11.07.2015 Views

Annual report of the year 2549(1.84 MB)

Annual report of the year 2549(1.84 MB)

Annual report of the year 2549(1.84 MB)

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รายงานประจําป <strong>2549</strong>-----------------------------------------------------------------ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<strong>Annual</strong> Report 2006Melioidosis Research Center (MRC)Faculty <strong>of</strong> Medicine, Khon Kaen Universityhttp://www.melioid.org


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส1. ชื่อศูนยวิจัย: ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส(Melioidosis Research Center)Website: http://web.kku.ac.th/~melioidหนวยงานตนสังกัด: (แกนนํา) คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน(เครือขาย) คณะเทคนิคการแพทย คณะทันตแพทยศาสตรคณะสัตวแพทยศาสตร และ สํานักงานปองกันและควบคุมโรคที่ 6ชื่อหัวหนาโครงการและคณะนักวิจัย:คณะที่ปรึกษาโครงการ1. ศาสตราจารยเกียรติคุณ สถิตย สิริสิงห ขาราชการบํานาญ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล2. ศาสตราจารยพิเศษแพทยหญิง วิภาดา เชาวกุล โรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค จ.อุบลราชธานี3. นายแพทย เกรียงศักดิ์ เวทีวุฒาจารย ผูอํานวยการสํานักงานปองกันและควบคุมโรคที่ 6ผูอํานวยการศูนย รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวินตําแหนง รองศาสตรจารยสังกัด ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนสมาชิกศูนยวิจัยชื่อ-สกุล สาขาที่เชี่ยวชาญก. สังกัดคณะแพทยศาสตร1. รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน2. ศ. พญ. ผกากรอง ลุมภิกานนท3. ศ.พญ. เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์4. รศ.นพ. วัลลภ แกวเกษ5. ผศ.ดร. อัญชลี ตัตตะวะศาสตร6. รศ.ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน7. ผศ.พญ. ศิริลักษณ อนันตณัฐศิริ8. ผศ.ดร. โสรัจสิริ เจริญสุดใจ9. ผศ. ฐิติมา ไชยทา10. รศ. ดร. วีรพงศ ลุลิตานนท11. ดร. วิเศษ นามวาท12. รศ. ดร. ชาญณรงค อรัญนารถ13. อ. พิพัฒนพงศ แคนลาข. คณะเทคนิคการแพทย1. ผศ.ดร. ปรีชา หอมจําปา2. ผศ.ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒน3. รศ. อรุณลักษณ ลุลิตานนทจุลชีววิทยา, วิทยาภูมิคุมกัน, Melioidosisกุมารเวชศาสตร, โรคติดเชื้อในเด็ก, melioidosisอายุรศาสตร, โรคติดเชื้อ melioidosisจุลชีววิทยา, ความไวของเชื้อตอยาจุลชีววิทยา, แบคทีเรียวิทยา, Drug resistenceจุลชีววิทยา, biotechnology, molecular Biologyอายุรศาสตร, โรคติดเชื้อจุลชีววิทยา, molecular biology, microbial genetiesจุลชีววิทยาจุลชีววิทยา, วิทยาภูมิคุมกันจุลชีววิทยาจุลกายวิภาคจุลกายวิภาคimmunology, molecular biology, vaccinemolecular immunologyจุลชีววิทยาimmunology4. ดร.ธนกร ปรุงวิทยาค. คณะทันตแพทยศาสตร1. รศ.ดร.ทญ. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ พยาธิวิทยา, bi<strong>of</strong>ilms,2


