2 ขอจํากัดของคูมือ<br />

เอกสารคูมือฉบับนี้ไมครอบคลุมถึง<br />

รายละเอียดดานทฤษฎีตางๆ แตจะนําเสนอรายชื<br />

่อ<br />

เอกสาร และตําราที่เกี่ยวของใหผูใช<br />

ชเอกสารคูมือฉบับ<br />

นี้ไดศึกษาคนควาดวยตนเอง ขอความที่เกี่ยวของกับ<br />

มาตรฐานความปลอดภัยในเอกสารฉบับนี้ ครอบคลุม<br />

เฉพาะความปลอดภัยในการใชเครื่องมือที่มีมาตรฐาน<br />

และอยูในสภาพสมบูรณพรอมใชงานเทานั้น ไมได<br />

ครอบคลุมถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงานหรือ<br />

อุบัติเหตุใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน<br />

ภาคสนาม ตามขั้นตอนของเอกสารคูมือฉบับนี้<br />

ผูใชงานจําเปนตองคํานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตและ<br />

ทรัพยสินทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การคัด<br />

เลือกวิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดความตาน<br />

ทานไฟฟาจําเพาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 1000-25500 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจทางธรณีฟสิกสบนผิวดิ<br />

ดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2002-25500 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวั<br />

วัดความตานทาน<br />

ไฟฟ ฟาจําเพาะ<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิ<br />

ดิน (surface<br />

geophysical investigation) หมายถึง การสํารวจโดย<br />

ใชเครื่องมือทางธรณีฟสิกสบนผิวดินเพื่อที่จะจัดเก็บ<br />

ขอมูลดานธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา<br />

โดยมิไดใช<br />

เครื่องมือใดๆ หยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

การสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง (groundwell<br />

drilling)<br />

water investigation for pin-point หมายถึง การสํารวจอุทกธรณีวิทยา ที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลที่เหมาะสม<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิ<br />

ผิวดิน (sub-<br />

หมาย ถึง<br />

surface hydrogeological investigation)<br />

การสํารวจเพื่อเก็บขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

โดยใชเครื รื่องมือเจาะหรือหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกส ( geophysical<br />

models) หมายถึง แบบจําลองลักษณะธรณีวิทยาหรือ<br />

กายภาพอื่นๆ ของพื้นที ที่จากขอมูลการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกส เพื่อใหขอมูลดานความลึกของแบบจําลองอุทก<br />

ธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนมีความถูกตองแมนยํายิ่งขึ้น<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกสสองมิติ (2D<br />

geophysical profiles) หมายถึง แผนภาพแสดงขอมูล<br />

ธรณีฟสิกสในเชิงลึก เชน resistivity profiles, resis-<br />

เปนตน<br />

tivity pseudo sections, seismic sections<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกสสามมิติ (3D<br />

resistivity<br />

models) หมายถึง ภาพแสดงขอมูลธรณี<br />

ฟสิกสในลักษณะสามมิติ ทั้งกวาง ยาว และลึก<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological model) หมายถึง<br />

แบบจําลองสภาพอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่จากขอมูล<br />

ที่ไดจากการสํารวจฯ เพื่อใชประกอบกับแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาสําหรับกําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

52<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึง กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

การสํารวจฯ หมายถึง การสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาบนผิวดิน<br />

แบบจําลองฯ หมายถึง แบบจําลองเชิงมโน<br />

ทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

5. ความสํ สาคัญและการใชงาน<br />

5.1 เอกสารคูมือฉบับนี<br />

นี้ครอบคลุมวิธีการสํารวจ<br />

ดวยการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบ<br />

หักเหเพื่อประยุกตใชสภาพอุทกธรณีวิทยา<br />

สําหรับ<br />

การปรับใชเพื่อใหไดผลงานการสํารวจตรงตาม<br />

มาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด โดย<br />

สามารถนําไปประยุกตใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ตางๆ ดังนี้<br />

5.1.1 เปนคูมือใชในก<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน<br />

แบบหักเห สํ สาหรับงานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง ซึ่ง<br />

อาจตองดําเนินการสํารวจตอเนื่อง ดวยการสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาใตผิวดินตามมาตรฐาน ทบ<br />

ส 3000-<br />

2550<br />

5.1.2 เปนคูมือใชในก<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยวิ วิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเหสําหรับงานสํารวจจัดทําแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยา ( hydrogeological<br />

mapping) โดยมี<br />

กระบวนการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ตอเนื่อง ตามมาตรฐาน ทบ ส 4000-2550<br />

5.1.3 เปนคูมือใชในก<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน<br />

แบบหักเหจําเพาะ สําหรับงานศึกษาวิจัยแหลงน้ํา<br />

บาดาลตางๆ<br />

เชน การศึกษาวิจัยเพื่อประเมิ<br />

มนปริมาณ<br />

น้ําสํารองแองน้ําบาดาลของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

ตามคูมือ ทบ ป 1000-2550 การศึกษาวิจัยเพื่อ<br />

ประเมินพื้นที่เติมน้ําตามมาตรฐาน ทบ ป 2000-2550<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

53<br />

การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทําแบบจําลองอุทกธรณีวิทยา<br />

ทางคณิตศาสตร<br />

ตามคูมือกรมฯ<br />

ทบ ป 3000-2550<br />

และการศึกษาวิจัยทางอุทกธรณีวิทยาดานอื่นๆ<br />

5.2 เอกสารคูมือฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอนและ<br />

แนวทางการปฏิบัติงานไวกวางๆ<br />

สําหรับการปรั รับใช<br />

กับงาน สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวัด<br />

ความเร็วของคลื<br />

ลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห ตาม<br />

วัตถุประสงคตางๆ<br />

ซึ่งอาจมีความตองการรายละเอียด<br />

ของขอมูลไมเหมือนกัน โดยเฉพาะปริมาณของขอมูล<br />

ยอมขึ้นอยูกับขนาดของพื้นที่สํารวจ เวลางบประมาณ<br />

ของงานสํารวจศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลแตละงาน<br />

ดังนั้นขั้นตอนและแนวทางการปฏิ<br />

ฏิบัติงานที่ไดกําหนด<br />

เอกสารฉบับนี้ อาจเปลี่ยนแปลงไดตามที่ผูเชี่ยวชาญ<br />

ของโครงการศึกษาวิจัยแตละโครงการจะเห็นสมควร<br />

6. คําอธิบายวิธี ธีการ<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน เปนขั้นตอนการ<br />

สํารวจภาคสนามที่ตอเนื่องจากการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิ<br />

ดิน โดยจากรูปแบบอุทกธรณีวิทยา<br />

มโนทัศนที่จัดทําขึ<br />

้นในขั้นตอนสุดทายของการสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิว ซึ่งจําลองสภาพอุทกธรณีวิทยา<br />

ใต ตผิวดินไดคราวๆ การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

เปนการสํารวจบนผิวดินโดยใชเครื่องมือทางธรณี<br />

ฟสิ สิกสบนผิวดิน ตรวจวัดคุณสมบัติทางกายภาพตางๆ<br />

ของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ<br />

และ<br />

ดวยการแปลความหมายจากขอมูลการสํารวจธรณี<br />

ฟสิ สิกสบนผิวดิน ทําใหสามารถปร<br />

ระมาณการความลึก<br />

ความหนาของชั้นดินชั้นหินตางๆ ใตผิวดินในพื<br />

้นที่<br />

สํารวจภายใตการประมาณการทางวิทยาศาสตร<br />

7. เครื่องมือและอุปกรณ<br />

สวนประกอบที่สําคัญของเครื่องมือวัดความ<br />

สั่นสะเทือนสะทอนกลับ มีสวนประกอบตางๆ 3 สวน<br />

คือ<br />

แหลงกําเนิดคลื่นไหวสะเทือนน เครื่องรับคลื่นไหว<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สะเทือน และเครื่องบันทึกคลื่นไหวสะเทือน ดัง<br />

รายละเอียดตอไปนี้คื<br />

คือ ดังรายละเอียดตอไปนี้คือ<br />

7.1 แหลงกําเนิดคลื่นไหวสะเทื<br />

ทือน<br />

หลักการสําคัญของการสํารวจดวยวิธีวัด<br />

ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห คือการ<br />

ตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนที่วิ่งผานชั้นหิน<br />

ใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ ดังนั้นจําเปนตองมี<br />

แหล ลงกําเนิดคลื่นไหวสะเทือน และยิ่งไปกวานั้นการ<br />

ทําใหเกิดคลื่นไหวสะเทือน จะตองรูเวลาแนนอนวา<br />

เริ่มทําใหเกิดคลื่นไหวสะเทือนขึ้นที่เวลาใด เวลาที่<br />

กลาวถึงนี้มีหนวยเปน 1/1000 วินาทีหรือ มิลลิวินาที<br />

(milliseconds,<br />

ms) ดังนั้นการกําเนิดคลื่นไหว<br />

สะเทื ทือนแตละครั้ง จะตองสงสัญญาณไปยังเครื่อง<br />

บันทึกขอมูล ลงบันทึกเวลาของการกําเนิดคลื่นไหว<br />

สะเทือน (time break) เพื่อหาระยะเวลาที่คลื่นไหว<br />

สะเทือนเดินทางจากตนกําเนิดและสะทอนกลับขึ้นมา<br />

จากชั้นหิน (delayedd time or travel time) สําหรับ<br />

วิธีการทําใหเกิดคลื่นไหวสะเทือนมีวิธีการหลายวิธี คือ<br />

(1) การใชคอนทุบ (hammer blow)<br />

เปนวิธีการงายๆ<br />

ใชคอนทุบบนแผนเหล็กหนาที่วางบนพื้นดิน (2) การ<br />

ใชเครื่องทิ้งน้ําหนัก<br />

(weight drop) มีลักษณะการ<br />

ทํางานเหมือนคอน<br />

แตใชตุมน้ําหนััก 10-50 กิโลกรัม<br />

ตัวเครื่องจะยกตุมน้ําหนักขึ้นสูงจากผิวดิน 1.0-1.5<br />

เมตร<br />

แลวทิ้งตุมน้ําหนักลงบนแผนเหล็กหนา (3) การ<br />

ใชวัตถุระเบิด วิธีการจุดวัตถุระเบิดในการกําเนิดคลื่น<br />

ไหวสะเทือน โดยฝงระเบิดพรอมสายชนวนในหลุม<br />

ขนาดเล็กลึกระหวาง 2-20 เมตร นอกจากวิธีการทํา<br />

ใหเกิดเสียงดังกลาวแลว ยังมีวิธีการอื่นๆ อีกมากเชน<br />

air guns, oscillators, vibrators เปนตน<br />

หลักการสําคัญของการสํารวจดวย seismic<br />

refraction<br />

คือการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหว<br />

สะเทื ทือนแบบหักเห กลับมาจากชั้นดินชั้นหินที่ระดับ<br />

ความลึกตางๆ ดังนั้นประเด็นสําคัญของการสํารวจคื<br />

คือ<br />

ระยะทางและเวลา ตรงตําแหนงที่ทําใหเกิดคลื่นไหว<br />

สะเทือน ไมวาจะเปนตําแหนงที่วางแผนเหล็กหนา<br />

หรือตําแหนงของหลุมระเบิดจะตองทราบระยะหาง<br />

จากจุดตรวจวัดตางๆ ที่วางบนผิวดิน และเวลาในการ<br />

ทําใหเกิดคลื่นไหวสะเทื<br />

ทือนจะตองถูกบันทึกไวใน<br />

เครื่องบันทึกเวลา การทําใหเกิดคลื่นไหวสะเทือนไม<br />

วาดวยวิธีการใดจะมีสะพานไฟฟาสงสัญญาณ (time<br />

break switch) สงสัญญาณผานสายไฟฟาไปยังเครื่อง<br />

บันทึกเวลา ซึ่งจะบันทึกเวลาที่เริ่มตนการเกิดคลื่น<br />

ไหวสะเทือนและเวลาที่คลื่นไหวสะเทือนสะทอนกลับ<br />

ขึ้นมาจากผิวดินตามจุดสํ<br />

สารวจตางๆ ที่วางไวหางจาก<br />

shot points<br />

7.2 หัวรับคลื่นคลื่นไหวสะเทือน<br />

หัวรับคลื่นคลื่นไหวสะเทือน ( geophones)<br />

หรือหัวรับคลื่นไหวสะเทือน (seismometers) ที่ใชใน<br />

งานสํารวจ<br />

seismic survey บนผิวดิน ปลายดานลาง<br />

เปนเหล็กแหลมสําหรับปกกับพื้นดินที่ตําแหนงจุด<br />

สํารวจตางๆ หากเครื่องบันทึกรับสัญญาณไดเพียง 1<br />

ชองตัว (single channel seismographs)<br />

จะใชหัวรับ<br />

คลื่น เพียง 1 ตัวเทานั้น แตโดยสวนใหญสําหรับการ<br />

ใชงานทั่วไปจะใชเครื่อง<br />

multi-channel seismographs<br />

ซึ่งมักมีชองรับสัญญาณ 12-96 ชองและมีหัว<br />

รับคลื่น 12-96 ตัว แตละตัวมักจะปกตามจุดสํารวจ<br />

ตางๆ โดยระยะหางกันตามแตความลึกที่ตองการ<br />

สํารวจ สวนใหญจุดสํารวจจะอยูในแนวเสนตรง<br />

เดียวกันในลักษณะเปนการสํารวจแนว (seismic<br />

sections) (รูปที่ 1) ยกเวนกรณีการสํารวจแบบ fan<br />

shooting จะวางจุดสํารวจเปนแนวโคง ภายในตัวหัว<br />

รับคลื่น ประกอบดวยขดลวดและแทงแมเหล็ก มี<br />

ชองวางระหวางขดลวดกับแมเหล็ก (gap) โดยหัวรับ<br />

คลื่นจะทําหนาที่ดักจับสัญญาณคลื่นไหวสะเทือนที่<br />

หักเหและสะทอนกลับขึ้นมาจากชั้นหินใตผิวดิน เมื่อ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

54<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

รูปที่ 1 การวางตัวของจุดตนกําเนิดไหวสะเทือนและการสะทอนกลับของคลื่นไหวสะเทือน<br />

(ดัดแปลงจาก EPA, 1993)<br />

ปกอยูบนผิวดิน จะรับเฉพาะคลื่นไหวสะเทือนในสวน<br />

ที่วิ่งอยูในแนวระนาบเทานั้น<br />

(horizontal component)<br />

และแปลงคลื่ นไหวสะเทือนที่ ที่ไดรับใหเปนกระแสไฟฟา<br />

ไปยัง recorder ขีดความสามารถของหัวรัับคลื่น ใน<br />

การรับคลื่นไหวสะเทือนที่ระดับความถี่ตางๆ ขึ้นอยู<br />

กับความกวางของ gap และขนาดของขดลวด สําหรับ<br />

การสํารวจแบบคลื่นไหวสะเทือนสะทอนหักเห (seis-<br />

สัญญาณที่ไดรับจากแตละชองรับ เมื่อผาน<br />

ตัวกรองคลื่นไหวสะเทือนและขยายสัญญาณแลว<br />

จะ<br />

แสดงผลเปนเสนกราฟบนจอภาพ ผูปฏิบัติงาน<br />

สามารถตรวจสอบความคมชัดของเสนกราฟตางๆ<br />

และสามารถปรับแตง ทั้งเครื่องขยายและเครื่องกรอง<br />

คลื่นของแตละชองสัญญาณไดอีกครั้ง หากปรับแตง<br />

แลวยังไมพอใจ สามารถสั่งการใหทําซ้ําที่จุดเดิม<br />

เชน<br />

mic refraction) ซึ่งเปนการสํ สํารวจระดับตื้นจะใชหัวรับ<br />

ตอกคอน หรือ weight drop ใหมอีกครั้งที่จุดเดิม<br />

คลื่นที่มีความถี่ระหวาง10 - 30 เฮิรทซ<br />

7.3 เครื่องบันทึกสัญญาณคลื่นไหวสะเทือน<br />

เครื่องบันทึกสัญญาณคลื่นไหวสะเทือน<br />

(seismograph) ประกอบดวยสวนสําคัญตางๆ คือ<br />

เครื่องกรองคลื่น (filters) ทําหนาที่เปนตัวกรองและ<br />

ตัดคลื่นรบกวน เครื่องขยายสัญญาณ (amplifiers)<br />

(staking) โดยสัญญาณจากการทําซ้ําครั้งที่ 2-3-4<br />

จะ<br />

ไปสะสมกับสัญญาณครั้งที่ 1 ทําใหสัญญาณมีความ<br />

เข ขมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

จนกวาผูปฏิบัติ ติงานจะพอใจผลการ<br />

สํารวจที่เห็นบนจอภาพ ผูปฏิบัติงานสามารถสั่งให<br />

recorder บันทึกขอมูลดังกลาวไว<br />

พรอมทั้งสามารถสั่ง<br />

ให หพิมพขอมูลจากเครื่องพิมพ<br />

ปจจุบันอาจมีชองรับสัญญาณถึง 96 ชองแต ตละชองจะ 8. การสํารวจดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นไหว<br />

รับและขยายสัญญาณคลื่นที่ไดรับจาก หัวรับคลื่น แต สะเทือนแบบหักเห<br />

ละตัว และชองรับสัญญาณจาก time break<br />

switch 8.1 บทสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีคลื่นไหวสะเทือนน<br />

ตางหากอีก 1 ตัว ทําหนาที่ขยายสัญญาณใหมากขึ้น<br />

และกฎของสเนลลล<br />

นอกจากนี้ยังมีสวนประกอบอื่นๆ คือเครื่องบันทึก<br />

เอกสารคูมือฉบับนี้ไมครอบคลุมราย<br />

สัญญาณ จอภาพ และเครื่องพิมพผล<br />

ละเอียดภาคทฤษฎีการสํารวจตรวจวัดคลื่นไหว<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

55<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สะเทื ทือนแบบหักเหห ซึ่งเริ่มตนจากทฤษฎีของคลื่น<br />

(wave theory) และ Snell’s Law แตจะสรุปเฉพาะ<br />

สวนที่เกี่ยวของ ทั้งนี้เพื่อใหผูใชคูมือฉบับนี้สามารถ<br />

คนควาไดดวยตนเองจากเอกสารตางๆ จึงนําเสนอ<br />

ตําราและเอกสารทางเทคนิคที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้<br />

Auld, B.A., 1990. “Acoustic Fields and<br />

Wave in Solids” Vol I and II 2nd<br />

Rev. Robert E.<br />

Kreiger Publishing,<br />

Malabar<br />

Bland, D.R., 1990 .“Wave Theory and<br />

Applications” Oxford University Press, New York.<br />

Davis, J.L., 1988. “Wave Propagation in<br />

solids and Fluids” Springer Verlag, New York.<br />

Hawkins, L.V., 1961. “The Reciprocal<br />

Method of Routine Shallow Seismic Refraction<br />

Investigation” Geophysics 26:806-819<br />

O’Brien, K.M., and Stone, J.W., 1985.<br />

“Role of Geological and Geophysical Data in<br />

Modeling an alluvial Basin, Southwest New<br />

Maxico In: Conference on Surface and Borehole<br />

Geophysical<br />

Methods<br />

and Groundwater<br />

Investigation” National Water Well Association,<br />

Dublin.<br />

Stierman, D.J., and Ruedisili, L.C.,<br />

1986. “The Application of Surface Geophysics to<br />

Mapping Hydrogeological Conditions of a<br />

Glaciated Area in Northwest Ohio, In: Proc. on<br />

Surface and Borehole Geophysical Methods and<br />

Groundwater Instrumentation”<br />

National Water<br />

Welll Association, Dublin<br />

Van Overmeeren, R.A. , 1981. “Combi-<br />

and Gravity Measurements for Groundwater<br />

Exploration in Sudan” Geophysicss 46:1304-1313.<br />

nation of Electrical Resistivity, Seismic Refraction,<br />

Worthington, P.F., 1975. “Procedures<br />

for the Optimum Use of Geophysical Methods in<br />

GroundWater Development Programs” Ass. Eng.<br />

Geol. Bull.<br />

Zohdy, A.A., Eaton, G.P., and Mabey,<br />

D.R., 1974. “Application<br />

of Surface Geophysics to<br />

Ground-Water Investigations” US.GS. Techniques<br />

of Water Resource Investigation.<br />

คลื่นจากแหลงกําเนิดคลื่นไหวสะเทือนบน<br />

ผิวดินมีคลื่นประเภทตางๆ 3 ประเภทแผกระจายตัว<br />

(wave propagations) ออกจากจุดกําเนิดคลื่นเปน<br />

รูปทรงกลมเรียกวา body wave โดยมีจุดกําเนิดเปน<br />

จุดศูนยกลางคลื่นทั้ง 3 ประเภท ใน body<br />

wave คือ<br />

(1) Primary wave หรือ<br />

Compressivee wave (P-<br />

wave (S-<br />

wave) (2) Secondary wave หรือ Shear<br />

wave) และ (3) Rayleigh<br />

wave หรือ Surface wave<br />

(R-wave)<br />

Primary wave<br />

(P-wave) มีลักษณะการ<br />

เคลื่อนที่ในทิศทางที่ตั้งฉากกับ wave front เหมือนกับ<br />

คลื่นไหวสะเทือนในอากาศ เปนคลื่นไหวสะเทือนที่มี<br />

การเคลื่อนที่เร็วที่สุด และเปนคลื่นชนิ นิดเดียวที่ใช<br />

ตรวจวัดโดยวิธี seismic survey และจะถูกดักจับเมื่อ<br />

คลื่นตัวแรกเคลื่อนที่มาถึง<br />

(first arrival) โดยความเร็ว<br />

ของคลื่นไหวสะเทือน P-wave (V P ) ขึ้นอยูกับตัวกลาง<br />

(media) ที่คลื่นไหวสะเทือนวิ่งผาน ซึ่งถูกควบคุมดวย<br />

คุณสมบัติของตัวกลาง 3 ประการ คือ bulk modulus<br />

(k), shear modulus (n) และ density ( ρ) หรือ V P =<br />

[(k + 4n/ /3)]/ρ ความเร็วของ P-wave ที่วิ<br />

่งผานชั้นหิน<br />

ชนิดตางๆ<br />

สรุปไวในตารางที่ 1<br />

คลื่น P-wave จากจุดกําเนิ นิดคลื่นจะวิ่ง<br />

กระจายตั ตัวออกจากจุดกําเนิดเปนรัศมีทรงกลม คลื่น<br />

สวนหนึ่ง (direct wave) จะวิ่งเปนแนวระนาบจากจุด<br />

กําเนิดผานตัวกลางคือชั้นดินดวยความเร็<br />

ร็ว V 1 ไปยัง<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

56<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 1 ความเร็วคลื่นไหวสะเทือนที่วิ่งผานชั้นดินชั้นหินและวัตถุตัวกลาง<br />

หินรวน<br />

ดินเหนียว ทรายแปง ทราย<br />

และกรวด (แหง)<br />

ดินเหนียว ทรายแปง ทรายและกรวด (อิ่มดวยน้ํา) 1.5 - 2.0 น้ําแข็ง<br />

หินตะกอน<br />

ชนิดดิน-หินน<br />

ความเร็วคลื่น<br />

(เมตร/มิลลิวินาที)<br />

0.2 - 0.4 อากาศ<br />

1.5 - 2.0 น้ํา<br />

ชนิดของ<br />

วัตถุตัวกลาง<br />

2.0 - 2.5 คอนกรีต<br />

ความเร็วคลื่น<br />

(เมตร/มิลลิวินาที)<br />

(จาก Milsom<br />

,1989)<br />

หินแปรและหินอัคนีมีรอยแตก<br />

2.5 - 3.7<br />

หินแปรและหินอัคนีเนื้อแนน<br />

4.5 - 6.0<br />

เหล็ก<br />

5.9<br />

หัวรับคลื่น S และ P-wave อีกสวนหนึ่งจะวิ่ ิ่งลึกลงไป<br />

ในชั้นหินชั้ันที่หนึ่งทแยงเปนมุมพอดี<br />

(θ) ดวย<br />

แนวสํารวจเปนแนวเสนตรง (seismic sections)<br />

รายละเอียดตอไปนี้<br />

ดัง<br />

ความเร็ว V 1 ไปจนถึงแนวรอยตอกับชั้นหิน (first (1) การสํารวจแบบ fan shooting เปน<br />

interface) คลื่นสวนหนึ่งจะถูกสะทอนกลับขึ้นสูผิวดิน<br />

ดวยความเร็วเดิม (reflected<br />

wave) โดยมีมุมตก<br />

กระทบเทากัับมุมสะทอนตามม Snell’s Law คลื่นไหว<br />

วิธี ธีการสํารวจเพื่อจัดเก็บขอมูลเบื้้องตนใชในบางกรณี<br />

เทานั้น เชน การคนหาแนวทางน้ํายุคเกา (paleo-<br />

channels) หรือแนวรอยเลื่อนในพื<br />

พื้นที่สํารวจ สมมติวา<br />

สะเทือนอีกสวนหนึ่งเมื่อเดินทางถึง first interface พื้นที่สํารวจเปนรู<br />

รปสี่เหลี่ยมจัตุรััสและมีธารน้ําใตดิน<br />

ดวยความเร็ว V 1 จะถูกหักเหใหวิ่งขนานไปบนแนว<br />

รอยตอดวยความเร็ว V 2 ไปพรอมกับบางส<br />

สวนถูกหัก<br />

ไหลผานพื้นที่ตรงมุมดานทิศตะวันออกเฉียงเหนืออ จะ<br />

วางหัวรับคลื่น เปนรูปโคงมีมุมใดมุมดานทิศตะวัันตก<br />

เหขึ้นสูผิวดินไปยัง หัวรับคลื่นs<br />

ดวยความเร็ว V 1 เฉี ฉียงใตของพื้นที่สํารวจใหเปนจุดศูนยกลางและเปน<br />

คลื่นไหวสะเทือนสวนนี้คือคลื่นไหวสะเทือนหักเห<br />

(refracted wave or head wave) โดยคลื่น<br />

P-wave<br />

shot point ของการสํารวจโดยหัวรับคลื่น ทุกตัวจะวาง<br />

หางจาก shot point ในระยะเทาๆ<br />

กัน ในลักษณะเปน<br />

สวนนี้จะเปนสวนที่นํามาใชประโยชนในการสํารวจ<br />

รัศมีจากจุดศูนยกลางระหวางหัวรับคลื่นs กับ shot<br />

ดวย seismic<br />

refraction method<br />

8.2 การสํารวจภาคสนาม<br />

point จะมีระยะหางประมาณ 3 เท ทาหรือมากกวา ความ<br />

ลึกของแนวโครงสรางที่ตองการคนหา (รูป 2) ซึ่งจะ<br />

8.2.1 วิธีการจัดเก็บขอ<br />

อมูลภาคสนาม<br />

เห็นไดวาหากสํารวจดวย fan shooting ตามแนวสํารวจ<br />

การสํารวจดวยวิ<br />

ธี seismic refraction สวน<br />

AB<br />

จะมี หัวรับคลื่นs รับคลื่นไหวสะเทือนหักเหจาก<br />

ใหญจะใชเครื่องสํารวจแบบ multi-channel ซึ่งมีชองรับ<br />

berried channel ถึง 5 ใน 12 ตัวจากการทําใหเกิดคลื่น<br />

สัญญาณและ<br />

หัวรับคลื่นs ระหวาง 12 ถึง 96 ตัว มี<br />

ไหวสะเทือนเพียงครั้งเดียวที่ shot point “S” ในขณะ<br />

วิธีการจัดเก็บขอมูล 2 วิธีคือ การสํารวจแบบจัดแนว<br />

เดียวกันหากวางหั<br />

หัวรับคลื่น เปนแนวตรง ไมวาจะเปน<br />

สํารวจโคงรูปพัด (fan shooting) และการสํารวจแบบจัด<br />

แนวเหนือใตหรือตะวันออกตะวันตกก็ตามหากโชคไมดี<br />

0.34<br />

1.47<br />

3.2<br />

3.1<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

57<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


้<br />

รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

จะไมมีหัวรับคลื่น ตััวใดรับคลื่นไหวสะเทือนหักเหจาก<br />

berried channel เลย<br />

11<br />

12 B<br />

10<br />

9<br />

8<br />

Berried channel 7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

Geophone<br />

1<br />

A<br />

Shot point “S”<br />

รูปที่ 2 การสํารวจแบบ fan shooting เปรียบเทียบบ<br />

การการสํารวจแบบ seismic<br />

section<br />

(2) การสํารวจแบบ seismic section เป ปน<br />

วิธีการสํารวจที่ใชทั่วไป โดยการวางหัวรับคลื่น ทั้งหมด<br />

ใหอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน ในกรณี ณีที่ชั้นดินชั้นหินใต<br />

ผิวดินมีแนวตอราบเรียบและวางตัวในแนวระ นาบ เชน<br />

ระดับน้ําบาดาลในพื้นที่ราบเปนตน และตองการสํารวจ<br />

ความลึกของแนวรอยตอระหวางชั้นทรายแหงและทราย<br />

อุมน้ํ น้ํา อาจมี shot point เพียงที่เดี ดียวจะเปนดานหัว<br />

หรือดานทายของแนววางหัวรับคลื่นน ก็ได แตโดยสวน<br />

ใหญจําเปนตองมี shot points ทั้งหัวและทายแนวหรือ<br />

การทํา reversed seismic section เพื่อหาแนวรอยตอ<br />

ของชั้นหินใตดินที่วางตัวเอียง หรือแนวรอยตอของชั้น<br />

หินที<br />

่มีแนวรอยตอแบบขรุขระ และบางครั้งอาจ<br />

จําเปนตองทํา multiple shot point section สําหรับการ<br />

แปลความหมายขอมูลการสํารวจที่ยุงยากกวานี้<br />

ตัวอยางเชน ใน 3-layer irregular interface model อาจ<br />

จําเปนตองมี 7 shot points ในแนวสํ สํารวจแนวเดียวกัน<br />

เพื่อแปลความ หมายหาความลึกความหนาของ<br />

seismic layers ทั้งสามชั้นดังกลาว แตโดยทั่วๆ ไปการ<br />

สํารวจดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห เปนการสํารวจระดับตื้นความลึกไม<br />

เกิน 30 เมตรและหาความลึกความหนาของชั้นดินชั้น<br />

หินใตดินไมเกิน 3ชั้น<br />

8.2.22 วิธีการจัดวางหัวรับคลื่น<br />

โดยปกติความยาวของแนว seismic<br />

section มักจะยาวประมาณ<br />

3 เทาของความลึกของการ<br />

สํารวจ สมมติวาตองการสํารวจความลึกประมาณ 30<br />

เมตร ความยาวของ seismic sectionจะตองยาวไมนอย<br />

กวา 100 เมตร ในการวางหัวรับคลื่นตามแนว seismic<br />

section ซึ่งวางเปนแนวยาวเปนเสนตรงเดียวกัน<br />

ระยะหางระหวางหัวรับคลื่นแตละตัวไมจําเปนตอง<br />

เทากัน โดยสวนใหญมักวางคอนขางถี่ตรงบริเวณหัว<br />

ทาย สวนตรงกลาง section<br />

มักจะวางหางกวา ทั้งนี้<br />

ตองการใหหัวรับคลื่น 1-2<br />

ตัวแรกสามารถรับคลื่นไหว<br />

สะเทือนหัักเหกลับขึ้นมาจากแนวรอยตอระหวางชั้นหิน<br />

ชั้นแรก<br />

หัวรับคลื่นทุกตัวจะตองปกลึกลงไปในผิว<br />

ดินใหแนนน เมื่อตอสายไฟฟาจากหัวรับคลื่นเขาเครื่อง<br />

seismograph<br />

แลว กอนเริ่มสํารวจใหเป<br />

ปดเครื่องและ<br />

ตรวจสอบการทํางานของ<br />

หัวรับคลื่น แตละตัวรวมทั้ง<br />

time-break switch ดวยวาทํางานไดดีตามปกติ โดยให<br />

คนเดินขางๆ หัวรับคลื่นแตละตัว และทดลองกด timebreak<br />

switch หากทํางานตามปกติ<br />

ติจะแสดงการ<br />

เคลื่อนที่ของเสนกราฟบนจอ พรอมกันนี นี้จะปรับแตง<br />

ความไวในการรับคลื่นไหวสะเทือนของหัวรับคลื่นแตละ<br />

ตัวจาก amplifiers<br />

ของเครื่อง seismograph<br />

โดย<br />

ปรับแตงหั หัวรับคลื่นตัวที่อยูใกล shot point ใหมีความ<br />

ไวต่ําขณะที่ตัวที่อยูใกลออกไปจะคอยๆ<br />

เพิ่มความไว<br />

มากขึ้น<br />

เมื่อเตรียมการทุกอยางเรียบรอย การ<br />

สํารวจตองหาจังหวะที่มีเสียงรบกวนนอยที<br />

ที่สุด เชนไมมี<br />

รถวิ่งผานหรือคนเดินผานใกลแนวสํารวจ แลวเริ่มทําให<br />

เกิดคลื่นไหวสะเทือนตรงจุด shot point ซึ่งอาจเปน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

58<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คอนทุบบนแผนเหล็ก หรือใชเครื่องทิ้งน้ําหนัก หรือ<br />

การจุดวัตถุระเบิด ระหวางนี้ใหสังเกตบนจอภาพดูการ<br />

ตอบสนองของหัวรับคลื่นทุกตัววาทํางานปกติ และ<br />

สามารถปรับแตงโดยเพิ่มสัญญาณที่ไดรับใหเสนกราฟ<br />

แตละเสนชัดเจนยิ่งขึ้น หากปรับแตงสัญญาณแลวยังไม<br />

เปนที่พึงพอใจ สามารถทําใหเกิดคลื่นไหวสะเทือนตรง<br />

จุด shot point เดิมไดอีก (staking) เพื่อเพิ่ม<br />

สัญญาณเสียงจากการใหกําเนิดคลื่นครั้งแรก<br />

8.2.3 ขอมูลที่ไดจากก<br />

ารสํารวจภาคสนาม<br />

ผลที่ไดจากการส<br />

สํารวจภาคสนาม<br />

คือกราฟ<br />

บันทึกเวลา (seismograms) ซึ่งเปนกราฟแสดงการ<br />

บันทึกเวลาตางๆ ดังนี้ ทันที ทีที่ทําใหเกิดเสียงตรงจุด<br />

กําเนิดคลื่นน สะพานไฟฟาจะตอครบวงจรและสง<br />

สัญญาณตามสายไฟฟาไปบันทึกเวลา (time-break<br />

signal) บนกราฟบันทึกเวลา และบันทึกเวลาที่ไดรับ<br />

สัญญาณจาก<br />

หัวรับคลื่นแตละตัวจะประกอบดวยคลื่น<br />

ไหวสะเทือนตางๆ คือ จาก หัวรับคลื่นs ที่ใกลจุด<br />

กําเนิดคลื่นจะเปน direct wave ที่เดินทางขนานผิวดิน<br />

ผานชั้นหินบนสุดดวยความเร็ว V 1 เมื่อรูเวลาที่ใชไปใน<br />

การเดินทางและรูระยะทางจากจุดกําเนิดคลื่นไหว<br />

สะเทือน ยอมคํานวณหาคา V 1 ได ที่ หัวรับคลื่นs ตัวที่<br />

หางออกไปจากจุดกําเนิดคลื่นไหวสะเทือน จะสง<br />

สัญญาณการรับคลื่นไปบันทึกในกราฟบันทึกเวลา เปน<br />

คลื่นไหวสะเทือน refracted wave หรือ head<br />

wave ที่<br />

หักเหจากชั้นหินใตผิวดิน โดยเดินทางดวยความเร็ว V 1<br />

เปนมุมทแยง<br />

(critical angle, θ C ) ลึกลงไปใตผิวดิน<br />

จนถึงแนวรอยตอระหวางชั้ันหิน คลื่นจะถูกหักเหให<br />

เดินทางดวยความเร็ว V 2 ผานชั้นหินที่สองที<br />

่อยูลึกลง<br />

ไปถัดจากชั้ั้นหินชั้นแรกและหักเหกลับสูผิวดินและ<br />

เดินทางดวยความเร็ว V 1 ผานชั้นหินชั้นแรก<br />

จากขอมูลดังกล<br />

ลาว คือขอมูลระยะเวลาที่<br />

คลื่นไหวสะเทือนสะทอนกลับ หากการสํารวจใช<br />

เครื่องรับสัญญาณ 24 ชองจากชองที่ 1 ถึงชองที่ 24<br />

ตั้งแตเริ่มใหกําเนิดคลื่นไหวสะเทือนก็คือขอมูลในดาน<br />

เวลาที่ใชในการเคลื<br />

ลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือน (time, T)<br />

ประกอบกับขอมูลตําแหนงจุดปก<br />

หัวรับคลื่นs ตางๆ<br />

(รูปที่ 1) และระยะหางจาก shot point อันเปนขอมูล<br />

ระยะทาง (distant, X) เมื่อขอมูลทั้งสองนํามาพล็อตใน<br />

arithmetic paper โดย T อยูในแกนตั้ง หนวยเปนน ms.<br />

และ X อยูในแกนนอนหนวยเปนเมตร ก็จะได<br />

T-X<br />

graph หรือ seismic model ของแนวสํารวจดังกลาว<br />

จาก T-X graph ซึ่งโดยสวนใหญจะมีการทํา reverse<br />

seismic section คือ ตําแหนง หัวรั รับคลื่นs ตางๆ จะอยู<br />

ที่เดิมและมีจุดกําเนิดคลื่น 2 จุดคือดานหัวและดานทาย<br />

ของ หัวรับคลื่นs section จะไดกราฟบันทึกเวลา 2 ชุด<br />

สามารถนํามาพล็อต T-X graphs และคํานวณหาความ<br />

ลึกความหนาของชั้นหินใตผิวดินตามรูปแบบ (seismic<br />

models) ตางๆ (รายละเอียดในหัวขอ 8.3)<br />

8.3 การแปลความหมายขอมูล<br />

ในการแปลความหมายขอมูล seismic<br />

refraction เปนการแปลความหมายเพื่อหาคาความ<br />

หนา (thickness, h) และคาความเร็วคลื่น (velocity,<br />

V) )ที่วิ่งผานชั้นหินตางๆ ใตผิวดิน โดยคาที่ไดจากการ<br />

แปลความหมายเปนคาที่แทจริ<br />

ริง ดังนั้น การแปล<br />

ความหมายขอมูล<br />

จําเปนตองวิเคราะหขอมูลจากการ<br />

สํารวจภาคสนามรวม 4 ประการคื คือ (1) รูปแบบหรือ<br />

seismic models ของแนวสํารวจ<br />

(T-X graph) (2)<br />

วิธี ธีการแปลความหมาย (interpretation methods) ซึ่ง<br />

แบงออกแบงออกเปน 3 กลุมใหญๆ คือ (1) Time-<br />

Intercept Method (T I ) ซึ่งสามารถแปลความหมาย<br />

ขอมูลจาก seismic<br />

models ที่งายๆ โดยอาศัย<br />

หลักการทางคณิตศาสตร กระดาษกราฟ ดินสอและ<br />

เครื่องคิดเลข (2) กลุม Reciprocal or Delay Time<br />

Methods สามารถแปลความหมายขอมูลการสํารวจ<br />

ของ seismic models เกือบทุกรูปแบบยกเวนรูปแบบ<br />

ที่ซับซอนมากแตบางรูปแบบจําเปนตองพึงพา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