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. ผศ.ดร.ทญ.เนาวรัตน วราอัศวปติ เจริญ molecular biologyง. คณะสัตวแพทยศาสตร1. อ.นริศร นางาม สัตวแพทยสาธารณสุขจ. สํานักงานปองกันและควบคุมโรคที่ 6 และสํานักงานสาธารณสุข จ. ขอนแกน1. นางกนกวรรณ แกวปา2. นายเชิดชัย แกวปา3. นายสุพจน สิงหโตหินระบาดวิทยาจุลชีววิทยาจุลชีววิทยาหลักการและเหตุผลเมลิออยโดสิส เปนโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรียแกรมลบรูปแทงที่มีชื่อวา Burkholderiapseudomallei โรคนี้พบไดทั้งในคนและสัตว โดยจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและรุนแรง ซึ่งบางครั้งอาจถึงขั้นเสียชีวิตได โดยเฉพาะอยางยิ่งในผูปวยรายที่มีภูมิตานทานต่ํา โรคดังกลาวคนพบครั้งแรกโดยWhitmore และKrishnaswami ในป ค.ศ. 1911 ที่เมืองยางกุง ประเทศพมา (1) เมื่อทําการเพาะเลี้ยงเชื้อครั้งแรกพบวาเปนเชื้อ Bacillus mallei ตอมาไดมีการจัดกลุมเชื้อนี้เสียใหม โดยมีการเรียกชื่อตางกันคือ B.whitmori, Pfeiflerellawhitmori, P.pseudomallei, Actinobacillus pseudomallei, Loefferella whitmore, Malleomycespseudomallei, Pseudomonas pseudomallei (1-5) จนในที่สุดตั้งชื่อเชื้อดังกลาววาเปน Burkholderiapseudomallei ดังที่รูจักในปจจุบัน เชื้อนี้สามารถตรวจพบไดในดิน บอน้ํานิ่ง ตาง ๆ หลุมหรือบอเล็ก ๆ ที่มีน้ําขัง และในนาขาว (6-10) จากการศึกษาในหองปฏิบัติการพบวาเชื ้อนี้สามารถ มีชีวิตอยูไดนานในน้ําประปา(11) การระบาดของโรคนี้พบไดทั่วโลกแตจะพบมากในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต มารดากาสการกวม และ ประเทศออสเตรเลีย (3, 4, 7, 12-21) นอกจากนั้นยังมีรายงานพบโรคนี้กระจัดกระจายในหลายแหงทั่วโลก เชน เกาหลี, ฮองกง, ศรีลังกา, อินเดีย, อิหราน, ตุรกี, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, อัฟริกา, อดีตสหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา (3, 6, 22-29) สาเหตุที่โรคนี้ไดรับความสนใจทางการแพทยมากขึ้นเนื่องจากโรคนี้มักเกิดอาการที่รุนแรงอาจทําใหผูปวยเสียชีวิตไดอยางรวดเร็ว ตลอดจนไดมีผูอพยพจากประเทศทางเอเชียตะวันออกเฉียงใตไปสูประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกมากขึ้นทําใหการระบาดของโรคแพรกระจายไปไดงาย โดยที่แพทยในแตละประเทศยังไมมีความชํานาญหรือคุนเคยกับโรคดังกลาว (14, 30-34) นอกจากจะพบโรคนี้ในคนแลวยังสามารถพบไดในสัตวพวก แพะ แกะและหมู แตยังไมมีรายงานวามีการติดตอจากสัตวมาสูคนได(4, 14) จากการรายงานในการประชุมระดับประเทศที่จัดขึ้นในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ.2531 พบวาจํานวนผูปวยโรคนี้มีมากขึ้นทุกป จวบจน ป พ.ศ.2529 มีผูปวยจํานวน 1,000 ราย เมื่อเทียบกับ ป พ.ศ.2506 ซึ่งมีเพียง 3 รายเทานั้น (35) เฉพาะที่โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนพบวามีผูปวยประมาณปละ 60-80 ราย ในปจจุบันนี้ จากการสํารวจอยางไมเปนทางการพบวาจํานวนผูปวยทั้งหมดในประเทศไทยมีประมาณ 2,000-3,000 ราย และเปนประเทศที่มีรายงานโรคนี้มากที่สุดในโลก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศมีรายงานวาพบผูปวยมากที่สุดโดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดขอนแกนจนมีผูตั้งสมยานามวาจังหวัดขอนแกน เปน Capital <strong>of</strong> melioidosis จากจํานวนผูปวยที่มากนี้ทําใหรัฐตองเสียคาใชจายในการรักษาปละไมต่ํากวา 150 ลานบาท ซึ่งยังไมนับรวมการสูญเสีย โอกาสทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชนจากสถิติที่กลาวมาแสดงใหเห็นวาจํานวนผูปวยไดถูกพบมากขึ้นซึ่งบงชี้วาแพทยและบุคคลากรทางสาธารณสุขไดเริ่มสนใจและระมัดระวังในการวินิจฉัยโรคนี้มากยิ่งขึ้น จากการสํารวจในประเทศไทยโดยวิธีการตรวจจากระดับแอนติบอดีตอเชื้อ B. pseudomallei โดยวิธี Indirect Hemagglutination พบวา 29%3