59<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

โปรแกรมทางคอมพิวเตอรและ (3) กลุม Ray-Tracing<br />

Method เปนวิธีการแปลความหมายของกลุม seismic<br />

models ที่ยุงยากมากๆ ดังบทสรุปดัังนี้<br />

8.3.1 การแปลความหมายขอมูลโดย Time-<br />

Intercept Method<br />

เปนวิธีการแปลความหมายขอมูลการ<br />

สํารวจสําหรับ seismic<br />

models รูปแบบทีงายๆ<br />

โดยเฉพาะแนวรอยตอระหวางชั้นหิ<br />

หินใตดินเปนแนว<br />

ราบเรียบ (plane interface models) ดังตัวอยางการ<br />

แปลความหมายรูปแบบ single horizontal<br />

plane<br />

model (รูปที่ 3)<br />

จากรูปที่ 3 ระยะจากจุดกําเนิดคลื่น ( S)<br />

ถึงหััวรับคลื่น ตัวที่122 (G) ระยะ SG=<br />

X<br />

(1) travel time (t) สําหรับ direct wave<br />

t = SG/V 1 X/V 1<br />

(2) สําหรับ head wave<br />

คลื่นไหวสะเทือน<br />

จะวิ่งจากจุดกําเนิดคลื่น (S) ไปสูจุด<br />

P ดวยความเร็ ร็ว<br />

V 1 วิ่งจากจุด P ไปจุด Q ดวยความเร็ว V 2 และวิ่งจาก<br />

จุด Q เขาสูหัวรับคลื่น (G) ดวยความเร็ว V 1 หรือ t =<br />

(SP/V 1 )+(PQ/V 2 )+(QG/V 1 ) แต SP = QG = SS’/cosθ c<br />

= h/cosθ c และ PQ=S’G’-S’P-QG’ หรือ<br />

PQ = SG-SS’tanθ c -GG’ tanθ c =X-2h tanθ c ดังนั้น<br />

2/ cos 1/ 2 tan <br />

X/ 2h/ 1/ cos V tan / <br />

Intercept Time (IT) คื คอ เวลาที่ใชไปของ<br />

คลื่นไหวสะเทือนที่วิ่งดวยความเร็ว<br />

V 1 ในชวงระหวาง<br />

SP และ GQ โดยที่ cos ดังนั้น<br />

2 cos / 2/ cos หรือ<br />

h /21 / <br />

สําหรับขั้นตอนการแปลความหมาย single<br />

horizontal plane model ไดสรุปไวในรูปที่ 3 การแปล<br />

ความหมายขอมูลการสํารวจที่เปนรูปแบบ<br />

plane inter-<br />

face models อื่นๆ ไมวาจะเปน multiple<br />

horizontal<br />

plane หรือ<br />

single inclined<br />

plane หรือ multiple inclined<br />

plane มีความเปนมาของสูตรที่ใชในการคํานวณ<br />

คลายคลึงกับสูตรของ single horizontal plane model<br />

ดังกลาวข ขางตนและไมนําเสนอในเอกสารนี้ แตไดสรุป<br />

ขั้นตอนและวิธีการการแปลความหมายพรอมสูตรการ<br />

คํานวณไวดังนี้<br />

การขยายจํานวนชั้นเปน<br />

(n+1) layer<br />

interface<br />

3 rd head wave: / 2 cos , / <br />

2 cos , / 2<br />

cos , / <br />

n th head wave:<br />

/ 2 cos / <br />

8.3.2<br />

การแปลความหมายขอมูลดวยกลุมวิธี<br />

Reciprocal Methods<br />

เปนวิธีการแปลความหมายขอมูลการ<br />

สํารวจสําหรับ seismic models เกือบทุกรูปแบบ โดย<br />

กลุมวิธีการนี้มีวิธีการแปลความหมายขอมูลมากกวา<br />

20 วิธี สําหรับวิธีที่ประยุกตใชในดานการสํารวจทาง<br />

อุทกธรณีวิ วิทยา ซึ่งมักเปนรูปแบบที่คอนขางงาย โดยมี<br />

วิธีการแปลความหมาย 2 วิธีดวยกันคือ delay time<br />

(plus and<br />

minus method) และ simple<br />

reciprocal<br />

method (EM 1110-1-1802, 1995) การแปลความหมาย<br />

ในกลุมวิธี<br />

reciprocal methods จําเปนตองทํา reverse<br />

seismic sections และหาเวลาที่คลื่นไหวสะเทือนเดิน<br />

ทางผานตัวกลางจาก shot<br />

point หนึ่งไปอีก shot point<br />

หนึ่ง (reciprocal time or end to end time, T 0 ) ดัง<br />

รายละเอียดรูปแบบตอไปนี<br />

นี้ คือ<br />

<br />

<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

60<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

Time (m s )<br />

Time (ms.)<br />

1N 3 (Secound<br />

T i<br />

G1<br />

T<br />

P Depth (m)<br />

Direct wave = 1/V 1<br />

G2 G3<br />

G10<br />

G<br />

T T<br />

1. พล็อต T-X graph ในกระดาษกราฟ<br />

2. ใน seismic model นี้จะไดเสนตรง 2 เสน เสนที่<br />

ทํามุมชันกวา เปน direct wave สวนอีกเสนเปน<br />

head wave<br />

3. วัด Gradients จาก direct wave และ head<br />

wave<br />

จะไดคา 1/V 1 1/V 2 ⇒ V 1 และ V 2<br />

4. อานคา intercept time ( T i ) จาก time scale<br />

5. คํานวณความลึกถึง interface (h) จาก<br />

h = VT<br />

/ 2<br />

h<br />

2<br />

V1 i<br />

1−(<br />

V 1<br />

head wave = 1/V 2<br />

/ V )<br />

รูปที่ 3 รายละเอียดของ T-X graph และการแปล<br />

ความหมายรูปแบบ<br />

single horizontal<br />

plane model<br />

(1) รูปแบบ multiple inclined plane<br />

model อาจแปลความหมายขอมูลไดดวยวิธี Time-<br />

Intercept Method และ Delay-Time Method<br />

ขั้นตอนการแปลค<br />

ความหมาย<br />

(1.1) การตรวจสอบและอานคาจาก<br />

T-X graph<br />

(1.1.1) ตรวจสอบ end to end times (T)<br />

จาก T-X graph โดย <br />

และ ,<br />

(การเดินทางของง head wave จาก A ไปสู<br />

B และจาก B ไปสู A ใชเวลากัน)<br />

2<br />

2<br />

G12 (G)<br />

T<br />

Distance (m)<br />

θ<br />

Q<br />

h<br />

h<br />

t<br />

t<br />

1 S<br />

1N 1 (Direct<br />

θ 1,<br />

θ 1,2 ,<br />

S A' B'<br />

1. วัด slope ของ direct wave และ 1 st & 2 nd<br />

head waves<br />

⇒ V 1 V 2 V 3<br />

2. คํานวณ critical angles θ 1, 2 = sin -1 (V 1 / V 2 )<br />

θ 2, 3 = sin -1 (V 2 / V 3 ) และ θ 1, 3 = sin -1 (V 1 / V 3 )<br />

3. อานคา intercept time จาก time scale ไดคา<br />

T 1 และ T 2<br />

4. คํานวณความหนา h 1 และ h 2 จาก<br />

h 1 = V 1 T 1 / 2cosθ 1, 2<br />

h 2 = V 2 / 2cosθ 2, 3 {T 2 - (2h 1 cosθ 1, 3 )}<br />

รูปที่ 4 รายละเอียดของ T-X graph และการแปล<br />

ความหมาย<br />

รูปแบบ multiple horizontal<br />

plane model<br />

(1.1.2) มุมเอียงเท (dip angle, α) หมุน<br />

ตามเข็มเปนบวก ทวนเข็มเปนลบ<br />

(1.1.3) คํานวณ V 1 จาก head wave’s<br />

slopes คา V 1d<br />

ควรมีคาเทากัน (หากไมเทากันใหใช<br />

คาเฉลี่ย)<br />

(1.2) การหาความลึก interface ที่ 1<br />

(1.2.1) หา จาก slopes 2 nd head<br />

wave โดยวัด 1/ และ 1/ โดย<br />

1/ 1/21/ 1/ <br />

(1.2.2) คํานวณ ,<br />

จาก<br />

,<br />

1N 2 (First Head Wave)<br />

)<br />

V 1<br />

sin / <br />

1<br />

V2<br />

2<br />

V 3<br />

C'<br />

D'<br />

θ 3,<br />

G<br />

D<br />

ไดคา ,<br />

V1 < V2


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

1. จําเปนตองทํา reverse seismic section<br />

2. วัด slope ของ direct wave และหาคาา V 1<br />

3. วัด slope ของ head waves (ทั้ง up dip side และ<br />

down dip side) แลวหาคา V 2d และ V 2u<br />

4. คํานวณ critical angle, dip angle จาก<br />

V 2d = V 1 /sin( θ C + α ); V 2u = V 1 /sin( θ C - α ) แต<br />

θ C + α = θ 1, 2d = sin -1 (V 1 /V 2d ) ; θ = sin -1 c - α = θ 1, 2u<br />

(V 1 /V 2u )<br />

ดังนั้น θ C = (θ 1,2d + θ 1,2u ) และ<br />

α = (θ 1,2d - θ 1,2u u)<br />

5. วัดคา intercept time (up & down dip<br />

sides) จาก head<br />

wave segments ได ดคา T 1d และ T 1u<br />

6. หาความหนาที่ A และ B (เปนความหนาตั้งฉากกับ<br />

interface) จาก T 1d = 2h d / V 1 cosθθ c และ<br />

t 1 u = 2h u / V 1 cosθ c<br />

7. ตรวจสอบมุม Dip Angle จาก sinα = (h u - h d ) / L<br />

รูปที<br />

่ 5 รายละเอียดของ T-X graph<br />

และวิธีการแปล<br />

ความหมาย รูปแบบ single inclined plane model<br />

รูปที่ 6 รายละเอียดของ T-X graph และวิธีการแปล<br />

ความหมาย รูปแบบ multiple inclined plane model<br />

(1.2.3) คํานวณความหนาของชั้นที่ 1 ทั้ง<br />

ที่ up & down dip sides<br />

interface<br />

interface<br />

h V /2cos , ,<br />

h V /2 cos ,<br />

(1.2.4) คํานวณ dip angle ของ first<br />

จาก 1<br />

sin<br />

1 1<br />

1<br />

<br />

(1.3) การหาความหนาของ<br />

/<br />

second<br />

(1.3.1) หาคา V 3 จากคาเฉลี ลี่ย V 3d และ<br />

V :V 1/1/2 <br />

(1.3.2) คํานวณ θ , sin<br />

/ ,<br />

θ , sin<br />

n / ไดคา θ , และ θ ,<br />

(1.3.3) คํานวณความหนาของชั้นที่ 2 ทั้ง<br />

ที่ up & down dip sides (hh ,h ) จากสมการดังนี้<br />

h /2 cos , 2 cos ,/ และ<br />

h /2 cos , 2 cos ,/ <br />

(1.3.4) คํานวณ dip angle ของ second<br />

interface จาก sin /<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

62<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(1.4) การหาความหนา (n-1) th interface<br />

(1.4.1) หาคา จากคาเฉลี่ย และ<br />

V :V 1/ /1/2 <br />

(1.4.2) คํานวณ<br />

θ , sin <br />

/ ,<br />

θ , sin / … , sin / <br />

(1.4.3) คํานวณความหนาของชั้นที่<br />

, <br />

จากสมการดังตอไปนี้<br />

, ∑ <br />

2 / cos <br />

2 / cos ,<br />

(1.4.4) คํานวณ<br />

dip angles ตางๆ ของ<br />

(n-1) th interface จาก<br />

( sin /<br />

, และ<br />

(2) รูปแบบ single<br />

irregularr<br />

model<br />

รูปแบบนี้จําเปนตองทํา reverse seismic section และ<br />

แปลความหมายดวยวิธี delay time method แตไม<br />

จําเปนตองใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ความเป ปนมาของ<br />

สูตรที่ใชในการคํานวณสามารถพิสูจนไดดวยวิธีการ<br />

ทางคณิตศาสตรที่ไมซับซอนมากนัก โดยเริ่มตนจาก<br />

ตารางบันทึกเวลาที่ไดจากการสํารวจภาคสนามนํามา<br />

คํานวณหาคาตางๆ ดังแสดงในตารางที่ 3 คา X AG เปน<br />

ระยะหางระหวาง หัวรับคลื่น ถึงจุดกําเนิดคลื่น A. สวน<br />

t AG และ t BG<br />

เปนเวลาที่ หัวรับคลื่น รับสัญญาณคลื่น<br />

ไหวสะเทือนจากถึงจุดกําเนิดคลื่น A และ B ตามลําดับ<br />

สวน และ<br />

คํานวณหา และ หรือความลึกถึง interface ที่จุด<br />

วางหัวรับคลื่น<br />

S ตางๆ<br />

- วิธีการแปลคาา<br />

- พล็อต T-X graph ( , และ )<br />

คํานวณ จาก slope ของ direct wave<br />

- ในชวงระหวางง <br />

คํานวณ และ (ตารางที่ 5)<br />

- พล็อตคา และ คํานวณ <br />

และ slope ของเสนกราฟ<br />

- คํานวณ θ และคา<br />

K = delayed<br />

time/depth factor /cos <br />

- คํานวณ delayed times ที่จุดตางๆ<br />

<br />

1/2 <br />

- คํานวณความหนาของ first layer ที่ จุด<br />

ตางๆ / cos <br />

- sketch profile ของ จาก <br />

0 <br />

8.3.3 การแปลความหมายข<br />

ขอมูลดวยกลุมวิธี<br />

กลุม ray-tracing method<br />

การแปลความหมายขอมูลดวยกลุมวิธี<br />

ธกลุม<br />

ray-tracing method และวิธีกลุม reciprocal methods<br />

ที่ซับซอนอื่นๆ เป ปนวิธีการแปลความหมายขอมูลการ<br />

สํารวจสําหรับ seismic models ที่ซับซอนทุกรูปแบบ<br />

โดยกลุมวิธี Reciprocal Methods ซึ่งมีวิธีการแปล<br />

ความหมายขอมูลอีกมากมายหลายวิธีเชน gene-<br />

velocity analysiss function, time-depth analysis<br />

function และอื่นๆ<br />

เปนตน สําหรับกลุมวิธี ray-tracing<br />

method เปนการสราง theoretical<br />

T-X graphs จาก<br />

ralized reciprocal method (GRM), Palmer’s method,<br />

approximated models ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรดวย<br />

รูปแบบเริ่มตนงายๆ โดยใชวิธีการแปลความหมาย<br />

ตางๆ ตามที่ไดกลาวมาแลว และนําขอมูลจากการ<br />

สํารวจภาคสนามมาเทียบเคียงกับบ theoretical T-X<br />

graphs ในโปรแกรมเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสม<br />

กลุม<br />

วิธีการแปลความหมายทั้งสองดังกลาวเปนการ<br />

ประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการแปล<br />

ความหมาย seismic models ที่ซับซอน (EM 1110-1-<br />

1802,1995) ซึ่ ซงเอกสารคูมือฉบับนี้จะไมกลาวถึ<br />

ถึงใน<br />

รายละเอียด ผูใชเอกสารนี้สามารถหาอานจาก<br />

text<br />

books และ technical papers ตางๆ ในตารางเสนอ<br />

แนะ ในหัวขอที่ 7.4 (4) สําหรับรูปแบบ seismic<br />

models ที่ซับซอนตางๆ ไดแสดงไวในรูปที่ 8<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

63<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 3 การคํานวณคา irregularr interface models<br />

X AG<br />

0<br />

-<br />

-<br />

t AG<br />

t BG<br />

t minus<br />

t plus<br />

t G<br />

h G<br />

X A<br />

-<br />

-<br />

-<br />

-<br />

-<br />

-<br />

X B<br />

-<br />

-<br />

-<br />

-<br />

A: Seismic Model<br />

B: T minus<br />

graph<br />

รูปที่ 7 รายละเอียดของ T-X<br />

graph และวิธี ธการแปลความหมาย รูปแบบ single irregular model<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

64<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

รูปที่ 8 Seismic Models ที่ มีรูปแบบที่ซับซ ซอน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

65<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

8.4 ขอจํากัดของการสํารวจตรวจวัดความเร็ว<br />

คลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห<br />

8.4.1 ขอจํากัดดาน blind zone problem<br />

ขอจํากัดขอหนึ่งของการสํารวจ seismic<br />

refraction ก็คือความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนที่วิ่งผาน<br />

ชั้นหินตางๆ จะตองเพิ่มขึ้นตามความลึกของชั้นหิ<br />

หิน<br />

เปนตนวา V 1 >>h 2 ก็<br />

จะกอใหเกิด hidden<br />

layer problem<br />

ขึ้นไดเนื่องจาก<br />

3 rd head wave วิ่งแซงหนา 2 nd head wave ทําให<br />

T-X graph แสดงรูปแบบเปน two-layer model (รูป<br />

ที่ 9)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

66<br />

8.4.3<br />

ขอจํากัดดาน air wave problem<br />

เปนปญหาที่เกิดจากความเร็วของคลื่นไหว<br />

สะเทือนที่วิ่งผานชั้นหินชั้นที่ 1 หรือ V 1 มีความเร็วนอย<br />

กวาคลื่นไหวสะเทือนที่วิ่งในอากาศ (V air ) หรือ V 1 < V air<br />

ซึ่งอาจเกิดขึ้นไดในบริเวณพื้นที่กลบฝงขยะ เนื่องจาก<br />

ชั้นขยะที่ถูกกลบฝง อยางหลวมๆ มีความยืดหยุนสูง<br />

ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนสามารถวิ่งผานไปไดชา<br />

กวาความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนในอากาศ (V air ปกติ<br />

มีคาประมาณ 0.32 m/ms) ผลทําใหไมมี direct wave<br />

ของชั้นหินชั้นที่ 1 ใน actual model แต direct wave<br />

ที่ปรากฏใหเห็นเปน air wave จาก V air (รูปที่ 9) และ<br />

ทําใหการแปลความหมายใน interpretation<br />

model<br />

เขาใจผิดคิดวา V air คือ V 1 และจะแปลความลึกของ<br />

bedrock ผิดไปจากความเปนจริง<br />

9. ความปลอดภัย<br />

9.1 ผูใชเครื่องมือตองศึกษาและปฏิ<br />

ฏิบัติตามคูมือ<br />

การใชงานตามที่ผูผลิตเครื่องมือไดกําหนดไวใน<br />

เอกสารคูมือประจําเครื่องโดยเครงครัด ในกรณีตองใช<br />

วัตถุระเบิดเปนตนกําเนิดคลื่น ผูใชตองผานการ<br />

ฝกอบรมวิธีการใชการจััดเก็บและการขนยาย โดย<br />

ปฏิบัติตามขั้นตอนตางๆ<br />

อยางเครงครัด<br />

รวมทั้งตอง<br />

ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการครอบครองขนยายและ<br />

ใชวัตถุระเบิด ตองสวมหมวกนิรภัยขณะปฏิบัติงาน<br />

9.2 เครื่องสํารวจ seismograph และอุปกรณ<br />

การสํารวจตางๆ เปนเครื่องมือทาง electronic ที่<br />

คอนขางออนไหวตอสภาพการกระทบกระเทือน ควร<br />

ขนยายในยานพาหนะที่เหมาะสม และสมควรมีรมกัน<br />

แดดขณะปฏิบัติงานในสนาม<br />

9.3 การปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่ที่มี<br />

วัตถุอันตราย เชน ใกล ลแนวสายไฟฟาแรงดันสูง<br />

โรงงานเคมี ฟารมเลี้ยงสัตว และอื่นๆ เปนความรับ<br />

ผิดชอบและอยูในวิจารณยานของผูสํารวจโดยตรง<br />

9.4 ควรมีวิทยุสื่อสาร ฯลฯ<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

t<br />

t<br />

1/ V 2<br />

1/ V 2<br />

1/ V 3<br />

t 1 t 2<br />

V 1 < V air<br />

t 1 1/ V<br />

V 1<br />

1<br />

x 1,2 x 1,3 V 1<br />

V 2 > V 1<br />

V 2<br />

h 1<br />

t<br />

t 2<br />

1/ V 3<br />

1/ V 1<br />

สํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

V 1<br />

h 2<br />

V 2 < V 1<br />

A : Actual Model<br />

V 3<br />

blind zone problem<br />

hidden layer problem<br />

air-wave problem<br />

รูปที่ 9 Seismic Models ที่เกิดจากขอจํากัดตางๆ<br />

ของการสํารวจแบบ seismic refraction<br />

10. บุคลากร<br />

10.1 บุคลากรระดับผูเชี่ยวชาญตองเปนนัก<br />

ความสําเร็จของงานสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ธรณีวิทยา นักอุทกธรณีวิทยาหรื<br />

รือวิศวกรที่ผานการ<br />

ไมวาดวยวิธีการสํารวจใด<br />

ดๆ ยอมขึ้นอยูกับปจจัย<br />

ฝกอบรมและมีประสบการณดานการสํารวจธรณี<br />

หลายๆ อยางและปจจัยที่สํ<br />

สาคัญที่สุดยอมเปนปจจัย<br />

ฟสิ สิกสไมนอยกวา<br />

15 ป หรือมีผลงานดานการสํารวจ<br />

ดานบุคลากร<br />

การใชเครื่องมือการสํารวจเปนไมใชเปน<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินไมนอยกวา<br />

100 แหง ทําหนาที่<br />

เรื่องยุงยาก เพียงแตอานคูมื มือที่แนบมากับเครื่องมือ<br />

ดานการตรวจสอบการวางแผนการสํารวจ ตรวจสอบ<br />

และใชเครื่องมือดวยความระมัดระวังตามที<br />

ที่คูมือระบุ<br />

การแปลความหมายขอมูลการสํารวจ และตรวจสอบ<br />

เทานั้น แตบุคลากรที่จะเป<br />

ปนนักสํารวจธรณีฟสิกส<br />

รายงานการสํารวจ การตรวจสอบตามขั้นตอนต<br />

ตางๆ<br />

จะตองรับผิดชอบตั้งแตขั้นตอนการวางแผนการสํารวจ<br />

ดังกลาว ดําเนินการภายใตรูปแบบการสนทนา<br />

(dis-<br />

การเลือกเครื รื่องมือและวิธีการสํารวจที่เหมาะสม การ<br />

cussion) ของผูรวมงานตางๆ ในหัวขอที่ 2 และ 3<br />

จัดเก็บขอมูลภาคสนาม การแปลความหมายขอมูล<br />

10.2 บุคลากรระดับผูชํานาญการ ตองเปนนัก<br />

และวิธีการนําเสนอผลการสํารวจ ซึ่งทั้งหมดนักสํารวจ<br />

ธรณีวิทยา นักอุทกธรณีวิทยาหรื<br />

รือวิศวกรที่ผานการ<br />

ธรณีฟสิกสนอกจากจะตองใชเครื่องมือการสํารวจแบบ<br />

ฝกอบรมและมีประสบการณดานการสํารวจธรณี<br />

ตางๆ เปนยังจะตองมีความรู<br />

รูในภาคทฤษฎีการสํารวจ<br />

ฟสิ สิกสไมนอยกวา<br />

10 ป หรือมีผลงานดานการสํารวจ<br />

และการแปลความหมายขอมูลการสํารวจแบตางๆ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินไมนอยกวา<br />

50 แหง ทําหนาที่<br />

รวมทั้งตองทําความเขาใจกับสภาพอุทกธรณีวิทยาใต<br />

ดานการตรวจสอบสภาพอุทกธรณีภาคสนาม<br />

การ<br />

ผิวดินของพื<br />

้นที่สํารวจอีกดวย แตดวยขอจํากัด<br />

วางแผนการสํารวจและควบคุมการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

ทางดานบุคลากรและงานที<br />

่จําเปนตองใช เวลามาก<br />

บนผิวดินภาคสนาม รวมทั้งทําหนาที่ดานการแปล<br />

ที่สุดสําหรับงานสํารวจธรณีฟ<br />

ฟสิกสบนผิวดิน ไดแกงาน<br />

ความหมายขอมูลและการจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

จัดเก็บขอมูลภาคสนาม ดังนั้นเอกสารคูมือฉบับนี้ ขอ<br />

หรือใหคําปรึกษาดานการแปลความหมายขอมูลและ<br />

นําเสนอบุคลากรสําหรับความรับผิดชอบตางๆ ดังนี้<br />

การจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

67<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การส นผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํ ามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

10.3 บุคลากรระดับปฏิบัติการตองเปนนักธรณี<br />

วิทยาหรือวิศวกรที่ผานการฝกอบรมดานการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกส หรือบุคลากรอื่นๆ ที่ผานการฝกอบรมและ<br />

มีประสบการณดานการสํารวจธรณีฟสิกสไมนอยกวา<br />

10 ปหรือมีผลงานดานการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ไมนอยกวา 50 แหง<br />

ทําหนาที่ดานการสํารวจจัดเก็บ<br />

ขอมูลภาคสนาม และฝกหัดแปลความหมายขอมูลการ<br />

สํารวจและการจัดทํารายงานการสํารวจภายใตการ<br />

ควบคุมของผูชํานาญการหรือผูเชี่ยวชาญ<br />

11. เอกสารอางอิงง<br />

American Society<br />

for Testing and Materials<br />

(ASTM), 2005. Standard Guide for Using<br />

the Seismic-Reflection Method for Shallow<br />

Subsurface Investigation, D 7128 - 05.<br />

Milsom, J., 1989. Field Geophysics, Geology<br />

Society of London, UK.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

68<br />

คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนแบบหักเห


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 2004 -2550<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา<br />

คูมือ ทบ ส 2004-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (ส) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

คูมือใหใสวงเล็บตอทายและระบุ ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เปนตน โดยมีเครื่องหมาย (ก)<br />

เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่ปรับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาฉบับนี้ ไดจัดทําขึ้น<br />

ภายใตโครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจและ<br />

พัฒนาบอน้ําบาดาล พ.ศ. 2550 เปนสวนหนึ่งของชุด<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล<br />

โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาลไดมอบหมายใหคณะ<br />

ผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา ธรณีวิทยา วิศวกรรม<br />

เครื่องกล และวิศวกรรมโยธา เปนผูดําเนินการราง<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน เพื่อใหใช<br />

ควบคูไปกับมาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนาม<br />

แมเหล็กไฟฟา โดยคูมือฉบับนี้ จะกําหนดขั้นตอนและ<br />

แนวทางสําหรับใชในงานสํารวจฯ เพื่อใหไดผลงาน<br />

ตามมาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีตรวจวัด<br />

สนามแมเหล็กไฟฟา (EM methods) เปนการสํารวจ<br />

เพื่อตรวจวัดคุณสมบัติทางกายภาพของชั้นดินชั้นหิน<br />

ใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ ที่ตอบสนองตอ<br />

สนามแมเหล็กไฟฟาเหนี่ยวนําดวยการตรวจวัดหรือ<br />

สํารวจดวยเครื่องมือวัดสนามแมเหล็กบนผิวดิน ซึ่ง<br />

เปนการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินที่นํามาประยุกตใช<br />

ในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาวิธีหนึ่ง ทั้งนี้เนื่องจาก<br />

สามารถนํามาประยุกตใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ในชั้นหินแข็งไดดี อยางไรก็ตามการสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาโดยวิธีทางธรณีฟสิกสบนผิวดินหลายๆ กรณีมี<br />

ความจําเปนตองอาศัยการสํารวจทางธรณีฟสิกส<br />

วิธีการอื่นๆ ควบคูไป<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน<br />

2.1 วัตถุประสงคและการประยุกตใชงาน<br />

2.1.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ครอบคลุมเนื้อหาทั่วๆ<br />

ไปในดานเครื่องมือและอุปกรณ วิธีการสํารวจ วิธีการ<br />

แปลความหมายขอมูล วิธีการนําเสนอผลการสํารวจ<br />

และขอจํากัดของการสํารวจ สําหรับการสํารวจตรวจ<br />

วัดสนามแมเหล็กไฟฟาของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินและ<br />

น้ําบาดาลในชั้นหินอุมน้ําตางๆ<br />

2.1.2 การสํารวจดวยการตรวจวัดสนามคลื่น<br />

แมเหล็กไฟฟา อาจจําแนกออกเปน 3 แบบใหญๆ คือ<br />

การตรวจวัดดวยวิธี frequency domain electromagnetic<br />

survey (FDEM) ซึ่งบางครั้งอาจเรียกวา terrain<br />

conductivity การตรวจวัดแบบ time domain electromagnetic<br />

survey (TDEM) และการตรวจวัดแบบ<br />

very-low frequency electromagnetic survey (VLF-<br />

EM) สําหรับการประยุกตใชในการสํารวจดานอุทก<br />

ธรณีวิทยาจะโดยสวนใหญใชเฉพาะ FDEM และ<br />

VLF-EM เทานั้น สําหรับ TDEM มักใชในการสํารวจ<br />

วัตถุโลหะ (metallic bodies) ใตผิวดิน เชนการสํารวจ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 69 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตรวจหาสิ่งกอสรางใตดินหรือการสํารวจแรโลหะเปน<br />

ตน ซึ่งในเอกสารฉบับนี้อาจกลาวพาดพิงถึงบาง<br />

2.1.3 เอกสารคูมือฉบับนี้มีวัตถุประสงคหลักใน<br />

การจัดทําเพื่อใชเปนคูมือการสํารวจธรณีฟสิกสดวยวิธี<br />

ตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาสําหรับประยุกตใชเฉพาะ<br />

การสํารวจดานอุทกธรณีวิทยาเทานั้น บางสวนของ<br />

สาระอาจเกี่ยวพันกับการประยุกตใชในดานสํารวจ<br />

ธรณีเทคนิคหรือการสํารวจสิ่งแวดลอมบาง<br />

2.1.4 หนวยวัดที่ใชในคูมือฉบับนี้เปนหนวยวัด<br />

Système Internationale d’Unitès (SI Units) สําหรับ<br />

หนวยวัดที่ใชในการสํารวจแบบ EM methods มีหนวย<br />

เปนมิลลิซีเมนตตอเมตร (mS/m)<br />

2.2 ขอจํากัดของคูมือ<br />

เอกสารคูมือฉบับนี้ไมครอบคลุมถึงราย<br />

ละเอียดดานเครื่องมือและอุปกรณ และภาคทฤษฎี แต<br />

จะนําเสนอรายชื่อเอกสารและตําราที่เกี่ยวของใหผูใช<br />

เอกสารคูมือฉบับนี้ไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมดวย<br />

ตัวเอง<br />

ขอความที่เกี่ยวของกับมาตรฐานความ<br />

ปลอดภัยในเอกสารฉบับนี้ครอบคลุมเฉพาะความ<br />

ปลอดภัยในการใชเครื่องมือที่มีมาตรฐานและอยูใน<br />

สภาพสมบูรณพรอมใชงานเทานั้นไมอาจครอบคลุมถึง<br />

ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หรืออุบัติเหตุใดๆ ที่<br />

อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานภาคสนาม ผูใชงาน<br />

จําเปนตองคํานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตและ<br />

ทรัพยสินทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2003-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

- คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหวสะเทือน<br />

แบบหักเห<br />

- คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

3.2 American Society for Testing and<br />

Materials (ASTM):<br />

- D6820-02 Standard Guide for Use of<br />

the Time Domain Electromagnetic Method for<br />

Subsurface Investigation.<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน (surface<br />

geophysical investigation) หมายถึง การสํารวจโดย<br />

ใชเครื่องมือทางธรณีฟสิกสบนผิวดินเพื่อที่จะจัดเก็บ<br />

ขอมูลดานธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยาโดยมิไดใช<br />

เครื่องมือใดๆ หยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 70 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน (subsurface<br />

hydrogeological investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจเพื่อเก็บขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

โดยใชเครื่องมือเจาะหรือหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

การสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง (groundwater<br />

investigation for pin-point well drilling)<br />

หมายถึง การสํารวจอุทกธรณีวิทยาที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลที่เหมาะสม<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological models) หมายถึง การ<br />

สรางรูปแบบจําลองของพื้นที่สํารวจจากขอมูลดาน<br />

อุทกธรณีวิทยาที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดินเพื่อใชประกอบกับแผนที่อุทกธรณีวิทยาสําหรับ<br />

การกําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกส (geophysical<br />

models) เปนการสรางรูปแบบจําลองลักษณะธรณี-<br />

วิทยาหรือกายภาพอื่นๆ ของพื้นที่จากขอมูลการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกส เพื่อใหขอมูลดานความลึกของ<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนมีความถูกตอง<br />

แมนยํายิ่งขึ้น<br />

แบบจําลองสองมิติ (2D geophysical profiles)<br />

หมายถึง ภาพเปนแนวยาวแสดงขอมูลชั้นดิน<br />

หินในเชิงลึกที่ไดจากการธรณีฟสิกส<br />

แบบจําลองสามมิติ (3D resistivity models)<br />

หมายถึง ภาพสามมิติแสดงขอมูลชั้นดินหินทั้งในเชิง<br />

กวาง ยาว และลึกที่ไดจากการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึงกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

การสํารวจฯ หมายถึงการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดิน<br />

แบบจําลองฯ หมายถึง แบบจําลองทางธรณี<br />

ฟสิกส<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน<br />

5.1 เอกสารคูมือนี้ไดกําหนดวิธีการสํารวจดวย<br />

การตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาเพื่อประยุกตใชใน<br />

การสํารวจสภาพอุทกธรณีวิทยาสําหรับการปรับใชใน<br />

งานดานตางๆเพื่อใหไดผลงานการสํารวจตรงตาม<br />

มาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาล โดยสามารถ<br />

นําไปประยุกตใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาตางๆ<br />

ดังนี้<br />

5.1.1 เปนคูมือใชในการคัดเลือกวิธีการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวัดสนามแมเหล็ก<br />

ไฟฟาสําหรับงานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหงซึ่งอาจ<br />

ตองดําเนินการสํารวจตอเนื่อง ดวยการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาใตผิวดินตามมาตรฐาน ทบ ส 3000-2550<br />

5.1.2 เปนคูมือใชในการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาสําหรับ<br />

งานสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาโดยมีกระบวน-<br />

การสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาตอเนื่องตาม<br />

มาตรฐาน ทบ ส 4000-2550<br />

5.1.3 เปนคูมือใชในการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาสําหรับ<br />

งานศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลตางๆ เชน การศึกษา<br />

วิจัยเพื่อประเมินปริมาณน้ําสํารองแองน้ําบาดาลของ<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล ตามคูมือทบ ป 1000-2550<br />

การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินพื้นที่เติมน้ําตามคูมือ ทบ<br />

ป 2000-2550 การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทําแบบ จําลอง<br />

อุทกธรณีวิทยาทางคณิตศาสตร ตามมาตรฐาน ทบ ป<br />

3000-2550 และการศึกษาวิจัยทางอุทกธรณี วิทยา<br />

ดานอื่นๆ<br />

5.2 เอกสารคูมือฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอนและ<br />

แนวทางการปฏิบัติงานไวกวางๆ สําหรับการปรับใช<br />

กับงาน สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวัด<br />

สนามแมเหล็กไฟฟาตามวัตถุประสงคตางๆ ซึ่งอาจมี<br />

ความตองการรายละเอียดของขอมูลไมเหมือนกัน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 71 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

โดยเฉพาะปริมาณของขอมูลยอมขึ้นอยูกับขนาดของ<br />

พื้นที่สํารวจ เวลา งบประมาณของงานสํารวจศึกษา<br />

วิจัยแตละงาน ดังนั้นขั้นตอนและแนวทางการปฏิบัติ<br />

งานที่ไดกําหนดเอกสารฉบับนี้ จึงสามารถดัดแปลงได<br />

ตามที่ผูเชี่ยวชาญของโครงการแตละโครงการ<br />

เห็นสมควร<br />

6. เครื่องมือและอุปกรณ<br />

การสํารวจดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็ก<br />

ไฟฟา โดยทั่วๆ ไป จําแนกวิธีการสํารวจออกเปน 3<br />

กลุมใหญๆ คือ (1) กลุม frequency domain electromagnetic<br />

methods (FDEM, หรือ FEM) ซึ่งบางครั้ง<br />

อาจเรียกวา terrain conductivity method ซึ่งยังมี<br />

วิธีการสํารวจอีกมากมายหลายวิธีที่ใชเครื่องมือที่<br />

แตกตางกันไป (2) กลุม time domain electromagnetic<br />

methods (TDEM) หรือ pulse electromagnetic<br />

methods (PEM) และ (3) แบบ very-low frequency<br />

electromagnetic method (VLF-EM) ซึ่งแตละกลุม<br />

ถึงแมจะมีหลักการในการสํารวจที่คลายคลึงกัน แตใช<br />

เครื่องมือและอุปกรณในการสํารวจที่คอนขางจะ<br />

แตกตางกันไป โดยสรุปดังนี้คือ<br />

6.1 เครื่องมือและอุปกรณการสํารวจ FDEM<br />

โดยทั่วๆ ไปเครื่องมือการสํารวจสําหรับ<br />

FDEM มีรูปแบบที่แตกตางกันไปเปนจํานวนมาก<br />

หลายรูปแบบแลวแตบริษัทผูผลิตจะออกแบบ มีตั้งแต<br />

ขนาดเล็กไปจนถึงเครื่องสํารวจขนาดใหญ แตสําหรับ<br />

เครื่องมือที่ใชในการสํารวจดานอุทกธรณีวิทยามักจะ<br />

เปนเครื่องสํารวจขนาดเล็กและออกแบบสําหรับใชใน<br />

การสํารวจอานคา apparent conductivity ในพื้นที่<br />

สํารวจการปนเปอนแหลงน้ําบาดาลโดยตรง (EPA/<br />

625/R-92/007, 1993 pp. 4-2) ดังนั้นในเอกสารฉบับ<br />

นี้จะกลาวถึงเฉพาะเครื่องมือและอุปกรณการสํารวจ<br />

แบบ horizontal loops (vertical dipole) และ vertical<br />

loop (horizontal dipole) ซึ่งมีสวนประกอบเครื่องมือ<br />

และอุปกรณตางๆ โดยสรุป ดังนี้<br />

6.1.1 ขดลวดกําเนิดคลื่น (transmitter coils)<br />

อาจเปนขดลวดวงกลมเดี่ยว (single transmitter coil)<br />

หรือขดลวดคูซึ่งตอเชื่อมกันดวยสายไฟฟาสําหรับการ<br />

กอกําเนิดสนามแมเหล็กไฟฟาเหนี่ยวนํา (primary<br />

electromagnetic field, H P ) โดยสามารถผลิตสนาม<br />

แมเหล็กไฟฟาที่ชวงคลื่นตางๆ หลายชวงคลื่น พรอม<br />

อุปกรณประกอบตางๆ เชน แบตเตอรี่เปนแหลง<br />

กําเนิดพลังงาน และอุปกรณเชื่อมตออื่นๆ<br />

6.1.2 ขดลวดรับสัญญาณ (receiver coil) เปน<br />

เครื่องตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาสามารถปรับรับที่<br />

ชวงคลื่นตางๆ ได<br />

6.1.3 อุปกรณประกอบอื่นๆ<br />

6.2 เครื่องมือและอุปกรณการสํารวจ TDEM<br />

การสํารวจแบบ TDEM มีเครื่องมือลักษณะ<br />

คลายคลึงกับชุดเครื่องมือแบบ FDEM เพียงแต<br />

ขดลวดกําเนิดสนามแมเหล็กไฟฟามักเปนขดลวดรูป<br />

สี่เหลี่ยมจัตุรัต วางลอมรอบบริเวณที่จะทําการสํารวจ<br />

มีน้ําหนักตั้งแตไมกี่กิโลกรัมถึงหลายรอยกิโลกรัม และ<br />

ใหกําเนิดสนามแมเหล็กไฟฟาเพียงชวงคลื่นเดียว<br />

เทานั้น เปนการปลอยกระแสไฟฟา ที่ชวงความถี่เดียว<br />

แลววัดการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กที่ลดลงตาม<br />

ระยะเวลา<br />

6.3 เครื่องมือและอุปกรณการสํารวจ VLF-EM<br />

เครื่องมือการสํารวจสําหรับ VLF-EM เปน<br />

เครื่องมือสํารวจขนาดเล็ก ออกแบบสําหรับใชงานการ<br />

สํารวจดวยผูสํารวจเพียงคนเดียว มีลักษณะของ<br />

เครื่องมือที่แตกตางกันไปแลวแตผูผลิตเครื่องมือแตละ<br />

บริษัท สําหรับบริษัทที่ผลิตเครื่องมือมีหลายแหง เชน<br />

GEONICS แหงแคนาดา (Geonics EM 16) และ<br />

ABEM Atlas COPCO แหงสวีเดน (VLF-Wadi) เปน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 72 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตน สวนประกอบเครื่องมือสวนใหญประกอบดวยสวน<br />

ตางๆ 3 สวนโดยสรุป คือ<br />

6.3.1 ชุดรับคลื่นวิทยุ (measuring unit) หรือ<br />

receivers ประกอบดวยเครื่องรับวิทยุความถี่ต่ํา<br />

หลายชุดที่สามารถเลือกรับสถานีสงสัญญาณที่<br />

เหมาะสมกับทิศทางการวางโครงสรางทางธรณีวิทยา<br />

พรอมเครื่องกรองคลื่น (filters) เพื่อตัดกรองคลื่น<br />

รบกวนที่ไมพึงปรารถนา (noise) ออกไป เครื่องขยาย<br />

สัญญาณคลื่นที่สามารถปรับแตงได (amplifiers) วงจร<br />

ไฟฟาอื่นๆ รวมทั้งแบตเตอรี่ และอุปกรณสําหรับ<br />

เชื่อมตออื่นๆ และบางรุนของเครื่องมืออาจมี<br />

เครื่องพิมพผลการสํารวจใหดวย<br />

6.3.2 ชุดควบคุมการทํางาน (controller unit)<br />

เปนชุดควบคุมการทํางานประกอบดวย keyboard ซึ่ง<br />

มีปุมกดคําสั่งตางๆ จอภาพ (screen หรือ display<br />

window) หรือเครื่องฟงสัญญาณ (ขึ้นกับรุนและ<br />

บริษัทผูผลิต) และ micro-computer สําหรับคํานวณ<br />

คาตางๆ รวมทั้งเปนหนวยความจําในการบันทึก<br />

ขอมูลจากการสํารวจ<br />

6.3.3 ชุดเสาอากาศ (antenna unit) ประกอบ<br />

ดวยเสาอากาศสําหรับปรับทิศทางการรับคลื่นวิทยุ<br />

ความถี่ต่ําและ inclinometer สําหรับปรับใหเสาอากาศ<br />

ตั้งไดฉากกับผิวดินเสมอ (หรือเกือบตั้งฉากกับผิวดิน)<br />

หากทํามุมเอียงมากเกินไปจะมีสัญญาณเตือนขึ้นที่<br />

จอภาพหรือสงสัญญาณเตือนไปที่ชุดควบคุมการ<br />

ทํางานเพื่อใหปรับเสาอากาศ หรือปรับทายืนใหตรง<br />

7. การสํารวจตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา<br />

ในสนาม<br />

7.1 หลักการของการสํารวจตรวจวัดสนาม<br />

แมเหล็กไฟฟา<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการ<br />

ตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา มีหลายวิธีซึ่งนอกจาก<br />

จะแบงวิธีการสํารวจเปน 3 แบบดังกลาวขางตนแลว<br />

ยังอาจแบงโดยถือเอาตนกําเนิดสนามแมเหล็กไฟฟา<br />

(H P ) เปนหลักก็ได โดยแบงออกไดเปน 2 แบบคือ<br />

แบบเครื่องกําเนิดสนามแมเหล็กไฟฟาไมเคลื่อนที่<br />

ประกอบดวยวิธีการสํารวจตางๆ เชน วิธีซันดเบอรก<br />

(Sundberg หรือ compensator method) วิธีทูแรม<br />

(Turam method) เปนตน และแบบเครื่องกําเนิด<br />

สนามแมเหล็กไฟฟาเคลื่อนที่ ประกอบดวยวิธีการ<br />

สํารวจตางๆ เชน วิธี Slingram, Max-Min, EM-Gun,<br />

และ Demigun เปนตน<br />

ทฤษฎีการสํารวจดวย EM methods ทุก<br />

รูปแบบมีหลักการที่คลายคลึงกันคือการตรวจวัด<br />

สนามแมเหล็กผลลัพธ (resulted magnetic field, H R )<br />

ซึ่งเขมกวาสนามแมเหล็ก H P (primary magnetic field)<br />

อันเปนผลเนื่องจาก H P ไปเหนี่ยวนําใหเกิดสนาม<br />

แมเหล็กใหมที่เกิดขึ้นใน conductive bodies ที่อยูใต<br />

ผิวดิน สนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นนี้เรียกวา secondary<br />

magnetic field (H S ) ซึ่งมีทิศทางตั้งฉากกับ H P (π/2)<br />

โดยที่ H R มีคาเทากับผลรวมทางเวคเตอรของ H P กับ<br />

H S โดย transmitter coil ที่เปนตนกําเนิดของ H P บน<br />

ผิวดินสนามแมเหล็ก H P จะเดินทางในแนวระนาบทั้ง<br />

บนดินและใตผิวดินและกอใหเกิดกระแสแมเหล็ก<br />

ไฟฟาใตผิวดิน เมื่อกระแสแมเหล็กไฟฟา H P ซึ่ง<br />

เคลื่อนที่ในแนวระนาบไปกระทบวัตถุสื่อไฟฟาใตผิว<br />

ดิน ก็จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กที่ 2 (H S ) ขึ้น<br />

ในวัตถุสื่อไฟฟาใตผิวดินนั้น โดยจะเคลื่อนไปใน<br />

ทิศทางที่ตั้งไดฉากกับสนาม H P (รูปที่ 1) ดังนั้นจาก<br />

การอานสนามแมเหล็กที่ขดลวดรับสัญญาณจะ<br />

สามารถรับสัญญาณสนามแมเหล็ก H R ที่มีความเขม<br />

ของสนามเพิ่มขึ้น และสามารถนําไปแปลความหมาย<br />

หาคาความลึกและขนาดของวัตถุสื่อไฟฟาใตผิวดิน<br />

นั้นได<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 73 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

รูปที่ 1 หลักการของสํารวจแบบตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา (EPA/625/R-92/007, 1993)<br />

7.2 วิธีการสํารวจตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา<br />

วิธีการสํารวจภาคสนามโดยการตรวจวัด<br />

สนามแมเหล็กไฟฟาที่จะกลาวถึงในเอกสารคูมือฉบับ<br />

นี้ จะประกอบดวยวิธีการหลักๆ 3 วิธีคือ FDEM,<br />

TDEM และ VLF-EM โดยสรุปพรอมเสนอแนะ<br />

เอกสารที่เกี่ยวของเพื่อใหผูใชคู มือฉบับนี้สามารถ<br />

ศึกษาเพิ่มเติมได อยางไรก็ตามการกลาวถึงวิธีการ<br />

สํารวจภาคสนามในเอกสารนี้จําเปนตองผนวก<br />

รายละเอียดหลักการของการสํารวจแตละวิธีอยูดวย<br />

ดังนี้คือ<br />

7.3 หลักการวิธีการสํารวจแบบ FDEM<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินโดยการ<br />

ตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาในกลุม FDEM methods<br />

การประยุกตใชในดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาเปน<br />

การสํารวจโดยใชเครื่องมือประเภทลวดสงสัญญาณ<br />

แบบระนาบ (horizontal loop) หรืออาจเรียกวาวิธีการ<br />

สํารวจแบบ HLEM โดยมีหลักการและวิธีการสํารวจ<br />

สรุปไดดังตอไปนี้<br />

7.3.1 การสํารวจแบบ FDEM เหมาะสําหรับการ<br />

ประยุกตใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาในพื้นที่ที่มี<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะต่ํา (low resistivity<br />

areas) เชน พื้นที่ที่เกิดการรุกล้ําของน้ําเค็มเขาสูชั้น<br />

น้ําบาดาล หรือประยุกตใชสํารวจหาพื้นที่ที่น้ําบาดาล<br />

ถูกปนเปอนอื่นๆ โดยใชแทนวิธีการสํารวจตรวจวัด<br />

ความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

7.3.2 การสํารวจแบบ FDEM สามารถจัดเก็บ<br />

ขอมูลภาคสนามไดรวดเร็วโดยใชบุคลากรเพียง 2 คน<br />

คือ คนหนึ่งถือขดลวดเหนี่ยวนํา (transmitter coil: T X )<br />

สวนอีกคนถือขดลวดรับสัญญาณ (receiver coil: R X )<br />

และทําหนาที่ตรวจวัดสนามแมเหล็กตามสถานีสํารวจ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 74 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตางๆ การอานคาในแตละสถานีใชเวลานอยมากเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับ resistivity methods เนื่องจากวิธีการ<br />

สํารวจไมยุงยากซับซอน<br />

7.3.3 ในการสํารวจแบบ FDEM ขดลวด T X<br />

และขดลวด R X จะเคลื่อนที่ไปพรอมๆ กัน ในแนว<br />

สํารวจ ระยะหางระหวางสถานีตรวจวัดจะอยูระหวาง<br />

10, 20 และ 40 เมตร ตามลําดับ โดยแตละจุดสํารวจ<br />

จะปลอยสนามแมเหล็กไฟฟาจาก T X ที่ระดับความถี่<br />

ตางๆ กันเพื่อใชหาความแตกตางของชั้นตัวนําไฟฟา<br />

ใตดิน และกําหนดความถี่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟาปฐม<br />

ภูมิ (primary electromagnetic field, H P ) ที่ปลอย<br />

ออกจากขดลวด T X ใหมีความถี่คงที่ เมื่อสนาม<br />

แมเหล็ก H P ผานเขาไปในวัตถุตัวนําไฟฟาใตผิวดิน<br />

จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็ก H S โดยมีขนาด<br />

ความถี่คลื่นแมเหล็กไฟฟา P การวัดคาในภาคสนาม<br />

ที่ขดลวด R X จะวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟาผลลัพธ<br />

(resulted electromagnetic field: H R ) โดยขนาดของ<br />

H S และ H R จะขึ้นอยูกับคุณสมบัติความนําไฟฟา<br />

(electrical conductivities, EC) ของวัตถุตัวนําไฟฟา<br />

ใตผิวดินในพื้นที่สํารวจในเชิงเปรียบเทียบกับขนาด<br />

และทิศทางของ H P ที่ไดกําหนดไวแลว แตเนื่องจาก<br />

H P มีทิศทางในแนวระนาบ สวน H S มีทิศทางใน<br />

แนวดิ่ง และ H R เปนซึ่งผลรวมทางเวคเตอรของ H P<br />

และ H S ดังนั้นให H R จะทํามุม θ กับ H P หากเปลี่ยน<br />

ทิศทางของ H R ใหอยูในแนวระนาบและมีทิศทางไป<br />

ทางเดียวกับ H P จะเรียกสวนนี้วา “สวนประกอบจริง”<br />

(real component) ก็จะมีขนาดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

เทากับ H R cosθ และหากเปลี่ยนทิศทางของ H R ใหอยู<br />

ในแนวดิ่งและมีทิศทางตั้งฉากกับ H P ก็จะเรียกสวนนี้<br />

วา “สวนประกอบจินตนาการ” (imaginary component)<br />

ก็จะมีขนาดคลื่นแมเหล็กไฟฟาเทากับ H R sinθ<br />

7.3.4 นอกจากขนาดความถี่ของ H S และ H R จะ<br />

ขึ้นอยูกับวัตถุตัวนําไฟฟาใตผิวดินในพื้นที่สํารวจใน<br />

เชิงเปรียบเทียบกับขนาดและทิศทางของ H P แลวยัง<br />

ขึ้นอยูกับระยะเวลาในการปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

ของขดลวด T X อีกดวยดังนั้น หากนําเอาปจจัยเรื่อง<br />

ระยะเวลาการปลอยคลื่นของ T X เขามาเกี่ยวของ<br />

สมการสําหรับการคํานวณขนาดของคลื่นแมเหล็ก<br />

ไฟฟา ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (intensity at t, I t ) ดัง<br />

สมการที่ 1<br />

I t = I oe iwt cos wt + iI 0 sin wt (1)<br />

เมื่อ I t = ขนาดของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ณ เวลา t<br />

I 0 = ขนาดของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเมื่อ t=0<br />

i = (-1) 1/2<br />

w = ความเร็วเชิงมุมที่กําหนดโดยขนาดของคลื่น<br />

แมเหล็กไฟฟา<br />

t = เวลาที่กําหนดสําหรับการหาขนาดของคลื่น<br />

I o cos wt คือสวนที่เปนสวนประกอบจริงของ<br />

ขนาดคลื่นแมเหล็กไฟฟาเนื่องจากสามารถคํานวณหา<br />

คาที่แทจริงไดเสมอ สวน iI 0 จะเปนสวนที่เปนสวน<br />

จินตนาการเนื่องจากคํานวณหาคาในรูปของ (-1) 1/2<br />

เสมอ<br />

7.3.5 กรณีศึกษาในการประยุกตใช FDEM ใน<br />

การสํารวจทางอุทกธรณีวิทยา<br />

การสํารวจการปนเปอนแหลงน้ําบาดาล<br />

กรณีการสํารวจการปนเปอนน้ําบาดาลสารอนินทรีเคมี<br />

(inorganic compounds หรือ ionic) จากอุตสาหกรรม<br />

เหมืองแร การปนเปอนสาร ionic ในน้ําบาดาลมักจะ<br />

ทําใหคาสื่อความนําไฟฟาของน้ําบาดาลเพิ่มขึ้นเสมอ<br />

จากการศึกษาพบวา การเพิ่ม ionic ลงในชั้นหินอุมน้ํา<br />

ประเภทชั้นทรายเพียงประมาณ 25 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

จะทําใหน้ําบาดาลจืดในชั้นทรายมีสื่อความนําไฟฟา<br />

เพิ่มขึ้นประมาณ 1 mS/m ซึ่งสูงเพียงพอที่จะตรวจวัด<br />

ไดดวยวิธีการสํารวจแบบ FDEM method (EM 1110-<br />

1-1802, 1995)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 75 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ปญหาการประยุกตใช FDEM method ในพื้นที่<br />

ปนเปอนของน้ําบาดาลในชั้นหินแข็งและการปนเปอน<br />

ดวย สวนประกอบของอินทรีเคมีในน้ําบาดาลคอนขาง<br />

เปนปญหาใหญ เนื่องจากสารประกอบอินทรีเคมีโดย<br />

สวนใหญมักทําใหคาความน้ําไฟฟาของน้ําบาดาล<br />

ลดลงแทนที่จะเพิ่มขึ้น<br />

7.4 หลักการและวิธีการสํารวจแบบ TDEM<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินโดยการ<br />

ตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟาในกลุม TDEM methods<br />

มีหลักการโดยสรุปคือ ขดลวดปลอยสัญญาณ (T X ) จะ<br />

ใหกําเนิดสนามแมเหล็ก H P ในชวงเวลาที่จํากัดคือ<br />

ปลอยแลวหยุด ในขณะที่ปลอยสัญญาณ H P จะ<br />

เหนี่ยวนําใหเกิด H S ในตัวนําไฟฟาใตผิวดิน แตทันที<br />

ที่หยุดปลอยสัญญาณ H S ไมไดสลายตัวทันที เสมือน<br />

หนึ่ง H P จะไปชารจแบตเตอรี่ใหเกิด H S ในวัตถุตัวนํา<br />

ไฟฟาใตดินและ H S จะคอยๆ สลายตัวอยางมีรูปแบบ<br />

หลังจากไมมี H P ไปเหนี่ยวนํา ดังนั้นในการสํารวจ<br />

จัดเก็บขอมูลภาคสนามคือการหารูปแบบการสลายตัว<br />

ของ H S โดยทันที่ที่ T X หยุดปลอยสัญญาณ ขดลวด<br />

รับสัญญาณ (R X ) จะเริ่มตรวจวัดสนามแมเหล็กอยาง<br />

ตอเนื่องเพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการสลายตัว<br />

ของ H S<br />

วิธีการสํารวจแบบ TDEM methods ขดลวด<br />

ปลอยสัญญาณ (T X ) มีขนาดและรูปแบบที่แตกตางกัน<br />

มาก อาจมีหนักหนักตั้งแตไมกี่กิโลกรัมถึงหนักหลาย<br />

รอยกิโลกรัม อาจมีรูปแบบเปนขดลวดขดเปนรูป<br />

สี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปวงกลม และอาจมีตนกําเนิด<br />

พลังงานเปนแบตเตอรี่เล็กๆ ไปจนถึงเครื่องกําเนิด<br />

ไฟฟา ในการจัดเก็บขอมูลภาคสนาม จะเริ่มตนปลอย<br />

กระแสไฟฟาในขดลวด T X เพื่อกอกําเนิด H P ในชวง<br />

เวลาที่กําหนดและหยุดปลอยเปนชวงๆ ชวงระยะเวลา<br />

ที่หยุดปลอยกระแสไฟฟาจะเทากับชวงปลอยกระแส<br />

โดยระหวางชวงที่หยุดปลอยกระแสไฟฟา จะเปนชวง<br />

ระยะเวลาที่ตรวจวัดหารูปแบบการสลายตัวของ<br />

สนามแมเหล็ก ซึ่งแสดงคาการตรวจวัดในรูปแบบของ<br />

คาความตางศักยไฟฟาตอหนวยกระแสไฟฟา (millivolts/amp.)<br />

การประยุกตใช TDEM methods เปนวิธีที่<br />

ใชในการสํารวจหาแหลงแรประเภท massive sulfides<br />

ไดอยางมีประสิทธิภาพ หาความลึกการวางตัวและ<br />

ความกวางของวัตถุตัวนําไฟฟาใตดิน อยางไรก็ตาม<br />

ในปจจุบันไดพัฒนาวิธีการสํารวจเพื่อนํามาประยุกต<br />

ใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบางโดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

การสํารวจหาพื้นที่ปนเปอน (contamination plumes)<br />

ในพื้นที่ตางๆ<br />

7.5 หลักการและวิธีการสํารวจแบบ VLF-EM<br />

7.5.1 หลักการการสํารวจ<br />

ในการสํารวจดวยวิธี VLF-EM มีหลักการ<br />

แตกตางไปจากการสํารวจ EM methods ทั่วๆ ไปคือ<br />

การสํารวจดวยวิธี VLF-EM ไมมี transmitter coil แต<br />

อาศัยสวนที่เปนสนามแมเหล็ก (magnetic components)<br />

ของคลื่นวิทยุที่สงมาจากสถานีวิทยุความถี่ต่ํา<br />

(ระหวาง 15-30 kHz) โดยสถานีวิทยุดังกลาวตั้งอยูใน<br />

ที่ตางๆ ทั่วโลกสงคลื่นความถี่ต่ําอยางตอเนื่อง<br />

สําหรับใชในการทหาร (สวนมากสําหรับเรือดําน้ําใน<br />

การกําหนดทิศทาง) โดยมีกําลังสงและทิศทางที่<br />

แตกตางกัน (ตารางที่ 1) คลื่นวิทยุความถี่ต่ํา เมื่อวิ่ง<br />

ผานตัวกลางบนพื้นผิวโลกหรือตัวกลางใตผิวโลก<br />

ระดับตื้น จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็ก<br />

secondary magnetic field (H S ) ขึ้นในวัตถุตัวนํา<br />

ไฟฟาใตผิวดิน พื้นที่ที่มีความไมตอเนื่องกัน หรือพื้นที่<br />

ที่มีการนําไฟฟาไมเทากัน เชน แนวรอยแตก แนวรอย<br />

เลื่อนของชั้นหินแข็ง หรือกระเปาะของชั้นทราย เปน<br />

ผลใหมีความเขมของสนามแมเหล็กเพิ่มขึ้นคือ H R ซึ่ง<br />

receiver unit ของเครื่อง VLF-EM สามารถตรวจวัด<br />

แนวผิดวิสัย ดังกลาวได รวมทั้งการวัดคา phase<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 76 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

displacement รอบๆ แนวรอยแตกในชั้นหินใตผิวดิน<br />

และนําไปแปลความหมายโดยการพล็อตกราฟระหวาง<br />

ระยะทางกับคา phase displacement และใช filter<br />

operator เพื่อกรองสัญญาณรบกวน โดยสามารถ<br />

ประมาณการความลึกของแนวรอยแตกหรือ วัตถุใต<br />

ผิวดินจะอยูระหวางที่ครึ่งหนึ่งของระยะ Half width ได<br />

ทั้งนี้มีขอจํากัดประการสําคัญ แนวรอยแตกแนวรอย<br />

เลื่อนหรือโครงสรางทางธรณีวิทยาอื่นๆ จะตองวางตัว<br />

ยาวขนานกับจุดกําเนิดคลื่นวิทยุหรือแนวทางที่ตั้งของ<br />

สถานีวิทยุที่ใชในการสํารวจ หรืออยางนอยๆ แนว<br />

รอยแตกตางๆ จะตองทํามุมกับทิศทางไมเกิน 45<br />

องศา กับของสถานีสงคลื่นวิทยุ เชน สถานีวิทยุของ<br />

ออสเตรเลีย (NWC) ซึ่งสงดวยความถี่คลื่น 22.3 kHz<br />

ดวยกําลังสง 1,000 KW. สามารถรับคลื่นไดอยาง<br />

ชัดเจนในประเทศไทย และตั้งอยูในแนวประมาณทิศ<br />

ตะวันออกเฉียงใต การวางแนวสํารวจ หรือ VLF<br />

profiles จะตองวางแนวตั้งฉากกับแนว NW-SE หรือ<br />

อยูในแนวประมาณ NE-SW โดยเบี่ยงเบนจากแนว<br />

ตั้งฉากไดไมเกิน 45 ํ หากโครงสรางทางธรณีวิทยา<br />

ขนานอยูในแนวสํารวจตลอดแนวสํารวจ จะไม<br />

สามารถหาความแตกตางของสนามแมเหล็กทุติยภู<br />

มิได อยางไรก็ตามในประเทศไทยมีสถานีวิทยุความถี่<br />

ต่ําตามจุดที่ตั้งตางๆ ทั่วโลกใหเลือกใชได และ<br />

เครื่องมือ VLF.-EM. ไดออกแบบสําหรับการเลือก<br />

สถานีวิทยุตามภูมิภาคตางๆ ของโลก โดยสามารถ<br />

เลือกใชสถานีวิทยุที่เหมาะสมที่สุดสําหรับพื้นที่ใด<br />

พื้นที่หนึ่งไดตามตารางที่ 1<br />

7.5.2 วิธีการสํารวจจัดเก็บขอมูลภาคสนาม<br />

เนื่องจากการสํารวจดวยวิธี VLF-EM เปน<br />

วิธีการสํารวจที่สามารถใชสํารวจจัดเก็บขอมูลภาค<br />

สนามไดอยางรวดเร็วดวยผูสํารวจเพียงคนเดียว<br />

ดังนั้นจึงมักใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาเปนการ<br />

สํารวจนํารองในพื้นที่สํารวจ กอนใชการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสวิธีอื่นหาขอมูลรายละเอียดตรงพื้นที่เปาหมาย<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่สํารวจที่มีชั้นน้ําบาดาล<br />

วางตัวตามแนวยาว เชน น้ําบาดาลในแนวหินแตก น้ํา<br />

บาดาลตามแนวรอยเลื่อน หรือน้ําบาดาลตามแนวลํา<br />

น้ําเกา ซึ่งสามารถประมาณการทิศทางการวางตัวตาม<br />

แนวยาวของชั้นน้ําบาดาลดังกลาวจากการสํารวจอุทก<br />

ธรณีบนผิวดิน ดังนั้นการสํารวจ VLF-EM จึงมัก<br />

สํารวจทั่วพื้นที่ โดยกําหนดแนวสํารวจ (VLF profiles)<br />

ที่ตั้งไดฉากกับแนวโครงสรางทางธรณีวิทยาของพื้นที่<br />

สํารวจ และในแตละแนวสํารวจจะกําหนดจุดสํารวจ<br />

ตางๆ (VLF stations)<br />

(1) การเลือกสถานีวิทยุที่เหมาะสม เมื่อ<br />

วางแผนการสํารวจหลังจากการสํารวจทางธรณีวิทยา<br />

ของพื้นที่แลวและกําหนดทิศทางการสํารวจ (VLF<br />

profiles) ใหตั้งฉากหรือเกือบตั้งฉากกับแนวโครงสราง<br />

ทางธรณีวิทยาแลว และจุดสํารวจตางๆ (VLF<br />

stations) บน VLF profiles โดยกําหนดเปน<br />

coordinate กอนลงมือสํารวจจะตองตรวจหาและ<br />

กําหนดสถานีวิทยุที่เหมาะสมสําหรับการใชคลื่นวิทยุ<br />

ความถี่ต่ําในการสํารวจในพื้นที่นั้นๆ โดยจําเปนตอง<br />

เลือกสถานีวิทยุที่ตั้งอยูในแนวตั้งฉากหรือเกือบตั้ง<br />

ฉากกับแนวโครงสรางทางอุทกธรณีของพื้นที่สํารวจ<br />

วิธีการตรวจหาและกําหนดสถานีวิทยุดังกลาวใน<br />

เครื่อง VLF receivers แตละแบบจะไมเหมือนกัน<br />

ขึ้นกับบริษัทผูผลิต แตโดยสวนใหญจะใชวิธียืนถือ<br />

เครื่องรับคลื่นหันหนาใหตรงกับแนวสํารวจ และคอย<br />

หมุนตัวรอบตัวเองและตรวจสอบสัญญาณ (อาจแสดง<br />

ดวยจอภาพหรือสัญญาณเสียง) จนไดสถานีวิทยุที่<br />

ตองการใหกดคําสั่งเลือก<br />

(2) การกําหนดแนวสํารวจตําแหนง<br />

coordinate ของจุดสํารวจตางๆ เพื่อความสะดวกของ<br />

การบันทึกและการเรียกขอมูลการสํารวจจากเครื่อง<br />

บันทึกขอมูลจากเครื่อง VLF receiver ผูสํารวจตอง<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 77 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 1 แสดงตําแหนงที่ตั้งสถานีวิทยุความถี่ต่ําในประเทศตางๆ ทั่วโลก<br />

เมืองที่ตั้งสถานี ประเทศที่ตั้งสถานี ชื่อเรียกสถานี ความถี่คลื่น (kHz) กําลังสง (kW)<br />

Bordeaux<br />

Rugby<br />

Hegelang<br />

Gorki<br />

**Moscow<br />

**Yosamai<br />

Oxford<br />

Annapolis<br />

**NW. Cape<br />

Hawii<br />

Buenos Aires<br />

Maine<br />

Seattle<br />

ฝรั่งเศส<br />

อังกฤษ<br />

นอรเวย<br />

รัสเซีย<br />

รัสเซีย<br />

ญี่ปุน<br />

อังกฤษ<br />

สหรัฐฯ<br />

ออสเตรเลีย<br />

สหรัฐฯ<br />

อาเจนตินา<br />

สหรัฐฯ<br />

สหรัฐฯ<br />

FUD<br />

GBR<br />

JXZ<br />

ROR<br />

UMS<br />

WDT<br />

GBZ<br />

NSS<br />

NWC<br />

NPM<br />

LPZ<br />

NAA<br />

NLK<br />

หมายเหตุ ** หมายถึงสถานีที่รับคลื่นไดในประเทศไทย (จาก Wynn, 1979)<br />

14.1<br />

16.0<br />

16.4<br />

17.0<br />

17.1<br />

17.4<br />

19.6<br />

21.4<br />

22.3<br />

23.4<br />

23.6<br />

24.0<br />

24.8<br />

500<br />

750<br />

350<br />

315<br />

1000<br />

500<br />

500<br />

400<br />

1000<br />

600<br />

-<br />

1000<br />

125<br />

กําหนดตําแหนง coordinate ของจุดสํารวจ และแนว<br />

สํารวจพรอมดวยระยะความหางของจุดสํารวจ ระยะ<br />

ความหางของแนวสํารวจ (ดวยการใช coordinate<br />

key pad ตามดวย numeric key pad ของเครื่อง<br />

receiver ในกรณีที่ใชเครื่อง Wadi) และเดินสํารวจ<br />

เพื่อตรวจวัดสนามคลื่นแมเหล็กตามจุดสํารวจตางๆ<br />

โดยมีทิศทางการเดินตามผังที่กําหนดไว ดังแสดงใน<br />

รูป 2003-2 ซึ่งแสดง coordinates ของแนวสํารวจแต<br />

ละแนวหางกันแนวละ 25 เมตร เริ่มจากแนวกลาง คือ<br />

profile 0 ดานทิศตะวันตกมีแนวสํารวจอีก 2 แนวคือ<br />

profile 25 W และ profile 50 W เชนเดียวกันดานทิศ<br />

ตะวันออกก็มีแนวสํารวจอีก 2 แนวคือ profile 25 E<br />

และ profile 50 E ในแตละแนวสํารวจมีสถานีสํารวจ 9<br />

สถานี ตั้งแตสถานี 100N ถึง 180N (ระยะหางระหวาง<br />

สถานีสํารวจ 10 เมตร) สําหรับผังการเดินสํารวจเริ่มที่<br />

สถานี 100N ของแนวสํารวจ 50 W กอน ตรวจวัด<br />

ความเขมของสนามแมเหล็กทีละสถานีตามแนว 50 W<br />

จนถึงสถานี 180N แลวมาเริ่มแนวใหมคือ profile 25<br />

W โดยเริ่มจาก 180N ยอนมาทางทิศใตจนถึงสถานี<br />

สุดทายของ profile 25 W คือสถานี 100N และเดิน<br />

สํารวจทุกสถานีตามลูกศรที่แสดงในรูป 2<br />

8. วิธีการแปลความหมายขอมูลและการนําเสนอ<br />

ผลการสํารวจ<br />

8.1 การแปลความหมายและการนําเสนอขอมูล<br />

การสํารวจ แบบ FDEM<br />

ในการสํารวจแบบ FDEM methods โดย<br />

สวนใหญจะใชเครื่อง terrain conductivity meters<br />

อานคาคลื่นแมเหล็กไฟฟาตามสถานีสํารวจตางๆ และ<br />

คํานวณหาขนาดของคลื่นแมเหล็กไฟฟาทั้งที่เปน<br />

สวนประกอบจริงและสวนประกอบจินตนาการดังที่ได<br />

กลาวมาแลวในหัวขอ 8.2.1 (4) ดังนั้นขอมูลที่ไดจาก<br />

การสํารวจภาคสนามจะเปนขอมูลเชิงคุณภาพ<br />

อยางไรก็ตามการแปลความหมายใหเปนขอมูลเชิง<br />

ปริมาณ เพื่อหา geometric parameters ตางๆ ของ<br />

วัตถุตัวนําไฟฟาใตผิวดินอาจทําได ดวยวิธีการ EM<br />

resistivity sounding method ซึ่งมักประสบปญหา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 78 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ความยุงยากในการจัดเก็บขอมูลภาคสนามดวยวิธี multi-coil orientation หรือ multi-coil separation<br />

170N<br />

160N<br />

150N<br />

140N<br />

130N<br />

120N<br />

110N<br />

100N<br />

50 W 25 W 0 25 E 50 E<br />

รูปที่ 2 แสดง coordinates ของแนวสํารวจ จุดสํารวจ และผังการเดินสํารวจ<br />

ซึ่งก็สามารถแปลความหมายขอมูลไดสูงสุดเปนเพียง<br />

2-layer model เทานั้น สําหรับการนําเสนอผลงานการ<br />

สํารวจ โดยสวนใหญมักดําเนินการสํารวจในลักษณะ<br />

การตัดแนวสํารวจ (profiling) หรือการสํารวจทั่วพื้นที่<br />

(mapping) และนําเสนอตําแหนงที่แสดงคาผิดวิสัย<br />

หรือพื้นที่ที่แสดงคาผิดวิสัย (points หรือ areas of<br />

anomalies)<br />

8.2 การแปลความหมายและการนําเสนอขอมูล<br />

การสํารวจ แบบ TDEM<br />

ในอดีตการแปลความหมายขอมูลการ<br />

สํารวจภาคสนามแบบ TDEM methods จะใชวิธีการ<br />

curve matching เชนเดียวกับการสํารวจตรวจวัด<br />

ความตานทานไฟฟาแบบหยั่งลึก โดยชุด master<br />

curves พัฒนาขึ้นในประเทศรัสเซีย (Kaufman and<br />

Keller, 1983) โดยวิธีการนํา field curve ไปเปรียบเทียบ<br />

กับชุด master curves ก็สามารถคํานวณหาคาตางๆ<br />

ได สําหรับปจจุบันการแปลความหมายขอมูลจะใช<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งมีโปรแกรมตางๆ ให<br />

เลือกใชจํานวนมาก<br />

8.3 การแปลความหมายและการนําเสนอขอมูล<br />

การสํารวจ แบบ VLF-EM<br />

การแปลความหมายขอมูลการสํารวจ<br />

ภาคสนามแบบ VLF-EM โดยสวนใหญจะเปนการ<br />

แปลความหมายในเชิงคุณภาพ (qualitative interprettation)<br />

โดยการนําเสนอในรูปแบบของแผนที่ภาพ<br />

ตัดขวางและแสดงพื้นที่ผิดวิสัย (anomalous areas)<br />

โดยมีหนวยเปนโอหม-เมตร (Ωm) การแปลความ<br />

หมายในเชิงปริมาณ เพื่อหา geometric parameters<br />

ตางๆ ของวัตถุนําไฟฟาใตผิวดินก็สามารถกระทําได<br />

ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

8.4 เอกสารสําหรับการศึกษาคนควาตอไป<br />

8.4.1 การสํารวจแบบ FDEM methods<br />

(1) Boutwell, G.P., and Lawrence,<br />

T.A., 1988. “Electromagnetic Data Interpretation<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 79 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

Using Multivariate Least-Square Regression” In:<br />

Proc. of the Focus Conf. on Eastern Regional<br />

Ground Water Issues (Stanford, CT), National<br />

Water Well Association, Dublin, OH, pp. 3-20. [EMI]<br />

(2) Benson, R. C., Turner, M.,<br />

Turner, P. and Vogelsong, W. 1988. “In Situ,<br />

Time Series Measurements for Long-Term<br />

GroundWater Monitoring In: GroundWater Contamination:<br />

Field Methods”, A.G. Collins and A.I.<br />

Johnson (eds.), ASTM STP 963, American<br />

Society for Testing and Materials, Philadelphia,<br />

PA, pp. 58-72. [EMI, ER]<br />

(3) Barton, G.J. and Ivanhenko, T.,<br />

1991. “Electromagnetic Terrain Conductivity and<br />

Ground Penetrating Radar Investigations at and<br />

near the CIBA-GEIGY Superfund Site”, Ocean<br />

County, New Jersey: Quality Control Assurance<br />

Plan and Results. In: Proc. (4 th ) Symp. on the<br />

Application of 4-14 Geophysics to Engineering<br />

and Environmental Problems, Soc. Eng. and<br />

Mineral Exploration Geophysicists, Golden, CO,<br />

pp. 357-360.<br />

(4) Chapman, M.J., and Bair, E.S.,<br />

1992. “Mapping a Brine Plume Using Surface<br />

Geophysical Methods in Conjunctions with<br />

Ground Water Quality Data”. Ground Water<br />

12(3):203-209. [ER and EM I]<br />

(5) Jansen, J., 1991. Synthetic Resistivity<br />

Sounding for Groundwater Investigations in:<br />

Ground Water Management 5:877-888 (5 th NOAC).<br />

[vertical EMI sounding]<br />

(6) Valentine, R.M. and Kwader, T.,<br />

1985. Terrain Conductivity as a Tool for Delineating<br />

Hydrocarbon Plumes in a Shallow Aquifer-A<br />

Case Study. In: NWWA Conference on Surface<br />

and Borehole Geophysical Methods and Ground<br />

Water Investigations (2 nd , Fort Worth, TX),<br />

National Water Well Association, Dublin, OH, pp.<br />

52-63. [EMI]<br />

8.4.2 การสํารวจแบบ TDEM methods<br />

(1) Cook, P. G., Walter, G.R., Buselli,<br />

G., Potts, I., and Dodds, A.R., 1992. The Application<br />

of Electromagnetic Techniques to Groundwater<br />

Recharge Investigations. J. Hydrology 130: 201-<br />

229. [ER, EMI, TDEM]<br />

(2) Drew, T.A., Thomas, A. and Wyatt,<br />

R., 1985. Application of Surface Geophysics to<br />

Ground Water Management Planning in: Proc. of<br />

the AGWSE Eastern Regional Ground Water<br />

Conference (Portland, ME), National Water Well<br />

Association, Dublin, OH, pp. 232-242. [EMI]<br />

(3) Duran, P.B. and Haeni, F.P., 1982.<br />

The Use of Electromagnetic-Conductivity Techniques<br />

in the Delineation of Groundwater Leachate<br />

Plumes In: The Impact of Waste Storage and<br />

Disposal on Ground Water Resources, Proc. of the<br />

Northeast Conference, Novitiski and Levine (eds.),<br />

Center for Environmental Research, Cornell University,<br />

Ithaca, NY, pp. 8.4.1-8.4.33.<br />

(4) Fitterman, D.V. and Stewart,<br />

M.T., 1986. Transient Electromagnetic Sounding<br />

for Groundwater Geophysics 51:995-1005.<br />

(5) Kaufman, A.A. and Keller, G.V.,<br />

1983, Frequency and Transient Soundings.<br />

Elsevier, New York<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 80 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

8.4.3 การสํารวจแบบ VLF-EM methods<br />

(1) Bernard, J. and Valla, P., 1991.<br />

Groundwater Exploration in Fissured Media with<br />

Electrical and VLF<br />

(2) Fitzgerald, L.J., Angers, A.K. and<br />

Radville, M.E., 1986. The Application of VLF<br />

Geophysical Equipment to Hazardous Waste Site<br />

Investigations in New England. In: Proc. of the<br />

Third Annual Regional Ground Water Conference<br />

(Springfield, MA), National Water Well Association,<br />

Dublin, OH, pp. 527-540. Methods Geoexploration<br />

27:81-91<br />

(3) Jansen, J. and Taylor, R., 1989.<br />

Geophysical Methods for Groundwater Exploration<br />

or Groundwater Contamination Studies in Fracture<br />

Controlled Aquifers. In: Proc. Third Nat. Outdoor<br />

Action Conf. on Aquifer Restoration, Ground Water<br />

Monitoring and Geophysical Methods, National<br />

Water Well Association, Dublin, OH, pp. 855-869.<br />

[EMI, ER, VLF, thermal]<br />

(4) Watson, J., Stedje, D., Barcelo,<br />

M. and Stewart, M., 1990. Hydrogeologic Investigation<br />

of Cypress Dome<br />

(5) Wetlands in Well Field Areas<br />

North of Tampa Florida. In: Ground Water<br />

Management 3:163-176 (7 th NWWA Eastern GW<br />

Conference). [TDEM, VLF, ER, GPR]<br />

(6) Wynn, J.C. 1979. An Experimental<br />

Ground-Magnetic and VLF-EM Traverse over a<br />

Buried Paleochannel near Salisbury, Maryland, U.S.<br />

Geological Survey Open-File Report 79-105, 8 pp<br />

9. ความปลอดภัย<br />

9.1 ผูใชเครื่องมือตองศึกษาและปฏิบัติตามคูมือ<br />

การใชงานตามที่ผูผลิตเครื่องมือไดกําหนดไวใน<br />

เอกสารคูมือประจําเครื่องโดยเครงครัด รวมทั้งตองพึง<br />

ระมัดระวังเกี่ยวกับไฟฟาแรงดันสูง ซึ่งอาจกอใหเกิด<br />

อันตรายตอผูใชเครื่องมือ ผูรวมงาน ในขณะใชงานได<br />

9.2 เครื่องมือสํารวจแบบ EM methods และ<br />

อุปกรณการสํารวจตางๆ เปนสื่อไฟฟาแรงดันสูงไม<br />

สามารถนํามาใชงานไดในสภาพอากาศฝนฟาคะนอง<br />

9.3 การปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่ที่มี<br />

วัตถุอันตราย เชน ใกลแนวสายไฟฟาแรงดันสูง<br />

โรงงานอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ โรงงานอุตสาหกรรม<br />

อื่น ฟารมเลี้ยงไก และอื่นๆ เปนความรับผิดชอบและ<br />

อยูในวิจารณยานของผูสํารวจโดยตรง<br />

10. บุคลากร<br />

ความสําเร็จของงานสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ไมวาดวยวิธีการสํารวจใดๆ ยอมขึ้นอยูกับปจจัยหลาย<br />

อยางและปจจัยที่สําคัญที่สุดยอมเปนปจจัยดาน<br />

บุคลากร นักสํารวจธรณีฟสิกสจะตองรับผิดชอบตั้งแต<br />

ขั้นตอนการวางแผนการสํารวจ การเลือกเครื่องมือ<br />

และวิธีการสํารวจที่เหมาะสม การจัดเก็บขอมูล<br />

ภาคสนาม การแปลความหมายขอมูล และวิธีการ<br />

นําเสนอผลการสํารวจ ซึ่งทั้งหมดนักสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสนอกจากจะตองใชเครื่องมือการสํารวจแบบ<br />

ตางๆ เปนยังจะตองมีความรูในภาคทฤษฎีการสํารวจ<br />

และการแปลความหมายขอมูลการสํารวจแบบตางๆ<br />

รวมทั้งตองทําความเขาใจกับสภาพอุทกธรณีวิทยาใต<br />

ผิวดินของพื้นที่สํารวจอีกดวย แตดวยขอจํากัด<br />

ทางดานบุคลากรและงานที่จําเปนตองใชเวลามาก<br />

ที่สุดสําหรับงานสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน ไดแกงาน<br />

จัดเก็บขอมูลภาคสนาม ดังนั้นเอกสารคูมือฉบับนี้ ขอ<br />

นําเสนอบุคลากรสําหรับความรับผิดชอบตางๆ ดังนี้<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 81 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

10.1 บุคลากรระดับผูเชี่ยวชาญ ตองเปนนัก<br />

ธรณีวิทยาหรือวิศวกรที่ผานการฝกอบรมและมี<br />

ประสบการณดานการสํารวจธรณีฟสิกสไมนอยกวา<br />

15 ป หรือมีผลงานดานการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิว<br />

ดินไมนอยกวา 100 แหง ทําหนาที่ดานการตรวจสอบ<br />

การวางแผนการสํารวจ ตรวจสอบการแปล<br />

ความหมายขอมูลการสํารวจ และตรวจสอบรายงาน<br />

การสํารวจ การตรวจสอบตามขั้นตอนตางๆ ดังกลาว<br />

ดําเนินการภายใตรูปแบบอภิปราย ของผูรวมงาน<br />

ตางๆ ในหัวขอที่ 2 และ 3<br />

10.2 บุคลากรระดับผูชํานาญการ ตองเปนนัก<br />

ธรณีวิทยา นักอุทกธรณีวิทยา หรือวิศวกรที่ผานการ<br />

ฝกอบรมและมีประสบการณดานการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสไมนอยกวา 10 ป หรือมีผลงานดานการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินไมนอยกวา 50 แหง ทําหนาที่<br />

ดานการตรวจสอบสภาพอุทกธรณีภาคสนาม การ<br />

วางแผนการสํารวจและควบคุมการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดินภาคสนาม รวมทั้งทําหนาที่ดานการแปล<br />

ความหมายขอมูลและการจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

หรือใหคําปรึกษาดานการแปลความหมายขอมูลและ<br />

การจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

10.3 บุคลากรระดับปฏิบัติการ ตองเปนนัก<br />

ธรณีวิทยา นักอุทกธรณีวิทยา หรือวิศวกรที่ผานการ<br />

ฝกอบรมดานการสํารวจธรณีฟสิกส หรือบุคลากรอื่นๆ<br />

ที่ผานการฝกอบรมและมีประสบการณ ทําหนาที่ดาน<br />

การสํารวจจัดเก็บขอมูลภาคสนาม และฝกหัดแปล<br />

ความหมายขอมูลการสํารวจและการจัดทํารายงาน<br />

การสํารวจ ภายใตการควบคุมของผูชํานาญการหรือ<br />

ผูเชี่ยวชาญ<br />

11. เอกสารอางอิง<br />

American Society for Testing and Materials<br />

(ASTM), 2002. Standard Guide for Use of<br />

the Time Domain Electromagnetic Method<br />

for Subsurface Investigation, D 6820 - 02.<br />

Bernard, J., and Valla, P., 1991. Groundwater<br />

Exploration in Fissured Media with Electrical<br />

and VLF.<br />

U.S. Army Corps of Engineer and Engineering<br />

Designs, 1995. Geophysical Exploration for<br />

Engineering and Environmental Investigations,<br />

EM 1110-1-1802.<br />

US Environmental Protection Agency (US. EPA),<br />

1993. Use of Airborne, Surface, and Borehole<br />

Geophysical Techniques at Contaminated<br />

Sites, a Reference Guide.<br />

Wynn, J.C., 1979. An Experimental Ground-<br />

Magnetic and VLF-EM Traverse over a<br />

Buried Paleo-channel near Salisbury,<br />

Maryland, U.S. Geological Survey OpenFile<br />

Report 79-105, 8 pp.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 82 คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดสนามแมเหล็กไฟฟา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 2005 -2550<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค<br />

คูมือ ทบ ส 2005-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (อ) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

มาตรฐานใหใสวงเล็บตอทายและระบุ ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เปนตน โดยมีเครื่องหมาย<br />

(ก) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่ปรับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการ<br />

ตรวจวัดแรงโนมถวงแบบจุลภาคฉบับนี้ ไดจัดทําขึ้น<br />

ภายใตโครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจและ<br />

พัฒนาบอน้ําบาดาล พ.ศ. 2550 เปนสวนหนึ่งของชุด<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล<br />

โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาลไดมอบหมายใหคณะ<br />

ผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา ธรณีวิทยา วิศวกรรม<br />

เครื่องกล และวิศวกรรมโยธา เปนผูดําเนินการราง<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน เพื่อใหใช<br />

ควบคูไปกับมาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

แบบจุลภาค โดยคูมือฉบับนี้กําหนดขั้นตอนและ<br />

แนวทางสําหรับใชในงานสํารวจฯ เพื่อใหไดผลงาน<br />

ตามมาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีตรวจวัด<br />

แรงโนมถวงจุลภาคเปนการสํารวจเพื่อตรวจวัด<br />

คุณสมบัติความหนาแนน ของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินที่<br />

ระดับความลึกตางๆ โดยการตรวจวัดหรือสํารวจดวย<br />

เครื่องมือ (micro-gravimeters) บนผิวดิน ซึ่งเปนการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินที่นํามาประยุกตใชในการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาวิธีหนึ่ง ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการ<br />

สํารวจดังกลาว สามารถนํามาประยุกตใชในการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาในชั้นหินแข็งไดดี โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่ง การสํารวจอุทกธรณีวิทยาในโพรงหินปูนใต<br />

ผิวดิน อยางไรก็ตามการสํารวจอุทกธรณีวิทยาโดยวิธี<br />

ทางธรณีฟสิกสบนผิวดินหลายๆ กรณี มีความ<br />

จําเปนตองอาศัยการสํารวจทางธรณีฟสิกสวิธีการอื่นๆ<br />

ควบคูไปกันไปดวย<br />

2. ขอบเขต<br />

2.1 วัตถุประสงคและการประยุกตใชงาน<br />

2.1.1 คูมือฉบับนี้ครอบคลุมเนื้อหาทั่วๆ ไปใน<br />

ดานเครื่องมือและอุปกรณ วิธีการสํารวจ วิธีการแปล<br />

ความหมายขอมูล วิธีการนําเสนอผลการสํารวจและ<br />

ขอจํากัดของการสํารวจ สําหรับการสํารวจตรวจวัด<br />

แรงโนมถวง ของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินและน้ําบาดาล<br />

ในชั้นหินอุมน้ําตางๆ โดยใชเครื่องสํารวจแบบ microgravimeters<br />

2.1.2 คูมือฉบับนี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อใชเปน<br />

คูมือการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยวิธีตรวจวัด<br />

แรงโนมถวงจุลภาคแบบ micro-gravity สําหรับ<br />

ประยุกตใชเฉพาะการสํารวจอุทกธรณีวิทยาเทานั้น<br />

แตบางสวนของอาจเกี่ยวกับการประยุกตใชในงาน<br />

สํารวจธรณีเทคนิคหรือการสํารวจดานสิ่งแวดลอม<br />

2.2 ขอจํากัดของคูมือ<br />

2.2.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ไมครอบคลุมถึง<br />

รายละเอียดภาคทฤษฎีตางๆ แตจะนําเสนอรายชื่อ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 83 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เอกสาร และตําราที่เกี่ยวของใหผูใชเอกสารคูมือฉบับ<br />

นี้ไปศึกษาคนควาเพิ่มเติม<br />

2.2.2 เอกสารคูมือฉบับนี้มีขอบเขตจํากัดเฉพาะ<br />

การนําเสนอวิธีการสํารวจที่ประยุกตใชในดานการ<br />

สํารวจทางอุทกธรณีวิทยาเทานั้น<br />

2.2.3 เอกสารคูมือฉบับนี้มีขอบเขตจํากัดการ<br />

สํารวจบนผิวดินเทานั้น ไมครอบคลุมไปถึงการสํารวจ<br />

ตรวจวัดแรงโนมถวงทางอากาศ หรือการสํารวจใตน้ํา<br />

หรือการสํารวจทางบนผิวน้ํา<br />

2.2.4 หนวยวัดตางๆ ที่ใชในคูมือฉบับนี้ เปน<br />

ระบบหนวยวัดสากล (Système Internationale<br />

d’Unitès, SI Units)<br />

2.2.5 หนวยวัดที่ใชในการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

โลกหรือแรงดึงดูดของโลกตามปกติมีหนวยเปน gal<br />

(cm/sec 2 ) เชนแรงดึงดูดโลกในภาวะปกติจะมีคากับ<br />

980 gal หนวยวัดในการสํารวจแรงโนมถวง ทั่วไปมี<br />

หนวยเปน milli-gal (10 -3 gal) และหนวยวัดสําหรับ<br />

การสํารวจแรงโนมถวงจุลภาคโลกอยางละเอียด<br />

(micro-gravity survey) มีหนวยวัดเปน (micro-gal,<br />

µgal) หรือ 10 -6 gal ซึ่งเปนหนวยวัดที่ใชการสํารวจ<br />

ตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาคในเอกสารคูมือฉบับนี้<br />

2.2.6 ขอความที่เกี่ยวของกับมาตรฐานความ<br />

ปลอดภัยในเอกสารฉบับนี้ ครอบคลุมเฉพาะความ<br />

ปลอดภัยในการใชเครื่องมือที่มีมาตรฐานและอยูใน<br />

สภาพสมบูรณพรอมใชงานเทานั้นไมอาจครอบคลุมถึง<br />

ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หรืออุบัติเหตุใดๆ ที่<br />

อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานภาคสนาม ซึ่งจะเปน<br />

ความรับผิดของผูใชงานในการปฏิบัติงานดานตางๆ<br />

ตามขั้นตอนของเอกสารคูมือฉบับนี้ ผูใชงาน<br />

จําเปนตองคํานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตและ<br />

ทรัพยสินทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2003-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค<br />

- คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- คู มือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหวสะเทือน<br />

แบบหักเห<br />

- คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

3.2 American Society for Testing and<br />

Materials (ASTM):<br />

- D6430-99 (Re 2005) Standard Guide<br />

for Using the Gravity Method for Subsurface<br />

Investigation.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 84 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน (surface<br />

geophysical investigation) หมายถึง การสํารวจโดย<br />

ใชเครื่องมือทางธรณีฟสิกสบนผิวดินเพื่อที่จะจัดเก็บ<br />

ขอมูลดานธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา โดยมิไดใช<br />

เครื่องมือใดๆ หยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

การสํารวจน้ ําบาดาลเฉพาะแหง (groundwater<br />

investigation for pin-point well drilling)<br />

หมายถึง การสํารวจอุทกธรณีวิทยา ที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลที่เหมาะสม<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน (subsurface<br />

hydrogeological investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจเพื่อเก็บขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

โดยใชเครื่องมือเจาะหรือหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกส (geophysical<br />

models) เปนการสรางรูปแบบ จําลองลักษณะ<br />

ธรณีวิทยาหรือกายภาพอื่นๆ ของพื้นที่จากขอมูลการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกส เพื่อใหขอมูลดานความลึกของรูป<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนมีความถูกตอง<br />

แมนยํายิ่งขึ้น<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกสสองมิติ (2D<br />

geophysical profiles) หมายถึง ภาพเปนแนวยาว<br />

แสดงขอมูลชั้นดินหินในเชิงลึกที่ไดจากการธรณีฟสิกส<br />

แบบจําลองทางธรณีฟสิกสสามมิติ (3D<br />

resistivity models) หมายถึง ภาพสามมิติแสดงขอมูล<br />

ชั้นดินหินทั้งในเชิงกวาง ยาว และลึกที่ไดจากการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกส<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological models) หมายถึง<br />

การสรางรูปแบบจําลองของพื้นที่สํารวจจากขอมูลดาน<br />

อุทกธรณีวิทยาที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบน<br />

ผิวดิน เพื่อใชประกอบกับแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

สําหรับการกําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึง กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

การสํารวจฯ หมายถึง การสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาบนผิว<br />

แบบจําลองฯ หมายถึง แบบจําลองเชิงมโน<br />

ทัศนของพื้นที่สํารวจ<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน<br />

5.1 เอกสารคูมือนี้ไดกําหนดวิธีการสํารวจดวย<br />

การตรวจวัดแรงโนมถวงแบบ micro-gravity survey<br />

เพื่อประยุกตใชในการสํารวจสภาพอุทกธรณีวิทยาใต<br />

ผิวดินในพื้นที่ตางๆ สําหรับการปรับใชเพื่อใหไดผล<br />

งานการสํารวจตรงตามมาตรฐานที่กรมทรัพยากร<br />

น้ําบาดาลกําหนดโดยสามารถนําไปประยุกตใชในการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาตางๆ ดังนี้<br />

5.1.1 เปนคูมือใชในการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยการตรวจวัดแรงโนมถวงแบบ microgravity<br />

survey สําหรับงานสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะ<br />

แหงโดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่แหลงหินปูนและหิน<br />

แข็งอื่นๆ ซึ่งอาจตองดําเนินการสํารวจตอเนื่องดวย<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินตามมาตรฐาน ทบ<br />

ส 3000-2550<br />

5.1.2 เปนคูมือใชในการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาคสําหรับงาน<br />

สํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาโดยมีกระบวนการ<br />

สํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาตอเนื่องตาม<br />

มาตรฐาน ทบ ส 4000-2550<br />

5.1.3 เปนคูมือใชในการสํารวจธรณีฟสิกสบน<br />

ผิวดินดวยการตรวจวัดวัดแรงโนมถวงแบบ microgravity<br />

survey สําหรับงานศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาล<br />

ตางๆ เชน การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินปริมาณน้ํา<br />

สํารองแหลงน้ําบาดาลในชั้นหินแข็งตามคูมือ ทบ ป<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 85 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

1000-2550 การประเมินแหลงน้ําตนทุนของแองน้ํา<br />

บาดาล คูมือ ทบ ป 2000-2550 การประเมินศักยภาพ<br />

น้ําบาดาลของแองน้ําบาดาลและการจัดทําแผนการใช<br />

น้ําบาดาล และคูมือ ทบ ป 3000-2550 การจัด<br />

แบบจําลองเชิงคณิตศาสตรและการประยุกตใช<br />

5.2 เอกสารคูมือฉบับนี้ไดกําหนดขั้นตอนและ<br />

แนวทางการปฏิบัติงานไวกวางๆ สําหรับการปรับใช<br />

กับงานสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวัด<br />

วัดแรงโนมถวงจุลภาค ตามวัตถุประสงคตางๆ ซึ่งอาจ<br />

มีความตองการรายละเอียดของขอมูลไมเหมือนกัน<br />

โดยเฉพาะปริมาณของขอมูลยอมขึ้นอยูกับขนาดของ<br />

พื้นที่สํารวจเวลา งบประมาณของงานสํารวจศึกษา<br />

วิจัยแหลงน้ําบาดาลแตละงาน ดังนั้นขั้นตอนและแนว<br />

ทางการปฏิบัติงานที่ไดกําหนดเอกสารฉบับนี้<br />

สามารถดัดแปลงใชไดตามที่ผูเชี่ยวชาญของโครงการ<br />

ศึกษาวิจัยแตละโครงการเห็นสมควร<br />

6. เครื่องมือและอุปกรณ<br />

6.1 เครื่อง micro-gravimeters<br />

เครื่องมือที่ใชในการสํารวจตรวจวัดแรงโนม<br />

ถวงจุลภาคไดแกเครื่อง micro-gravimeters ซึ่งโดย<br />

หลักการมีสวนประกอบงายๆ คลายเครื่อง seismographs<br />

สําหรับการตรวจวัดแผนดินไหวโบราณ<br />

ประกอบดวยแขน (beam) ดานหนึ่งยึดติดกับบันพับ<br />

(hinge) ปลายอีกดานหนึ่งหอยดวยตุมน้ําหนักและติด<br />

อยูกับขดลวดสปริง (measuring spring) ซึ่งเชื่อมตอ<br />

ระหวางปลายแขนไปยังหนาปดสําหรับอานคา บน<br />

แขนมีขดลวดสปริงชวยพยุง (supporting spring or<br />

zero length spring) ซึ่งจะชวงรับใหตุมน้ําหนักแขวน<br />

อยูบน measuring spring โดยวามารถอานคาบน<br />

หนาปดไดศูนยหรือใกลเคียงกับศูนยในภาวะปกติ<br />

(รูปที่ 1)<br />

รูปที่ 1 สวนประกอบของเครื่อง micro-gravimeters (ดัดแปลงจาก ASTM, 2005)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 86 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

แตโดยขอเท็จจริงแลวเครื่องสํารวจ microgravimeters<br />

มีสวนประกอบที่ยุงยากมากกวา<br />

เครื่องมือตามหลักการดังกลาวขางตน เนื่องจาก<br />

ขดลวดสปริงตางๆ จะไวตอการตรวจวัดมาก โดย<br />

สามารถตรวจวัดความผิดปกติของแรงโนมถวงจุลภาค<br />

โลกในระดับ µgal หรือ 1 ในลานสวนของหนวยวัด<br />

gal ดังนั้นขดลวดสปริงและสวนประกอบอื่นๆ จะมีการ<br />

ยืดหดแมเพียงเล็กนอยตามสภาวะอุณหภูมิหรือระดับ<br />

แรงดันบรรยากาศไมได ดังนั้นสวนประกอบตางๆ<br />

ดังกลาวตองบรรจุไวภายใตกลองควบคุมอุณหภูมิและ<br />

แรงดันโดยมีแบตอรี่ขนาดเล็กเปนตัวใหพลังงาน<br />

ดังนั้นการเก็บรักษาเครื่องจึงจําเปนตองชารจไฟ<br />

แบตเตอรี่อยางสม่ําเสมอ นอกจากนี้เครื่อง microgravimeters<br />

ยังตองตั้งอยูบนตัวปรับระดับ<br />

(inclinometers) เพื่อปรับใหเครื่องมือตั้งอยูในแนว<br />

ระนาบขณะใชงาน<br />

การเลือกใชเครื่อง micro-gravity meters<br />

จะตองเลือกใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการใช<br />

งาน โดยตองมีชวงขีดความสามารถในการตรวจวัด<br />

ความไวและความสะดวกในการใชงาน และความ<br />

เที่ยงตรงสูง เครื่อง micro-gravimeters ยุคใหมใช<br />

ระบบ electronic sensors แทนระบบขดลวดสปริงแต<br />

ยังคงตองมีระบบควบคุมอุณหภูมิและความดัน<br />

เหมือนเดิมและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยมีความ<br />

คลาดเคลื่อนอยูในระดับ 1 -2 µgals มีระบบการการ<br />

ตัดสิ่งรบกวน (noises) มีระบบจัดเก็บขอมูลการ<br />

สํารวจเชิงตัวเลข มีจอภาพแสดงผลการสํารวจ มี<br />

ระบบปรับแกความเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ (minor<br />

tilt correction system) และสามารถตอเชื่อมกับระบบ<br />

คอมพิวเตอรเพื่อการถายขอมูล<br />

6.2 ชุดเครื่องมือในการรังวัด<br />

เนื่องจากการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยการตรวจวัดวัดแรงโนมถวงแบบ micro-gravity<br />

survey เปนวิธีการสํารวจที่ไวตอการเปลี่ยนแปลง<br />

ระดับความสูงของพื้นที่สํารวจ โดยการเปลี่ยนแปลง<br />

ระดับความสูงเพียง 1-2 เซนติเมตร มีผลตอการ<br />

สํารวจ ดังนั้นเวลาสวนใหญที่ใชในการสํารวจดวยการ<br />

ตรวจวัดวัดแรงโนมถวงแบบ micro-gravity survey<br />

จะเปนงานรังวัดระดับความสูงของสถานีตรวจวัด<br />

ตางๆ<br />

งานรังวัดระดับความสูงของสถานีตรวจวัด<br />

อาจดําเนินการได 2 วิธีคือ รังวัดดวยกลองระดับตอง<br />

เปนงานรังวัดระดับงานชั้นที่ 1 หรือ รังวัดดวยเครื่อง<br />

GPS จะตองมีความละเอียดของงานเทียบเคียงไดกับ<br />

รังวัดระดับงานชั้นที่ 1<br />

7. การสํารวจธรณีฟสิกสแบบตรวจวัดแรงโนม<br />

ถวงจุลภาค<br />

การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินดวยการตรวจวัด<br />

วัดแรงโนมถวง แบบ micro-gravity survey เปนการ<br />

สํารวจเพื่อตรวจวัดคุณสมบัติความหนาแนนของชั้น<br />

ดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ บนผิวดิน ใน<br />

เอกสารคูมือฉบับนี้จะกลาวถึง หลักการการสํารวจ<br />

การปรับแกขอมูลการสํารวจ วิธีการสํารวจ การ<br />

นําเสนอผลงาน และขอจํากัดของการสํารวจ ดัง<br />

รายละเอียดในหัวขอตางๆ ตอไปนี้<br />

7.1 หลักการสํารวจแบบตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

หลักการในการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยการตรวจวัดวัดแรงโนมถวงแบบ micro-gravity<br />

survey เพื่อตรวจวัดคุณสมบัติความหนาแนนของชั้น<br />

ดินชั้นหินใตผิวดินที่ระดับความลึกตางๆ ซึ่งอาศัย<br />

หลักการพื้นฐานแรงโนมถวงโลก (Newston’s Law of<br />

Gravity) และกฎแหงการเคลื่อนที่และอัตราเรง<br />

ระหวางวัตถุทั้งสอง (Law of Motion and Acceleration)<br />

มาประยุกตใชตรวจวัดชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน<br />

ที่มีการเปลี่ยนแปลงความหนาแนนของเนื้อหินในแนว<br />

ระนาบ (lateral density changes in density) อัน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 87 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เนื่องจากแรงดึงดูดโลก โดยวิธีการตรวจวัดแรงดึงดูด<br />

สองสวนบนผิวโลกคือ สวนที่หนึ่งคาแรงดึงดูดที่เกิด<br />

จากมวลของโลกที่คอนขางคงที่ และสวนที่สองเปน<br />

แรงดึงที่นอยมากเมื่อเรียบเทียบกับแรงดึงดูดโลกซึ่ง<br />

เปนแรงที่ผันแปรตามทางดานความหนาแนนของชั้น<br />

หินใตผิวดิน ซึ่งอาจเรียกวาเปน “รองรอยผิดวิสัยทาง<br />

แรงโนมถวง”<br />

จากหลักการดังกลาว ทําใหวิธีการสํารวจ<br />

แบบ gravity methods สามารถประยุกตตรวจวัดเพื่อ<br />

แปลความหมายไปสูสภาพอุทกธรณีวิทยา เปนตนวา<br />

การตรวจวัดเพื่อคนหาแนวธารน้ําใตดิน ซึ่งกอเกิดใน<br />

ชั้นหินแกรนิต ในบริเวณพื้นที่แหลงหินแกรนิตที่ไมมี<br />

ธารน้ําใตดินสามารถตรวจวัดคาแรงดึงดูดทั้งสอง<br />

รวมกันเทากับ 980X10 3 mgal แตเครื่อง gravimeters<br />

ยุคใหมสามารถปรับตั้งตัวเลขดังกลาวใหเปนศูนย<br />

(null setting) ตรงพื้นที่ที่มีธารใตดินจะอานตัวเลขเปน<br />

ติดลบ เนื่องจากความหนาแนนของธารน้ําใตดินที่เปน<br />

ชั้นทรายหรือชั้นทรายที่อิ่มตัวดวยน้ําจะมีความ<br />

หนาแนนนอยกวาชั้นหินแกรนิตเนื้อแข็ง และทําให<br />

แรงดึงดูดสวนที่สองนอยนอยลงกวาในพื้นที่ที่เปน<br />

หินแกรนิตเนื้อแข็ง<br />

สําหรับการสํารวจแบบ micro-gravity<br />

methods มีหลักการการสํารวจที่เหมือกันเพียงแตเปน<br />

การสํารวจอยางละเอียดและใชเครื่องสํารวจที่สามารถ<br />

อานคาการเปลี่ยนแปลงของแรงดึงดูดโลกในระดับ<br />

µgal แทนที่จะเปน mgal ซึ่งหมายความวาการ<br />

แปรเปลี่ยนของชั้นหินใตผิวดินที่มีความแตกตางดาน<br />

ความหนาแนนแมเพียงเล็กนอย ก็สามารถตรวจจับได<br />

ดวยวิธีการสํารวจดังกลาว ตัวอยางเชน จากผลการ<br />

สํารวจดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานในพื้นที่<br />

สํารวจแหงหนึ่งพบโพรงหินปูนใตดินในพื้นที่หลาย<br />

แหง และจะผลการเจาะพบวาโพรงหินปูนตางๆ บาง<br />

แหงเจาะไดน้ํา บางแหงเปนโพรงอากาศไมมีน้ํา และ<br />

บางแหงเปนโพรงดินเหนียว ในกรณีเชนนี้จะใชการ<br />

สํารวจแบบ micro-gravity methods สําหรับการ<br />

แยกแยะประเภทของโพรงหินปูนใตผิวดินไดดี ทั้งนี้<br />

โดยหลักการเบื้องตน ความหนาแนนของ อากาศ น้ํา<br />

และดินเหนียวมีความแตกตางกัน (density contrast)<br />

มากเพียงพอ อยางไรก็ตาม การสํารวจดวยวิธี microgravity<br />

methods ยังขึ้นอยูกับปจจัยตางๆอีกมาก เชน<br />

ขนาดและความลึกของโพรงใตดินดังกลาว รวมไปถึง<br />

สภาพแวดลอมของพื้นที่สํารวจ และสิ่งสําคัญคือความ<br />

ละเอียดลออของผูสํารวจ วิธีการสํารวจไมใชเรื่องยาก<br />

แตการตรวจวัดความเปลี่ยนแปลงของบางสิ่ง<br />

บางอยางที่มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอย<br />

จําเปนตองใชความละเอียดลออของผูสํารวจอยางสูง<br />

7.2 วิธีการสํารวจแบบตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

จุลภาค<br />

การสํารวจจัดเก็บขอมูลการสํารวจดวย<br />

micro-gravity method โดยเฉพาะการอานคาที่สถานี<br />

ตรวจวัดตางๆ เปนเรื่องงาย เพียงตั้งเครื่องมือและใช<br />

เครื่องมือตามคูมือของการใชเครื่อง micro-gravity<br />

meter เทานั้น โดยผูใชเครื่องมือตองใจเย็นและใช<br />

ความละเอียดลออสูง เพื่อจัดเก็บขอมูลที่ถูกตอง<br />

เพราะทันทีที่ตั้งเครื่องและปลดแขนการตรวจวัด<br />

เครื่องมือตองใชเวลานานพอสมควรที่จะปรับตัวเครื่อง<br />

ใหอยูในสภาพพรอมอานคา<br />

แตโดยขอเท็จจริงแลว การสํารวจดวย<br />

micro-gravity method จําเปนตองดําเนินการตาม<br />

ขั้นตอนตางๆ กอนการตรวจวัดจัดเก็บขอมูลตรง<br />

สถานีสํารวจดังกลาวขั้นตน ดังขอสรุปตอไปนี้<br />

7.2.1 การวางแผนการสํารวจ<br />

ในการวางแผนการสํารวจจําเปนตอง<br />

คํานึงถึงวัตถุประสงคของการสํารวจซึ่งจาก<br />

แบบจําลองทางอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่สํารวจหรือ<br />

ผลการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดินอื่นๆ ที่ได<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 88 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ดําเนินการแลวในพื้นที่สํารวจ ทําใหสามารถประมาณ<br />

การเปาหมายของการสํารวจดวย micro-gravity<br />

method โดยสามารถประมาณการความลึก การ<br />

วางตัว รูปราง ขนาดและคา density ของวัตถุ<br />

เปาหมาย ซึ่งทําใหสามารถกําหนดตําแหนงของสถานี<br />

สํารวจแรงโนมถวงจุลภาค แนวสํารวจ และหรือพื้นที่<br />

สํารวจ ตัวอยาง เชน การใช micro-gravity method<br />

ในการจําแนกประเภทของโพรงหินปูนใตดินในพื้นที่<br />

สํารวจที่ไดสํารวจดวยวิธีการตรวจวัดความตานทาน<br />

ไฟฟามากอนแลว จาก resistivity maps ซึ่งไดระบุ<br />

พื้นที่ตรวจพบโพรงใตดินอยูแลว ทําใหสามารถวาง<br />

แผนการสํารวจไดอยางรวดเร็ว<br />

7.2.2 รูปแบบการสํารวจ<br />

การสํารวจดวยวิธี micro-gravity survey<br />

สามารถดําเนินการได 2 รูปแบบคือ การสํารวจแบบ<br />

ตัดแนว (profiling) และการสํารวจแบบทั่วพื้นที่<br />

(mapping) ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการสํารวจ<br />

และรูปราง (shape) ของวัตถุเปาหมาย ซึ่งในการ<br />

สํารวจแรงโนมถวงมักแบงรูปรางของวัตถุเปาหมาย<br />

ออกเปน 4 รูปแบบคือ (1) ทรงกลม (spheres) เชน<br />

โพรงใตดิน (2) ทรงกระบอก (cylinders) เชนธารน้ํา<br />

ใตดิน (3) ลักษณะเปนแผน (slabs) เชนการยกตัว<br />

ของชั้นหินแข็ง และ (4) รูปรางไมแนนอน (irregular<br />

shapes) การเลือกรูปแบบของการสํารวจไมอาจ<br />

กําหนดไดชัดเจน แตอยางนอยผลการสํารวจจะตอง<br />

สามารถกําหนดตําแหนง ความลึก และขนาด หรือ<br />

geometric dimensions ของวัตถุเปาหมายได<br />

หลักการในการวางตําแหนงสถานีสํารวจ<br />

แนวสํารวจ หรือพื้นที่สํารวจ จะพยายามหลีกเลี่ยงการ<br />

วางตําแหนงใหใกลภูเขา หรือ หุบเขาที่มีผลตอการ<br />

ตรวจวัดคาแรงโนมถวงโลก และจําเปนตองแกไขคาที่<br />

ผิดเยนไปจากความเปนจริงดังกลาว โดยวิธีการ<br />

ปรับแกขอมูลแบบ terrain correction (รายละเอียดใน<br />

หัวขอ 8.3.3)<br />

7.2.3 การจัดตั้งและจัดเตรียมสถานีสํารวจ<br />

ระยะหางระหวางสถานีสํารวจแรงโนม<br />

ถวงแบบ micro-gravity survey ปกติจะมีระยะหาง<br />

ระหวางสถานีไมเกิน 5-6 ม และอยางนอยตองมีสถานี<br />

สํารวจไมนอยกวา 3 สถานีในพื้นที่เปาหมาย เชน<br />

การสํารวจโพรงหินปูนโพรงใดโพรงหนึ่งจะตองมี<br />

สถานีตรวจวัดไมนอยกวา 3 สถานีในพื้นที่ของโพรง<br />

นั้นๆ<br />

ในการจัดเตรียมสถานีสํารวจพื้นที่สําหรับ<br />

การตั้งเครื่องมือจะตองเปนพื้นแข็งขนาดพื้นที่สามารถ<br />

วางแผนฐานเครื่องมือขนาดไมนอยกวา 15x15 ตาราง<br />

เซนติเมตร และตองรังวัดระดับความสูงของสถานี<br />

อยางหลีกเลี่ยงไมได ถึงแมจะเปนพื้นที่ราบก็ตาม และ<br />

การรังวัดระดับความสูงของสถานีตรวจวัดดังกลาว<br />

จะตองเปนงานรังวัดระดับชั้นที่ 1 เทานั้น<br />

7.2.4 การจัดตั้ง base stations ในการสํารวจ<br />

แบบ micro-gravity survey<br />

จําเปนตองจัดตั้ง base stations ภายใน<br />

หรือใกลพื้นที่สํารวจ อยางนอย 1-3 แหงโดยการ<br />

เตรียมพื้นที่เชนเดียวกับสถานีสํารวจแตตองปรับพื้น<br />

และเท cement slab ใหสูงเทาพื้นที่เดิม โดย base<br />

stations จะเปนสถานีเพื่อตรวจสอบความผิดเพี้ยน<br />

ของเครื่องมือ ซึ่งเปนความผิดเพี้ยนของคาที่ตรวจวัด<br />

ไดอันเนื่องจากความสั่นสะเทือนของพื้นที่ หรือการ<br />

เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ โดยปกติกอนเริ่มและกอน<br />

หยุดงานสํารวจทุกวันจะวัดคาที่ base stations และ<br />

ระหวางวันจะวัดคาอีก 1-2 ครั้ง เพื่อใชเปนขอมูลใน<br />

การปรับแกขอมูลที่วัดไดจากสถานีตรวจวัดตางๆ ที่<br />

ดําเนินการในวันนั้นๆ โดยการปรับแกแบบ drift<br />

correction (รายละเอียดในหัวขอ 8.4) และใช base<br />

stations เปนจุดสําหรับ calibrate เครื่องมือทุกวัน<br />

สําหรับการเริ่มตนสํารวจวันใหม<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 89 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

7.2.5 การอานคาที่สถานีตรวจวัดตางๆ<br />

ถึงแมวาจะเปนการอานคาโดยตรงจาก<br />

เครื่องสํารวจแตก็เปนงานที่เชื่องชาและละเอียด การ<br />

ตรวจวัดตรวจวัดคาอยางเรงรีบมีผลใหเกิดคาผิดเพี้ยน<br />

เนื่องจากสวนที่เคลื่อนที่ดวยระบบ elastic parts ของ<br />

เครื่องมือยังไมหยุดนิ่ง โดยสวนใหญการอานคาในแต<br />

ละสถานีจะอานคาซ้ําแลวซ้ําอีกจนกวาจะไดคาที่ขอน<br />

ขางคงที่<br />

7.3 การปรับแกคาผิดวิสัยของบูเกอร<br />

ถึงแมวาการสํารวจจัดเก็บขอมูลใน<br />

ภาคสนามจะดําเนินการดวยความละเอียดลออ<br />

ภายใตการรังวัดระดับความสูงของสถานีสํารวจตางๆ<br />

ตามขอกําหนด คาที่ตรวจวัดไดตามจุดตางๆ บนผิว<br />

โลก จะมีความแตกตางไปจากคาที่เปนแรงโนมอันเกิด<br />

จากการเปลี่ยนแปลงของชั้นหินใตผิวดินอยางแทจริง<br />

คาที่แตกตางดังกลาว ในการสํารวจดวย gravity<br />

methods เรียกวา “Bouguer Anomaly” หรือคาผิด<br />

วิสัยของบูเกอร ซึ่งเกิดจากสาเหตุตางๆ และ<br />

จําเปนตองปรับแกขอมูลที่ตรวจวัดไดจากภาคสนาม<br />

เพื่อใหไดขอมูลที่ใกลเคียงกับ theoretical gravity ให<br />

ไดมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได โดยมีวิธีการปรับแก<br />

ดังนี้<br />

7.3.1 การปรับแกตามเสนรุง<br />

ถาหากโลกของเราเปนทรงกลมโดย<br />

แทจริง หยุดนิ่งอยูกับที่ มีมวลสม่ําเสมอ และตัดสวนที่<br />

เปน lateral density variations ใกลเปลือกโลก อัน<br />

เนื่องจากโครงสรางทางธรณีวิทยาใตผิวดินออกไป<br />

การตรวจวัดแรงดึงดูดของโลก ณ ที่ใดก็ตามบน<br />

ผิวโลกก็จะไดคาที่เทากันหมด การเปลี่ยนแปลงของ<br />

แรงดึงดูดที่ตรวจวัดไดทั้งหมดจึงจะเปนสวนที่เกิดจาก<br />

จึงจะเปนสวนของ lateral density variations ใกล<br />

เปลือกโลกอันเนื่องจากโครงสรางทางธรณีวิทยาใตผิว<br />

ดินอยางแทจริง แตโดยความเปนจริงแลวรูปรางของ<br />

โลกที่ใกลเคียงความเปนจริงที่สุดเปนทรงกลมปลอง<br />

ตรงกลางและแบนตรงขั้วโลก ตรงเสนศูนยสูตรจะอยู<br />

หางจากใจกลางโลกมากกวาตรงขั้วโลกประมาณ 21<br />

กิโลเมตร แรงดึงดูดโลกที่มีตอวัตถุใดๆ บนผิวโลกนับ<br />

จากเสนศูนยสูตรจะเพิ่มขึ้นตามองศาการเพิ่มของเสน<br />

รุง ดังสมการที่ (1)<br />

g = g 0 (1+C 1 sin 2 φ - C 2 sin 2 2φ) (1)<br />

เมื่อ g 0 เปนคาของแรงโนมถวงโลกที่เสน<br />

ศูนยสูตร φ เปนองศาของเสนรุง C 1 และ C 2 เปน<br />

คาคงที่ขึ้นกับรูปรางของโลก ซึ่งสหพันธสากลดานจีโอ<br />

เดซี่และธรณีฟสิกส (International Union of Geodesy<br />

and Geophysics) ไดพัฒนาสูตรการคํานวณคา<br />

g ดังสมการที่ (2)<br />

g = 978.0490 (1+0.0052884 sin 2 φ<br />

- 0.0000059 sin 2 2φ) (2)<br />

7.3.2 การปรับแกระดับความสูง elevation<br />

correction<br />

การปรับแกคาแรงโนมถวงจุลภาคที่<br />

ตรวจวัดไดจากภาคสนามใหใกลเคียงกับคาแรงโนม<br />

ถวงจุลภาคที่แทจริง จําตองดําเนินการปรับแก 2 ดาน<br />

ดวยกัน คือ<br />

(1) การปรับแกดาน free-air correction<br />

สืบเนื่องจากคาแรงโนมถวงผันแปรผกผันกับระยะทาง<br />

ระหวางวัตถุใกลเปลือกโลกกับใจกลางโลก ดังนั้น<br />

ระดับความสูงของสถานีตรวจวัดคาตางๆ การปรับแก<br />

ระดับความสูงของสถานีตรวจวัดทุกสถานีใหบนฐาน<br />

เดียวกัน ซึ่งอาจใชปรับแกขอมูลที่ตรวจวัดไดใหอยูบน<br />

ฐานของระดับความสูงน้ําทะเลปานกลาง (MSL) โดย<br />

ปกติใชคาการปรับแกประมาณ 0.30855 mgal/m<br />

(Butler, 1980) ความสูงเหนือระดับน้ําทะเลปานกลาง<br />

นําไปบวกคาที่วัดไดและต่ํากวาระดับน้ํา ทะเลปาน<br />

กลางใหนําไปลบออกจากคาที่อานได<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 90 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(2) การปรับแกดาน Bouguer collection<br />

ในการคํานวณหาความลึกของวัตถุเปาหมาย<br />

ใตผิวดิน จําเปนตองอาศัยขอมูลความแตกตางดาน<br />

ความหนาแนนของวัตถุนั้นกับวัตถุรอบดานตัวอยาง<br />

เชน density contrast ระหวางหินแกรนิตกับทรายชั้น<br />

น้ํา ซึ่งโดยปกติความหนาแนนของชั้นหินตางๆ ได<br />

ทดสอบและกําหนดคาไวแลวดังแสดงในตาราง 2004-<br />

1 แตการประมาณคาความหนาแนนของวัตถุใตดิน<br />

ผิดพลาดเพียง 0.05 กิโลกรัม/ตารางเมตร ที่มี<br />

ระยะหางประมาณ 350 เมตร จะตองปรับแกโดย<br />

Bouguer collection ประมาณ 0.5 mgal ดังนั้นใน<br />

การปรับแกดวย Bouguer collection สําหรับการ<br />

สํารวจแบบ micro-gravity method โดยการเก็บ<br />

ตัวอยางหินหลายๆ ตัวอยางมาวิเคราะหและเฉลี่ยคา<br />

ความหนาแนนของหินที่เกี่ยวของแทนการใชใชคา<br />

ความหนาแนน จากตารางที่ 1 จึงเปนความจําเปน<br />

อยางยิ่ง<br />

ตารางที่ 1 คาความหนาแนนของหินชนิดตางๆ ในสหรัฐอเมริกา<br />

ชนิดหิน<br />

จํานวน ความหนาแนนเฉลี่ย<br />

จํานวน ความหนาแนนเฉลี่ย<br />

ชนิดหิน<br />

ตัวอยาง (กก./ลบ.ม.)<br />

ตัวอยาง (กก./ลบ.ม.)<br />

หินแกรนิต 155 2.667 หินแกรโนไดโอไรต 11 2.716<br />

หินซินไนท (Syenite) 24 2.757 หินไดโอไรต 13 2.839<br />

หินไรโอไรต 15 2.370 หินบะซอลท 11 2.772<br />

หินทราย:<br />

หินปูน:<br />

หนวยหิน<br />

12 2.500 หนวยหินแกลนโรส 10 2.370<br />

เซ็นตปเตอร<br />

หนวยหินแบรดฟอรด 297 2.400 หนวยหินแบล็คริเวอร 11 2.720<br />

หนวยหิน เค ไวโอ 38 2.320 หนวยหินเอลเลน 57 2.750<br />

เบอรเยอร<br />

หินโดโลไมต<br />

หินดินดาน:<br />

หนวยหินแบล็คแมนเทาว 56 2.800 หนวยหินเพนซิลวาเนีย -- 2.420<br />

หนวยหินไนแอนกาลา 14 2.770 หนวยหินครีเตเชียส 9 2.170<br />

ตะกอนทรายเม็ดละเอียด 54 1.930 ตะกอนทรายแปง ทราย 15 1920<br />

และดินเหนียว<br />

หินไนส 7 2.690 หินชีสต 76 2.820<br />

หินชนวน 17 2.810 หินแอมฟโบไลต 13 2.990<br />

(จาก U.S. Army Corps of Engineers, 1995)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 91 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

7.3.3 การปรับแกภูมิประเทศของพื้นที่สํารวจ<br />

การปรับแกดานภูมิประเทศของพื้นที่<br />

สํารวจ (terrain correction) เปนการแกไขขอมูลการ<br />

สํารวจเพื่อชดเชยคาที่เกิดจากผลกระทบอันเนื่องจาก<br />

พื้นที่สํารวจอยูใกลเขา หรือรองหุบเขา ซึ่งมีผลเกิดให<br />

เกิดความผิดเพี้ยนในการตรวจวัดคา gravity ในสนาม<br />

หากภูเขาหรือหุบเขาใกลสถานีสํารวจมากเกินไป<br />

(ปกติจะตองหางไมนอยกวา 1 km) วิธีการปรับแก<br />

อาศัยการวิเคราะหจากแผนที่ภูมิประเทศ (มาตรสวน<br />

1:50,000) ของพื้นที่สํารวจและคา gravity ที่อานได<br />

จากสถานีตางๆ ใกลพื้นที่เขาโดยวิธีการเปรียบเทียบ<br />

ซึ่งในปจจุบันมีโปรแกรมคอมพิวเตอรสามารถนํามาใช<br />

ในการปรับแก โดยสวนใหญเปนโปรแกรมที่ผูผลิต<br />

เครื่องมือการสํารวจใหมาพรอมเครื่องมือ<br />

7.4 การปรับแกขอมูลแบบอื่นๆ<br />

นอกเหนือไปจากการปรับแกขอมูลตามคา<br />

ผิดวิสัยของบูเกอรดังกลาวขางตนแลว ยังจําเปนตอง<br />

ปรับแกขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนามอีก 2 แบบ<br />

คือ<br />

7.4.1 การปรับแกตาม meter factor ซึ่งเปน<br />

factor ที่เปลี่ยนจากตัวเลขที่ตรวจวัดไดในสนามใหมี<br />

หนวยเปน µgal เครื่องมือแตละเครื่องจะมีตาราง<br />

สําหรับการแปลงคาดังกลาวของตัวเครื่องนั้นๆ<br />

7.4.2 การปรับแกแบบ instrumental drift การ<br />

ตรวจวัดคา gravity ณ จุดใดจุดหนึ่งในเวลาที่แตกตาง<br />

กันมักจะไดคาที่แตกตางกันไปเล็กนอยเสมอ เชนการ<br />

ตรวจวัดที่สถานี A แลวไปตรวจวัดที่สถานีอื่นๆ ตอใน<br />

ระยะเวลา 2-3 ชั่วโมงกลับมาตรวจวัดที่สถานี A อีก<br />

ครั้งผลที่ไดรับคือคาที่อานไดครั้งแรกมักไมตรงกับ<br />

คาที่ 2 หรือแมแตอานคาแลววางเครื่องมือไวที่สถานี<br />

A โดยไมแตะตอง อีก 2-3 ชั่วโมงตอมาอานคาอีกครั้ง<br />

ก็มักจะไดคาที่แตกตางกันเล็กนอยไปจากคาที่อาน<br />

ครั้งแรก คาที่แตกตางดังกลาวเกิดอาการลาของระบบ<br />

elastic part ของเครื่องสํารวจหรือเรียกวา “instrumental<br />

drift” ซึ่งโดยปกติมีคาความแตกตางผันแปร<br />

โดยตรงกับระยะเวลาของการใชงาน ยิ่งใชงานหลาย<br />

ชั่วโมงคาที่อานไดยิ่งเพิ่มขึ้นในลักษณะเปน linear<br />

equation ดังนั้น ในขั้นตอนการสํารวจ จึงจําเปนตอง<br />

ยอนกลับไปตรวจสอบ “instrumental drift” ที่ base<br />

station เพื่อหาคาผิดเพี้ยนดังกลาวทุก 2-3 ชั่วโมง<br />

เมื่อนําคาที่อานไดจาก base station มาพล็อตตาม<br />

เวลาของการอานคามักจะไดกราฟเสนตรงเสนหนึ่ง ที่<br />

ใชสําหรับการปรับแกคาผิดเพี้ยน “instrumental drift”<br />

ที่ตรวจวัดจากสถานีตางๆ ในวันนั้น<br />

7.5 การนําเสนอผลงานและแปลความหมาย<br />

การปรับแกขอมูล<br />

ในดานการแปลความหมายของมูลการ<br />

สํารวจดวย micro-gravity methods เอกสารคูมือฉบับ<br />

นี้จะไมกลาวถึงรายละเอียด เนื่องจากปจจุบันมี<br />

โปรแกรมคอมพิวเตอรใหใชสําหรับการแปล<br />

ความหมายขอมูลการสํารวจจํานวนมาก ดังนั้นใน<br />

เอกสารฉบับนี้จะขอสรุปโดยยอดังตอไปนี้ คือ<br />

7.5.1 ในหลายๆ กรณีการแปลความหมาย<br />

ขอมูลการสํารวจในเชิงเปรียบเทียบ (qualitative<br />

interpretation) มักบรรลุเปาหมายของการสํารวจ<br />

ตัวอยางเชน การสํารวจเพื่อจําแนกประเภทของโพรง<br />

หินใตดิน ไดคา gravities ของดินเหนียว น้ํา และ<br />

อากาศ ที่อยูในโพรง และตําแหนงของโพรงตางๆ<br />

ดังกลาว โดยการนําเสนอในลักษณะแผนที่ (Bouguer<br />

Anomaly Maps or Iso-Gravity Maps) สวนขนาด<br />

รูปรางและความลึกของโพรงตางๆ ดังกลาวสวนใหญ<br />

ไดจากการสํารวจโดย resistivity methods กอนหนานี้<br />

แลว<br />

7.5.2 การแปลความหมายขอมูลเพื่อหา ตําแหนง<br />

ความลึก รูปรางและขนาดของวัตถุเปาหมาย ใตผิวดิน<br />

ในลักษณะ quantitative interpretation สามารถ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 92 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

กระทําไดงายๆ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรมากมาย<br />

และสวนใหญผูผลิตเครื่องมือมักใหโปรแกรมการแปล<br />

ความหมายดังกลาวมาพรอมเครื่องมือ<br />

7.5.3 การแปลความหมายขอมูลในลักษณะ<br />

quantitative interpretation ดวยวิธีการปกติจําเปน<br />

ตองจําแนกวัตถุเปาหมายจากขอมูลการสํารวจ<br />

เบื้องตนวา โดยจําแนกรูปรางของวัตถุเปาหมาย<br />

ออกเปนรูปแบบตางๆ 4 รูปแบบคือ ทรงกลม ทรง<br />

กระบอก เปนแผน (slabs) และรูปรางไมคงที่ เพื่อใช<br />

สูตรการคํานวณใหถูกตอง สําหรับวิธีการแปล<br />

ความหมายดวยวิธีกาใชสูตรตางๆ ดังกลาวสามารถ<br />

หาอานไดตามตํารา เชน Griffiths (1976), Butler and<br />

Dwain (1980), Telford et al (1990) เปนตน<br />

7.5.4 ในการสํารวจดวย micro-gravity method<br />

ถึงแมวามีวิธีการสํารวจที่งายจากการอานคาโดยตรง<br />

แตจําเปนตองใชความละเอียดและความอดทนสูงมาก<br />

ในการสํารวจจัดเก็บขอมูลภาคสนาม รวมทั้ง<br />

จําเปนตองมีการรังวัดระดับความสูงอยางละเอียดของ<br />

สถานีสํารวจ จําเปนตองใชเวลาและคาใชจายคอนขาง<br />

สูงเมื ่อเทียบกับการสํารวจดวยวิธีการอื่นๆ นอกจากนี้<br />

ยังจําเปนตองทําการปรับแกขอมูลการสํารวจแบบ<br />

ตางๆ ดังนั้นการแปลความหมายขอมูลและการ<br />

นําเสนอขอมูล (สํารวจและผูแปลขอมูลการสํารวจ<br />

จําเปนตองมีความชํานาญเฉพาะดาน<br />

7.5.5 ขอมูลจาก Bouguer anomaly maps<br />

สามารถประมาณการความลึกสูงสุด (maximum<br />

depth) ของวัตถุเปาหมายใตผิวดินไดคราวๆ โดยการ<br />

วัดความกวางของพื้นที่ anomaly ในแผนที่ (Butler<br />

and Dwain, 1980) การประมาณการดังกลาวภายใต<br />

ขอสมมติฐานวา พื้นที่ anomaly ดังกลาวเกิดจากวัตถุ<br />

เปาหมายเพียงชิ้นเดียว (single isolated target) ซึ่ง<br />

ขอสมมติฐานดังกลาวมีความเปนไปไดยากโดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งหากวัตถุเปาหมายดังกลาวอยูลึกจากผิวดิน<br />

มากๆ<br />

7.6 ขอจํากัดในการสํารวจ<br />

7.6.1 ขอสมมติฐานเบื้องตนในการสํารวจแบบ<br />

gravity methods ที่วาโลกนี้มีมวลที่สม่ําเสมอ<br />

(homogeneous mass) และการถือเอาจุดใจกลางโลก<br />

เปนจุดศูนยถวง เปนขอสมมติฐานที่ไมเปนจริงและไม<br />

สามารถปรับแกขอมูลการสํารวจได โดยสภาพความ<br />

เปนจริง โลกประกอบดวยทะเล มหาสมุทร แผนดิน<br />

และภูเขา ซึ่งมีความแตกตางของมวลมากมาย ศูนย<br />

ถวงของโลกอาจเคลื่อนไปที่ดานใดดานหนึ่งซึ่ง<br />

ไมจําเปนตองเปนตรงใจกลางโลก<br />

7.6.2 วัตถุใตดินขนาดเล็กใตผิวดินระดับตื้น<br />

สามารถแสดงลักษณะความผิดวิสัยเหมือนกับวัตถุ<br />

ขนาดใหญที่อยูระดับลึก หากไมมีขอมูลการสํารวจ<br />

อื่นๆ ชวยในการแปลความหมายขอมูลการตรวจวัด<br />

gravity อาจผิดเพียนไปจากความเปนจริงไดงาย<br />

7.6.3 การสํารวจแบบ micro-gravity methods<br />

ไวตอการรับสิ่งรบกวนรอบขาง ตั้งแต แผนดินไหว<br />

การเคลื่อนไหวของเปลือกโลก การขึ้นลงของระดับน้ํา<br />

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอยางรวดเร็ว ไป<br />

จนกระทั่ง ฝนตกและกระแสลมแรง เปนตน สิ่งรบกวน<br />

ตางๆเหลานี้ ไมสามารถปรับแกขอมูลการสํารวจได<br />

7.6.4 เครื่อง micro-gravity meters มีราคาแพง<br />

ออนไหวและดูแลรักษาใหอยูในสภาพใชงานได<br />

คอนขางยาก<br />

7.6.5 โดยสรุปวิธีการสํารวจแบบ micro-gravity<br />

methods สามารถนํามาประยุกตในการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาไดดี หากมีขอมูลเบื้องตนดานอุทก<br />

ธรณีวิทยาใตผิวดินของพื้นที่สํารวจ โดยเฉพาะอยาง<br />

ยิ่ง การสํารวจเพื่อจําแนกประเภทของโพรงหินปูนใต<br />

ผิวดิน ซึ่งไมมีวิธีการสํารวจบนผิวดินวิธีใด ที่จะ<br />

เทียบเทาวิธีการสํารวจแบบ micro-gravity methods<br />

แตจําเปนตองใชวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

อื่นๆ สํารวจนํารองกอน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 93 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

8. ความปลอดภัย<br />

8.1 ผูใชเครื่องมือ ตองศึกษาและปฏิบัติตาม<br />

คูมือการใชงานตามที่ผูผลิตเครื่องมือไดกําหนดไวใน<br />

เอกสารคูมือประจําเครื่องโดยเครงครัด รวมทั้งตองพึง<br />

ระมัดระวังเกี่ยวกับไฟฟาแรงดันสูง ซึ่งอาจกอใหเกิด<br />

อันตรายตอผูใชเครื ่องมือ ผูรวมงาน ในขณะใชงานได<br />

8.2 เครื่องมือสํารวจแบบ micro-gravity meters<br />

เปนเครื่องมือที่มีราคาสูงมาก ออนไหวและดูแลรักษา<br />

ทั้งในและนอกเวลาการใชงาน รวมทั้งการเคลื่อนยาย<br />

เครื่องมือ ผูใชตองดูแลรักษาตามคูมือประจําเครื่อง<br />

โดยเครงครัด<br />

8.3 การปฏิบัติงานในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่ที่มี<br />

วัตถุอันตราย เชน ใกลแนวสายไฟฟาแรงดันสูง<br />

โรงงานอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ โรงงานอุตสาหกรรม<br />

อื่น ฟารมเลี้ยงสัตว และอื่นๆ เปนความรับผิดชอบ<br />

และอยูในวิจารณยานของผูสํารวจโดยตรง<br />

9. บุคลากร<br />

ความสําเร็จของงานสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ไมวาดวยวิธีการสํารวจใดๆ ยอมขึ้น อยูกับปจจัย<br />

หลายอยางและปจจัยที่สําคัญที่สุดยอมเปนปจจัยดาน<br />

บุคลากร การใชเครื่องมือการสํารวจเปนไมใชเปนเรื่อง<br />

ยุงยาก เพียงแตอานคูมือที่แนบมากับเครื่องมือและใช<br />

เครื่องมือดวยความระมัดระวังตามที่คู มือระบุเทานั้น<br />

แตบุคลากรที่จะเปนนักสํารวจธรณีฟสิกสจะตอง<br />

รับผิดชอบตั้งแตขั้นตอนการวางแผนการสํารวจ การ<br />

เลือกเครื่องมือและวิธีการสํารวจที่เหมาะสม การ<br />

จัดเก็บขอมูลภาคสนาม การแปลความหมายขอมูล<br />

และวิธีการนําเสนอผลการสํารวจ ซึ่งทั้งหมดนักสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสนอกจากจะตองใชเครื่องมือการสํารวจแบบ<br />

ตางๆ เปนยังจะตองมีความรูในภาคทฤษฎีการสํารวจ<br />

และการแปลความหมายขอมูลการสํารวจแบตางๆ<br />

รวมทั้งตองทําความเขาใจกับสภาพอุทกธรณีวิทยาใต<br />

ผิวดินของพื้นที่สํารวจอีกดวย แตดวยขอจํากัด<br />

ทางดานบุคลากรและงานที่จําเปนตองใชเวลามาก<br />

ที่สุดสําหรับงานสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน ไดแกงาน<br />

จัดเก็บขอมูลภาคสนาม ดังนั้นเอกสารคูมือฉบับนี้ ขอ<br />

นําเสนอบุคลากรสําหรับความรับผิดชอบตางๆ ดังนี้<br />

9.1 บุคลากรระดับผูเชี่ยวชาญตองเปนนักธรณี<br />

วิทยา นักอุทกธรณีวิทยาหรือวิศวกรที่ผานการ<br />

ฝกอบรมและมีประสบการณดานการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสไมนอยกวา 15 ป หรือมีผลงานดานการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินไมนอยกวา 100 แหง ทําหนาที่<br />

ดานการตรวจสอบการวางแผนการสํารวจ ตรวจสอบ<br />

การแปลความหมายขอมูลการสํารวจ และตรวจสอบ<br />

รายงานการสํารวจ การตรวจสอบตามขั้นตอนตางๆ<br />

ดังกลาว ดําเนินการภายใตรูปแบบการสนทนา<br />

(discussion) ของผูรวมงานตางๆ ในหัวขอที่ 2 และ 3<br />

9.2 บุคลากรระดับผูชํานาญการ ตองเปนนัก<br />

ธรณีวิทยา นักอุทกธรณีวิทยาหรือวิศวกรที่ผานการ<br />

ฝกอบรมและมีประสบการณดานการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสไมนอยกวา 10 ป หรือมีผลงานดานการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินไมนอยกวา 50 แหง ทําหนาที่<br />