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสของประชากรที่ทําการสํารวจ (405 คน) มีแอนติบอดีตอเชื้อนี้ (36) ในประเทศออสเตรเลียก็ไดมีการสํารวจหาระดับของแอนติบอดีไดเชนกันพบวาประชากรปกติมีระดับแอนติบอดีสูงถึงรอยละ 5.7% (จากประชากรที่สํารวจทั้งหมด 9,047 ราย) (37) แสดงวาทั้งประเทศไทยและออสเตรเลียเปนแหลงที่มีการระบาดของเชื้อนี้อยางมากการติดเชื้อในคนเกิดจากการที่เชื้อผานเขาทางผิวหนังที่มีรอย ขีดขวน ถลอก หรือมีแผล โดยเชื้อนั้นอาจติดมาจากการปนเปอนของดินและน้ําหรืออาจเขาสูรางกายทางการหายใจจากละอองฝุนซึ่งมีเชื้อปนอยู(2, 38) อาการของผูปวยที่เปนโรคนี้ไมแนนอน พบไดหลายแบบมีตั้งแตแบบเฉียบพลัน (acute), เรื้อรัง(chronic) และแบบที่ไมมีอาการแตมีระดับของแอนติบอดีอยู (subclinical infection) ความรุนแรงของโรคที่เปนก็พบไดหลายแบบเชนกันโดยมีตั้งแตรุนแรงมากถึงขั้นเสียชีวิตหรือแบบเปนแผลเรื้อรัง ตลอดจนแบบที่ไมมีอาการแตระดับแอนติบอดีใหผลบวก จากการรายงานผูปวยเมลิออยโดสิส จํานวน 686 ราย พบวา 57.4%มีอาการเปนแบบ septicemic meliodosis (39) และในผูปวยที่เปน septicemia นี้มีอัตราการเสียชีวิตดวยseptic shock สูงถึง 80-90% ถึงแมวาจะไดรับการวินิจฉัยและรักษาอยางถูกตองแลวก็ยังมีอัตราการตายสูงถึง 40% สวนในกรณีที่มีอาการแบบเรื้อรังนั้นอาจมีการลุกลามเขาสูอวัยวะตาง ๆ ไดเชน ปอด ตับ มามไต หัวใจ ตอมน้ําเหลืองและสมอง (3, 16, 20, 25-34, 40-46) แสดงใหเห็นวาโรคเมลิออยโดสิสนี้มีความรุนแรงมากและควรไดรับการสนใจจากวงการแพทยเปนอยางยิ่งปญหาสําคัญอยางหนึ่งที่พบไดบอยในผูปวยเมลิออยโดสิสคือการกลับเปนซ้ํา (relapse) จากการศึกษาของวิภาดา เชาวกุลและคณะ พบวาประมาณ 23% ของผูที่เคยเปนเมลิออยโดสิสจะกลับเปนซ้ําอีกและพบวามีปจจัยที่เกี่ยวของ 2 สวนคือ ความรุนแรงของการติดเชื้อครั้งแรก และวิธีการและชนิดของยาปฏิชีวนะที่ใชรักษา โดยพบวาหากผูปวยที่มีการติดเชื้อครั้งแรกเปน septicemic melioidosis หรือ multifocallocalized melioidosis จะมีโอกาสเปนเมลิออยโดสิสไดมากกวาในผูปวยที่มีการติดเชื้อครั้งแรกเปน localizedmelioidosis ประมาณ 5 เทา (47) นอกจากนี้ Desmarchelier และคณะ ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบสายพันธุของเชื้อ B. pseudomallei ที่แยกไดจากผูปวยที่มีการติดเชื้อมากกวาหนึ่งครั้ง โดยวิธี ribotyping พบวาในผูปวยสวนใหญที่ศึกษา เชื้อ B. pseudomallei ที่แยกไดจากการติดเชื้อครั้งแรก มักเปนเชื้อที่มี ribotypeเดียวกันกับเชื้อที่แยกไดในผูปวยรายเดียวกันเมื่อเปนโรคเมลิออยโดสิสครั้งที่สอง (48)ในปจจุบันโรคเมลิออยโดสิส ยังมีปญหาที่ตองการคําตอบอยูคอนขางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็น กลไกการเกิดโรค พยาธิสภาพของโรคที่เกิดจากระบบภูมิคุมกัน การรักษา การดื้อยาของเชื้อ การปองกันโรค virulence ของเชื้อ การวินิจฉัยโรค ตลอดจนการแยกวิเคราะห Strain