ดานการตรวจสอบสภาพอุทกธรณีภาคสนาม การ<br />

วางแผนการสํารวจและควบคุมการสํารวจธรณีฟสิกส<br />

บนผิวดินภาคสนาม รวมทั้งทําหนาที่ดานการแปล<br />

ความหมายขอมูลและการจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

หรือใหคําปรึกษาดานการแปลความหมายขอมูลและ<br />

การจัดทํารายงานการสํารวจ<br />

9.3 บุคลากรระดับปฏิบัติการ ตองเปนนัก<br />

ธรณีวิทยาหรือวิศวกรที่ผานการฝกอบรมดานการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกส หรือบุคลากรอื่นๆ ที่ผานการ<br />

ฝกอบรมและมีประสบการณดานการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสไมนอยกวา 10 ป หรือมีผลงานดานการสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสบนผิวดินไมนอยกวา 50 แหง ทําหนาที่<br />

ดานการสํารวจจัดเก็บขอมูลภาคสนาม และฝกหัด<br />

แปลความหมายขอมูลการสํารวจและการจัดทํา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 94 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

รายงานการสํารวจ ภายใตการควบคุมของผูชํานาญ<br />

การหรือผูเชี่ยวชาญ<br />

10. เอกสารอางอิง<br />

American Society for Testing and Materials<br />

(ASTM), 2005. Standard Guide for Using<br />

the Gravity Method for Subsurface Investigation,<br />

D6430-99 (Re 2005).<br />

Griffith, D.H., and King, R.F., 1976. Applied<br />

Geophysics for Engineers and Geologists,<br />

3rd. Pergamon Press Ltd., Headington Hill<br />

Hall, Oxford, Ox3 OBW, England.<br />

U.S. Army Corps of Engineers, 1995, Engineer<br />

Manual CECW-EG, EM 1110-1-1802, Engineering<br />

and Design: Geophysical Exploration<br />

for Engineering and Environmental<br />

Investigations, Washington D.C.<br />

US Environmental Protection Agency (US.EPA),<br />

1993. Use of Airborne, Surface, and<br />

Borehole Geophysical Techniques at Contaminated<br />

Sites, a Reference Guide”, EPA/<br />

625/R-92/007.<br />

US Environmental Protection Agency (US.EPA),<br />

2000. Innovations in Site Characterizations:<br />

Geophysical Investigation at Hazardous<br />

Waste Sites, EPA-542-R00-003.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 95 คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

ดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 3000 -2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (ส) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

คูมือ ใหใสวงเล็บตอทายและระบุ ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เปนตน โดยมีเครื่องหมาย (ก)<br />

เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่ปรับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินฉบับนี้ได<br />

จัดทําขึ้นภายใตโครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ<br />

สํารวจและพัฒนาบอน้ําบาดาล พ.ศ. 2550 เปนสวน<br />

หนึ่งของชุดคูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่<br />

น้ําบาดาล โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาลไดมอบหมาย<br />

ใหคณะผูเชี่ยวชาญดานอุทกธรณีวิทยา ธรณีวิทยา<br />

วิศวกรรม เครื่องกล และวิศวกรรมโยธา เปน<br />

ผูดําเนินการรางคูมือการสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิว<br />

ดิน เพื่อใหใชควบคูไปกับ มาตรฐาน ทบ ส 3000-<br />

2550 การสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนใตดิน โดยคูมือ<br />

ฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอนและแนวทางสําหรับใชใน<br />

งานสํารวจฯ เพื่อใหไดผลงานมีมาตรฐานตามที่กรมฯ<br />

กําหนด<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน เปนการ<br />

สํารวจภาคสนาม เพื่อสืบหาขอมูลในเชิงลึกโดยใช<br />

เครื่องมือการสํารวจหยั่งลึกหรือเจาะลึกลงไปจากผิว<br />

ดิน เพื่อจัดเก็บขอมูลดานอุทกธรณีใตผิวดินของพื้นที่<br />

สํารวจ โดยมีวัตถุประสงคหลักในการสํารวจจัดเก็บ<br />

ขอมูลดานระดับน้ําบาดาล ระดับความลึกของชั้นน้ํา<br />

คุณภาพน้ําบาดาลเบื้องตน และลักษณะการวางตัว<br />

ของชั้นดินชั้นหินใตผิวดินระดับตื้น<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน เปนขั้นตอน<br />

การสํารวจภาคสนามที่ตอเนื่องจากการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน หรือตอเนื่องจากขั้นตอนการ<br />

สํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน โดยจากรูปแบบอุทก<br />

ธรณีวิทยามโนทัศน หรือแบบจําลองทางธรณีฟสิกสที่<br />

จัดทําขึ้นโดยจําลองสภาพอุทกธรณีวิทยาใตผิวดินได<br />

คราวๆ การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน เปนการ<br />

สํารวจเพื่อจัดเก็บขอมูลของชั้นดินชั้นหินใตผิวดิน<br />

และขอมูลเกี่ยวกับน้ําบาดาลในชั้นดินชั้นหินดังกลาว<br />

เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตน รวมทั้งจัดสง<br />

ตัวอยางสําหรับการวิเคราะหตัวอยางดินหินและน้ํา<br />

บาดาลในหองปฏิบัติการ<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน<br />

2.1 งานสํารวจสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

เปนงานที่ประกอบดวยหมวดงานตางๆ เชนการ<br />

ตรวจวัดระดับน้ําบาดาล การวัดระดับความลึกบอน้ํา<br />

บาดาลและบอเจาะอื่นๆ การจัดเก็บตัวอยางน้ําบาดาล<br />

และการวิเคราะหคุณภาพน้ําบาดาลเบื้องตน และการ<br />

เจาะเก็บตัวอยางชั้นดินชั้นหินระดับตื้น โดยมีขอบเขต<br />

การดําเนินงานดังตอไปนี้คือ<br />

2.1.1 การตรวจวัดระดับน้ําบาดาลและ<br />

ระดับความลึกบอ รวมไปถึงการตรวจวัดระดับแรงดัน<br />

น้ําในบอน้ําพุ สําหรับการตรวจวัดระดับความลึกบอ<br />

รวมไปถึงวิธีการตรวจวัดความลึกบอน้ําบาดาลที่มีการ<br />

กอสรางบอเพื่อหลีกเลี่ยงการแจงขออนุญาตเจาะและ<br />

ใชน้ําบาดาลตามพระราชบัญญัติน้ําบาดาล<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 96<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

2.1.2 การจัดเก็บตัวอยางน้ําบาดาล รวม<br />

ไปถึงการจัดเก็บตัวอยางน้ําบาดาลที่ระดับความลึก<br />

ตางๆ<br />

2.1.3 การวิเคราะหคุณภาพน้ําบาดาล<br />

เบื้องตน เปนการวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพ<br />

และตรวจวัดคุณสมบัติทางเคมีเบื้องตนของตัวอยาง<br />

น้ําบาดาลในสนาม เฉพาะคุณสมบัติทางเคมีที่<br />

เปลี่ยนแปลงไดอยางรวดเร็วเทานั้น ไมรวมถึงการ<br />

วิเคราะหตัวอยางน้ําบาดาลในหองปฏิบัติการ<br />

2.1.4 การเจาะเก็บตัวอยางชั้นดินชั้นหิน<br />

ระดับตื้น เปนการเจาะดวยอุปกรณหรือเครื่องเจาะ<br />

แบบงายๆ จํากัดความลึกไมเกิน 20 ม. โดยมีวัตถุ<br />

ประสงคสําหรับเก็บตัวอยางชั้นดินชั้นหินใตผิวดินและ<br />

น้ําบาดาลระดับตื้นเพื่อการวิเคราะหในหองปฏิบัติการ<br />

เทานั้น<br />

2.1.5 คูมือฉบับนี้ครอบคลุมถึงเฉพาะ<br />

วิธีการเก็บตัวอยางน้ําบาดาล เพื่อการวิเคราะหทาง<br />

อนินทรีเคมีเทานั้น ไมรวมไปถึงการจัดเก็บตัวอยางน้ํา<br />

บาดาลสําหรับการวิเคราะหทางอินทรีเคมี หรือการ<br />

วิเคราะหแรธาตุหายาก (trace elements) หรือธาตุ<br />

กัมมันตภาพรังสี ซึ่งจําเปนตองควบคุมการจัดเก็บ<br />

ตัวอยางเปนกรณีพิเศษ<br />

2.1.6 คูมือฉบับนี้ไมครอบคลุมถึงวิธีการ<br />

ตรวจวิเคราะหดินหินใตผิวดิน (cutting analysis) และ<br />

การวิเคราะหคุณสมบัติทางเคมีของน้ําบาดาลใน<br />

หองปฏิบัติการ ซึ่งมีรายละเอียดในมาตรฐาน ทบ พ<br />

1000-2550 และคูมือ ทบ พ1000-2550<br />

2.1.7 คูมือฉบับนี้ไมครอบคลุมถึงการ<br />

เจาะบอสํารวจและการเจาะบอสังเกตการณ ซึ่งมี<br />

รายละเอียดในมาตรฐาน ทบ พ 6000-2550 และคูมือ<br />

ทบ พ 6000-2550<br />

2.2 หนวยวัดตางที่ใชในเอกสารคูมือฉบับนี้<br />

เปนหนวยวัดระบบหนวยวัดมาตรฐาน (Système<br />

Internationale d’Unitès หรือ SI Units)<br />

2.3 ขอความที่เกี่ยวของกับมาตรฐานความ<br />

ปลอดภัยในเอกสารฉบับนี้ ครอบคลุมเฉพาะความ<br />

ปลอดภัยในการใชเครื่องมือที่มีมาตรฐานและอยูใน<br />

สภาพสมบูรณพรอมใชงานเทานั้น ไมครอบคลุมถึง<br />

ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หรืออุบัติเหตุใดๆ ที่<br />

อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานภาคสนาม ซึ่งจะเปน<br />

ความรับผิดของผูใชงานในการปฏิบัติงานดานตางๆ<br />

ตามขั้นตอนของเอกสารคูมือฉบับนี้ ผูใชงานจึง<br />

จําเปนตองคํานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตและ<br />

ทรัพยสินทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน<br />

2.4 คูมือฉบับนี้สามารถใชหรือประยุกตเปน<br />

แนวทางหรือการกําหนดแนวทางในการปฏิบัติงาน<br />

ดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดินทั่วๆไป งาน<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาขั้นรายละเอียดเฉพาะพื้นที่<br />

ขึ้นอยูกับการตัดสินใจของผูเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ซึ่ง<br />

อาจเพิ่มเติมรายละเอียดการสํารวจนอกเหนือจากที่ได<br />

กําหนดในเอกสารนี้ได ตามความเหมาะสม<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การคัด-<br />

เลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2003-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวงจุลภาค<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 97<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 3000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ พ 1001-2550 การเจาะ<br />

เพื่อการสํารวจและศึกษาคุณสมบัติของชั้นน้ํา<br />

- มาตรฐาน ทบ พ 6000-2550 การเก็บ<br />

และการวิเคราะหตัวอยางตะกอนและหินจากหลุมเจาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหวสะเทือน<br />

แบบหักเห<br />

- คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

- คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

- คูมือ ทบ พ 1001-2550 การเจาะเพื่อ<br />

การสํารวจและศึกษาคุณสมบัติของชั้นน้ํา<br />

- คูมือ ทบ พ 6000-2550 การเก็บและ<br />

การวิเคราะหตัวอยางตะกอนและหินจากหลุมเจาะ<br />

3.2 American Society for Testing and<br />

Materials (ASTM):<br />

- D5879–02. Standard Guide for Geotechnical<br />

Mapping of Large Underground<br />

Openings in Rocks<br />

- D5980-96 (Re 2004) Standard Guide<br />

for Selection and Documentation of Existing<br />

Wells for Use in Environmental Site Characterization<br />

and Monitoring<br />

- D6000-96 (Re 2002) Standard Guide<br />

for Presentation of Water Level information from<br />

Groundwater sites<br />

- D5612-94 (Re 2003) Standard Guide<br />

for Quality Planning and Field Implementation of<br />

a Water Quality Measurement Program<br />

- D6151-97 (Re 2003) Standard Practice<br />

for Using Hollow Stem Augers for Geotechnical<br />

Exploration and Soil Sampling<br />

- D5730–04. Standard Guide for Site<br />

Characterization for Environmental Purposes with<br />

Emphasis on Soil, Rock, the Vadose and<br />

Groundwater<br />

- D2488–06 Standard Practice for<br />

Description and Identification of Soils<br />

- D6699-01 (Re 2006) Standard Practice<br />

for Sampling Liquids Using Bailers<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การเก็บตัวอยางชั้นดินชั้นหินระดับตื้น เปน<br />

การเจาะดวยอุปกรณหรือเครื่องเจาะแบบงายๆ จํากัด<br />

ความลึกไมเกิน 20 เมตรโดยมีวัตถุประสงคสําหรับ<br />

เก็บตัวอยางชั้นดินชั้นหินใตผิวดินและน้ําบาดาลระดับ<br />

ตื้น<br />

การสํารวจน้ําบาดาลเฉพาะแหง (groundwater<br />

investigation for pin-point well drilling)<br />

หมายถึง การสํารวจอุทกธรณีวิทยา ที่มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลที่เหมาะสม<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน (subsurface<br />

hydrogeological investigation) หมายถึง<br />

การสํารวจเพื่อเก็บขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

โดยใชเครื่องมือเจาะหรือหยั่งลึกลงไปจากผิวดิน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 98<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คุณภาพน้ําบาดาลเบื้องตนเปนคุณสมบัติ<br />

ทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีเบื้องตนของ<br />

ตัวอยางน้ําบาดาลในสนาม เฉพาะคุณสมบัติทางเคมี<br />

ที่เปลี่ยนแปลงไดอยางรวดเร็วเทานั้น เชน ความเปน<br />

กรด-ดาง ความนําไฟฟา ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลาย<br />

ได อุณหภูมิ และความขุนของน้ํา<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological models) หมายถึง<br />

แบบจําลองของพื้นที่สํารวจจากขอมูลดานอุทกธรณี-<br />

วิทยาที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

เพื่อใชประกอบกับแผนที่อุทกธรณีวิทยาสําหรับการ<br />

กําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

ระดับน้ําบาดาล หมายถึง แนวหรือพื้นผิว<br />

ในชั้นใหน้ําแบบเปดที่มีความดันของน้ําที่มีคาเทากับ<br />

ความดันบรรยากาศ<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึง กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

การสํารวจฯ หมายถึง การสํารวจอุทกธรณี<br />

วิทยาใตผิวดิน<br />

แบบจําลองฯ หมายถึง แบบจําลองทางอุทก<br />

ธรณีวิทยา<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน<br />

5.1 คูมือฉบับนี้ไดกําหนดวิธีการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาใตผิวดิน เพื่อประยุกตใชในการสํารวจ<br />

สภาพอุทกธรณีวิทยาในพื้นที่ตางๆ สําหรับการปรับ<br />

ใชเพื่อใหไดผลงานการสํารวจตรงตามมาตรฐานที่<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด โดยสามารถนําไป<br />

ประยุกตใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยาตางๆ ดังนี้<br />

5.1.1 เปนคูมือใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ใตผิวดิน ในดานการสํารวจขอมูลการเจาะภาคสนาม<br />

(well inventory) สําหรับงานสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ทั่วๆ ไป<br />

5.1.2 เปนคูมือใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ใตผิวดินสําหรับงานสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

โดยมีกระบวนการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ตอเนื่อง ตามมาตรฐาน ทบ ส 4000-2550<br />

5.1.3 เปนคูมือใชในการวัดระดับน้ําบาดาลและ<br />

การจัดเก็บตัวอยางน้ําบาดาลในงานทดสอบปริมาณ<br />

น้ําในบอน้ําบาดาล (pumping tests) ตามมาตรฐาน<br />

ทบ พ 5000-2550<br />

5.1.4 เปนคูมือใชในการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

ใตผิวดินสําหรับงานศึกษาวิจัยแหลงน้ําบาดาลตางๆ<br />

เชน การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินปริมาณน้ําสํารอง<br />

แหลงน้ําบาดาลในชั้นหินแข็ง ตามคูมือ ทบ ป 1000-<br />

2550 การศึกษา วิจัยเพื่อประเมินพื้นที่เติมน้ําตาม<br />

คูมือ ทบ ป 2000-2550 การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทํา<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาทางคณิตศาสตร ตาม<br />

มาตรฐาน ทบ ป 3000-2550 และการ ศึกษาวิจัยทาง<br />

อุทกธรณีวิทยาดานอื่นๆ<br />

5.2 คูมือฉบับนี้ไดกําหนดขั้นตอนและแนว<br />

ทางการปฏิบัติงานไวกวางๆ สําหรับการปรับใชกับ<br />

งานสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวผิวดินตามวัตถุ<br />

ประสงคตางๆ ซึ่งอาจมีความตองการรายละเอียดของ<br />

ขอมูลไมเหมือนกันโดยเฉพาะปริมาณของขอมูล<br />

ยอมขึ้นอยูกับขนาดของพื้นที่สํารวจ เวลา และงบ-<br />

ประมาณของงานสํารวจแตละงาน ดังนั้นขั้นตอนและ<br />

แนวทางการปฏิบัติงานที่กําหนดในเอกสารฉบับนี้<br />

สามารถดัดแปลงไดตามที่ผูเชี่ยวชาญของโครงการ<br />

แตละโครงการเห็นสมควร<br />

6. เครื่องมือและอุปกรณ<br />

6.1 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการวัดระดับน้ํา<br />

บาดาลและความลึกบอน้ําบาดาล<br />

เครื่องมือใชในการวัดระดับน้ําบาดาล มีหลาย<br />

รูปแบบตั้งแตรูปแบบงายๆ การใชเทปเหล็ก (steel<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 99<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

tapes) เปนเทปเหล็กที่ผลิตสําหรับการวัดระดับ<br />

น้ําบาดาลโดยเฉพาะ ผลิตตามมาตรฐานของ United<br />

State Geological Survey (USGS) ที่มีความยึดหด<br />

ตามอุณหภูมินอย หรือการใชเครื่องวัดระดับน้ํา<br />

(water level dippers) ซึ่งปกติอาจเรียกวา “electric<br />

tapes”สําหรับเครื่องวัดระดับน้ํา ประกอบดวยมวน<br />

สายไฟฟา ที่มีดามถือสําหรับเครื่องวัดขนาดเล็ก สวน<br />

ขนาดใหญมวนสายไฟอยูบนโครงเหล็กสําหรับหมุน<br />

เก็บสายไฟฟา มีเครื่องสงสัญญาณซึ่งอาจเปน<br />

หลอดไฟหรือระบบสงเสียง สายไฟเปนสายคูมี<br />

เครื่องหมายบอกระยะความยาวเปนเซนติเมตร ความ<br />

ยาวของสายไฟ ตั้งแต 50-80 เมตร (ขนาดเล็ก) 100-<br />

500 เมตร (ขนาดใหญ) มีหัวโปรบ (probe) เปนเข็ม<br />

ขนาดเล็กๆ ปลายเข็มตออยูกับสายไฟทั้งสองสาย มี<br />

ฉนวนกันไมใหสายไฟทั้งสองสัมผัสกัน เข็มถูกหอหุม<br />

ดวยปลอกเหล็กเจาะรูเฉพาะตรงปลายเข็ม ทําหนาที่<br />

ปองกันตัวเข็ม และถวงน้ําหนักใหสายไฟอยูใน<br />

ลักษณะตรง (รูปที่ 1)<br />

เครื่องวัดระดับน้ําจะตองเลือกขนาดใหเหมาะสม<br />

กับพื้นที่สํารวจ ในบริเวณพื้นที่ระดับน้ําตื้นควรเลือก<br />

ขนาดเล็ก เนื่องจากเครื่องวัดระดับน้ําขนาดใหญมักจะ<br />

ใชสายไฟขนาดใหญและแข็งแรง เพื่อปองกันการยืด<br />

หดของสายไฟฟา เครื่องวัดระดับน้ําขนาดเล็กยอม<br />

สะดวกในการพกพาไปมาในสนามมากกวา อยางไรก็<br />

ตาม การเลือกเครื่องวัดระดับน้ําสําหรับใชงานในพื้นที่<br />

ใด จะตองเผื่อความยาวของสายไฟใหเพียงพอสําหรับ<br />

ระดับน้ําลด draw down (DD.) ในการทดสอบปริมาณ<br />

การใหน้ําของบอน้ําบาดาลหรือ pumping test ซึ่งบาง<br />

พื้นที่อาจมีระดับน้ําลดสูงมาก หากทําการทดสอบดวย<br />

อัตราการสูบสูงๆ<br />

โดยปกติเครื่องมือที่ใชในการวัดระดับความลึกบอ<br />

น้ําบาดาลมักจะเปนเครื่องมืองายๆ ประ กอบดวย<br />

มวนขดลวดสลิงขนสดเล็ก เสนผาศูนยกลางไมเกิน 5<br />

มิลลิเมตร ซึ่งอยูในที่มวนสายเชนเดียวกับเครื่องวัด<br />

ระดับน้ําขนาดใหญ ปลายลวดสลิงผูกติดดวยตุม<br />

น้ําหนัก เพื่อใหสามารถหยอนลงไปในบอน้ําบาดาลใน<br />

การวัดระดับความลึกบอไดโดยสะดวก แตการวัด<br />

ความลึกของบอน้ําบาดาลที่อาจแจงความลึกบอนอย<br />

กวาความเปนจริงจําเปนตองใชเครื่องมือพิเศษซึ่งจะ<br />

กลาวรายละเอียดในหัวขอ 8<br />

สายไฟ<br />

แบนมี<br />

มาตร<br />

สวน<br />

น้ําหนัก<br />

(ก) เครื่องวัดระดับน้ําแบบไฟฟา (ข) สายไฟและขั้วไฟฟาของ<br />

เครื่องวัดระดับน้ําแบบไฟฟา<br />

(ค) เครื่องวัดระดับน้ําแบบเทปเหล็ก<br />

สําหรับบอลึก<br />

รูปที่ 1 เครื่องวัดระดับน้ําบาดาล (Brussington, 1997 และ Garber and Koopman, 1978)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 100<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

6.2 อุปกรณที่ใชในการเก็บตัวอยางน้ําบาดาล<br />

อุปกรณที่ใชในการเก็บตัวอยางน้ําจากบอ<br />

น้ําบาดาลทั่วๆ ไป สําหรับบอเจาะที่มิไดติดตั้งเครื่อง<br />

สูบน้ํา คือกระบอกตักน้ํา (bailer หรือ sampler) ซึ่งมี<br />

สวนประกอบงายๆ คือเปนกระบอกทอขนาดตางๆ<br />

อาจเปนทอเหล็กไรสนิมหรือทอเหล็กอาบสังกะสี หรือ<br />

ทอ PVC หรือทอ PTFE หรือทอ polyethylene<br />

สวนบนของทอผูกติดกับลวดสลิงขนาดเล็กสําหรับ<br />

หยอนกระบอกตักน้ําลงไปในบอ (suspension line)<br />

ปลายทอดานลางอาจมีลิ้นเปดปดใหน้ําเขากระบอก<br />

ตักเมื่อหยอนลงไปในบอ โดยปกติมีแบบตางๆให<br />

เลือกใชตามความเหมาะสม 3 แบบคือ กระบอกตัก<br />

แบบลิ้นเดี่ยว (single valve bailer) กระบอกตักแบบ<br />

ลิ้นคู (double valve bailer) และกระบอกตักแบบใช<br />

ความดันตางศักย (differential pressure bailer) (รูป<br />

ที่ 2) ขวดที่ใชสําหรับเปนภาชนะใสตัวอยางน้ํา<br />

โดยทั่วไปเปนขวดขนาด 1 ลิตร อาจเปนขวดแกวหรือ<br />

ขวดพลาสติกก็ได มีฝาปดขวดใหแนน มีสลากติดขาง<br />

ขวดสําหรับเขียนหมายเลขบอน้ําบาดาลตําแหนงบอ<br />

ระดับความลึกบอ ระดับความลึกของน้ําตัวอยาง<br />

วิธีการเก็บตัวอยาง วันเดือนป ของการเก็บตัวอยาง<br />

รวมทั้ง physical properties ของตัวอยางน้ําในขณะ<br />

เก็บน้ําตัวอยาง เชนความขุน (turbidity) สี กลิ่น และ<br />

รส สลากติดขวดน้ําตัวอยางตอผนึกกับขวดใหแนน<br />

และคงทนเพียงพอสําหรับการขนสงจากสนามสู<br />

หองปฏิบัติการวิเคราะหน้ํา<br />

6.3 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการวิเคราะห<br />

คุณสมบัติเบื้องตนของตัวอยางน้ําบาดาล<br />

ชุดเครื่องมือสําหรับการตรวจวิเคราะห<br />

ตัวอยางน้ําบาดาลภาคสนาม (well-head analysis)<br />

สวนใหญเปนเครื่องวัดคาตางๆ ในน้ําไดโดยงาย ดวย<br />

หัว probes แบบตางๆ ประกอบดวย<br />

6.3.1 เครื่องวัดคาความเปนกรดเปนดาง<br />

(pH meter)<br />

6.3.2 เครื่องวัดอุณหภูมิของน้ํา<br />

6.3.3 เครื่องวัดคาความความนําไฟฟา<br />

(electrical conductivity meter)<br />

6.3.4 เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา<br />

6.3.5 อุปกรณตรวจวัดปริมาณสารละลายในน้ํา<br />

อื่นๆ<br />

ปลายทอสวนบนมี<br />

รูสําหรับรอยเชือก<br />

ตัวกระบอก<br />

ปลายทอสวนบนมี<br />

รูสําหรับรอยเชือก<br />

ลิ้นเปดปดตัวบน<br />

ตัวกระบอก<br />

หลอดระบายอากาศ<br />

หลอดเก็บตัวอยางน้ํา<br />

จุกเปดปดสําหรับ<br />

เทน้ําตัวยาง<br />

ลิ้นเปดปด<br />

ลิ้นเปดปดตัวลาง<br />

(ก) กระบอกตักน้ําแบบลิ้นเดี่ยว (ข) กระบอกตักน้ําแบบลิ้นคู (ค) กระบอกตักน้ําแบบใชความดันตางศักย<br />

รูปที่ 2 สวนประกอบของกระบอกตักน้ําแบบ mechanical bailers (ASTM, 2006)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 101<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

6.4 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการเจาะเก็บ<br />

ตัวอยางดินหินระดับตื้น<br />

อุปกรณและเครื่องเจาะเก็บตัวอยางดินหิน<br />

ใตผิวดินมีมากมายหลายรูปแบบใหเลือกใช ตามความ<br />

เหมาะสมของงาน ตั้งแตอุปกรณการเจาะงายๆ ที่เจาะ<br />

เก็บตัวอยางตะกอนหินรวนไดลึกไมเกิน 10 เมตร ไป<br />

จนถึงเครื่องเจาะเก็บตัวอยางแทงหินแข็ง (core<br />

samples) ดวยการดวยเครื่องเจาะขนาดเล็กที่มีขีด<br />

ความสามารถในการเจาะถึงระดับความลึก 100 เมตร<br />

สําหรับคูมือฉบับนี้จะครอบคลุมเฉพาะการเจาะสํารวจ<br />

เพื่อจัดเก็บตัวอยางชั้นหินรวนและแทงตัวอยางหิน<br />

แข็งที่ระดับความลึกไมเกิน 30 เมตรเทานั้น สวนการ<br />

เจาะสํารวจระดับลึกจะจัดอยูในหมวดของการพัฒนา<br />

บอน้ําบาดาลอุปกรณและเครื่องเจาะเก็บตัวอยางดิน<br />

หินใตผิวดินระดับตื้นประกอบดวยชุดเครื่องมือตางๆ<br />

ดังนี้ (รูปที่ 3)<br />

6.4.1 ชุดเครื่องเจาะแบบมือหมุน<br />

6.4.2 ชุดเครื่องเจาะแบบดูดตัวอยาง<br />

6.4.3 ชุดเครื่องเจาะแบบหมุนตรงขนาดเล็ก<br />

6.4.4 ชุดเครื่องเจาะเก็บตัวอยางแทงหิน<br />

แบบกระแทก<br />

7. การวัดระดับน้ําบาดาล<br />

ขอมูลระดับน้ํานิ่ง (static water level, SWL) ใน<br />

บอน้ําบาดาล เปนขอมูลสําคัญในทางอุทกธรณีวิทยา<br />

สําหรับการศึกษาวิจัยในดานตางๆ คูมือฉบับนี้ไดแนว<br />

ทางการวางแผนและกําหนดการคัดเลือกบอน้ําบาดาล<br />

สําหรับการตรวจวัดระดับน้ําบาดาล วิธีการตรวจวัด<br />

ระดับน้ําบาดาลในภาคสนาม และการนําเสนอผลงาน<br />

การตรวจวัดระดับน้ําบาดาล ดังรายละเอียดตอไปนี้<br />

(ก) อุปกรณชุดเจาะแบบมือหมุน<br />

(ข) ลักษณะการเจาะแบบดูดตัวอยาง<br />

รูปที่ 3 ชุดอุปกรณและเครื่องเจาะเก็บตัวอยางดินหินแบบตางๆ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 102<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

7.1 การวางแผนและการคัดเลือกจุดวัดระดับน้ํา<br />

บาดาล<br />

7.1.1 การวางแผนและการคัดเลือกจุดสํารวจ<br />

ระดับน้ําบาดาลใหตรงตามวัตถุประสงคของงาน<br />

เนื่องจากระดับน้ําบาดาลสามารถนําไป<br />

ประยุกตใชตามวัตถุประสงคในการสํารวจ ศึกษาและ<br />

วิจัยทางอุทกธรณีวิทยาหลายๆ ดาน ดังนั้นการสํารวจ<br />

ระดับน้ําบาดาลในภาคสนามจําเปนตองวางแผนการ<br />

สํารวจจัดเก็บขอมูลใหตรงตามวัตถุประสงคของงาน<br />

โดยมีขอสรุปดังนี้<br />

(1) วัตถุประสงคเพื่อสังเกตการณการ<br />

เปลี่ยนแปลงของน้ําบาดาลของชั้นน้ํา ในกรณีที่เปน<br />

การจัดตั้งสถานีสังเกตการณ (monitoring stations)<br />

ใหคัดเลือกบอเจาะที่หางจากบอผลิตในชั้นน้ําเดียวกัน<br />

อยางนอยพนจากรัศมีการแยงน้ําของบอผลิต เพื่อลด<br />

ผลกระทบจากกรวยน้ําลดจากบอผลิต และบอ<br />

สังเกตการณตองลงทอกรองน้ําตลอดชวงความหนา<br />

ของชั้นน้ํา เฉพาะในชั้นน้ําที่ตองการตรวจวัดระดับน้ํา<br />

เทานั้น (single aquifer, fully penetration well)<br />

(2) วัตถุประสงคเพื่อการศึกษาทิศ<br />

ทางการไหลของน้ําบาดาลในชั้นน้ํา บอที่ใชในการ<br />

ตรวจวัดระดับน้ําจะตองเปนบอที่เจาะในชั้นน้ํา<br />

เดียวกัน และตองไมมีการสูบน้ําจากบอตรวจวัดอยาง<br />

นอย 12 ชั่วโมงกอนการตรวจวัดระดับน้ําหรือจนกวา<br />

ระดับน้ําคืนตัวสูระดับน้ําบาดาลปกติ<br />

(3) วัตถุประสงคเพื่อการศึกษาปริมาณ<br />

การกักเก็บน้ําบาดาลในชั้นหินอุมจะตองมีบอสังเกต-<br />

การณสําหรับตรวจวัดระดับน้ําอยางนอย 2 บอตอ 1<br />

ชั้นน้ํา คือทั้งบอสูบและบอสังเกตการณจะตองลง<br />

ทอกรองน้ําตลอดชวงความหนาของชั้นน้ําเฉพาะใน<br />

ชั้นน้ําที่ตองการตรวจวัดระดับน้ําเทานั้นโดยบอ<br />

สังเกตการณหางจากบอสูบไมเกินรัศมีการแยงน้ํา<br />

ของบอสูบ<br />

7.1.2 การจัดเตรียมเอกสารสําหรับการวาง<br />

แผนการจัดเก็บระดับน้ําบาดาล<br />

(1) แผนที่อุทกธรณีวิทยาพรอมแบบ<br />

จําลองทางอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศนของพื้นที่<br />

สํารวจหรือยางนอยจะตองแสดงแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

โดยสังเขปพรอมดวยแบบจําลองเชิงมโนทัศนของ<br />

พื้นที่สํารวจที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยา<br />

เบื้องตนของพื้นที่สํารวจ<br />

(2) ตําแหนงบอน้ําบาดาลทั้งหมดใน<br />

พื้นที่สํารวจ พรอมดวยขอมูลบอ เชน ความลึก ขอมูล<br />

การกอสรางบอ ขอมูลชั้นดินชั้นหินจากการเจาะขอมูล<br />

การหยั่งธรณีหลุมเจาะ และขอมูลการใชน้ํา เปนตน<br />

(3) ตําแหนงบอที่คัดเลือกไวสําหรับการ<br />

ตรวจวัดระดับน้ํา<br />

(4) แผนการจัดเก็บขอมูลระดับน้ําพรอม<br />

ระบุชวงระยะเวลาในการจัดเก็บขอมูลตางๆ<br />

(5) ในกรณีที่จําเปนตองรังวัดระดับบอ<br />

ใหจัดทําแผนการรังวัด พรอมวิธีการรังวัด<br />

7.2 วิธีการสํารวจตรวจวัดระดับน้ําบาดาล<br />

7.2.1 มาตรฐานการสํารวจจัดเก็บขอมูลระดับ<br />

น้ําบาดาล<br />

การสํารวจจัดเก็บขอมูลระดับน้ําบาดาล<br />

อาจแบงออกเปนวิธีการสํารวจออกเปน 2 วิธีการ<br />

ใหญๆ คือวิธีการวัดระดับน้ําบาดาลจากบอน้ําบาดาล<br />

และวิธีการใชเครื่องบันทึกระดับน้ําบาดาลอยาง<br />

ตอเนื่องซึ่งตามมาตรฐานกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

(ทบ ส 3000-2550) ไดกําหนดมาตรฐานการจัดเก็บ<br />

ขอมูลระดับน้ําบาดาล ดังนี้<br />

(1) ตองใชเครื่องมือตรวจวัดระดับน้ํา<br />

บาดาลที่ไดมาตรฐานอยูในสภาพสมบูรณพรอมใชงาน<br />

และสอบเทียบ (calibrate) เครื่องมือตรวจวัดอยาง<br />

สม่ําเสมอ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 103<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(2) เครื่องตรวจวัดระดับน้ําบาดาล<br />

อัตโนมัติ จะตองติดตั้งอยางถูกตองตามคูมือประจํา<br />

เครื่องและสอบเทียบการทํางานของเครื่องมือตรวจวัด<br />

รวมทั้งตรวจสอบระบบ data transfer อยางสม่ําเสมอ<br />

(3) ในการจัดเก็บขอมูลภาคสนาม ตอง<br />

คํานึงถึงสภาพแวดลอมในขณะตรวจวัด เชน ระดับ<br />

ความดันบรรยากาศ การขึ้นลงของระดับน้ําทะเล<br />

แผนดินไหว หรือ น้ําหนักกดทับบนผิวดินที่ใกลพื้นที่<br />

เชนขบวนรถไฟ หรือรถบรรทุกวิ่งผานในพื้นที่<br />

ขางเคียง<br />

7.2.2 การสํารวจจัดเก็บขอมูลระดับน้ําบาดาล<br />

ปกติ หรือการวัดระดับน้ําบาดาลจากบอน้ําบาดาล<br />

ระดับตื้น<br />

การสํารวจจัดเก็บขอมูลระดับน้ําบาดาล<br />

ปกติ หรือการวัดระดับน้ําบาดาลจากบอน้ ําบาดาล<br />

ระดับตื้น โดยใชเครื่องวัดแบบตางๆ เชน เทปเหล็ก<br />

หรือ เครื่องวัดระดับน้ํา มีวิธีการสํารวจในภาคสนาม<br />

โดยสรุป ดังนี้<br />

(1) ตรวจสอบการทํางานของเครื่องมือ<br />

หากเปนเครื่องวัดระดับน้ําใหตรวจสอบ โดยการแช<br />

probe ในน้ําหากเครื่องสงสัญญาณไมทํางาน ใหตรวจ<br />

สภาพแบตเตอรี่ หากยก probe ขึ้นจากน้ําแลวสะบัด<br />

เบาๆ ใหสะเด็ดน้ําแลว เครื่องสงสัญญาณ ยังไมหยุด<br />

ทํางาน ใหตรวจสอบความสะอาดของหัวเข็มบน<br />

Probe หรือลองฉีดลางหัวเข็มบน Probe ดวยน้ํากลั่น<br />

(2) หยอน Probe ลงทางปากบอชาๆ<br />

ระวังไมใหแกวงไปมา จนกวาหัว probe สัมผัสระดับ<br />

น้ําในบอ วงจรไฟฟาจะเปด เครื่องสงสัญญาณจะ<br />

ทํางาน ดึงสายกลับขึ้นมาเล็กนอย จนเครื่องสง<br />

สัญญาณหยุด คอยๆ หยอนลงไปอีกเล็กนอยจนสัมผัส<br />

ระดับน้ําอีกครั้ง ทําซ้ํา 3-4 ครั้ง จนแนใจวาไดความ<br />

ลึกของระดับน้ํา อานความยาวสายไฟ หักระดับความ<br />

สูงของปากบอออก ก็จะไดระดับน้ําบาดาลของพื้นที่<br />

นั้น คอยๆ ดึงสายไฟขึ้นจากบอน้ําบาดาลอยางชาๆ<br />

7.2.3 การสํารวจจัดเก็บขอมูลระดับแรงดันน้ํา<br />

บาดาลจากบอน้ําบาดาลพุ<br />

ในบอน้ําบาดาลแบบพุ (flowing wells)<br />

ระดับความดันน้ําจะอยูสูงกวาผิวดิน การวัดระดับ<br />

ความดันน้ําอาจวัดไดโดยการติดตั้งเครื่องวัดแรงดัน<br />

ซึ่งไดแปลงระดับแรงดันเปนความดันตอเมตรของน้ํา<br />

(meter head of water) โดยสวนใหญจะมีความถูก<br />

ตองแมนยําระหวาง +0.5 เมตรหรืออาจติดตั้งดวยทอ<br />

พลาสติกแข็งใส ซึ่งมีความคลาดเคลื่อนไมเกิน +1<br />

เซนติเมตรแตหากความดันน้ําเกินกวา 2 เมตร ควรใช<br />

การวัดดวย pressure gauge ยกเวนกรณีที่สามารถ<br />

ตรึงทอพลาสติกใส กับตนไม เสาไฟฟาในบริเวณ<br />

ขางเคียงได ขนาดของทอหรือการติดตั้งไมไดระดับตั้ง<br />

ฉากกับผิวดิน ไมมีสวนใหระดับน้ําในทอลดหรือ<br />

เพิ่มขึ้น ระดับน้ําจะขึ้นอยูกับความดันของน้ําในบอ<br />

สวนที่อาจกอใหเกิดความคลาดเคลื่อนไดคือ แรงเสียด<br />

ทานในเสนทอเทานั้น<br />

7.3 วิธีการนําเสนอและการปะยุกตใชขอมูล<br />

ระดับน้ํา<br />

การนําเสนอขอมูลระดับน้ําบาดาลขึ้นอยู<br />

กับวัตถุประสงคของการสํารวจ หรือการประยุกตใช<br />

ขอมูลระดับน้ําบาดาลสําหรับดานอุทกธรณีวิทยา คูมือ<br />

ฉบับนี้จะสรุปการนําเสนอขอมูลระดับน้ําบาดาลดวย<br />

วิธีการตางๆ ดังนี้<br />

7.3.1 การนําเสนอขอมูลในรูปตาราง<br />

ตามมาตรฐานกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

(ทบ ส 3000-2550) ไดกําหนดตารางระดับน้ําบาดาล<br />

พรอมบันทึกขอมูลบอสังเกตการณ ดังนี้<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 104<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

ตารางการจัดเก็บขอมูลระดับน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 1 การนําเสนอขอมูลในรูปตาราง<br />

ตาราง<br />

3000-1<br />

โครงการ: …………………………………………………………………………………………………………………………………….…<br />

ตําแหนงบอ: E…………….N………….ที่ตั้ง…………บาน :……………ตําบล:………………อําเภอ:……………จังหวัด: ………….….<br />

ชั้นน้ํา: ……………... ระดับความสูงของภูมิประเทศ: …………….ม. รทก. เครื่องมือที่ใชตรวจวัดในภาคสนาม: …………………….<br />

ขอมูลบันทึกการเจาะบอของบอสังเกตการณ: เสนผาศูนยกลางการเจาะ: ……….มม. ความลึก: …..… ม., ขนาดทอกันพัง:..…..……ม.<br />

ความลึกของการลงทอกันพัง:……….. ม. ., ชวงความลึกของทอกรอง:……………. ม.<br />

ชนิดของการบันทึกระดับน้ําบาดาล: …………………….…………………… ผูรับผิดชอบ: ………………………………………………<br />

DATE ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.<br />

7.3.2 การนําเสนอขอมูลในรูปของ<br />

Hydrographs แบบตางๆ<br />

ขอมูลระดับน้ําบาดาลอาจนําเสนอใน<br />

รูปแบบ hydrographs เพื่อแสดงความสัมพันธของ<br />

ระดับน้ํารวมกับสภาพอุทกธรณีวิทยาหรือสภาพ<br />

สิ่งแวดลอมอื่นๆ ดังตัวอยางตอไปนี้คือ<br />

(1) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางระดับน้ําบาดาลและปริมาณน้ําฝน<br />

(2) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางระดับน้ําบาดาลกับ artificial recharge<br />

(3) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางระดับน้ําบาดาลกับความดันบรรยากาศ (รูปที่<br />

4)<br />

(4) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางระดับน้ําบาดาลกับการขึ้นลงของน้ําทะเล<br />

(5) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางระดับน้ําบาดาลกับปริมาณการสูบน้ําจากบอ<br />

ขางเคียง<br />

(6) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางระดับน้ําบาดาลกับอุณหภูมิ (รูปที่ 5)<br />

(7) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางระดับน้ําบาดาลกับปริมาณน้ําทา (รูปที่ 6)<br />

(8) Hydrograph แสดงความสัมพันธ<br />

ระหวางการขึ้นลงของระดับน้ําบาดาลกับการรั่วของ<br />

แหลงกาซธรรมชาติใตผิวดิน ความดันบรรยากาศ (รูป<br />

ที่ 7)<br />

7.3.3 การนําเสนอขอมูลในรูปแผนที่ระดับน้ํา<br />

บาดาล<br />

ขอมูลระดับน้ําบาดาลอาจนําเสนอในรูป<br />

แบบแผนที่ ซึ่งมักจะแสดงเปน 3 รูปแบบคือ (1) แผน<br />

ที่แสดงระดับน้ําบาดาลเหนือระดับน้ําทะเลปานกลาง<br />

หรือเหนือระดับความสูงสมมติอื่นๆ (potentiometric<br />

maps) (2) แผนที่แสดงระดับน้ําบาดาลใตผิวดิน และ<br />

(3) แผนที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําบาดาล<br />

เปนแผนที่แสดงการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําบาดาล<br />

ในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เชน การเปลี่ยนแปลง<br />

ระดับน้ําบาดาลในชวงระยะเวลา 10 ป โดยนําขอมูล<br />

ความลึกของระดับน้ําที่ตรวจวัดไดจากบอน้ําบาดาล<br />

ตางๆ ในพื้นที่ศึกษาเมื่อ 10 ปที่แลวมาลบดวยระดับ<br />

น้ําที่ตรวจวัดไดในปจจุบัน พลอตลงในแผนที่และ<br />

แสดงความแตกตางของระดับน้ําดวยเสนคอนทัวร<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 105<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

รูปที่ 4 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางระดับ<br />

น้ําบาดาลกับความดันบรรยากาศ (ASTM, 2002)<br />

รูปที่ 6 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางระดับ<br />

น้ําบาดาลกับปริมาณน้ําทา (ASTM, 2002)<br />

รูปที่ 7 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางการขึ้นลง<br />

ของระดับน้ําบาดาลกับการรั่วของแหลงกาซธรรมชาติ<br />

ใตผิวดิน (ASTM, 2002)<br />

รูปที่ 5 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางระดับ<br />

น้ําบาดาลกับอุณหภูมิ (ASTM, 2002)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 106<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