ของเชื้อมหาวิทยาลัยขอนแกนเปนสถาบันการศึกษาชั้นสูงที่ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนแหลงระบาดของโรคเมลิออยโดสิส ปจจุบันคณาจารยนักวิจัยที่มีความสามารถเฉพาะทางหลายๆ สาขา ทีมีความสนใจที่จะมุงเปนการแกปญหา สาธารณสุขของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดรวมกันจัดตั้งเปนกลุมวิจัยโรคเมลิออยโดสิส (ไดรับการสนับสนุนเงินทุนในการจัดตั้งจากคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน) โดยไดมีการประชุมรวมกันเปนประจําทุกๆ เดือนตั้งแต มิถุนายน 2542 จวบจนปจจุบัน กลุมวิจัยนี้ประกอบดวยอาจารยและนักวิจัยจาก 2 สถาบันการศึกษาคือ มหาวิทยาลัยขอนแกนและมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยขอนแกนจะประกอบดวย อาจารยจาก 4 คณะ คือ คณะแพทยศาสตร คณะทันตแพทยศาสตรคณะสัตวแพทยศาสตร และ คณะเทคนิคการแพทย เปาหมายของกลุมคือการรวมระดมความคิดและรวมกันทําวิจัยในประเด็นที่ยังเปนปญหาของโรคเมลิออยโดสิส การสรางองคความรูใหมเพื่อแกปญหา โดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกัน โดยดําเนินการวิจัยในลักษณะบูรณาการ และถายทอดความรูสูชุมชน นอกจากนั้นยังมีการเชื่อมโยงเครีอขายไปยังสถาบันอี่นทั ้งในและตางประเทศ ตลอดจนการเผยแพรความรูทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อใหกลุมวิจัยโรคเมลิออยโดสิสไดมีความเขมแข็งมากขึ้น ประกอบกับเพื่อใหกลุม4


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสสามารถดําเนินวิจัยในเชิงลึกมากขึ้น มีการใชทรัพยากรตาง ๆรวม ตลอดจนเกิดเครือขายรวมกับสถาบันอื่นทั้งในและตางประเทศมากขึ้น และวิจัยแกปญหาในรูปแบบบูรณาการ เพื่อปองกันการติดเชื้อและแกปญหาตาง ๆ ในการรักษาและการวินิจฉัยตามนโยบายการวิจัยแหงชาติฉบับที่ 6 และนโยบายการวิจัยสูชุมชนของมหาวิทยาลัยขอนแกน กลุมวิจัยโรคเมลิออยโดสิสจึงไดขอสนับสนุนการกอตั้งศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสในมหาวิทยาลัยขอนแกนขึ้นเอกสารอางอิง1. Whitmore A, Krishnasmami CS. An account <strong>of</strong> <strong>the</strong> discovery <strong>of</strong> a hi<strong>the</strong>rto undescribed infective disease occurring among<strong>the</strong> population <strong>of</strong> Rangoon. Indian. Med. Gaz. 1912;47:262-267.2. Sanford JP. Pseudomonas species (including melioidosis and glanders). In: Mandell GL, Douglas RG, Bennett JE,editors. Principles and Practice <strong>of</strong> Infectious Diseases. 2 ed. New york: John Wiley and Sons; 1985. p. 1250-1254.3. Patamasucon P, Schaad UB, Nelson JD. Melioidosis. J.Pediatr. 1982;100:175-182.4. Howe C, Sampath A, Spotnitz M. The Pseudomallei group: a review. J.Infect.Dis. 1971;124:598-606.5. Brown M, Thin RN. Melioidosis in infectious diseases and medical microbiology. Hong Kong: WB Saunders; 1986.6. Chambon L. Isolement du bacille de Whitmore a partir du mileu exterieur. Ann. Inst. Pasteur (Paris) 1955;89:229-235.7. Ellison DW, Baker HJ, Mariappan M. Melioidosis in Malaysia.I. A method for isolation <strong>of</strong> Pseudomonas pseudomallei fromsoil and surface water. Am. J. Trop. Med. Hyg. 1969;18:694-697.8. Strauss JM, Jason S, Marioppen M. Pseudomonas pseudomallei in soil and surface water <strong>of</strong> Sabah, Malaysia. Med. J.Malaya. 1967;22:31-32.9. Strauss JM, Groves MG, Mariappan M, Ellison DW. Melioidosis in Malaysia.II.Distribution <strong>of</strong> Pseudomonas pseudomalleiin soil and surface water. Am. J. Trop. Med. Hyg. 1969;18:698-702.10. Vaucel M. Presence probable du bacille de Whitmore dans leau de mare au Tonkin. Bull. Soc. Path. Exot. 1937;30:10-15.11. Miller WR, Pannell L, Cravitz L, Tanner WA, Ingalls MS. Studies on certain biological characteristics <strong>of</strong> Malleomycesmallei and Malleomyces pseudomallei. I Morphology,cultivation, viability and isolation from contaminated specimens.J. Bact. 1948;55:115-126.12. Merick GS, Zimmerman HM, Maner GD. Melioidosis on Guam. JAMA 1946;130:1063-1067.13. Remington RA. Melioidosis in north Queensland. Med. J. Aust. 1962;1:50-53.14. Rubin HL, Alexander AD, Yager RH. Melioidosis a military medical problem ? Milit. Med. 1963;128:523-542.15. Strauss JM, Alexander AD, Rapmund G, Gan E, Dorsey AE. Melioidosis in Malaysia, III. Antibodies to Pseudomonaspseudomallei in <strong>the</strong> human pouplation. Am. J. Trop. Med. Hyg. 1969;18:703-707.16. Thin RN, Brown M, Stewart JB, Garrett CJ. Melioidosis: a <strong>report</strong> <strong>of</strong> ten cases. Quarterly J. Med. 1970;39:115-127.17. Johnson DW. Melioidosis: <strong>report</strong> <strong>of</strong> four cases from Torres Strait. Med.J.Aust. 1967;2:587-588.18. National Workshop on Melioidosis organized by <strong>the</strong> Infectious Disease Association <strong>of</strong> Thailand. In:; 1985; AmbassadorHotel, Bangkok, Thailand, November 23-24,; 1985.19. Atthasampunna P, Jayanetra P, Kurathong S, Punyagupta S. Melioidosis : a rare disease for Thai patients ? Thai. med.Council. Bull. 1976;5:419-423.20. Guard RW, Khafagi FA, Brigden MC, Ashdown LR. Melioidosis in Far North Queensland. A clinical and epidemiologicalreview <strong>of</strong> twenty cases. Am.J.Trop.Med.Hyg. 1984;33:467-473.21. Lee MK, Chua CT. Brain abscess due to Pseudomonas pseudomallei. Aust.N.Z.J.Med. 1986;16:75-77.22. Biegeleisen JZJ, Mosquera R, Cherry WB. A case <strong>of</strong> human melioidosis : clinical epidemiological and laboratoryfindings. Am. J. Trop. Med. 1964;13:89-99.23. Khundanov LE, Devyatova AP, Padalko ZF, et.al. Comparative study <strong>of</strong> <strong>the</strong> efficacy <strong>of</strong> <strong>the</strong> antibiotics and globulin inexperimental melioidosis. Zh. Mikrobiol. 1961;32:114.24. Pourtaghva M, Dodin A, Portovi M, Teherani M, Galimand M. 1st case <strong>of</strong> human pulmonary melioidosis in Iran.(French).Bull.Soc.Pathol.Exot.Filiales. 1977;70:107-109.25. Weber DR, Douglass LE, Brundage WG, Stallkamp TC. Acute varieties <strong>of</strong> melioidosis occurring in U.S. soldiers inVietnam. Am.J.Med. 1969;46:234-244.5