8. การวัดความลึกบอ<br />

สําหรับบอน้ําบาดาลที่ไมมีขอมูลการเจาะใดๆ<br />

ขอมูลดานความลึกบอน้ําบาดาลที่ตรวจวัดไดในสนาม<br />

ถือไดวาเปนขอมูลสําคัญที่จะระบุไดวาบอน้ําบาดาล<br />

นั้นสูบน้ําจากชั้นน้ําใด หากทราบสภาพอุทกธรณี<br />

วิทยาใตผิวดินของพื้นที่สํารวจ สําหรับวิธีการวัดระดับ<br />

ความลึกบอสามารถทําไดงายๆ เพียงแตใชดิ่งหรือตุม<br />

น้ําหนักผูกกับเชือกหรือลวดสลิงหรือใชเครื่องวัดความ<br />

ลึกบอ โดยหยอนตุมน้ําหนักลงไปในบอจนถึงกนบอ<br />

และวัดความยาวของเชือกหรือลวดสลิง ก็จะไดความ<br />

ลึกจากกนบอถึงปากบอ แตมีปญหาอยูวา กอนการวัด<br />

โดยปกติจะตองถอนเครื่องสูบขึ้นจากบอกอน<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งเครื่องสูบน้ําแบบจุม submersible<br />

pump ในบอน้ําบาดาลขนาดเล็กหรือบอ 4 นิ้ว แทบจะ<br />

ไมเหลือชองวางระหวางผนังบอกับตัวสูบใหดิ่งหรือ<br />

ตุมน้ําหนักผานลงไปไดเลย<br />

ปญหาใหญอีกปญหาหนึ่ง ที่อาจไมเกิดที่ใดใน<br />

โลกยกเวนประเทศไทย คือการใชเพทุบายของชาง<br />

เจาะ โดยการใสตะแกรงเหล็กไวในบอที่ความลึกนอย<br />

กวา 30 เมตร ทั้งๆ ที่เจาะบอลึกเกินกวา 30 เมตร<br />

แลวแจงวาบอดังกลาวเจาะลึกนอยกวา 30 เมตร เพื่อ<br />

หลีกเลี่ยงไมตองขออนุญาตเจาะและใชน้ําบาดาล ตาม<br />

พระราชบัญญัติน้ําบาดาล บอดังกลาวเมื่อถอนเครื่อง<br />

สูบออกและวัดระดับความลึกบอ ตุมถวงน้ําหนักจะไป<br />

ติดอยูที่ตะแกรงเหล็ก ทําใหวัดความลึกบอไดไมถึง<br />

30เมตรตามที่ผูเจาะแจงไว ในกรณีเชนนี้หากแนใจวา<br />

พื้นที่ดังกลาวไมสามารถเจาะบอน้ําบาดาลระดับตื้นได<br />

(จากขอมูลน้ําบาดาลที่เรามีอยู) อาจจะตองพิสูจน<br />

ความลึกบอ โดยใชแทงเหล็กตอลงไปแทงดูวามี<br />

ตะแกรงคั่นอยูหรือไม หรืออาจใช TV borehole ลงไป<br />

สํารวจก็ได<br />

9. การเก็บตัวอยางน้ําบาดาลและการวิเคราะห<br />

น้ําบาดาลในสนาม<br />

9.1 การเตรียมการจัดเก็บตัวอยางน้ําจากบอ<br />

น้ําบาดาล<br />

การจัดเก็บตัวอยางน้ําบาดาลดวยวิธีการใช<br />

bailers จําเปนตองเตรียมการสํารวจดังนี้<br />

9.1.1 ศึกษาวัตถุประสงคของการจัดเก็บ<br />

ตัวอยางน้ํา รวมทั้งจัดทําแผนที่ตําแหนงบอน้ําบาดาล<br />

ที่จะตองจัดเก็บตัวอยางน้ําทั้งหมด<br />

9.1.2 ในกรณีที่จําเปนตองจัดเก็บตัวอยางน้ําที่<br />

ระดับความลึกตามที่กําหนดไวในวัตถุประสงคของการ<br />

สํารวจ อยางนอยตองใชกระบอกตักแบบลิ้นคู<br />

เนื่องจากสามารถปองกันการปนเปอนจากน้ําบาดาล<br />

ชั้นบนกอนถึงระดับความลึกที่ตองการ<br />

9.1.3 ในกรณีที่จําเปนตองจัดเก็บตัวอยางน้ํา<br />

เพื่อการวิเคราะห VOC ตองใชกระบอกตักแบบใช<br />

ความดันตางศักย (differential pressure bailers)<br />

เทานั้น เนื่องจากกระบอกตักดังกลาวเปนระบบปด<br />

ปองกันตัวอยางน้ําสัมผัสอากาศไดดี<br />

9.1.4 ตองทําความสะอาดพื้นที่ปากบอ กระบอก<br />

ตัก และสายลวดสลิง (suspension line) ทุกครั้งกอน<br />

หยอนกระบอกตักลงบอ เพื่อปองกันการปนเปอนจาก<br />

ผิวดินสูบอน้ําบาดาล การปูลาดแผน polyethylene<br />

บนพื้นที่ปากบอสําหรับวางเครื่องมือ เปนวิธีการ<br />

ปองกันการปนเปอนที่ดี<br />

9.1.5 วัดและทําเครื่องหมายบนสายลวดสลิงให<br />

ตรงตามระดับความลึกที่ตองการจัดเก็บตัวอยาง<br />

9.1.6 ปลายลวดสายลวดสลิงอีกดานหนึ่งใหผูก<br />

ติดกับวัตถุขนาดใหญบนผิวดิน เพื่อปองกันการเลื่อน<br />

ไหลลงไปในบอน้ําบาดาลขณะเก็บตัวอยางน้ํา<br />

9.1.7 จัดเตรียมขวดน้ําสลากติดขางขวดและ<br />

กลองใสขวดน้ําตัวอยาง โดยสลากและกลองใสขวด<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 107<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

จะตองปองกันความเสียหายจากการขนสงตัวอยางน้ํา<br />

ไดเปนอยางดี<br />

9.2 วิธีการใชกระบอกตักแบบตางๆ<br />

9.2.1 กระบอกตักแบบลิ้นเดี่ยว<br />

(1) คอยๆ หยอนกระบอกตักลงไปในบอ<br />

น้ําบาดาลชาๆ ดวยความเร็วคงที่ เพื่อปองกันการ<br />

กวนน้ําในบอ<br />

(2) เมื่อกนกระบอกตักถึงผิวน้ําลิ้นจะ<br />

เปดใหน้ําในบอไหลเขาทางกนผานเขาไปในกระบอก<br />

ตัก และเมื่อกระบอกตักจมน้ําน้ําจะไหลออกทางปาก<br />

กระบอกตัก<br />

(3) เมื่อถึงระดับความลึกที่ตองการเก็บ<br />

ตัวอยางน้ํา และหยุดการหยอนลิ้นที่กนกระบอกตักจะ<br />

ปดทันที ใหสาวสายลวดสลิงกลับสูปากบอ<br />

(4) คอยๆ รินน้ําออกทางปากกระบอก<br />

ตักลางขวดเก็บตัวอยางน้ําดวยน้ําตัวอยาง 2-3 ครั้ง<br />

แลวคอยรินน้ําตัวอยางลงในขวดเก็บตัวอยางจนเต็ม<br />

ผลึกปากขวดและสลากขางขวดใหแนน<br />

9.2.2 กระบอกตักแบบลิ้นคู<br />

การทํางานของกระบอกตักแบบลิ้นคูมี<br />

ลักษณะเหมือนกับกระบอกตักแบบลิ้นเดี่ยว คือน้ําใน<br />

บอน้ําบาดาลจะไหลเขาทางกนและไหลออกทางปาก<br />

กระบอกตักระหวางการหยอนเครื่องมือในน้ํา ลิ้นทั้งที่<br />

กนและปากกระบอกตักจะปดไมใหน้ําไหลเขาออก<br />

ทันทีที่หยุดการหยอน เนื่องจากมีลิ้นปดปากกระบอก<br />

ทําใหน้ําในกระบอกตักไมถูกปนเปอนดวยน้ําดานบน<br />

ขณะที่สาวกระบอกตักขึ้นจากบอ สําหรับการถายเท<br />

น้ําตัวอยางออกจากกระบอกตัก ใหปลดเข็มระบาย<br />

อากาศ (vacuum release pin) ตรงปากกระบอกตัก<br />

ออกน้ําตัวอยางจะไหลออกทางกนกระบอกตัก<br />

9.2.3 กระบอกตักแบบใชความดันตางศักย<br />

สําหรับกระบอกตักแบบใชความดันตาง<br />

ศักย กนกระบอกจะปดตันดวยแทงถวงน้ําหนัก<br />

เพื่อใหกระบอกตักจมลงใตน้ําไดอยางรวดเร็ว ในการ<br />

ทํางานใหหยอนกระบอกตักลงบออยางรวดเร็วถึงจน<br />

ระดับความลึกที่ตองการจัดเก็บตัวอยางน้ํา เมื่อหยุด<br />

การหยอน น้ําจะไหลเขากระบอกตักทางหลอด<br />

ตัวอยางน้ํา โดยมีหลอดระบายอากาศที่อยูสูงกวา (รูป<br />

ที่ 2 (ค) การถายเทน้ําตัวอยางออกจากกระบอกตัก<br />

ใหปลดสายลวดสลิงออก และเทน้ําออกทางหลอด<br />

ระบายอากาศ ขอจํากัดของกระบอกตักแบบนี้คือทํา<br />

ความสะอาดไดยาก<br />

9.3 การวิเคราะหตัวอยางน้ําบาดาลในสนาม<br />

9.3.1 วัตถุประสงค<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

จําเปนตองดําเนินการตรวจวิเคราะหตัวอยางน้ํา<br />

บาดาลในสนาม โดยมีวัตถุประสงคหลัก 2 ประการ<br />

คือ<br />

(1) วิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพและ<br />

คุณสมบัติทางเคมีของตัวอยางน้ําบาดาล ที่สามารถ<br />

เปลี่ยนแปลงไดอยางรวดเร็วเนื่องจากการเปลี่ยน-<br />

แปลงระดับแรงดันบรรยากาศและการสัมผัสอากาศ<br />

ของน้ําตัวอยาง น้ําบาดาลที่อยูในชั้นน้ําจะอยูภายใต<br />

ความกดดันของชั้นน้ํา และทันทีที่นําน้ําตัวอยางขึ้น<br />

จากบอน้ําบาดาลมาสูระดับแรงดันบรรยากาศบนผิว<br />

ดิน จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพสมดุลทางเคมี<br />

ของน้ําตัวอยาง และทําใหขีดความสามารถในการ<br />

ละลาย (dissolubility) ของน้ําเปลี่ยนแปลงไป การนํา<br />

ตัวอยางน้ําจากสนามมาวิเคราะหในหองปฏิบัติการซึ่ง<br />

อาจใชเวลาในการเดินทางหลายวัน จะทําใหคุณสมบัติ<br />

ทางกายภาพและทางเคมีบางตัวแปรเปลี่ยนไปตาม<br />

กาลเวลา เชน อุณหภูมิ คาความนําไฟฟา (electrical<br />

conductivity, EC) คาความเปนกรดเปนดาง (pH)<br />

และคาออกซิเจนละลายในน้ํา (dissolved oxygen,<br />

DO) เปนตน (Warran, 1978)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 108<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

(2) การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

บางกรณีจําเปนตองทราบคุณสมบัติของน้ําบาดาล<br />

บางอยางเพื่อประโยชนในการติดตามชั้นน้ํา<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งคุณสมบัติความกรอยเค็ม (salinity)<br />

ของน้ําบาดาล โดยการตรวจวิเคราะหคาความนํา<br />

ไฟฟาและคาคลอไรดในน้ําบาดาล<br />

9.3.2 วิธีการตรวจวิเคราะหตัวอยางน้ําบาดาล<br />

ในสนาม<br />

การวิเคราะหตัวอยางน้ําบาดาลในสนาม<br />

สามารถทําไดดวยวิธีการหลักๆ 2 วิธี คือ<br />

(1) ใชเครื่องวัดตางๆ ในการตรวจวัด<br />

เชน pH meters, DO meters, EC meters, thermometers<br />

เปนตน การตรวจวัดดวยเครื่องวัดตางๆ จะตอง<br />

ปรับแก (calibrate) เครื่องมือทุกครั้งดวยสารละลาย<br />

มาตรฐาน (standard solutions)<br />

(2) ใชวิธีการไตเตรท (titrations) ซึ่งโดย<br />

สวนใหญจะมีชุดตรวจวัดสารละลายในน้ําชนิดตางๆ<br />

สําหรับใชในภาคสนาม (chemical test kits)<br />

10. การจัดเก็บตัวอยางดินหิน<br />

ขอมูลธรณีวิทยาใตผิวดิน (subsurface geology)<br />

เปนขอมูลโดยตรงที่สําคัญในการสํารวจแหลงน้ํา<br />

บาดาล การสํารวจดวยธรณีฟสิกสบนผิวดินดวย<br />

วิธีการตางๆ หากปราศจากขอมูลดานธรณีวิทยาใตผิว<br />

ดิน ที่ใชในการเทียบเคียง (correlation) อาจทําใหการ<br />

แปลความหมายขอมูลการสํารวจทางธรณีฟสิกส<br />

ผิดเพี้ยนไปอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาในพื้นที่แหลงหินปูนตามขอบที่ราบสูง<br />

โคราช ตัวอยางเชนการสํารวจอุทกธรณีวิทยาดวย<br />

วิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟาจําเพาะในเขต<br />

พื้นที่เชิงเขาใหญ บางแหงหินปูนที่โผลใหเห็นบนผิว<br />

ดินลึกลงรองรับดวยชั้นหินแกรนิตระดับตื้น การ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาที่หมูบานจุฬาภรณในอําเภอ<br />

คลองน้ําใส จังหวัดสระแกว หินปูนที่โผลใหเห็นลึกลง<br />

ไปจากผิวดินเพียง 2-3 เมตร รองรับดวยชั้นหินภูเขา<br />

ไฟ ในการแปลความหมายขอมูลการสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสยากที่จะจําแนกชั้นหินแกรนิตหรือหินภูเขาไฟ<br />

ออกจากชั้นหินปูนได นอกจากใชวิธีการเทียบเคียง<br />

ขอมูลการเจาะบอน้ําบาดาลในพื้นที่ขางเคียงเทานั้น<br />

ในพื้นที่ที่ไมมีขอมูลการเจาะ จําเปนตอง<br />

ดําเนินการจัดเก็บตัวอยางดินหินใตผิวดิน สําหรับคูมือ<br />

นี้จะครอบคลุมเฉพาะสํารวจระดับตื้น (ความลึกไมเกิน<br />

30 ม.) เทานั้น โดยรวมไปถึงการเจาะ (boring) เพื่อ<br />

การจัดเก็บชั้นดินตะกอนหรือทรายชั้นน้ําระดับตื้น<br />

สําหรับการวิเคราะหขนาดของเม็ดทรายสําหรับการ<br />

ออกแบบกอสรางบอแนวนอน (collection wells) แต<br />

ไมครอบคลุมถึงวิธีการวิเคราะหขนาดของเม็ดทราย<br />

สําหรับการออกแบบกอสราง และไมครอบคลุมไปถึง<br />

การเจาะระดับลึก ซึ่งจําเปนตองใชเครื่องเจาะขนาด<br />

ใหญนั้น สําหรับอุปกรณและวิธีการเจาะหรือวิธีการใช<br />

เครื่องเจาะขนาดเล็กที่ใชในการเจาะสํารวจระดับตื้น มี<br />

รายละเอียดดังตอไปนี้<br />

10.1 การเจาะดวยชุดเจาะแบบมือหมุน<br />

เปนชุดอุปกรณการเจาะขนาดเล็กสําหับ<br />

การเจาะสํารวจระดับตื้นๆ (boring) ประกอบดวยกาน<br />

เจาะ มือหมุนกานเจาะ และหัวเจาะรูปแบบตางๆ แต<br />

ละรูปแบบเหมาะสําหรับการเจาะเก็บตัวอยางตะกอน<br />

หินรวนชนิดตางๆ เชน ใชหัวเจาะแบบ spiral auger<br />

สําหรับดินเหนียวปนทราย ใช riverside auger สําหรับ<br />

ชั้นทรายหรือดินรวน และใช Edelman Auger สําหรับ<br />

การเจาะในชั้นทรายอิ่มตัวดวยน้ํา อุปกรณทั้งหมด<br />

บรรจุในกลองขนาดประมาณ 0.75X 1.75X0.30 เมตร<br />

สามารถพกติดทายรถได ขีดความสามรถในการเจาะ<br />

ไดลึกไมเกิน 10 เมตร แตหากเจาะพบชั้นกรวด หรือ<br />

เศษหิน มักเจาะไมลง บางครั้งเจาะในชั้นดินที่แข็งจะ<br />

เจาะไดลึกเพียงไมเกิน 4-5 เมตร ดินตะกอนที่เจาะได<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 109<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

เปนตัวอยางแบบมีการรบกวน (disturbed samples)<br />

เทานั้น<br />

วิธีการเจาะใหตอหัวเจาะเขากับตัวมือหมุน<br />

ออกแรงกดมือหมุนพรอมๆ กัน หมุนใหหัวเจาะกัดลึก<br />

ลงไป จนตัวอยางดินเต็มหัวเจาะใหหมุนกลับได<br />

ตัวอยางดินที่ติดอยูบนหัวเจาะขึ้นจากหลุมเจาะ เมื่อ<br />

เทตัวอยางดินออกก็สามารถเจาะตอไปอีกจนหมด<br />

กาน ใหตอกานเจาะเขาไปใหม (ความยาวกานเจาะ<br />

ทอนละ 1 เมตร) หากเจาะหลุมขนาดความลึก 5 เมตร<br />

มักใชเวลาในการเจาะ 2-4 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับความยาก<br />

งายในการเจาะของแตละพื้นที่ หัวเจาะที่ใชในการเจาะ<br />

ชั้นดินเหนียว ไดแก spiral auger ซึ่งอาจจะพบกับ<br />

ปญหาบอพัง เมื่อชักกานเจาะ นําตัวอยางออกจาก<br />

รูเจาะ และไมสามารถเจาะใหลึกลงไปได<br />

10.2 การเจาะดวยชุดเจาะแบบดูดตัวอยาง<br />

เปนชุดอุปกรณการเจาะที่เหมาะอยางยิ่ง<br />

สําหรับการเจาะเก็บตัวอยางทรายที่อิ่มน้ํา หรือชั้น<br />

ทรายอุมน้ํา โดยตองเจาะนําดวยชุดเจาะ hand auger<br />

ไปกอนจนถึงระดับความลึกที่เปนชั้นทรายที่อิ่มน้ํา<br />

suction corers มีสวนประกอบงายๆ ที่อาจประกอบ<br />

ขึ้นใชเองไดในภาคสนามได คือ ใชทอ PVC ขนาด<br />

1.5 - 2 นิ้ว ปลายทอดานลาง เลื่อยใหเปนหยักฟน<br />

ปลา ใชลูกสูบยางขนาดพอดีกับทอ PVC ตอกับกาน<br />

อลูมิเนียมกลางขนาด 0.5 – 0.75 นิ้ว ดวยพุกเหล็ก<br />

อัดแนนกับปลายทออะลูมิเนียม แหยทอ PVC ซึ่งมี<br />

ลูกสูบและกานอะลูมิเนียม (กานสูบ) ลงไปในรูที่เจาะ<br />

ไวแลว กดและหมุนทอ PVC ลงไปในขณะเดียวกันให<br />

คอยๆ ชักกานลูกสูบขึ้น ทรายในชั้นน้ําจะถูกดูดเขา<br />

ไปในทอ PVC ขณะที่ทอ PVC ลงลึกไปเรื่อยๆ มี<br />

รายงานวาสามารถ เจาะลึกลงไปไดถึง 10 เมตร เมื่อ<br />

ไดความลึกที่ตองการแลว ใหชักทอ PVC พรอมๆ กัน<br />

กานลูกสูบขึ้น ตองระวังไมใหน้ําหนักของทรายภายใน<br />

ทอ จะดึงกานลูกสูบ ลงไปทางบอเจาะ จะตองดึงกาน<br />

ลูกสูบขึ้นตลอดเวลา ปองกันไมใหทรายในทอ PVC<br />

หลุดกลับลงไปในรูเจาะ เมื่อดึงทอ PVC ขึ้นจากปาก<br />

หลุมเจาะแลว ใหวางทอ PVC พรอมกานลูกสูบกับพื้น<br />

ในแนวนอน คอยดึงทอ PVC ถอยหลัง พรอมกับดัน<br />

กานลูกสูบไปขางหนา ทรายในทอ PVC จะไหลออก<br />

ทางปลายเปนแทงตัวอยาง (core) ของชั้นทรายในชั้น<br />

น้ํา<br />

10.3 การเจาะแบบกระแทกหมุน<br />

เปนเครื่องเจาะแบบหมุน (rotary) มีสวน<br />

ประกอบและลักษณะการทํางาน เหมือนเครื่องเจาะบอ<br />

น้ําบาดาลแบบ direct rotary rigs ทุกประการ เพียง<br />

แตยอสวนลงใหเปนเครื่องเจาะขนาดเล็ก สามารถ<br />

ถอดออกเพื่อการเคลื่อนยาย และประกอบขึ้นใหม ใน<br />

สถานที่เจาะไดโดยสะดวก และใชเวลานอยกวา 30<br />

นาที ประกอบดวย mast unit เปนแผนเหล็กกลวง<br />

สามขาความสูงประมาณ 3 เมตร สวนที่เปน top<br />

head drive unit เปนเครื่องยนตเบนซินหรือดีเซล มี<br />

กานมือจับสําหรับกดกานเจาะ (pull-down) และยก<br />

กานเจาะขึ้น (pull-up) สวนที่เปน mud pump unit<br />

เปนเครื่องสูบน้ําแบบหอยโขงขนาด 2 นิ้ว ขับเคลื่อน<br />

ดวยเครื่องยนตสูบน้ําโคลนผาน swivel ติดตั้ง<br />

ระหวางเครื่องยนตตนกําลังการเจาะ และกานเจาะ<br />

เพื่ออัดน้ําโคลนผานกานเจาะลงสูกนหลุมเจาะสําหรับ<br />

การลอลื่นลดความรอนที่หัวเจาะและพยุง cutting ขึ้น<br />

จากกนรูเจาะ หัวเจาะเปนหัวเหล็กเคลือบแข็งรูปหาง<br />

ปลา 3 แฉก ขนาด 2.5 นิ้ว มีหัวกวานลักษณะ<br />

เดียวกันขนาด 6.5 นิ้ว สําหรับการทําบอขนาด 2-4<br />

นิ้ว ขีดความสามารถในการเจาะ 45 เมตร ในตะกอน<br />

หินรวน ปจจุบันมีการดัดแปลงใชหัวเจาะแบบ augers<br />

มาใชกับเครื่องเจาะแบบนี้ ตัวอยางตะกอนที่ไดจาก<br />

การเจาะดวยเครื่องเจาะนี้จะเปนตัวอยางแบบมีการ<br />

รบกวน (disturbed samples)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 110<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

10.4 การเจาะแทงหินตัวอยางแบบกระแทก<br />

เปนเครื่องเจาะเก็บตัวอยางชั้นดิน-หิน ที่<br />

สมบูรณแบบมากที่สุด สามารถเจาะเก็บตัวอยางดิน-<br />

หิน ไดทุกชนิดแมแตหินแข็ง และไดตัวอยางแบบไม<br />

ถูกรบกวน (undisturbed samples) ไดโดยจัดเก็บ<br />

ตัวอยางดินตะกอนในหลอดพลาสติก (plastic lining)<br />

ซึ่งสามารถรักษาความชื้นของชั้นดินชั้นหิน ในขณะที่<br />

อยูใตผิวดินได หรืออาจจัดเก็บตัวอยางแทงหิน<br />

(cores) ของชั้นหินแข็ง วิธีการเจาะอาศัยแรงกระแทก<br />

เชนเดียวกัน เครื่องเจาะบอน้ําบาดาลแบบ percussion<br />

rigs แตการกระแทกของ Cobra Percussion<br />

Corer ใชหลักการกระแทกขึ้นลงของเครื่องเจาะ ซึ่ง<br />

สวนประกอบคือ percussion unit เปนเครื่องยนต<br />

พรอมกานกระแทกขึ้นลงในแนวดิ่ง กานเจาะและหัว<br />

เจาะ (drill stems & drilling bits) กานเจาะเปนกาน<br />

เหล็กตันแข็งเสนผาศูนยกลาง 1.5 นิ้ว ยาว 1 เมตรตอ<br />

กานดวยเกลียว หัวเจาะเปนหัวแบบ Pistol คลายสิ่ว<br />

ทรงกลมกลวง ผาขางเปดสามารถใชทอพลาสติกใสไว<br />

ภายในหัวเจาะและมี stopper ตรงปลายหัวเจาะได<br />

ความยาวของหัวเจาะ 1 เมตร ขนาดเสนผาศูนยกลาง<br />

2-4 นิ้ว มีหัว reamer ขยายใหเปนรูเจาะขนาด<br />

เสนผาศูนยกลาง 6.5 นิ้ว เมื่อตอหัวเจาะและกานเจาะ<br />

เขากับ Cobra Percussion Corer เดินเครื่องเจาะ<br />

percussion unit จะกระแทกหัวเจาะใหจมลึกลงไปใน<br />

ดิน (เหมือนเอาคอนตอกตะปู) ดินหินจะไหลเขาไปใน<br />

ทอพลาสติกใสผานstopper เมื่อตัวอยางดิน-หินเขาไป<br />

จนเต็มหัวเจาะ จะตองถอนกานขึ้น เพื่อเอาตัวอยางใน<br />

ทอพลาสติกออกจากกานเจาะกอน<br />

การถอนกาน stopper จะทําหนาที่ปองกันมิ<br />

ใหตัวอยางในทอพลาสติกกลับลงไปในรูเจาะ ถอน<br />

กานโดยใชเครื่อง hydraulic extractor ซึ่งในการดึง<br />

กานเจาะดวยระบบ hydraulic โดยมีแรงดึงสําหรับ<br />

ถอนกานถึง 20 กานและสามารถดึงกานเจาะขึ้นใน<br />

อัตรา 4 นาที/กาน ขีดความสามารถในการเจาะ 30<br />

เมตร<br />

11. ความปลอดภัย<br />

การปฏิบัติงานในพื้นที่ปากบอ ซึ่งสวนใหญเปน<br />

พื้นที่ชื้นแฉะ ตองระมัดระวังการลื่นลม<br />

11.1 พื้นที่ปากบอเปนพื้นที่เย็นและชื้นอาจมี<br />

โพรงหญารก มักเปนที่อยูอาศัยของสัตวมีพิษตางๆ<br />

เชน งู ตะขาบ หรือสัตวมีพิษอื่นๆ ควรสวมใสรองเทา<br />

ที่มีความเหมาะสม ไมเขาใกลสัตวเหลานี้<br />

11.2 การหยอนเครื่องมือตรวจวัดลงในบอน้ํา<br />

บาดาลโดยสวนใหญจําเปนตองขยับหรือถอนเครื่อง<br />

สูบน้ําจากบอน้ําบาดาล ซึ่งโดยสวนใหญเปนเครื่องสูบ<br />

น้ําไฟฟา ตองปดสะพานไฟทุกครั้งกอนลงมือทํางาน<br />

11.3 สําหรับเครื่องสูบน้ําแบบมือโยก ผูสํารวจ<br />

จะตองจัดเตรียมนอตยึดฐานเครื่องสูบน้ํามือโยกไป<br />

ดวย เพราะโดยสวนใหญนอตเกามักเปนสนิมกรอน<br />

และขาดตอนคลายนอตขยับเครื่องสูบน้ํา<br />

11.4 เพื่อปองกันการปนเปอนชั้นน้ําบาดาล<br />

เครื่องมือหรืออุปกรณตางๆ รวมทั้งสายหยอนที่จะ<br />

หยอนลงไปตรวจวัดขอมูลในบอน้ําบาดาล จะตองทํา<br />

ความสะอาดจนปราศจากฝุน ไขมัน สารเคมี หรือสิ่ง<br />

ปฏิกูลอื่นๆ ทุกครั้ง<br />

11.5 การปฏิบัติงานภาคสนามตองมีอุปกรณและ<br />

บุคลากรการถอนเครื่องสูบน้ําครบครัน ความผิดพลาด<br />

ที่เกิดจากความขาดแคลนอุปกรณเปดบอมีผลใหผูใช<br />

น้ําจากบอน้ําบาดาลเดือดรอน<br />

11.6 ในกรณีที่จําเปนตองเปดปากบอตอง<br />

ระมัดระวังสัตวมีพิษตางๆ ซึ่งอาจอาศัยตรงพื้นที่ชื้น<br />

เย็นบริเวณปากบอ<br />

12. บุคลากร<br />

การปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาใต<br />

ผิวดิน โดยสวนใหญจําเปนตองขยับเครื่องสูบน้ําหรือ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 111<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ถอนเครื่องสูบน้ํา จําเปนตองมีผูปฏิบัติงานในทีมงาน<br />

สํารวจไมนอยกวา 3 คน<br />

12.1 ผูปฏิบัติงานสํารวจภาคสนามจําเปนตอง<br />

ไดรับการฝกอบรมการใชเครื่องมือและอุปกรณตางๆ<br />

รวมทั้งการใชเครื่องเจาะเก็บตัวอยางดินหินรูปแบบ<br />

ตางๆ<br />

12.2 ผูปฏิบัติงานสํารวจภาคสนามจําเปนตอง<br />

ไดรับการฝกอบรมการดานการถอนและการติดตั้ง<br />

เครื่องสูบน้ําบอน้ําบาดาล จนมีความชํานาญสามารถ<br />

แกไขปญหาตางๆ ในสนามได<br />

13. เอกสารอางอิง<br />

American Society for Testing and Materials (ASTM),<br />

2002. Standard Guide for Presentation of<br />

Water Level information from Groundwater<br />

sites, D 6000-96 (Re 2002).<br />

American Society for Testing and Materials (ASTM),<br />

2006. Standard Practice for Sampling Liquids<br />

Using Bailers, D6699-01 (Re 2006).<br />

Brassington, R., 1988. Field Hydrogeology, Geological<br />

Society of London Professional Handbook<br />

Series.<br />

Garber, M.S., and Koopman, F.C., 1978. Method<br />

of Measuring Water Level in Deep Well,<br />

USGS Techniques of Water Resources<br />

Investigations paper, Chapter 8D.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 112<br />

คูมือ ทบ ส 3000-2550<br />

การสํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

คูมือ ทบ ส 4000 -2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550 เปนคูมือการปฏิบัติงานดานการสํารวจอุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล (ส) ของกรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล (ทบ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตัวเลขชุดแรกมี 4 ตําแหนง หมายถึง ลําดับ<br />

ของคูมือ ตัวเลขชุดที่สอง “2550” หมายถึง ป พ.ศ. ที่จัดทําเอกสารตนฉบับของคูมือ กรณีที่มีการแกไขและปรับปรุง<br />

คูมือใหใสวงเล็บตอทายและระบุ ป พ.ศ. ที่แกไขปรับปรุง เชน (แกไขปรับปรุง 2555) เปนตน โดยมีเครื่องหมาย (ก)<br />

เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่แกไข และมีเครื่องหมาย (ป) เปนตัวยกกํากับหนาขอความที่ปรับปรุงขึ้นใหม<br />

1. บทนํา<br />

คูมือการจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา (คูมือ ทบ ส<br />

4000-2550) ฉบับนี้ จัดทําขึ้นภายใตโครงการจัดทํา<br />

มาตรฐานการเจาะ สํารวจและพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

พ.ศ. 2550 เปนสวนหนึ่งของชุดคูมือการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาและแผนที่น้ําบาดาล โดยกรมทรัพยากรน้ํา<br />

บาดาลไดมอบหมายใหคณะผูเชี่ยวชาญดานอุทก<br />

ธรณีวิทยา ธรณีวิทยา วิศวกรรม เครื่องกล และ<br />

วิศวกรรมโยธา เปนผูดําเนินการรางคูมือการจัดทํา<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยา เพื่อใหใชควบคูไปกับ<br />

มาตรฐาน ทบ ส 4000-2550 การสํารวจจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยา โดยคูมือฉบับนี้ ไดกําหนดขั้นตอน<br />

และแนวทางสําหรับใชในงานจัดทําแผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยา เพื่อใหไดผลงานมีมาตรฐานตามที่กรมฯกําหนด<br />

เอกสารแผนที่อุทกธรณีวิทยาและแผนที่น้ํา<br />

บาดาลรายจังหวัดตางๆ ทั่วประเทศของกรม<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล และเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับ<br />

การสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาสากล จาก<br />

องคการอนามัยโลก (World Health Organization,<br />

WHO) องคการความรวมมือขององคการการศึกษา<br />

วิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (The<br />

United Nation of Education, Sciences and Culture<br />

Organization, UNESCO) สมาคมอุทกธรณีวิทยา<br />

สากล (International of Hydrological Sciences,<br />

IAHS) และสมาคมอุทกนักธรณีวิทยาสากล (International<br />

of Hydrogeologists, IAH) เปนเอกสารที่ใช<br />

ในการทบทวนและอางอิงในสําหรับคูมือฉบับนี้ แผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาเปนเอกสารในรูปแบบของแผนที่ ซึ่ง<br />

แสดงขอมูลจํานวนมากเกี่ยวกับแหลงน้ําบาดาล โดย<br />

แสดงความสัมพันธของแหลงน้ําบาดาลกับพื้นผิวภูมิ<br />

ประเทศ แสดงความสัมพันธของแหลงน้ําบาดาลกับ<br />

สภาพทางธรณีวิทยา และแสดงความสัมพันธของ<br />

แหลงน้ําบาดาลกับแหลงน้ําประเภทอื่นๆ โดยสวนที่<br />

สําคัญที่สุดซึ่งแผนที่อุทกธรณีวิทยา คือ การแสดง<br />

ขอมูลดานปริมาณและดานคุณภาพของน้ําบาดาล<br />

ตามพื้นที่สวนตางๆ ของแผนที่<br />

การแสดงขอมูลอุทกธรณีวิทยาซึ่งเปนขอมูลในรูป<br />

ของแผนแผนที่จะแสดงดวยสัญลักษณ สี และลายเสน<br />

ที่เปนมาตรฐานสากล สวนการแสดงขอมูลแหลงน้ํา<br />

บาดาลและความสัมพันธตางๆ ในเชิงลึกหรือ<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน มักแสดงดวย<br />

ภาพเงา หรือภาพจําลองสองมิติ หรือภาพจําลองสาม<br />

มิติ<br />

2. ขอบเขตการดําเนินงาน<br />

ขอมูลที่ใชในการจัดทําเปนแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

มักมีขอมูลจํานวนมากทั้งที่เปนขอมูลรวบรวมจาก<br />

แหลงขอมูลตางๆ และขอมูลที่ไดจากการสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน (ตามมาตรฐาน 1000-2550)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 113<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

(มาตรฐาน ทบ ส 2000-2550) และขอมูลที่ไดจากการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน (มาตรฐาน ทบ ส<br />

3000-2550) ขอมูลดังกลาวบางครั้งอาจพบขอมูลที่<br />

ผิดพลาดหรือขอมูลซึ่งไมนาเชื่อถือ หรือขอมูล<br />

เบี่ยงเบน จนไมสามารถอธิบายได ผูดําเนินการสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่ จําตองวิเคราะห ตรวจสอบ และหาก<br />

พบวาขอมูลที่นาสงสัยดังกลาวมีความเปนไปไดหรือ<br />

เปนไปไมได จะตองใหเหตุผลทั้งความเปนไปไดและ<br />

ความเปนไปไมได ภายใตขอสมมติฐานที่นาเชื่อถือ<br />

ดังนั้นเอกสารคูมือฉบับนี้ จึงมีขอบเขตการดําเนินงาน<br />

โดยสรุป ดังนี้<br />

2.1 เปนคูมือสําหรับการดําเนินงานสํารวจจัดทํา<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยา เพื่อใหไดแผนที่ตรงตาม<br />

มาตรฐานที่กรมทรัพยากรน้ําบาดาลกําหนด ซึ่ง<br />

ครอบคลุมมาตรฐานงานดานตางๆ รวม 5 ขั้นตอน คือ<br />

2.1.1 รูปแบบและองคประกอบของแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาตามมาตรฐานสากล เปนการทบทวนความ<br />

เปนมาของการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

รวมทั้งการกําหนดรูปแบบและองค ประกอบของแผน<br />

ที่อุทกธรณีวิทยา ใหมีมาตรฐานสอดคลองกับแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาสากล<br />

2.1.2 คูมือการใชสัญลักษณในแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาตามมาตรฐานสากล เปนการทบทวนการใช<br />

สัญลักษณสีและลายเสนตางๆ สําหรับแสดงขอมูลใน<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยา รวมทั้งกําหนดการใช<br />

สัญลักษณใหสอดคลองกับมาตรฐานแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาสากล<br />

2.1.3 คูมือปฏิบัติสําหรับการจัดทําแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยา เปนการกําหนดมาตรฐานในการจัดทําแผน<br />

ที่ตามแผนที่อุทกธรณีวิทยาสากล ซึ่งประกอบดวย<br />

หัวขอตางๆ คือ (1) การแสดงขอมูลในแผนที่ (2) การ<br />

จัดลําดับความสําคัญของขอมูล (3) การจัดทําคํา<br />

อธิบายแผนที่ (4) ขั้นตอนการตรวจสอบแผนที่<br />

2.1.4 การจําแนกประเภทแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

เปนการกําหนดการจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ประเภทตางๆ ตามมาตรฐานสากลโดยมีหัวขอตางๆ<br />

คือ (1) การจําแนกแผนที่ตามวัตถุประสงคของการใช<br />

งาน (2) การจําแนกแผนที่ตามระดับความนาเชื่อถือ<br />

(3) การจําแนกแผนที่ตามมาตราสวน (4) การจําแนก<br />

แผนที่ตามระดับของขอมูล<br />

2.1.5 คูมือการนําเสนอขอมูลที่แสดงในแผนที่<br />

เปนการกําหนดวิธีการใชขอมูลตางๆ สําหรับการ<br />

จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาตามมาตรฐานสากล ซึ่ง<br />

ประกอบดวยหัวขอตางๆ คือ (1) ธรรมชาติของขอมูล<br />

อุทกธรณีวิทยา (2) ความคลาดเคลื่อนของขอมูล<br />

(Inherent Errors) (3) ลักษณะผันแปรของกลุมขอมูล<br />

(4) มาตรฐานการประมาณการขอมูล<br />

2.2 หนวยวัดที่ใชในเอกสารมาตรฐานนี้เปน<br />

หนวยวัดระบบ Systeme Internationale d’Unites<br />

หรือ SI Units<br />

2.3 ขอความที่เกี่ยวของกับมาตรฐานความ<br />

ปลอดภัยในเอกสารฉบับนี้ ครอบคลุมเฉพาะความ<br />

ปลอดภัยในการใชเครื่องมือที่มีมาตรฐานและอยูใน<br />

สภาพสมบูรณพรอมใชงานเทานั้น ไมอาจครอบคลุม<br />

ถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หรืออุบัติเหตุใดๆ<br />

ที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานภาคสนาม ซึ่งจะเปน<br />

ความรับผิดของผูใชงานในการปฏิบัติงานดานตางๆ<br />

ตามขั้นตอนของเอกสารมาตรฐานฉบับนี้ ผู ใชงานจึง<br />

จําเปนตองคํานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตและ<br />

ทรัพยสินทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน<br />

3. เอกสารที่เกี่ยวของ<br />

3.1 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 1000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2001-2550 การ<br />

คัดเลือกวิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 114<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2002-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2003-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหว<br />

สะเทือนแบบหักเห<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2004-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 2005-2550 การสํารวจ<br />

ธรณีฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 3000-2550 การสํารวจ<br />

อุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

- มาตรฐาน ทบ ส 4000-2550 การจัดทํา<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

- คูมือ ทบ ส 1000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2001-2550 การคัดเลือก<br />

วิธีการสํารวจธรณีฟสิกสบนผิวดิน<br />

- คูมือ ทบ ส 2002-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความตานทานไฟฟา<br />

จําเพาะ<br />

- คูมือ ทบ ส 2003-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดความเร็วคลื่นไหวสะเทือน<br />

แบบหักเห<br />

- คูมือ ทบ ส 2004-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดคลื่นแมเหล็กไฟฟา<br />

- คูมือ ทบ ส 2005-2550 การสํารวจธรณี<br />

ฟสิกสดวยวิธีการตรวจวัดแรงโนมถวง<br />

- คูมือ ทบ ส 3000-2550 การสํารวจอุทก<br />

ธรณีวิทยาใตผิวดิน<br />

3.2 American Society for Testing and<br />

Materials (ASTM):<br />

- D5879-02 Standard Guide for<br />

Geotechnical Mapping of Large Underground<br />

Openings in Rocks.<br />

4. ศัพทบัญญัติ<br />

4.1 คํานิยาม<br />

การเรียงลําดับชั้นหินทางอุทกธรณีวิทยา<br />

(hydrogeological sequences) หมายถึงลักษณะการ<br />

วางตัวของหนวยหินทางอุทกธรณีวิทยาตางๆ เพื่อ<br />

แสดงอายุ หรือลําดับการวางตัวของหนวยหินตางๆ<br />

แบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

(conceptual hydrogeological models) หมายถึง<br />

แบบจําลองของพื้นที่สํารวจจากขอมูลดานอุทก<br />

ธรณีวิทยาที่ไดจากการสํารวจอุทกธรณีวิทยาบนผิว<br />

ดิน เพื่อใชประกอบกับแผนที่อุทกธรณีวิทยาสําหรับ<br />

การกําหนดแนวทางการสํารวจขั้นตอไป<br />

ภาพจําลองสองมิติ (planar representations)<br />

หมายถึง ภาพแสดงขอมูลอุทกธรณีวิทยาใน<br />

เชิงลึก เชน ขอมูลชั้นดินชั้นหินจากการเจาะ (geological<br />

log, bore hole logs) หรือขอมูลการเรียงลําดับ<br />

ชั้นหินจากการเทียบเคียงขอมูลการเจาะ (assemblage<br />

of logs) ภาพตัดขวางทางอุทกธรณีวิทยา<br />

(hydrogeological cross-sections) เปนตน<br />

ภาพจําลองสามมิติ (perspective views)<br />

ภาพแสดงขอมูลอุทกธรณีวิทยาในลักษณะสามมิติ ทั้ง<br />

กวาง ยาว และลึกหรือหนา เชน ภาพจําลองรูปรั้วสาม<br />

มิติ (fence diagrams) ภาพจําลองรูปกลองสามมิติ<br />

(block diagrams) หรือภาพจําลองรูปนูนสามมิติ<br />

(isometric surface diagrams) เปนตน<br />

ลายเสน (ornaments) หมายถึงลวดลายที่<br />

แสดงในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งของแผนที่เพื่อใชเปน<br />

สัญลักษณแทนคําอธิบายความหมายและขอบเขตใน<br />

พื้นที่นั้น สวนใหญจะใชลายเสนแสดงขอบเขตและ<br />

ชนิดของหนวยหินทางอุทกธรณีวิทยา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 115<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สัญลักษณ (symbols) หมายถึงเครื่อง<br />

หมายที่แสดงในพื้นที่ใดพื้นที่หรือจุดใดจุดหนึ่งของ<br />

แผนที่เพื่อใชเปนสัญลักษณแทนคําอธิบายความ<br />

หมายของพื้นที่นั้นหรือจุดนั้น สวนใหญจะใชแสดง<br />

ความหมายดานภูมิประเทศ เชน แหลงน้ําซับ ทางน้ํา<br />

หรือสิ ่งกอสราง เชน บอ เขื่อน อางเก็บน้ํา และอื่นๆ<br />

เปนตน<br />

หนวยหินทางธรณีวิทยา (geological units)<br />

หมายถึง ชั้นหินตางๆ ที่ไดจัดแบงไวตามประเภท<br />

อายุ และลักษณะการวางตัวหรือตามขอมูลอื่นๆ ทาง<br />

ธรณีวิทยา<br />

หนวยหินทางอุทกธรณีวิทยา (hydrogeological<br />

units) หมายถึงชั้นหินตางๆ ที่ไดจัดแบง<br />

ไวตามประเภท อายุ และลักษณะการวางตัว หรือตาม<br />

ขอมูลอื่นๆ ทางอุทกธรณีวิทยา<br />

4.2 คํายอ<br />

กรมฯ หมายถึง กรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

แบบจําลองฯ หมายถึง แบบจําลองอุทก<br />

ธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

5. ความสําคัญและการใชงาน<br />

5.1 เอกสารคูมือฉบับนี้ ไดกําหนดวิธีการสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา เพื่อใหไดแผนที่ตาม<br />

มาตรฐานสากล<br />

5.2 เอกสารคูมือฉบับนี้ เปนคูมือการสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาใหไดมาตรฐาน ทบ ส<br />

4000-2550)<br />

5.3 การกําหนดมาตรฐานและคูมืองานสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา ไดกําหนดแนวทางและ<br />