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส26. Spotnitz M, Rudnitzky J, Rambaud JJ. Melioidosis pneumonitis. Analysis <strong>of</strong> nine cases <strong>of</strong> a benign form <strong>of</strong> melioidosis.JAMA. 1967;202:126.27. So SY. Melioidosis - an overlooked problem in Hong Kong. The Hong Kong ractitioner 1985;7:1111-1114.28. Everett ED, Nelson RA. Pulmonary melioidosis. Observations in thirty-nine cases. Am.Rev.Respir.Dis. 1975;112:331-340.29. Woo ML, Chan PS, French GL. A case <strong>of</strong> melioidosis presenting with prostatic abscess in Hong Kong. J.Urol.1987;137:120-121.30. Brundage WG, Thuss CJJ, Walden DC. Four fatal cases <strong>of</strong> melioidosis in U.S.soldiers in Vietnam. Bacteriologic andpathologic characteristics. Am.J.Trop.Med.Hyg. 1968;17:183-191.31. Morrison RE, Lamb AS, Craig DB, Johnson WM. Melioidosis: a reminder. Am.J.Med. 1988;84:965-967.32. Thurnheer U, Novak A, Michel M, Ruchti C, Jutzi H, Weiss M. Septic melioidosis following a visit to India. Schweiz. Med.Wochenschr. 1988;118:558-564.33. Beck RW, Janssen RS, Smiley ML, Schatz NJ, Savino PJ, Rubin DH. Melioidosis and bilateral third-nerve palsies.Neurology 1984;34:105-107.34. Chan CK, Hyland RH, Leers WD, Hutcheon MA, Chang D. Pleuropulmonary melioidosis in a Cambodian refugee.Can.Med.Assoc.J. 1984;131:1365-1367.35. Leelarasamee A. Epidemiology <strong>of</strong> melioidosis. In: Proc. Natl. Workshop on Melioidosis, Jan. 14-15,; 1988; KhonKaen, Thailand; 1988. p. 22-47.36. Nigg C. Serologic studies on subclinical melioidosis. J.Immunol. 1973;91:18-28.37. Ashdown LR, Guard RW. The prevalence <strong>of</strong> human melioidosis in Nor<strong>the</strong>rn Queensland. Am.J.Trop.Med.Hyg.1984;33:474-478.38. Leelarasamee A, Bovornkitti S. Melioidosis: review and update. Rev.Infect.Dis. 1989;11:413-425.39. Bunyakupta S. Proc. Natl. Workshop on Melioidosis, Jan. 14-15,. In:; 1988; Khon Kaen, Thailand; 1988. p. 12-21.40. Piggott JA, Hochholzer L. Human melioidosis. A histopathologic study <strong>of</strong> acute and chronic melioidosis. Arch. Pathol.1970;90:101-111.41. Rapaport FT, Millar JW, Ruch J. Endotoxic properties <strong>of</strong> Pseudomonas pseudomallei. Arch. Pathol. (chicago)1961;71:429-436.42. Dannenberg AMJ, Scott EM. Melioidosis: Pathogenesis and immunity in mice and hamsters. I. Studies with virulentstrains <strong>of</strong> Malleomyces pseudomallei. J. Exp. Med. 1958;107:153-166.43. Dannenberg AMJ, Scott EM. Melioidosis : Pathogenesis and immunity in mice and hamsters II. Studies with avirulentstrains <strong>of</strong> Malleomyces pseudomallei. Am. J. Pathol 1958;34:1099-1121.44. Nigg C, Heckly RJ, Colling M. Toxin produced by Malleomyces seudomallei. Proc. Soc. Exp. Biol. Med 1955;89:17-20.45. Heckly RJ, Nigg C. Toxins <strong>of</strong> Pseudomonas pseudomallei II. Characterization. J. Bact. 1958;76:427-436.46. Colling M, Nigg C, Heckly RJ. Toxins <strong>of</strong> Pseudomans pseudomallei. I. production in vitro. J. Bact. 1958;76:422-426.47. Chaowagul W, Suputtamongkol Y, Dance DAB, Rajchanuvong A, Pattara-arechachai J, White NJ. Relapse in melioidosis:incidence and risk factors. J. Infect. Dis. 1993;168(5):1181-5.48. Desmarchelier PM, Dance DA, Chaowagul W, Suputtamongkol Y, White NJ, Pitt TL. Relationships among Pseudomonaspseudomallei isolates from patients6


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสหนาที่และองคประกอบของหนวยงาน1. หนวยงานวิจัยประกอบดวยหนวยยอย 5 หนวย ดังนี้1.1. หนวยวิจัยดานคลินิค ประกอบดวยกลุมวิจัยที่ทํางานเกี่ยวกับการดูแลรักษาผูปวยโรคเมลิออยโดสิสหรือโรคติดเชื้อที่สําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนืองานวิจัยจะครอบคลุมถึงการหาวิธีใหม ๆ ในการรักษา การดูแลผูปวยการศึกษาอาการหรือพยาธิสภาพที่ไดจากผูปวยเพื่อเปนแนวทางในการศึกษา1.2. หนวยวิจัยดานแบคทีเรียวิทยา ประกอบดวย กลุมนักวิจัยที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตัวเชื้อแบคทีเรียที่กอโรค กลไกของเชื้อในการทําใหเกิดโรค virulent ของเชื้อ ตลอดจนการทําmutant ของเชื้อ เพื่อศึกษาการเกิดพยาธิสภาพในสัตวทดลอง1.3. หนวยวิจัยดานการปองกันโรค ประกอบดวย กลุมนักวิจัยที่ทําการศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางในการปองกันโรค เชน การพัฒนาวัคซีน การพัฒนาวิธีหรือกลวิธีในการกําจัดเชื้อในธรรมชาติ รวมถึงการใหความรูแกประชาชนองคกรตาง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือสัมผัสเชื้อกอโรค1.4. หนวยวิจัยดานระบาดวิทยา ประกอบดวย กลุมนักวิจัยที่ทําการศึกษาเกี่ยวกับระบาดวิทยาของเชื้อกอโรคในธรรมชาติและในผูปวยดวยวิธีทาง molecular biology หรือวิธีอื่นๆ ที่จะทําใหทราบวาเชื้อในธรรมชาติและผูปวยมีความแตกตางกันอยางไร เพื่อคนหาวิธีในการควบคุมโรคและปองกันโรคตอไป1.5. หนวยวิจัยดานการพัฒนาการวินิจฉัยโรค ประกอบดวยกลุมนักวิจัยที่ทําการศึกษาเพื่อหาวิธีพัฒนาการวินิจฉัยโรคที่รวดเร็วและแมนยํา เพื่อชวยลดอัตราการเสียชีวิตของผูปวยโดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวยที่ติดเชื้อในกระแสเลือดหนวยสนับสนุน ประกอบดวยหนวยยอยตาง ๆ 4 หนวยดังนี้2.1 หนวยเลขานุการ ทําหนาที่ผูชวยเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ตลอดจนการสนับสนุนดานธุรการแกนักวิจัย โดยมีพนักงานประจําสํานักงานและยังทํางานดานสารบรรณธุรการ การเงินการพัสดุ2.2 หนวยสารสนเทศทําหนาที่รวบรวมขอมูล ทําฐานขอมูล วิเคราะหขอมูลประชาสัมพันธศูนยโดยผานระบบสารสนเทศ ประสานงานทุนวิจัย เพื่อสนับสนุนจัดหางบประมาณการวิจัยและการเงินแกนักวิจัยในเครือขายของศูนย ตลอดจนทําหนาที่ประสานกับหนวยงานเลขานุการในการจัดอบรมใหความรู ถายทอดความรูใหม ๆ แกนักวิจัยประชาชนทั่วไปและองคการตาง ๆ2.3 หนวยหองปฏิบัติการ ทํางานดานหองปฏิบัติการ ในสวนกลางที่สนับสนุนเครือขาย การวิจัย เชน การเก็บเชื้อ การผลิต monoclonal antibodies การเก็บตัวอยาง2.4 หนวยวิจัยดานคลินิก ทํางานดานประสานงานการวิจัยดานคลินิก เชนการนัดผูปวย การตรวจสอบประวัติผูปวย การติดตามผูปวย ตลอดจนการประเมินการวิจัย8