วิธีการดําเนินงานกวางๆ ตามมาตรฐานสากล ซึ่งอาจ<br />

จําเปนตองปรับเปลี่ยนรายละเอียดของเนื้องานตามที่<br />

ผูเชี่ยวชาญแตละโครงการจะเห็นสมควร<br />

6. รูปแบบและองคประกอบของแผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยาตามมาตรฐานสากล<br />

6.1 รูปแบบสากลของแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

การสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาชุด<br />

แรกของประเทศตางๆ ในภาคพื้นยุโรประหวางป ค.ศ.<br />

1920-1940 โดยสวนใหญมีวัตถุประสงคเพื่อการวาง<br />

แผนการพัฒนาแหลงน้ําบาดาล สําหรับการเกษตร<br />

อุตสาหกรรมและการอุปโภคบริโภค มีการใชสัญญา<br />

ลักษณสีลายเสนในแผนที่หลายรูปแบบ จนไมสามารถ<br />

นําแผนที่ขางเคียงมาปะติดปะตอกันได ในป 1962<br />

สมาคมนักอุทกธรณีวิทยาสากล และสมาคมอุทกธรณี<br />

วิทยาสากล ไดจัดตั้งคณะทํางานสําหรับการติดตาม<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาขึ้นคณะหนึ่ง โดย<br />

จัดการประชุมขึ้นที่กรุงปารีสภายใตการสนับสนุนของ<br />

UNESCO และมีขอตกลงที่จะรวมกันจัดทํามาตรฐาน<br />

สากล สําหรับการทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาขึ้น โดย<br />

กําหนดมาตรฐานการใชสัญลักษณสีลายเสนและ<br />

มาตราสวนของแผนที่ รวมทั้งไดรวมกัน Compile<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยาของภาคพื้นยุโรปขึ้นในป 1964<br />

ภายใตรูปแบบแผนที่ 2 รูปแบบคือ รูปแบบที่ 1<br />

(model 1) เนนหนักไปทางอุทกธรณีวิทยาโดยแสดง<br />

คา permeability และคุณสมบัติทางชลศาสตรของ<br />

ชั้นน้ําในแหลงหินชนิดตางๆ และรูปแบบที่ 2 (model<br />

2) เนนหนักไปทางน้ําบาดาลโดยแสดงขีดความ<br />

สามารถในการใหน้ําของชั้นน้ําประเภทตางๆ<br />

ในป 1965 ไดมีการเสนอแผนที่รูปแบบที่ 3<br />

(model 3) โดยชั้นน้ําตางๆ จะแบงออกเปน 3 กลุม<br />

คือ good aquifers, moderate aquifers และ poor<br />

aquifers ชนิดของหินแสดงดวยลายเสนสีเทา พื้นที่<br />

เปน good aquifers แสดงดวยสีน้ําเงิน สีมวงเปนสี<br />

ของพื้นที่ moderate aquifers และสีน้ําตาลแทนพื้นที่<br />

poor aquifers แตปญหาใหญคือขอตกลงในการ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 116<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

กําหนดขอบเขตของ good aquifers และ moderate<br />

aquifers ดังนั้นไดมีการเสนอแผนที่รูปแบบที่ 4<br />

(model 4)<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยารูปแบบที่ 4 ถือไดวา<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยามิติใหม เปนที่ยอมรับกัน<br />

โดยสวนใหญและในปจจุบันแผนที่อุทกธรณีวิทยาของ<br />

ประเทศตางๆ ยึดถือ model 4 เปนแมบทในการ<br />

สํารวจจัดทําแผนที่มากที่สุด เนื้อหาสาระของแผนที่<br />

Model 4 อยูที่การแสดงโดยแบงแยกชั้นน้ําเปน 3<br />

ประเภทใหญๆ คือ สีน้ําเงินสําหรับน้ําบาดาลที่ไหลไป<br />

ตามชองวางระหวางเม็ดตะกอน ตัวอยางเชนน้ํา<br />

บาดาลในแหลงกรวดทราย หรือหินทรายที่มี primary<br />

permeability สูงๆ เปนตน สีเขียวสําหรับชั้นน้ําที่ไหล<br />

ในชองวางตามแนวรอยแตกของชั้นหิน และสีน้ําตาล<br />

สําหรับพื้นที่ไมมีชั้นน้ํา นอกจากนั้นยังแสดงความ<br />

แตกตางของชั้นน้ําดวยความเขมของสี เชนสีน้ําเงิน<br />

เขม (dark blue) แสดงพื้นที่ของชั้นน้ําประเภท intergranular<br />

flow ที่มีสภาพชั้นน้ําแผกระจายเปนพื้นที่<br />

บริเวณกวาง สีเขียวออน (screened green) แสดงถึง<br />

ชั้นน้ํา fissured flow ที่มีแนวรอยแตกไมตอเนื่องเกิด<br />

เฉพาะพื้นที่ ในขณะเดียวกันสีน้ําตาลออน (screened<br />

brown) แสดงถึงพื้นที่ที่มีชั้นหินอาจเก็บน้ําบาดาลได<br />

บางในพื้นที่ขนาดเล็ก และสีน้ําตาลเขมถือวาเปนพื้นที่<br />

ไมมีแหลงน้ําบาดาลเลย (Anon, 1977)<br />

สําหรับแผนที่อุทกธรณีวิทยาตางๆ ของ<br />

ประเทศไทยและแผนที่น้ําบาดาลรายจังหวัด ซึ่งจัดทํา<br />

โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ไดยึดถือรูปแบบแผนที่<br />

Model 4 ตามมาตรฐานสากลในการจัดทําแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยา ดังนั้นในการกําหนดรูปแบบแผนที่อุทก-<br />

ธรณีวิทยาใหใชรูปแบบ model 4 ของมาตรฐานสากล<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

6.2 องคประกอบที่สําคัญของแผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยา<br />

ตามมาตรฐานกรมทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

(มาตรฐาน ทบ ส 4000-2550) แผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

อยางนอยตองมีองคประกอบ 3 สวน คือ (1) หนาปก<br />

แผนที่ (map cover) (2) ตัวแผนที่ (map face) และ<br />

(3) องคประกอบอื่นๆ ของแผนที่<br />

6.2.1 หนาปกแผนที่<br />

หนาปกแผนที่เปนเอกสารกํากับแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาโดยระบุขอมูลตางๆ เพื่อกํากับแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาแผนนั้น ในกรณีที่แผนที่มีขนาดใหญ<br />

จําเปนตองพับแผนแผนที่ หนาปกแผนที่ตองมีขนาด<br />

เทากับแผนกระดาษ A-4 เมื่อพับแผนแผนที่แลว ให<br />

หนาปกแผนที่อยูดานหนาเปรียบเสมือนหนึ่งเปนปก<br />

แผนที่ สําหรับแผนที่ประกอบรายงานการสํารวจที่มี<br />

ขนาดเล็กใหจัดทําหนาปกแผนที่ตามความเหมาะสม<br />

ขอมูลในหนาปกแผนที่ประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้<br />

ตราสัญลักษณกรมทรัพยากร<br />

น้ําบาดาล<br />

(2) ชื่อแผนที่<br />

(3) ชื่อคณะผูจัดทําแผนที่ ชื่อคณะผูจัด<br />

ทําแผนที่ใหพิมพดวยอักษรสีดําขนาดที่เหมาะสมไว<br />

บริเวณใตกรอบดานบนของแผนที่ตรงบริเวณกึ่งกลาง<br />

ใตกรอบดานบนของแผนที่<br />

(4) มาตราสวนของแผนที่เปนเชิงระยะ<br />

ทาง (graphic scale) พรอมคําอธิบายเกี่ยวกับมาตรา<br />

สวนของแผนที่ ทั้งนี้เมื่อนําแผนที่ไปถายยอหรือขยาย<br />

จะทราบมาตรสวนของแผนที่จาก graphic scale<br />

(5) ลูกศรกํากับทิศใหกําหนดสัญลักษณ<br />

แสดงทิศเหนือ ขนาดเหมาะสมชัดเจน<br />

(6) ระยะเวลาในการสํารวจขอมูลและป<br />

ที่จัดพิมพแผนที่ ใหพิมพตัวเลขปที่จัดพิมพ เปน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 117<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตัวเลขสากลใหเห็นชัดเจนสําหรับการใชเปน<br />

เอกสารอางอิง<br />

6.2.2 ตัวแผนที่<br />

ตัวแผนที่ไดแกสวนที่แสดงขอมูลภายใน<br />

กรอบพื้นที่ที่จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา ซึ่งอาจ<br />

ประกอบดวยขอมูลตางๆ ดังตอไปนี้<br />

(1) ขอมูลผิวดิน เปนขอมูลสภาพภูมิ<br />

ประเทศ เชน ระดับความสูง ทางน้ํา แมน้ําและแหลง<br />

น้ําผิวดินตางๆ ขอมูลขอบเขตการปกครองดวย ไดแก<br />

ตําแหนงของ หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด และ<br />

ขอบเขตของตําบล อําเภอ และจังหวัด และขอมูลการ<br />

คมนาคม โดยแสดงดวยดวยสีสัญลักษณและลายเสน<br />

ตามมาตรฐานสากล<br />

(2) ขอมูลหินทางอุทกธรณีวิทยา เปน<br />

ขอมูลหินทางอุทกธรณีวิทยาตางๆ ทั้งที่เปนชั้นน้ํา<br />

และชั้นหินกั้นน้ํา ในกรณีที่มีชั้นน้ําหลายๆ ชั้นในพื้นที่<br />

เดียวกัน ใหแสดงเปนชั้นน้ําหลัก ซึ่งเปนชั้นหินใหน้ํา<br />

บาดาลสูงสุดในพื้นที่นั้น ขอบเขตของหินอุมน้ําและ<br />

ประเภทของชั้นน้ํา โดยแสดงดวยสีสัญลักษณและ<br />

ลายเสนตามมาตรฐานสากล<br />

(3) ขอมูลปริมาณน้ําที่คาดวาจะพัฒนา<br />

ได (expected well yield) โดยเปนขอมูลปริมาณน้ํา<br />

สูงสุดที่สามารถสูบขึ้นใชได (maximum well yield) มี<br />

หนวยเปนหนวยลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง (ลบ.ม./ชม.)<br />

ใหกําหนดเปนระดับการใหน้ําของชั้นหินเปนระดับ<br />

ตางๆ ตามความเหมาะสม บอน้ําบาดาลที่ใชในการ<br />

คํานวณหาปริมาณน้ําสูงสุดจะตองเปนบอที่มีการลง<br />

ทอกรองหรือทอเซาะรองตลอดความหนาของชั้นน้ํา<br />

บาดาล (fully penetrated well) สําหรับแผนที่น้ํา<br />

บาดาลรายจังหวัดของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล โดย<br />

สวนใหญไดกําหนดไวเปน 4 ระดับไดแก นอยกวา 2,<br />

2-10, 10-20 และมากกวา 20 ลบ.ม./ชม. ตามลําดับ<br />

(4) ขอมูลคุณภาพน้ํา คาที่ใชกําหนด<br />

คุณภาพน้ําเบื้องตนในแผนที่น้ําบาดาลรายจังหวัดเปน<br />

คาปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายในน้ํา (total dissolved<br />

solids, TDS) มีหนวยเปนมิลลิกรัมตอลิตร (mg/l) โดย<br />

กําหนดคุณภาพน้ําตามเกณฑขางตน ออกเปน 3<br />

ระดับ และใชสีแทนคุณภาพแตละระดับ<br />

(5) ขอมูลอื่นๆ นอกเหนือจากขอมูล<br />

หมวดตางๆ ดังกลาวขางตน ในตัวแผนที่อาจแสดง<br />

ขอมูลประกอบอื่นๆ เชน ตําแหนงของแนวตัดขวาง<br />

หรือตําแหนงของ block diagrams ตางๆ ตําแหนง<br />

ของพื้นที่ที่เคยมีการศึกษาวิจัยดานอุทกธรณีวิทยาขั้น<br />

รายละเอียด เปนตน สําหรับแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ประกอบรายงานการสํารวจ ในตัวแผนที่อาจแสดง<br />

ขอมูลอื่นๆ ดังนี้<br />

(5.1) ตําแหนงการเก็บตัวอยาง (น้ําและ<br />

หิน) พรอมหมายเลขตัวอยาง<br />

(5.2) ตําแหนงการถายรูปสําหรับเปน<br />

ภาพประกอบรายงาน<br />

(5.3) ตําแหนงพื้นที่ที่มีการสํารวจขอมูล<br />

ขั้นรายละเอียด<br />

6.2.3 องคประกอบอื่นๆ ของแผนที่<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยาจะตองมีองคประ-<br />

กอบอื่นๆ ที่แสดงบนแผนที่ ดังนี้<br />

(1) แผนที่ดัชนี แผนที่ดัชนีเปนแผนที่<br />

ขนาดเล็ก ที่ยอ สวนของแผนที่อุทกธรณีวิทยาตาม<br />

ขนาดที่เหมาะสม (โดยทั่วไปมีขนาด 15x15 ตาราง<br />

เซนติเมตร) แสดงขอบเขตของพื้นที่สํารวจจัดทําแผน<br />

ที่และพื้นที่ขางเคียง บางครั้งอาจแสดงตําแหนงและ<br />

ขอบเขตของพื้นที่สํารวจจัดทําแผนที่ตามเลขหมาย<br />

ระวางแผนที่ (map sheet) ของแผนที่ภูมิประเทศ<br />

มาตราสวน 1:50,000 พรอมดวยแผนที่ระวางพื้นที่<br />

ขางเคียง หรือเปนแผนที่ขนาดเล็กตามขนาดและ<br />

มาตราสวนที่เหมาะสม<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 118<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สําหรับแผนที่น้ําบาดาลรายจังหวัดมาตรา<br />

สวน 1:100,000 ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล จัดพิมพ<br />

ในแผนกระดาษขนาด 60 x 75 ตารางเซนติเมตร<br />

ขนาดของพื้นที่จังหวัดซึ่งมีขนาดใหญกวาขนาดของ<br />

กระดาษพิมพดังนั้นชุดแผนที่น้ําบาดาลรายจังหวัด<br />

1 จังหวัด จึงประกอบไปดวยแผนที่แผนยอยมากกวา<br />

1 แผน แผนที่ดัชนี จะเปนแผนที่ยอสวนขนาดเล็กที่<br />

จัดทําไวเพื่อแสดงสวนประกอบของแผนที่น้ําบาดาล<br />

สวนตางๆ เพื่อความสะดวกในการคนหาแผนที่ในสวน<br />

ที่ตองการ<br />

(2) สัญลักษณที่ใชในแผนที่ (legend)<br />

(รายละเอียดในหัวขอ 6)<br />

(3) คําอธิบายแผนที่ (map explanation)<br />

(รายละเอียดในหัวขอ 7.3)<br />

(4) แบบจําลองอุทกธรณี วิทยาเชิงมโน<br />

ทัศน อาจแสดงดวยภาพจําลองสองมิติ เชน ภาพตัด<br />

ขวางทางอุทกธรณีวิทยา หรือภาพจําลองสามมิติ เชน<br />

ภาพจําลองรูปรั้วสามมิติ (fence diagrams) ภาพ<br />

จําลองรูปกลองสามมิติ (block diagrams) เพื่อแสดง<br />

ลักษณะและความสัมพันธทางอุทกธรณีวิทยา<br />

โดยเฉพาะการวางตัวของชั้นหินและชั้นน้ําตางๆ ใต<br />

ผิวดิน ซึ่งไมสามารถมองเห็นในเชิงลึกไดจากตัวแผน<br />

ที่ ทั้งนี้ในแผนที่น้ําบาดาลรายจังหวัดไดกําหนดให<br />

จัดทําแบบจําลองอุทกธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน อยาง<br />

นอยจังหวัดละ 2 แนว โดยการจัดทําแบบจําลองอุทก<br />

ธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน ตองกําหนดแนวที่ผานชั้นหิน<br />

ใหน้ําทุกชั้นที่พบในจังหวัดนั้น และโดยเฉพาะ<br />

โครงสรางทางธรณีวิทยาที่สําคัญเกี่ยวกับการเปน<br />

แหลงน้ําบาดาล รวมทั้งกําหนดใหใชสัญลักษณของ<br />

หนวยหินทางอุทกธรณีวิทยา โครงสรางทางอุทก<br />

ธรณีวิทยา ปริมาณ และคุณภาพน้ํา เชนเดียวกับที่ใช<br />

ในสวนของตัวแผนที่ และใหแสดงตําแหนงบอน้ํา<br />

บาดาลหรือขอมูลการเจาะอื่นๆ ที่นําขอมูลมาใชใน<br />

การจัดทําแบบจําลองฯ ตําแหนงทางน้ํา และตําแหนง<br />

ทางการปกครอง (ตําบล หรือ อําเภอ) สําคัญๆ ที่แนว<br />

ของแบบจําลองฯ ลากผานมาตราสวนของแบบจําลอง<br />

ฯ ตามความเหมาะสม โดยทั่วไปในแผนที่น้ําบาดาล<br />

รายจังหวัดมีมาตราสวน 1:100,000 ในแนวระนาบ<br />

และ 1:2,000 ในดิ่ง<br />

(5) แผนที่ประกอบ (supplementary<br />

maps) แผนที่ประกอบเปนแผนที่ขนาดเล็กยอสวน<br />

ขอบเขตพื้นที่สํารวจจัดทําแผนที่ มีราย ละเอียด<br />

เชนเดียวกับแผนที่ดัชนี พรอมกํากับมาตราสวนที่ใช<br />

คาเสนรุงและเสนแวงที่สําคัญ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

แสดงขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาเฉพาะเรื่องซึ่งไม<br />

สามารถแสดงทับซอนไดในแผนที่หลัก หรืออาจแสดง<br />

ขอมูลทับซอนได แตจะทําใหแผนที่หลักมีรายละเอียด<br />

มากเกินไป ตัวอยางเชน ในแผนที่น้ําบาดาลราย<br />

จังหวัดของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล มีแผนที่ประกอบ<br />

ตางๆ เชน แผนที่แสดงปริมาณคลอไรด (chloride<br />

contents map) แผนที่แสดงปริมาณความกระดาง<br />

(Hardness Contents Map) แผนที่แสดงแหลงน้ํา<br />

บาดาลระดับตื้น (shallow aquifer map) และแผนที่<br />

แสดงระดับความลึกของชั้นน้ํา (isopach map of<br />

aquifer’s depth) เปนตน โดยที่แผนที่ประกอบแตละ<br />

แผนจะแสดงคุณสมบัติ เฉพาะแตละอยางของชั้นน้ํา<br />

ทั้งจังหวัด<br />

(6) แหลงขอมูล<br />

(7) เอกสารอางอิงที่ใชในการทําแผนที่<br />

7. คูมือการใชสัญลักษณสําหรับการแสดงใน<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

คณะทํางานจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาสากลของ<br />

IAH และ IAHS ภายใตความรวมมือของ UNESCO<br />

และองคการอนามัยโลก (WHO) ไดมีการปรับปรุง<br />

แกไขและเพิ่มเติม สัญลักษณ ลายเสน และสีที่ใชใน<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาอยางตอเนื่อง และ<br />

กําหนดเปนสัญลักษณสากลเปนมาตรฐานสากล<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 119<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

สําหรับใชในการจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาใน<br />

ปจจุบัน (UNES-CO,1983) โดยแบงเปนหมวดขอมูล<br />

ตางๆ คือ (1) ภูมิประเทศ (2) ภูมิอากาศ (3)<br />

ธรณีวิทยา (4) ศิลาวิทยา (5) อุทกศาสตร (6) ธรณี<br />

วิทยาน้ําบาดาล (7) อุทกเคมี (8) บอน้ําบาดาลและ<br />

สิ่งกอสราง สําหรับหมวดศิลาวิทยาซึ่งเกี่ยวของกับ<br />

หนวยหินทางอุทกธรณีวิทยาของประเทศไทย คณะ<br />

ผูจัดทํามาตรฐานฯ ครั้งนี้ไดรวบรวมสัญลักษณของ<br />

หนวยหินตางๆ จากแผนที่อุทกธรณีวิทยาและแผนที่<br />

น้ําบาดาลรายจังหวัด จัดทําเปนมาตรฐานสําหรับการ<br />

สํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา ดังรายละเอียดใน<br />

ตารางที่ 2 (ภาคผนวก)<br />

8. หลักปฏิบัติสากลในการสํารวจจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยา<br />

ตามมาตรฐานสากล (UNESCO, 1983) ได<br />

กําหนดหลักเกณฑการจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาที่<br />

เกี่ยวของกับการจัดการขอมูล ซึ่งกรมทรัพยากรน้ํา<br />

บาดาลเห็นสมควรใหยึดถือเปนมาตรฐาน ดังนี้<br />

8.1 หลักปฏิบัติในการแสดงขอมูลในแผนที่<br />

หลักปฏิบัติแสดงขอมูลในแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยา ตองจัดวางรูปแบบของการแสดงขอมูลให<br />

เหมาะสมเชน contour lines เหมาะสําหรับประเภท<br />

ขอมูลที่มีคาความเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องเปนชวง<br />

ใดๆ และการเปลี่ยนแปลงของขอมูลแบบคอยๆ ลาด<br />

ชันทีละนอย เชนขอมูลความลึกของระดับน้ําบาดาล<br />

เปนตน แตสําหรับขอมูลที่มีคาการเปลี่ยนแปลงอยาง<br />

ทันทีทันใด การแสดงขอมูลดังกลาวดวยวิธีการ<br />

shading ผสมผสานกับ contour lines ก็อาจแกปญหา<br />

การขาดชวงของ contour lines ไปไดตัวอยางเชน<br />

การแสดงปริมาณน้ําบาดาลในชั้นหินปูน น้ําบาดาลที่<br />

ไดจากแนวรอยแตกและ bedding planes ของหินปูน<br />

อยูในชวงระหวาง 5 - 30 ลบ.ม./ชม. แตบอน้ําบาดาล<br />

ตรงบริเวณกึ่งกลางของพื้นที่แหลงหินปูน ไดน้ําจาก<br />

โพรงหินปูนใตดินสูงถึง 200 ลบ.ม./ชม. โดยมีขอมูล<br />

สามารถกําหนดขอบเขตของโพรงหินปูน (จากการ<br />

สํารวจทางธรณีฟสิกส) ขอมูลดังกลาวหากแสดงดวย<br />

contour lines ในบริเวณพื้นที่ไดน้ําจากแนวรอยแตก<br />

และ bedding planes และ shading ในพื้นที่โพรงหิน<br />

ก็จะไดขอมูลครบถวนโดยไมขาดหาย อยางไรก็ตาม<br />

การแสดงขอมูลดวย contour lines จะตองมีปริมาณ<br />

ขอมูลมากเพียงพอ การแสดงปริมาณน้ําบาดาลจาก<br />

ขอมูลบอน้ําบาดาลจํานวนนอยจะเกิดความผิดพลาด<br />

ไดมาก หากไมมีขอมูลดานอื่นๆ ชวยสนับสนุน เชน<br />

การหาความหนาของชั้นน้ําในพื้นที่ที่ไมมีบอเจาะโดย<br />

วิธีทางธรณีฟสิกส<br />

ขอมูลทางดานอุทกธรณีวิทยาบางสวนเปน<br />

ขอมูลผันแปรตามฤดูกาล (transient data) ตัวอยาง<br />

เชน ระดับน้ําบาดาลหรือปริมาณการใชน้ําบาดาลหรือ<br />

แมแตคุณภาพน้ําบาดาล โดยเฉพาะอยางยิ่งปริมาณ<br />

คลอไรดในน้ําของชั้นน้ําประเภททรายชายหาด การ<br />

แสดงขอมูลเหลานี้อาจแสดงเปนภาพรวมหรือคาเฉลี่ย<br />

เฉพาะชวงเวลาใดเวลาหนึ่งหรือแมแตแสดงขอมูล<br />

เฉพาะชวงเวลาสั้นๆ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของ<br />

การใชงาน ตัวอยางเชน การสํารวจจัดทําแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาทั่วไป มีวัตถุประสงคหลักเพื่อแสดงสภาพ<br />

แหลงน้ําบาดาล การแสดงขอมูลระดับน้ําบาดาลอาจ<br />

สํารวจจัดเก็บขอมูลระดับน้ําบาดาลในชวงระยะเวลา<br />

ใดเวลาหนึ่งในชวงสั้นๆ มาแสดงในแผนที่ก็ได แต<br />

หากเปนการจัดทําแผนที่โดยมีวัตถุประสงคพิเศษที่จะ<br />

แสดงปริมาณน้ําจากแหลงน้ําผิวดินที่ไปลงเติมชั้นน้ํา<br />

ระดับตื้นในชวงฤดูแลง จําเปนตองใชขอมูลระดับน้ํา<br />

เฉลี่ยของฤดูแลงเทานั้นมาแสดงในแผนที่ดังกลาว<br />

8.2 การจัดลําดับความสําคัญของขอมูล<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยาแสดงขอมูลจํานวน<br />

มากในรูป graphic เพื่อใหผูใชแผนที่รับทราบขอมูล<br />

ตางๆ ไดถูกตองใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุดโดย<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 120<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ไมตองอานคําบรรยายที่ยืดยาว ดังนั้นการแสดงขอมูล<br />

ตางๆ ในแผนที่จําเปนตองจัดลําดับความสําคัญของ<br />

ขอมูลใหเหมาะสมและสามารถใชประโยชนตาม<br />

วัตถุประสงคของผูใชไดโดยงาย ตัวอยางเชน groundwater<br />

availability map ขอมูลที่สําคัญที่สุดไดแก<br />

ปริมาณน้ํา คุณภาพน้ ํา ความลึก ความหนา ของชั้น<br />

น้ําและระดับน้ําบาดาลเปนตน ในทางตรงกันขาม<br />

groundwater overexploited map หรือแผนที่แสดง<br />

ความเสี่ยงตางๆ (groundwater vulnerability maps)<br />

ขอมูลที่สําคัญไดแกขอมูลการสูบน้ําขึ้นใชจากชั้นหิน<br />

อุม ขอมูลแสดงทิศทางและอัตราการไหลของน้ําในชั้น<br />

น้ํา ขอมูลการไหลเติมน้ําบาดาลตามกระบวน การทาง<br />

ธรรมชาติ ขอมูลปริมาณการกักเก็บน้ําบาดาลในชั้น<br />

น้ํา ขอมูลการเปลี่ยนแปลงดานคุณภาพน้ําบาดาล<br />

ขอมูลดานคุณสมบัติทางชลศาสตรของชั้นน้ํา ขอมูล<br />

ความสัมพันธทางชลศาสตรระหวางน้ําบาดาลและ<br />

แหลงน้ําผิวดิน (hydraulic continuity) และขอมูล<br />

แหลงมลพิษที่อาจไหลลงปนเปอนในชั้นน้ํา เปนตน<br />

การออกแบบแผนที่ใหสวยงามตามความ<br />

เหมาะสม เปนศิลปะเฉพาะตัวของผูจัดทําแตการ<br />

ตกแตงแผนที่เกินความจําเปน อาจทําใหการใช<br />

ประโยชนตามวัตถุประสงคหลักไดไมเต็มที่ก็เปนได<br />

ขอพึงระวังคือ อยาใหแผนที่มีขนาดใหญเกินความ<br />

จําเปน ขนาดของแทนพิมพมีขีดจํากัด ผูใชแผนที่<br />

อาจจะยุงยากสับสนในการตอชิ้นสวนตางๆ ใหเปน<br />

แผนที่ทั้งบริเวณพื้นที่ของแผนที่ บางครั้งผูใชแผนที่<br />

อาจจําเปนตองไปถายยอแผนที่ หากตัวอักษรตางๆ<br />

บนแผนที่มีขนาดเล็กเมื่อถายยอสวนลงแลว ผูใชแผน<br />

ที่อาจไมสามารถอานขอความตางๆ ในแผนที่ได<br />

8.3 หลักปฏิบัติการจัดทําคําอธิบายแผนที่<br />

ตามมาตรฐาน ทบ ส 4000-2550กําหนดให<br />

จัดทําคําอธิบายแผนที่อุทก-ธรณีวิทยา ทั้งภาษาไทย<br />

และภาษาอังกฤษเปนคําอธิบายสั้นๆ ตรงไปตรงมา<br />

สําหรับคําอธิบายภาษาอังกฤษใหใชเปนวลีสั้นๆ โดย<br />

ไมมีประโยค คําอธิบายแผนที ่ตามมาตรฐานสากล<br />

จะตองประกอบดวยคําอธิบายตามหมวดตางๆ ดังนี้<br />

8.3.1 คําอธิบายเกี่ยวกับองคประกอบตางๆ<br />

ของแผนที่<br />

ตามมาตรฐานสากลของการจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาสากล นอกจากคําอธิบายเกี่ยวกับการ<br />

ใชสัญลักษณสีและลายเสนตางๆ จะตองจัดทํา<br />

คําอธิบายวิธีการใชแผนที่ดัชนีและแผนที่ประกอบ<br />

ตางๆ รวมทั้งจัดทําคําอธิบายเกี่ยวกับแบบจําลองอุทก<br />

ธรณีวิทยาเชิงมโนทัศน<br />

8.3.2 ชวงระยะเวลาการจัดเก็บขอมูลประเภท<br />

ตางๆ ในสนาม<br />

เนื่องจากขอมูลอุทกธรณีวิทยาบางชนิด<br />

เปนขอมูลที่มีการแปรเปลี่ยนตามกาลเวลา เชน ขอมูล<br />

ระดับน้ําบาดาลและขอมูลคุณภาพน้ําในชั้นน้ําอาจ<br />

เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ดังนั้นการจัดเก็บขอมูล<br />

ดังกลาวในพื้นที่สํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

จําเปนตองจัดเก็บขอมูลในชวงระยะเวลาที่ใกลเคียง<br />

กันใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได ตามมาตรฐานการ<br />

จัดทําแผนที่สากล ใหระบุชวงระยะเวลาของการ<br />

จัดเก็บขอมูลในคําอธิบายแผนที่<br />

8.3.3 วิธีการแปลความหมายขอมูล<br />

ตามมาตรฐานการจัดทําแผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยาสากลใหระบุวิธีการแปลความหมายขอมูลใน<br />

คําอธิบายแผนที่โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลจากการ<br />

สํารวจดวยวิธีการทางธรณีฟสิกสบนผิวดิน จะระบุ<br />

วิธีการสํารวจ วิธีการแปลความหมายขอมูลการสํารวจ<br />

และอาจจัดทําแผนที่ประกอบแสดงรายละเอียดใน<br />

บริเวณพื้นที่สํารวจพรอม geophysical models<br />

สําหรับการประมาณการขอมูลทางอุทกธรณีวิทยา<br />

อื่นๆ ใหระบุวิธีการประมาณการขอมูล ลักษณะผัน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 121<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

แปรของกลุมขอมูล และความคลาดเคลื่อนของขอมูล<br />

(รายละเอียดในหัวขอ 10.2, 10.3, และ 10.4)<br />

8.4 ขั้นตอนการตรวจสอบแผนที่<br />

เมื่อจัดทําตนรางแผนที่อุทกธรณีวิทยาแลว<br />

เสร็จตามมาตรฐานสากลในการจัดทําแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาจะตองการตรวจสอบแผนที่ตามขั้นตอน<br />

ตางๆ ดังนี้<br />

8.4.1 ตรวจสอบโดยผูจัดทําแผนที่<br />

ตรวจสอบความสมบูรณของแผนที่อีกครั้ง<br />

เชน ลายเสนสัญลักษณและสีตางๆ ที่ใชในแผนที่ตรง<br />

กับลายเสน สัญลักษณและสีตางๆ ที่ใชในคําอธิบาย<br />

แผนที่หรือไม รวมทั้งตรวจสอบควบคุมชนิดของ<br />

ลายเสนสัญลักษณ และเสนคอนทัวรตางๆ ใหมีความ<br />

ถูกตอง ตรวจสอบขอความการบรรยาย และอื่นๆ<br />

8.4.2 สอบทานโดยคณะทํางาน<br />

สอบโดยคณะทํางานในการสํารวจจัดทํา<br />

แผนที่ อาจมีทีมงานประกอบ ดวยนักธรณีวิทยาใน<br />

การจัดเก็บขอมูลภาคสนาม นักเคมีในการตรวจ<br />

วิเคราะหคุณภาพน้ําบาดาล และนักอุทกธรณีวิทยา<br />

ทําหนาที่เปนผูควบคุมการจัดทําแผนที่ ควรจะใหทุก<br />

คนในคณะทํางานรวมกันตรวจสอบอีกครั้ง<br />

8.4.3 ตรวจสอบโดยผูใชแผนที่<br />

ตรวจสอบโดยผูใชแผนที่ หากแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาจัดทําขึ้นเพื่อใชประโยชนสําหรับผูจัดทํา<br />

โดยเฉพาะ ผูจัดทําแผนที่ยอมเขาใจในสวนตางๆ ของ<br />

แผนที่เปนอยางดี แตหากแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ดังกลาวจัดทําขึ้นเพื่อใชประโยชนโดยทั่วไป ผูจัดทํา<br />

แผนที่ควรจะสงตนรางแผนที่ใหเพื่อนรวมงาน ได<br />

ตรวจสอบแผนที่ดวยวาใชประโยชนจากแผนที่ได<br />

ตามที่ผูจัดทําตั้งไวหรือไม มีขอเสนอแนะอยางไร<br />

หรือไม และสิ่งสําคัญ ผูจัดทําแผนที่ ควรจะสงตนราง<br />

แผนที่ใหผูบังคับบัญชาตรวจสอบดวย โดยจะตองให<br />

เวลาแกผูตรวจสอบตามสมควร<br />

8.4.4 ตรวจสอบครั้งสุดทาย<br />

ตรวจสอบขั้นสุดทาย หลังจากผานการ<br />

ตรวจสอบตามขั้นตอนตางๆ ดังกลาวแลวผูใชแผนที่<br />

อาจสงตนราง เพื่อการจัดพิมพ โดยขอใหจัดพิมพตน<br />

รางแผนที่เพื่อการตรวจสอบขั้นสุดทายในจํานวนไม<br />

เกิน 10 ชุด กอนการพิมพจริง โดยผูจัดทําแผนที่จะ<br />

ตองตรวจสอบความคมชัดของลายเสนตางๆ ความ<br />

คมชัดของตัวอักษรตางๆ รวมทั้งความแตกตาง<br />

ระหวางโทนสีตางๆ ใหชัดเจน โดยเฉพาะตรงบริเวณ<br />

รอยตอระหวางแผนที่ ซึ่งในขั้นตอนนี้ยังสามารถ<br />

เปลี่ยนแปลงแกไขความผิดพลาดเล็กๆ นอยๆ ได<br />

กอนการพิมพจริง<br />

9. การจําแนกแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

การจําแนกประเภทแผนที่อุทกธรณีวิทยาตาม<br />

มาตรฐานสากล สามารถใชเปนแนวทางในการสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาประเภทตางๆ ใหได<br />

มาตรฐาน กรมทรัพยากรน้ําบาดาล จึงไดกําหนด<br />

มาตรฐานการจําแนกประเภทแผนที่ ตามที่ไดกําหนด<br />

ไวในการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาสากล<br />

(Vrba and Zaporozec, 1994) ดังรายละเอียดตอไปนี้<br />

9.1 การจําแนกแผนที่ตามวัตถุประสงคของการ<br />

ใชงาน<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยาสามารถจําแนกตาม<br />

วัตถุประสงคของการใชงานตางๆ ดังนี้<br />

9.1.1 แผนที่อุทกธรณีวิทยาสําหรับการใชงาน<br />

ทั่วไป<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาที่จัดทําขึ้นมี<br />

วัตถุประสงคหลายๆ ประการรวมกัน ทั้งนี้โดยสวน<br />

ใหญจะมีเปาหมายหลักสําหรับแสดงสภาพแหลงน้ํา<br />

บาดาลทั้งในดานปริมาณและคุณภาพแหลงน้ําบาดาล<br />

ของพื้นที่ตางๆ เพื่อการวางแผนการการพัฒนา<br />

ทรัพยากรน้ําบาดาล ทรัพยากรน้ําหรืออาจใชเปน<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 122<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

แผนที่แสดงขอมูลความหนา ประเภทของชั้นตะกอน<br />

หินรวนและโครงสรางอุทกธรณีวิทยาใตผิวดิน สําหรับ<br />

การประยุกตใชในดานธรณีวิทยาฐานราก ดังนั้นแผน<br />

ที่ประเภทนี้จึงเปนแหลงรวมขอมูลดานอุทกธรณีวิทยา<br />

จํานวนมาก แตขอมูลที่สําคัญ ไดแกขอมูลดานสภาพ<br />

น้ําแหลงน้ําบาดาลของพื้นที่ตางๆ ขอมูลหนวยหิน<br />

ทางอุทกธรณีวิทยาตางๆ รวมไปถึงความหนาของ<br />

หนวยหินตางๆ และขอมูลการเรียงลําดับของหนวย<br />

หินทางอุทกธรณีวิทยา (hydrogeological sequences)<br />

สําหรับขอมูลระดับรองลงมา อาจเปนขอมูลระดับน้ํา<br />

บาดาล ทิศทางการไหลของน้ําบาดาล หรืออาจแสดง<br />

พื้นที่วิกฤตการณน้ําบาดาล (over-exploited areas)<br />

9.1.2 แผนที่อุทกธรณีวิทยาสําหรับการใชงาน<br />

ดานวิทยาศาสตร<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาที่แสดงขอมูล<br />

ทางดานวิทยาศาสตรและแหลงน้ําบาดาลเปนหลัก<br />

โดยไมคํานึงถึงวัตถุประสงคอื่น เชน แผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาที่แสดงขอมูลแหลงทรัพยากรน้ําบาดาล<br />

รวมกับขอมูลดานอุทกวิทยา เชน ปริมาณน้ําฝน หรือ<br />

ปริมาณน้ําทา หรือปริมาณการคายระเหย หรือ<br />

ปริมาณความชื้นในดิน หรือการซึมผานผิวดิน ซึ่งเปน<br />

ขอมูลที่ไดจากการตรวจวัดหรือการคํานวณโดยใช<br />

หลักการทางวิทยาศาสตรหรืออาจเปนแผนที่ที ่แสดง<br />

ขอมูลแหลงน้ําบาดาลในยุคกอนๆ เปนตน<br />

9.1.3 แผนที่อุทกธรณีวิทยาประยุกต<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาที่จัดทําขึ้นเพื่อ<br />

วัตถุประสงคหลักในการออกแบบดานวิศวกรรม<br />

ตัวอยางเชนแผนที่แสดงรูปแบบของชั้นน้ําในแนวรอย<br />

แตก ความหนาแนนของแนวรอยแตก ในบริเวณพื้นที่<br />

กอสรางเขื่อน หรือแผนที่แสดงปริมาณน้ําฝนลักษณะ<br />

การไหลของทางน้ําผิวดินและน้ําบาดาลรวมไปถึงการ<br />

พยากรณความเสี่ยงตอการทวมขังของน้ํา การไหล<br />

หลากน้ําปาในพื้นที่กอสรางแหลงฝงกากขยะ หรืออาจ<br />

เปนแผนที่แสดงความหนา ขอบเขตการแผกระจาย<br />

และคาความซึมผานได ของกรวดทรายในชั้นน้ําที่<br />

วางตัวเหนือชั้นแร เพื่อใชในการวางแผนการพัฒนา<br />

แหลงแร โดยทั่วไปแผนที่อุทกธรณีวิทยาประยุกต มัก<br />

เปนแผนที่มาตราสวนขนาดใหญในบริเวณพื้นที่เล็กๆ<br />

9.1.4 แผนที่อุทกธรณีวิทยาเพื่อการวางแผน<br />

การพัฒนา<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาเพื่อใช<br />

ประโยชนในการพัฒนาทรัพยากรอื่นๆ ใหสอดคลอง<br />

กับสภาพแหลงน้ําบาดาล สําหรับการวางแผนการ<br />

พัฒนาใหเกิดประโยชนสูงสุด เปนตนวาการแสดง<br />

ขอมูลแหลงน้ ําบาดาลรวมกับขอมูลการจําแนก<br />

ประเภทของดิน หรือการแสดงขอมูลแหลงน้ําบาดาล<br />

รวมกับขอมูลแหลงน้ําผิวดินในฤดูกาลตางๆ เพื่อการ<br />

พัฒนาทรัพยากรแหลงน้ําใหเกิดประโยชนสูงสุด<br />

ดังนั้นแผนที่อุทกธรณีวิทยาเพื่อการวางแผนการ<br />

พัฒนา จึงอาจเปนแผนที่มาตราสวนขนาดใหญ ระดับ<br />

อําเภอหรือจังหวัด หรืออาจเปนแผนที่มาตราสวน<br />

ขนาดกลาง สําหรับการวางแผนระดับภาค หรือ<br />

ระดับประเทศก็ได<br />

9.1.5 แผนที่อุทกธรณีวิทยาเพื่อการศึกษา<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยา ที่แสดงขอมูล<br />

สภาพแหลงน้ําบาดาลรวมกับขอมูลอื่นๆ สําหรับการ<br />

ศึกษาวิจัยทั้งในระดับปริญญาตรี หรือสูงกวาระดับ<br />

ปริญญาตรี แผนที่ประเภทนี้จึงมีรูปแบบที่หลากหลาย<br />

ขึ้นอยูกับวาจะศึกษาวิจัยในเรื่องใด เปนตนวา การ<br />

ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับชนิดของพืชเศรษฐกิจรวมกับ<br />

สภาพแหลงน้ําบาดาลและรายไดของเกษตรกร<br />

การศึกษามูลคาของแหลงน้ําที่ใชในภาคเกษตรและ<br />

อุตสาหกรรมและอื่นๆ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 123<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

9.2 การจําแนกแผนที่ตามระดับความนาเชื่อถือ<br />

ความนาเชื่อถือของแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ขึ้นอยูกับคุณภาพและปริมาณของขอมูล การตรวจสอบ<br />

ขอมูล การแปลความหมายของขอมูล และขอสมมติ<br />

ฐานตางๆ ที่แสดงบนแผนที่ ในการจัดทําแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาที่ครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวาง บางสวน<br />

ของพื้นที่อาจมีขอมูลที่ไมสมบูรณ ในขณะที่บางสวนมี<br />

ขอมูลจํานวนนอย ในกรณีเชนนี้ อาจจัดทําเปนแผนที่<br />

ดัชนีแสดงความนาเชื่อถือของพื้นที่ตางๆ โดยอาศัย<br />

หลักเกณฑตามรูปที่ 1 (ranking by reliability) เปน<br />

เครื่องมือในการอธิบายประกอบแผนที่ก็ได<br />

ในการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

บางครั้งมีวัตถุประสงคหลักสําหรับการใชงานของ<br />

บุคคลทั่วไป ดังนั้นแผนที่ประเภทนี้ จําเปนตองแสดง<br />

ขอมูลที่เรียบงายไมซับซอน สัญลักษณตางๆ ชัดเจน<br />

เขาใจงาย คําอธิบายแผนที่ชัดเจน ใชภาษางายๆ และ<br />

ที่สําคัญตองแสดงขอมูลที่ไมซับซอนจนเกินไป โดย<br />

การแสดงขอมูลเฉพาะดานหรือหลายดานแตชัดแจง<br />

ความซับซอน จะเพิ่มขึ้นเมื่อการแสดงขอมูลมากดาน<br />

ขึ้นดังแสดงในรูปที่ 1<br />

9.3 การจําแนกแผนที่ตามมาตราสวน<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยาอาจจําแนกตามขนาด<br />

ของมาตราสวนออกเปน 4 ระดับ (Anon, 1977) คือ<br />

9.3.1 มาตราสวนขนาดใหญมาก<br />

เปนแผนที่มาตราสวนนอยกวา 1:20,000<br />

มักเปนแผนที่อุทกธรณี วิทยาประกอบรายงานการ<br />

สํารวจอุทกธรณีวิทยา หรือประกอบรายงานดานอื่นๆ<br />

ในบริเวณพื้นที่ขนาดเล็กและมีรายละเอียดขอมูลอุทก<br />

ธรณีวิทยาจํานวนมาก ตัวอยางเชน การสํารวจน้ํา<br />

บาดาลเพื่อกําหนดตําแหนงจุดเจาะบอน้ําบาดาลใน<br />

บริเวณพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เปนตน<br />

คําอธิบาย<br />

ระดับความเชื่อถือที่เพิ่มขึ้น<br />

ระดับความเชื่อถือที่เพิ่มขึ้น<br />

A. แสดงขอมูลองคประกอบเดียว<br />

(เชน ศักยภาพแหลงน้ําบาดาล)<br />

B. แสดงขอมูลสององคประกอบ (เชน ศักยภาพ<br />

แหลงน้ําบาดาลและสภาพธรณีวิทยา)<br />

C. แสดงขอมูลสามองคประกอบ<br />

(เชน ศักยภาพแหลงน้ําบาดาล<br />

คุณภาพน้ํา และสภาพธรณีวิทยา)<br />

D. แสดงขอมูลมากกวาสามองคประกอบ<br />

คําอธิบาย<br />

1. พื้นฐานขอมูลทั้งหมดเปนขอมูลประมาณการ<br />

หรือขอมูลทั่วไป<br />

2. 10% เปนขอมูลที่เชื่อถือได: 90% ขอมูลประมาณการ<br />

3. 25% เปนขอมูลที่เชื่อถือได: 75% ขอมูลประมาณการ<br />

4. 50% เปนขอมูลที่เชื่อถือได: 50% ขอมูลประมาณการ<br />

5. 75% เปนขอมูลที่เชื่อถือได: 25% ขอมูลประมาณการ<br />

6. 90% เปนขอมูลที่เชื่อถือได: 10% ขอมูลประมาณการ<br />

7. ขอมูลทั้ง 100% เปนขอมูลที่เชื่อถือได<br />

8.<br />

(ก) แสดงระดับความนาเชื่อถือจํานวน 7 ระดับ<br />

(ข) แสดงระดับความซับซอน 4 ระดับ<br />

รูปที่ 1 ระดับความนาเชื่อถือและระดับความซับซอน (ดัดแปลงจาก Vrba and Zaporozec, 1994)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 124<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

9.3.2 มาตราสวนขนาดใหญ<br />

เปนแผนที่ที่มีมาตราสวน 1:20,000 ถึง<br />

1:100,000 เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาใชประกอบ<br />

แผนการสํารวจอุทกธรณีวิทยาหรือรายงานประเภท<br />

อื่นๆ ที่มีพื้นที่โครงการขนาดใหญและมีรายละเอียด<br />

ขอมูลทางดานอุทกธรณีวิทยาไมมากนัก ตัวอยางเชน<br />

แผนที่อุทก-ธรณีวิทยาบริเวณโครงการชลประทานลุม<br />

น้ําก่ําตอนลาง แผนที่อุทกธรณีวิทยาแองหาดใหญ<br />

แผนที่น้ําบาดาลรายจังหวัดเปนตน<br />

9.3.3 มาตราสวนขนาดเล็ก<br />

เปนแผนที่ที่มีมาตราสวน 1:100,000 ถึง<br />

1:500,000 เปนแผนที่แสดงขอมูลดานอุทกธรณีวิทยา<br />

สําหรับประโยชนในดานการวางแผนการพัฒนาน้ํา<br />

บาดาลระดับภาคระดับประเทศ หรือการวางแผนการ<br />

พัฒนาดานอื่นๆ ที่จําตองใชขอมูลดานแหลงน้ําบาดาล<br />

ประกอบการวางแผน ตัวอยางเชน แผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยาประเทศไทย (1:1,000,000) แผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยารายภาคของประเทศไทย (มาตราสวน 1:500,000)<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยาลุมแมน้ําโขงตอนลาง (มาตรา<br />

สวน 1:1,000,000) เปนตน<br />

ตารางที่ 1 หลักเกณฑการกําหนดมาตราสวนของแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

มาตราสวน<br />

1 : 25,000,000<br />

1 : 10,000,000<br />

1 : 5,000,000<br />

1 : 1,000,000<br />

1 : 500,000<br />

1 : 250,000<br />

9.3.4 มาตราสวนขนาดเล็กมาก<br />

เปนแผนที่ที่มีมาตราสวนนอยกวา<br />

1:1,000,000 (บางครั้งอาจถึง 1:10,000,000) เปน<br />

แผนที่อุทกธรณีวิทยาที่ใหขอมูลดานอุทกธรณีวิทยา<br />

อยางกวางๆ อาจจะเปนระดับประเทศ ระดับทวีป<br />

หรือ World Water Resources Information เปนตน<br />

จากการศึกษาแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ประเทศตางๆ ของ UNESCO และ WMO ในป 1977<br />

(Anon, 1977) ไดเสนอวิธีการกําหนดมาตราสวนของ<br />

แผนที่อุทกธรณี วิทยาที่เหมาะสมตามวัตถุประสงค<br />

ของการใชงาน และขนาดของพื้นที่ ดังตารางที่ 1<br />

รวมทั้งไดเสนอวิธีการกําหนดขนาด<br />

มาตราสวนของแผนที่ โดยการนําเอาคาความ<br />

นาเชื่อถือของขอมูล (ranking by reliability) และ<br />

ระดับความซับซอนของขอมูล (ranking by complexity)<br />

มาเปนหลักเกณฑในการพิจารณาโดยแบงขนาดของ<br />

พื้นที่ออกเปน 3 ระดับ คือ ทวีปและโลก ระดับ<br />

ภูมิภาคหรือประเทศ และระดับพื้นที่ ดังตัวอยางใน<br />

ตารางที่ 5 แผนที่ continental หรือ global hydrogeological<br />

map ที่มีความซับซอนของขอมูล<br />

ความเหมาะสมของการกําหนดมาตรสวนตอพื้นที่ที่ครอบคลุม<br />

ทวีป หรือ โลก ภูมิภาค เฉพาะพื้นที่<br />

(continental หรือ global) (regional)<br />

(local)<br />

A – 1 เหมาะสม ไมเหมาะสม<br />

B – 1 เหมาะสม ไมเหมาะสม<br />

B – 1 เหมาะสม ไมเหมาะสม<br />

ไมเหมาะสม เหมาะสม ไมเหมาะสม<br />

ไมเหมาะสม เหมาะสม ไมเหมาะสม<br />

ไมเหมาะสม เหมาะสม ไมเหมาะสม<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 125<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ระดับ A (one-element) และความนาเชื่อถือของ<br />

ขอมูลระดับ 1 มาตราสวนที่เหมาะสมคือ1: 5,000,000<br />

แตหากมีซับซอนของขอมูลมากขึ้น (เพิ่มระดับ A เปน<br />

B หรือ C) และมีความนาเชื่อถือของขอมูลเพิ่มขึ้น<br />

(จากระดับ 1 เปนระดับ 2, 3, 4) มาตราสวนของแผน<br />

ที่ จะใหญขึ้นตามลําดับ (C-4 มาตราสวนที่เหมาะสม<br />

คือ 1:250,000) และสําหรับแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

ระดับพื้นที่ ควรมีขนาดมาตราสวนไมนอยกวา<br />

1:100,000 เปนตน<br />

อยางไรก็ตามขนาดของแผนที่ มีสวนใน<br />

การกําหนดมาตราสวนของแผนที่อุทกธรณีวิทยา ทั้งนี้<br />

เนื่องจากขีดจํากัดของขนาดแทนพิมพ ซึ่งโดยทั่วไป<br />

จะสามารถพิมพไดที ่ขนาดความกวางของกระดาษ<br />

ไมเกิน 110 เซนติเมตร การตอแผนที่ หรือแผนที่ที่มี<br />

สวน ประกอบหลายสวน จะมีความยุงยากไมในการใช<br />

งานมาก โดยทั่วไปมักจะมีชิ้นสวน ประกอบแผนที่ไม<br />

เกิน 4 ชิ้น (4 สวน) และขนาดที่เหมาะสมที่สุดไมควร<br />

มีขนาดเกินกวา 70 x 100 เซนติเมตร<br />

9.4 การจําแนกแผนที่ตามประเภทของขอมูล<br />

ขอมูลอุทกธรณีวิทยาที่แสดงในแผนที่ อาจ<br />

แบงออกไดเปน 3 ระดับ คือ (1) ระดับขอมูลที่ไดจาก<br />

การจัดเก็บในภาคสนามโดยตรง (2) ระดับขอมูลที่ได<br />

จากการคํานวณหรือจากการลงความเห็น และ (3)<br />

ระดับขอมูลที่ไดจากการประมาณการ ดังนั้น หาก<br />

จําแนกแผนที่อุทกธรณีวิทยา ตามประเภทของขอมูล<br />

ตางๆ ดังกลาวก็จะไดแผนที่เปน 3 ประเภท (Anon,<br />

1977) คือ<br />

9.4.1 แผนที่อุทกธรณีวิทยาจากการสํารวจ<br />

ขอมูลภาคสนาม<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาที่ไดจากการ<br />

สํารวจขอมูลจริงในภาคสนาม เชนแผนที่แสดงระดับ<br />

ความลึกของระดับน้ําบาดาลในชวงระยะเวลาหนึ่งตรง<br />

บริเวณบอเจาะ แผนที่แสดงอุณหภูมิของน้ําบาดาล<br />

ตรงบริเวณปากบอน้ําบาดาล แผนที่แสดงความกรอย<br />

เค็มของน้ําบาดาลบริเวณปากบอ แผนที่แสดงคา<br />

ความตานทานไฟฟาของน้ําบาดาล (แผนที่ปริมาณ<br />

แสดงมวลสารรวมที่แปลคามาจาก electrical conductivity<br />

ไมถือวาเปน field data hydrogeological map<br />

เนื่องจากไดแปลงคา EC ที่ตรวจวัดในสนามเปนคา<br />

TDS)<br />

9.4.2 แผนที่อุทกธรณีวิทยาจากการคํานวณ<br />

ขอมูลการสํารวจ<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาที่แสดงขอมูล<br />

จากการคํานวณดวยวิธีการตางๆ เชน การแสดงดวย<br />

คาเฉลี่ยของขอมูล แสดงดวยขอมูลที่ไดจากการ<br />

Interpolate หรือ Extrapolate หรือจากการคํานวณ<br />

ดวยสูตรตางๆ หรือจากการคํานวณโดยวิธีการทาง<br />

สถิติอื่นๆ<br />

9.4.3 แผนที่อุทกธรณีวิทยาจากการประมาณ<br />

การขอมูล<br />

เปนแผนที่อุทกธรณีวิทยาที่แสดงขอมูล<br />

จากการแปลความหมายของขอมูลดิบในภาคสนาม<br />

โดยมีวัตถุประสงคที่จะแสดงขอมูลระดับลึก ซึ่งหากไม<br />

แปลความหมายจากขอมูลดิบเสียกอน เปนตนวาการ<br />

แสดงปริมาณน้ําที่สามารถสูบไดในแตละพื้นที่<br />

(groundwater availability maps) โดยนําขอมูลการให<br />

น้ําของบอน้ําบาดาลตางๆ มาแปลคาความหมาย<br />

เสียกอนใหไดคา maximum well yields หรือคา available<br />

well yields เสียกอน แลวจึงนําเอาขอมูลที่ได<br />

จากการแปลความหมายมาแสดงในแผนที่<br />

10. การนําเสนอขอมูลในแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

คุณภาพของแผนที่อุทกธรณีวิทยาขึ้นอยูกับการ<br />

แสดงขอมูลบนแผนที่อยางรวบรัดและถูกตองแนนอน<br />

รวมไปถึงความเดนชัดในการแสดงขอมูลเปนประการ<br />

สําคัญ ดังนั้นการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยามี<br />

ความจําเปนตองศึกษาถึงธรรมชาติของขอมูลประเภท<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 126<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตางๆ ใหดีรวมทั้งเทคนิคในการวิเคราะหขอมูลและ<br />

การประมาณการตางๆ หากมีความจําเปน ถึงแมวา<br />

มาตรฐานสากลในการจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา ได<br />

จัดตั้งมาตรการตางๆ ในการตรวจสอบขอมูล สําหรับ<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยาและการวิเคราะห<br />

ขอมูล และการประมาณการขอมูล แลวก็ตาม แต<br />

ยังคงมีปญหาอีกมากมายที่ผูจัดทําแผนที่ จะตอง<br />

วิเคราะหขอมูลอีกมาก เปนตนวาขอมูลที่ผันแปรตาม<br />

ฤดูกาล ขอมูลที่ผันแปรไปตามกาลเวลา ขอมูลที่เกิด<br />

จากความผิดพลาดจากเครื่องมือจัดเก็บขอมูล ขอมูลที่<br />

เกิดจากความผิดพลาดจากวิธีการจัดเก็บขอมูล รวม<br />

ไปถึงความคลาดเคลื่อนของขอมูลอันสืบเนื่องจาก<br />

ความสลับซับซอนของสภาพชั้นน้ํา เปนตน ดังนั้น<br />

เพื่อใหคุณภาพของแผนที่อุทกธรณีวิทยามีคุณภาพ<br />

ตรงตามมาตรฐานสากล กรมทรัพยากรน้ําบาดาลได<br />

กําหนดมาตรฐานในการนําเสนอขอมูลตางๆ ในแผนที่<br />

ตามมาตรฐาน ทบ ส 4000-2550 ดังรายละเอียด<br />

ตอไปนี้<br />

10.1 นําเสนอขอมูลแผนที่ใหตรงตามธรรมชาติ<br />

ของขอมูลอุทกธรณีวิทยา<br />

ตามมาตรฐานสากลการจัดทําแผนที่อุทก<br />

ธรณีวิทยาไดกําหนดมาตรฐานตามธรรมชาติของขอมูล<br />

อุทกธรณีวิทยา โดยการวิเคราะหลักษณะของขอมูล<br />

ทางอุทกธรณี วิทยา และวิธีการนําเสนอขอมูลในแผนที่<br />

โดยการจําแนกประเภทของ คุณภาพของขอมูล และ<br />

รูปแบบการเปลี่ยนแปลงของขอมูลที่เปนรูปแบบ<br />

เดียวกัน ดังรายละเอียดคือ<br />

10.1.1 ประเภทของขอมูลที่ใชในการจัดทํา<br />

แผนที่<br />

ขอมูลสําหรับการจัดทําแผนที่อุทกธรณี<br />

วิทยา แบงออกเปน 3 ประเภทคือ field data, derived<br />

data และ interpretative data ในขณะเดียวกันระดับ<br />

ความนาเชื่อถือของแผนที่อุทกธรณีวิทยา นอกจากจะ<br />

ขึ ้นอยูกับปริมาณขอมูล แลวยังขึ้น อยูกับประเภทของ<br />

ขอมูลที่แสดงในแผนที่อีกดวย ดังนั้นในการสํารวจ<br />

จัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา การตัดสินใจเลือกชนิดของ<br />

ขอมูลที่จะแสดงในแผนที่นั้นยอมขึ้นอยูกับวัตถุประสงค<br />

ของแผนที่เปนหลักใหญ อยางไรก็ตามการเลือกใช<br />

ประเภทของขอมูล จําเปนตองเขาใจลักษณะทาง<br />

ธรรมชาติของขอมูลนั้นๆ ดวย ตัวอยาง เชน การแสดง<br />

ขอมูลดวย field data ที่เกี่ยวกับการตรวจวัดระดับน้ํา<br />

บาดาลในบอน้ําบาดาลตางๆ โดยไมมีการแปล<br />

ความหมายขอมูล ใหเปนเสนคอนทัวรระดับความลึก<br />

ของระดับน้ําบาดาลและทิศทางการไหลของน้ําบาดาล<br />

แลว ผูใชประโยชนจากแผนที่ไดจะเปนเฉพาะ<br />

นักวิชาการน้ําบาดาลเทานั้น<br />

10.1.2 คุณภาพของขอมูลที่ใชในการจัดทํา<br />

แผนที่<br />

ความรูเกี่ยวกับธรรมชาติของขอมูลอุทก<br />

ธรณีวิทยา ความสมบูรณของการจัดเก็บขอมูล ความ<br />

ผันแปรของขอมูลที่อาจเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลหรือ<br />

ตามกาลเวลา ความคลาดเคลื่อนตามธรรมชาติ และ<br />

คุณสมบัติดานอื่นๆ ของขอมูลประเภทตางๆ ที่จะ<br />

นําไปใชเพื่อการจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา ยอมเปน<br />

ตัวแปรสําคัญของคุณภาพแผนที่ที่จัดทําขึ้น ดังนั้นใน<br />

การสํารวจจัดเก็บขอมูลทางดานอุทกธรณีวิทยา<br />

ภาคสนาม จําเปนตองมีการวางแผนอยางรัดกุม และ<br />

จะตองคํานึงถึงการแปรเปลี่ยนของขอมูลไปตามฤดูกาล<br />

เปนตนวาจะจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับระดับน้ําบาดาล<br />

จะตองจัดเก็บในชวงระยะเวลาเดียว (อาจเปนชวง<br />

หนาแลงชวงหนึ่ง ชวงปลายฤดูฝนอีกชวงหนึ่ง) หรือ<br />

การจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับคุณภาพน้ําบาดาล<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่ง คา pH คา electrical conductivity<br />

(EC) คา dissolved oxygen (DO) จําเปนตองวิเคราะห<br />

ทันที ทั้งนี้เพราะคาตางๆ ดังกลาวจะเปลี่ยนแปลงได<br />

รวดเร็วมาก ทันทีที่ตัวอยางน้ําถูกนําขึ้นจากปากบอน้ํา<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 127<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

บาดาลคุณภาพแปรเปลี่ยนไปจากการเปลี่ยนแปลงของ<br />

อุณหภูมิและระดับความดัน นอกจากนี้คาตางๆ<br />

ดังกลาวยังเปลี่ยนแปลงไดตามฤดูกาลอีกดวย คุณภาพ<br />

ของขอมูลทางอุทกธรณีวิทยา นอกจากจะขึ้นอยูกับ<br />

วิธีการจัดเก็บขอมูลดังกลาว ยังขึ้นอยูกับชนิดของ<br />

เครื่องมือ และวิธีการใชเครื่องมือในการจัดเก็บขอมูล<br />

ดวยอีกดวย เชน การวัด pH โดยใชกระดาษลิตมัส<br />

(litmus paper) จะใหคาประมาณการเทานั้น การใช pH<br />

meter จะใหคาถูกตองแนนอนกวา แตหากเครื่อง pH<br />

meter ที่ไมไดรับการ calibrate ใหถูกตองที่จะไมได<br />

ขอมูลที่ดี บางครั้งอาจจําเปนตองใชการตรวจวัด<br />

หลายๆ วิธี ผสมผสานกัน จนกวาจะแนใจวาไดขอมูลที่<br />

ถูกตอง<br />

10.1.3 ความเปนรูปแบบเดียวกันของขอมูล<br />

ขอมูลอุทกธรณีวิทยาบางสวนจะมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงของขอมูลที่เปนรูปแบบเดียวกัน เปนตน<br />

วาการแปรเปลี่ยนของระดับน้ําบาดาลตามปกติจะขึ้นลง<br />

ตามฤดูกาล หากติดตามขอมูลระดับน้ําบาดาลที่บอใด<br />

บอหนึ่ง ยอนหลังเปนเวลาหลายๆ ป อาจพบวาปริมาณ<br />

น้ําฝนในแตละปไมแตกตางกันมากนัก ระดับน้ําบาดาล<br />

ในบอดังกลาว ในชวงปลายฤดูฝนแตละปมักมีระดับ<br />

ใกลเคียงกัน ในขณะเดียวกันหากการสูบน้ําบาดาลที่มี<br />

ปริมาณใกลเคียงกันในชวงหนาแลงของแตละป ระดับ<br />

น้ําบาดาลในบอนั้น จะลดลงในระดับใกลเคียงกันดวย<br />

ดังนั้นความสัมพันธระหวางระดับน้ําบาดาลในบอ กับ<br />

ปริมาณการสูบน้ําบาดาลหรือปริมาณน้ําฝนในแตละป<br />

จะมีรูปแบบที่คอนขางจะเปนรูปแบบที่คลายคลึงกัน<br />

การแปรเปลี่ยนของระดับน้ําที่ผิดรูปแบบอาจเกิดจาก<br />

ปจจัยภายนอก ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบอยาง<br />

ชั่วคราว เปนตนวาการเปลี่ยนแปลงความดัน<br />

บรรยากาศ หรือการเปลี่ยน แปลงน้ําหนักกดทับ ทําให<br />

เกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําบาดาลแบบชั่วคราว<br />

หรือเกิดการเปลี่ยน แปลงรูปแบบอยางอยางถาวร อัน<br />

เกิดจากการสูบน้ําบาดาลจากชั้นน้ําเกินสภาพความ<br />

สมดุลของแหลงน้ํา<br />

สําหรับขอมูลปกติ ไมวาจะเปนขอมูล<br />

ระดับน้ําบาดาล ขอมูลปริมาณน้ําบาดาล (well yield)<br />

ซึ่งสัมพันธกับความหนาของชั้นน้ํา หรือขอมูลคุณภาพ<br />

น้ําบาดาล เชน ความกรอยเค็ม หรือปริมาณเกลือคลอ<br />

ไรดที่มีความสัมพันธกับระดับน้ําบาดาลในชั้นน้ํา มักมี<br />

ตามรูปแบบการเปลี่ยนแปลงที่แนนอน หรือมี data<br />

consistency ที่ดี ทําใหสามารถตรวจสอบโดยการทํา<br />

tests of data consistency ไดดวยวิธีการตางๆ เปนตน<br />

วา graphical regression method หรือ double mass<br />

analysis หรือการตรวจสอบดวยวิธีการทางสถิติอื่นๆ<br />

10.2 ความคลาดเคลื่อนของขอมูล<br />

ตามมาตรฐานการสํารวจจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาสากล (Struckmeier and Maget,<br />

1995) ไดกําหนดหลักปฏิบัติในการใชขอมูลอุทก<br />

ธรณีวิทยาสําหรับการจัดทําแผนที่อีกอยางหนึ่งคือ ขอ<br />

พึงระวังเกี่ยวกับความคลาดเคลื่อนของขอมูล ทั้งใน<br />

ดานความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากอุบัติเหตุ และ<br />

ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากระบบการจัดเก็บขอมูล<br />

ดังรายละเอียดคือ<br />

10.2.1 ความคลาดเคลื่อนที่ของขอมูลเกิดจาก<br />

อุบัติเหตุ<br />

เปนความผิดพลาดของขอมูลที่อาจเกิด<br />

จากการสื่อสารขอมูล หรือความเขาใจผิด หรือการแปล<br />

ความหมายขอมูลที่ผิดพลาด (แตไมเกี่ยวกับความเอน<br />

เอียงของผูจัดเก็บขอมูล ซึ่งถือวาเปนความผิดพลาด<br />

ของบุคคลหรืออาจเกิดจากการแปรเปลี่ยนของขอมูล<br />

ตามธรรมชาติ เชน การเปลี่ยน แปลงของระดับน้ําจาก<br />

การเกิดแผนดินไหว โดยปกติ ความผิดพลาดจาก<br />

อุบัติเหตุมักจะมีคาอยูในกลุมคาเฉลี่ยของขอมูลหรือ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 128<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

อาจมีความคลาดเคลื่อนไปในทางบวกหรือลบ ดังนั้น<br />

หากนําคาเฉลี่ยของกลุมขอมูลขนาดใหญมาใชเปน<br />

ขอมูลแสดงในแผนที่อุทกธรณีวิทยา ความคลาดเคลื่อน<br />

ของขอมูลดังกลาว อาจมีผลใหเกิดความผิดพลาดได<br />

นอยลง<br />

10.2.2 ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากระบบการ<br />

จัดเก็บขอมูล<br />

เปนความคลาดเคลื่อนของขอมูล ทั้งที่<br />

สืบเนื่องจากความผิดพลาดของผูสํารวจจัดเก็บขอมูล<br />

หรือความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือสํารวจ หรือ<br />

ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากวิธีการสํารวจ โดยปกติ<br />

ความคลาดเคลื่อนของขอมูลที่เปน systematic errors<br />

สามารถปรับแตงขอมูลไดหากทราบสาเหตุของความ<br />

คลาดเคลื่อนในขณะจัดเก็บขอมูล ความคลาดเคลื่อน<br />

อาจมีคาคงที่ เชน ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก<br />

เครื่องวัด เมื่อ calibrate เครื่องมือตรวจวัดแลวมีคา<br />

ความคลาดเคลื่อนจากความเปนจริงมากนอยเพียงไร ก็<br />

สามารถนําคาความคลาดเคลื่อนดังกลาวมาบวก (หรือ<br />

ลบ) จากคาที่ตรวจวัดไดในสนาม หรือความคลาด<br />

เคลื่อนอาจเปนสัดสวนกับผลการตรวจวัดก็เปนได<br />

10.3 ลักษณะผันแปรของกลุมขอมูล<br />

ดังที่ไดกลาวแลววาแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

นอกจากจะแสดงขอมูล 3 มิติ คือ ความกวางความ<br />

ยาวและความลึก บนแผนกระดาษแผนที่ที่มีเพียง 2<br />

มิติ ประกอบกับขอมูลทางอุทกธรณีวิทยา มักมีความ<br />

ผันแปรตามฤดูกาลและตามกาลเวลา (spatial data)<br />

เปนมิติที่ 4 ดังนั้นขอมูลดิบทางดานอุทกธรณีวิทยาที่<br />

จัดเก็บในภาคสนาม โดยสวนใหญมักมีการกระจายตัว<br />

หรือความผันแปรคอนขางสูง ลักษณะการกระจายตัว<br />

ของขอมูลดานอุทกธรณีวิทยาอาจเปนแบบคงรูป หรือ<br />

อาจมีการกระจายตัวแบบโดดเดน ที่ไมสามารถคาด<br />

เดาหรือถัวเฉลี่ยเพื่อใหไดคาที่เปน representative<br />

value สําหรับการจัดทําแผนที่ไดโดยวิธีการทางสถิติ<br />

แตการหาคา representative values ตางๆ จะตองยืน<br />

อยูบนหลักของความเปนจริง ตัวอยางเชน คา<br />

transmissibility ที่มีการแปรเปลี่ยนกันไปจากจุดหนึ่ง<br />

การใชคาเฉลี่ยจําตองคํานึงถึง flow pattern และความ<br />

หนาของชั้นน้ํา หรือแมแตการเปลี่ยนแปลงของชั้นน้ํา<br />

ดวย นอกเหนือไปจากนั้น การหาคา representative<br />

values โดยวิธีการทางสถิติ จําเปนตองทราบถึง<br />

ลักษณะการกระจายตัวของขอมูล ซึ่งแบงออกไดเปน<br />

2 ลักษณะใหญ ๆ คือ (1) spatial variability เปน<br />

ความผันแปรของขอมูลอันเนื่องมาจากพื้นผิวภูมิ<br />

ประเทศ หรือปรากฏการณทางดานภูมิอากาศ ซึ่ง<br />

ขอมูลที่เก็บจากจุดสํารวจตางๆ (ในชวงระยะเวลา<br />

เดียวกัน) มีความแตกตางกันไป ตัวอยางเชน ระดับ<br />

น้ําบาดาล ความหนาของชั้นน้ํา ปริมาณน้ําบาดาล<br />

คุณภาพน้ําบาดาล หรือแมแตขอมูลเกี่ยวกับ<br />

คุณสมบัติของชั้นน้ํา และ (2) variability in time เปน<br />

ความผันแปรของขอมูลอันสืบเนื่องจากระยะเวลาของ<br />

การเก็บขอมูล ตัวอยางเชน คา pH คา electrical<br />

conductivity (EC) คา Dissolved Oxygen (DO) ซึ่ง<br />

ไมสามารถหาคา representative values ไดโดย<br />

วิธีการทางสถิติ<br />

10.4 หลักเกณฑที่ใชในการประมาณการขอมูล<br />

ดานอุทกธรณีวิทยา<br />

ปญหาใหญของการสํารวจจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยาคือ ปญหาปริมาณขอมูลภาคสนามที่มี<br />

ไมเพียงพอสําหรับการจัดทําแผนที่ โดยเฉพาะอยาง<br />

ยิ่งในการจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยามาตราสวนขนาด<br />

ใหญ ดังนั้น จําเปนตองประมาณการขอมูลบาง<br />

ประเภท ภายใตความรูทางดานอุทกธรณีวิทยาของ<br />

พื้นที่สํารวจและขอมูลที่มีอยู ซึ่งการประมาณขอมูล<br />

ดังกลาวโดยทั่วๆ ไป ใหใชหลักเกณฑ 3 ประการคือ<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 129<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

10.4.1 การประมาณการขอมูลโดยอาศัยขอมูล<br />

ขางเคียง<br />

เปนการประมาณการคาขอมูลที่จุดใดจุด<br />

หนึ่ง โดยอาศัยขอมูลขางเคียง (interpolate) ตัวอยาง<br />

เชน ขอมูลการวัดระดับน้ําบาดาลจากเครื่องบันทึก<br />

ระดับเกิดขาดชวงไป อาจอาศัยขอมูลทางขึ้นโดยของ<br />

ระดับน้ําจากบอน้ําบาดาลขางเคียง ประกอบกับขอมูล<br />

การวัดปริมาณฝนตกที่อยูใกลเคียง เปนขอมูลสําหรับ<br />

การแทรกทับขอมูลระดับน้ําบาดาลขอมูลโดยที่ขาด<br />

หายไปดังกลาวได ในขณะที่การประมาณการคาขอมูล<br />

โดยวิธีซอนทับอาจเปนการประมาณการคาขอมูล โดย<br />

อาศัยหลักวิชาการทางสถิติมากขึ้น ตัวอยางเชน การ<br />

ลดลงของ ระดับน้ําบาดาลในบอ ขึ้นอยูกับปริมาณการ<br />

สูบน้ําของบอน้ําบาดาลขางเคียง โดยมีความสัมพันธ<br />

เปนรูปกราฟเสนตรง ในกรณีเชนนี้เราสามารถหาคา<br />

ของระดับน้ํา จากการสูบน้ําบอขางเคียงที่อัตราการสูบ<br />

ตางๆ เปนตน<br />

10.4.2 การประมาณการขอมูลโดยใชอัตราสวน<br />

เปนการประมาณการขอมูลโดยใช<br />

อัตราสวนเปรียบเทียบ ซึ่งสามารถกระทําไดตอเนื่อง<br />

ตอเมื่อไดจัดเก็บขอมูลเปนปริมาณมากและมีชวง<br />

ระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่ขอมูลขาดชวงไป เปนตนวา<br />

จากขอมูลระดับน้ําบาดาลของชั้นน้ําในพื้นที่หนึ่ง พบวา<br />

อัตราการขึ้นลงของระดับน้ํา มีสวนสัมพันธโดยตรงกับ<br />

ปริมาณน้ําฝนในพื้นที่นั้น (direct recharge) โดยมี<br />

ความสัมพันธเปนอัตราสวน คือ มีน้ําฝนตก 100<br />

มิลลิเมตร ทําใหระดับน้ําสูงขึ้น 0.2 เมตร ในกรณีเชนนี้<br />

ถามีขอมูลเปนปริมาณมากสนับสนุนขอสมมติฐาน<br />

ดังกลาว ก็สามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการ<br />

ประมาณการคาระดับน้ําบาดาลในชวงที่ขาดหายไปได<br />

10.4.3 การประมาณการขอมูลโดยใชสมการ<br />

ความสมดุลของแหลงน้ํา<br />

เปนการประมาณการคาขอมูลโดยใช<br />

สมการตางๆ เกี่ยวกับความสมดุลของแหลงน้ําในระบบ<br />

ปด (close system water balance) ตัวอยาง เชน<br />

ปริมาณน้ําที่สูบจากชั้นน้ํา (Q) เปนน้ําที่ไหลเขาสูชั้นน้ํา<br />

ในทิศทางตางๆ หรือ Q=q x +q y +q z ปริมาณ Q วัดได<br />

จากปริมาณสูบ q x และ q y เปนปริมาณน้ําไหลเขาสูชั้น<br />

น้ําจาก cell ขางเคียง (ในแนวระนาบ) หาไดโดยวิธีการ<br />

วัดการระดับน้ําลดจากบอสังเกตการณ ในกรณีเชนนี้<br />

สามารถประมาณการคา q z ปริมาณน้ําไหลเขาสูชั้นน้ํา<br />

จากสวนลึกของชั้นน้ํา (upward flow หรือ base flow)<br />

ได<br />

11. เอกสารอางอิง<br />

American Society for Testing and Materials<br />

(ASTM), 2002. Standard Guide for Geotechnical<br />

Mapping of Large Underground<br />

Openings in Rocks, D 5879-02.<br />

Anon, 1977. Hydrogeological maps, A contribution<br />

to the International Hydrogeological<br />

Decade, Study and Report in<br />

Hydrology, UNESCO/WMO, Lausanne.<br />

Anon, 1983. International Legend for Hydrogeological<br />

Maps, Revised Edition, UNESCO<br />

Technical Document, SC-84/WS/7, Paris.<br />

Struckmeier, W.F., and Maget, J., 1995.<br />

Hydrogeological Maps - A Guide and a<br />

Standard Legend, Scientific Publications Co-<br />

Edited by IAH/UNESCO, No. 17, Hannover.<br />

Vrba, J., and Zaporozec, A., 1994. Guidebook on<br />

Mapping Groundwater Vulnerability, Scientific<br />

Publications Co-Edited by IAH/ UNESCO, No.<br />

16, Hannover.<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 130<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

12. ภาคผนวก<br />

สัญลักษณสากลสําหรับการสํารวจจัดทําแผนที่<br />

อุทกธรณีวิทยา ดังแสดงในตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 สัญลักษณสากลสําหรับการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา<br />

รายการ<br />

(1) หมวดภูมิประเทศ (topography)<br />

กําหนดใหใชสัญลักษณสีเทา<br />

(2) หมวดภูมิอากาศ<br />

สัญลักษณลายเสนและสีใชตามตามความเหมาะสม<br />

(3) หมวดธรณีวิทยา<br />

กําหนดใหใชสัญลักษณสีดํา<br />

(3.1) ขอมูลชั้นหิน (geological units)<br />

(3.1.1) แนวรอยตอระหวางชั้นหิน<br />

ใหแสดงดวยเสนทึบสีดํา และใหใชเสนประพรอมเครื่องหมายคําถาม<br />

ในบริเวณพื้นที่ประมาณการ<br />

(3.1.2) การลําดับชั้นหิน (hydrogeological sequences)<br />

อักษรยอแสดงอายุและชื่อหมวดหิน และสัญลักษณลายเสนแสดงชนิดหิน<br />

ใหใชสีตามขอกําหนดในมาตรฐานสากล<br />

(3.2) ความสูงหรือความลึกของชั้นหิน (height or depth of formation<br />

ใหแสดงดวยเสนทึบเขียวและใหใชเสนประพรอมเครื่องหมายคําถาม<br />

ในบริเวณพื้นที่ประมาณการ<br />

(3.3) ชั้นหินกั้นน้ําแทรกตัวอยูระหวางชั้นอุมน้ํา (thin impermeable bed)<br />

พื้นที่หินโผลของชั้นหินกั้นน้ําอาจแคบเกินกวาที่จะแสดงในแผนที่ ขอบเขต<br />

หินโผลแสดงดวยเสนสีเขียวลอมรอบดวยสัญลักษณลายเสนชนิดของ<br />

หินกั้นน้ํา<br />

(3.4) แนวระนาบและมุมเอียงเท ของชั้นหิน (strike and dip)<br />

ใหใชเปนสัญลักษณสีดํา<br />

(3.5) ชั้นหินโคงประทุนคว่ํา (axis of anticline)<br />

ใหใชเปนสัญลักษณสีดํา<br />

(จาก UNESCO, 1983)<br />

สัญลักษณ<br />

? ?<br />

PCms. = Permo-Carb.<br />

Metasediments<br />

? ?<br />

?<br />

Concealed<br />

Outcrop<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 131<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 2 สัญลักษณสากลสําหรับการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา (ตอ)<br />

รายการ<br />

(3.6) ชั้นหินโคงรูปประทุน (axis of syncline)<br />

ใหใชเปนสัญลักษณสีดํา<br />

(3.7) แนวรอยเลื่อน (fault)<br />

ใหใชเปนสัญลักษณสีดํา ลูกศรแสดง down throw side<br />

(3.8) แนวรอยเลื่อน (over - thrust fault)<br />

ใหใชเปนสัญลักษณสีดํา<br />

(3.9) โซนหินแตก (zone of fractured rock)<br />

ใหใชเปนสัญลักษณสีมวง<br />

(3.10) ศิลาวิทยา (lithology) มาตรฐานสากลของตัวอักษร สัญลักษณ<br />

และลายเสนกําหนดใหใชสีน้ําตาล (รายละเอียดสัญลักษณของหนวยหิน<br />

อุทกธรณีวิทยาประเทศไทยในตารางที่ 2)<br />

(4) อุทกศาสตร (hydrography)<br />

แหลงน้ําผิวดินตามธรรมชาติทุกชนิด ถาเปนแหลงน้ําจืดกําหนดใหใชสีน้ําเงิน<br />

(4.1) ทางน้ํามีน้ําไหลตลอดป พรอมแสดงทิศทางการไหล<br />

ใชเสนสีน้ําเงิน เสนหนาขึ้นแสดงปริมาณน้ําทามากขึ้น<br />

(4.2) ทางน้ําตามฤดูกาล (seasonal streams)<br />

สัญลักษณ<br />

(4.3) ทางน้ําที่มีน้ําไหลไมตลอดป (intermittent streams)<br />

(4.4) ทางน้ําที่ถูกปนเปอน (polluted streams)<br />

(4.5) ทางน้ําเค็ม (saline streams)<br />

(4.6) ทางน้ําที่ถูกปนเปอนดวยอินทรียสาร Highly polluted stream<br />

(organic pollution) ทางน้ําแสดงดวยสีน้ําเงินพรอมแถบสีเทา<br />

(4.7) สถานีตรวจวัดน้ํา (gauging stations)<br />

(จาก UNESCO, 1983)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 132<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 2 สัญลักษณสากลสําหรับการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา (ตอ)<br />

รายการ<br />

(4.8) แหลงดินพรุ (marsh, permanent)<br />

สัญลักษณ<br />

(4.9) แหลงดินพรุเค็ม (marsh, salty)<br />

(4.10) สันปนน้ําผิวดิน (surface water devide) ๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐<br />

(4.11) แหลงน้ําซับน้ําพุ (spring outlet, small scale maps)<br />

(4.12) แหลงน้ําซับน้ําพุ (spring outlet, large scale maps)<br />

(4.13) กลุมแหลงน้ําซับน้ําพุ (group of spring outlets)<br />

(4.14) แหลงน้ําพุรอน (thermal springs)<br />

(4.15) หนองบึงธรรมชาติ (natural ponds)<br />

(4.16) สระน้ําอางเก็บน้ํา (artificial ponds)<br />

(4.17) ทะเลสาบ (lakes)<br />

(4.18) ทะเลสาบน้ําเค็ม (lakes, salty)<br />

(4.19) ภูเขาน้ําแข็ง (glaciers)<br />

(5) อุทกวิทยาน้ําบาดาล (groundwater hydrology)<br />

สีมวงเปนสีที่ถูกกําหนดใหใชกับอุทกวิทยาน้ําบาดาล<br />

(5.1) บอน้ําบาดาล (groundwater wells)<br />

ระดับความสูงหรือความลึกของระดับน้ําบาดาล<br />

(5.2) ทิศทางการไหลของน้ําบาดาล (groundwater flow)<br />

(ความเร็วเปน เมตร/วันอาจระบุเปนตัวเลขได)<br />

450<br />

320 ?<br />

250 ?<br />

125 ?<br />

12<br />

(5.3) สันปนน้ําบาดาล (groundwater devide)<br />

ooooooooooooooooooooooooooooooooo<br />

(5.4) ขอบเขตพื้นที่ชั้นน้ําประเภทมีแรงดันพุ<br />

(boundary of area of artesian flow)<br />

(จาก UNESCO, 1983)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 133<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 2 สัญลักษณสากลสําหรับการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา (ตอ)<br />

รายการ<br />

(5.5) ขอบเขตพื้นที่ชั้นน้ําและชั้นหินกั้นน้ํา<br />

(boundary of water bearing formation and barrier<br />

(5.6) แนวรอยเลื่อนทําหนาที่เปนทางน้ําไหลผาน<br />

(fault, act as conduit)<br />

(5.7) น้ําบาดาลไหลผานรอยเลื่อน<br />

(groundwater moves across the fault)<br />

(5.8) รอยเลื่อนทําหนาที่เปนเขื่อนกั้นน้ํา<br />

(fault, acting as barrier)<br />

(5.9) รอยเลื่อนไมสามารถระบุความสัมพันธกับน้ําบาดาล<br />

(fault, unknown hydrological characteristic)<br />

(5.10) เสนคอนทัวรแสดงความหนาของชั้นน้ํา<br />

(contour lines of aquifer thickness)<br />

(6) อุทกเคมี (hydrochemistry)<br />

(6.1) เสนคอนทัวรแสดงปริมาณเกลือคลอไรดในน้ําบาดาล (contour<br />

lines of salinity content in groundwater) กําหนดใหใชสีสม<br />

(6.2) ความลึกถึงแนวรอยตอระหวางชั้นน้ําจืดและน้ําเค็ม (depth to<br />

fresh/salt water interface) กําหนดใหใชสีสม<br />

สัญลักษณ<br />

/// /// /// /// /// /// /// /// /// ///<br />

∆<br />

∆<br />

200<br />

300<br />

400<br />

25<br />

20<br />

30<br />

40<br />

(6.3) สวนประกอบทางเคมีของน้ําบาดาล<br />

ประเภทน้ําตามคุณสมบัติทางเคมี (water type) ของน้ําบาดาล สามารถแสดงในแผนที่ดวยคูสี<br />

โดยความเขมของสีจะแสดงปริมาณของแรธาตุที่ละลายในน้ําบาดาล ดังตัวอยางตอไปนี้<br />

Sulfate water:<br />

Calcium: yellow สีเหลือง<br />

Magnesiumซ orange สีสม<br />

Sodium yellow-brown สีเหลืองน้ําตาล<br />

(จาก UNESCO, 1983)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 134<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 2 สัญลักษณสากลสําหรับการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา (ตอ)<br />

รายการ<br />

สัญลักษณ<br />

Chloride water:<br />

Calcium: green-brown สีเขียวน้ําตาล<br />

Magnesiumซ blue-green สีเขียวน้ําเงิน<br />

Sodium green สีเขียว<br />

(6.4) อุณหภูมิน้ําบาดาล (water temperature, °C)<br />

กําหนดใหใชสีสม 45 ๐<br />

(7) บอน้ําบาดาลและสิ่งกอสรางอื่นๆ Groundwater well and other artificial works<br />

กําหนดใหใชสีแดง<br />

All artificial works are indicated in red.<br />

(7.1) หลุมเจาะ บอขุดและบอน้ําบาดาล (กําหนดใหใชสีแดง) Borehole, dug, and drilled wells<br />

บอน้ําบาดาลภายใตความดัน (well in confined aquifer)<br />

บอน้ําบาดาลพุ (flowing well)<br />

บอเติมน้ํา (recharging well)<br />

บอน้ําบาดาลแหง (dry well)<br />

บอสังเกตการณ (observation well)<br />

กลุมบอน้ําบาดาล (group of groundwater wells)<br />

(7.2) ปลองอัดน้ําบาดาล<br />

(artificial shaft for groundwater recharge)<br />

(7.3) ปากทางเขาเหมืองใตดิน (mouth of a mining gallery)<br />

(7.4) แหลงน้ําซับกอสรางใหเปนสถานีจายน้ํา<br />

(spring used for water supply)<br />

(7.5) อุโมงคสงน้ําใตดิน (drainage gallery) <br />

(7.6) สถานีสูบน้ําบาดาล (groundwater pumping station)<br />

(7.7) แหลงใตดินที่สรางขึ้น<br />

(cistern or other underground reservoir)<br />

(7.8) อางเก็บน้ํา (storage reservoir for surface water)<br />

(7.9) เสนทางทอสงน้ํา (pipe line for water)<br />

(จาก UNESCO, 1983)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 135<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา


รายงานฉบับสมบูรณ (เลมที่ 3/10)<br />

โครงการจัดทํามาตรฐานการเจาะ สํารวจ และพัฒนาบอน้ําบาดาล<br />

ตารางที่ 2 สัญลักษณสากลสําหรับการสํารวจจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา (ตอ)<br />

รายการ<br />

สัญลักษณ<br />

(7.1) เสนทางทอสงน้ํา (pipe line for water)<br />

(7.11) เขื่อน (dam with capacity in Mm3) 125<br />

(7.12) เขื่อน ผลิตไฟฟา (dam with hydro-electric station)<br />

(8) สัญลักษณในพื้นที่แหลงหินปูน (symbols for karst areas)<br />

ใชสัญลักษณสีน้ําเงินเขม หรือสีมวง หรือสีดํา แลวแตกรณี<br />

(8.1) แหลงน้ําซับในพื้นที่หินปูน (springs in karst area)<br />

(8.2) หลุมยุบ (shallow hole or sink hole)<br />

(8.3) โพรงถ้ําหินปูน (natural cavity)<br />

ใชสัญลักษณสีน้ําเงินเขม หรือสีมวง<br />

(จาก UNESCO, 1983)<br />

จัดทําโดยมหาวิทยาลัยขอนแกน 136<br />

คูมือ ทบ ส 4000-2550<br />

การจัดทําแผนที่อุทกธรณีวิทยา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!