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสกรรมการตางๆของศูนยมีดังนี้ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส1. คณะกรรมการอํานวยการศูนยศ. นพ. วิรุฬห เหลาภัทรเกษมคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนประธานกรรมการศ.นพ.ภิเศก ลุมภิกานนทกรรมการ (ผูทรงคุณวุฒิ)ศ.นพ.ปยทัศน ทัศนาวิวัฒนกรรมการ (ผูทรงคุณวุฒิ)นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์(เลขานุการมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ)กรรมการ (ผูทรงคุณวุฒิภายนอก)รศ.นพ.ประสิทธ ผลิตผลการพิมพ(รองผูอํานวยการศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ)กรรมการ (ผูทรงคุณวุฒิภายนอก)รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชิวินผูอํานวยการศูนยวิจัยกรรมการและเลขานุการ 9ผศ.ดร.โสรัจสิริ เจริญสุดใจเลขานุการศูนยวิจัยกรรมการและผูชวยเลขานุการ


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. คณะกรรมการบริหารศูนยฯศ.(พิเศษ) พญ.วิภาดา เชาวกุล ที่ปรึกษาศ.เกียรติคุณ ดร.สถิตย สิริสิงห ที่ปรึกษานพ.เกรียงศักดิ์ เวทีวุฒาจารย ที่ปรึกษารศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ประธานกรรมการ(ผูอํานวยการศูนยฯ))ศ.พญ.เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์ กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยดานคลีนิค)รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยระบาดวิทยา)ผศ.ดร.ปรีชา หอมจําปา กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยดานการปองกันโรค)10


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสรศ.ดร.สุวิมล ทวีชัยศุภพงศ กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยแบคทีเรีย)ผศ.ดร.อัญชลี ตัตตะวะศาสตร กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยและพัฒนาการวินิจฉัยโรค)ผศ.ดร.โสรัจสิริ เจริญสุดใจ กรรมการและเลขานุการ(เลขานุการผูอํานวยการศูนยฯ)เจาหนาที่ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสผูจัดการศูนยฯ นางสาวจิราภรณ โสดาจันทรนักวิจัยศูนยฯ นางสาว สุวรรณา นนทะภานักวิจัยศูนยฯ นางสาว นภาพิศ สังสีโหการเงิน บัญชี ผูชวยเลขานุการ นางสาว ทัศมาลี ขุลีผูชวยเลขานุการ นางสาวพรพิมล ยศปญญานภาพิศ สุวรรณา พรพิมล ทัศมาลี จิราภรณ11


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสวิสัยทัศน (Vision) พันธกิจ (Mission) ของศูนยวิจัยวิสัยทัศนมหาวิทยาลัยขอนแกนเปนศูนยแหงการวิจัยและการเรียนรูโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้อสําคัญทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือผลิดผลงานวิจัย ฐานขอมูลการเรียนรู การเผยแพรอยางเปนระบบครบวงจรสรางความเขมแข็งในการแขงขันดานองคความรูพันธกิจ1. สรางผลงานวิจัยโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีศักยภาพในการสรางองคความรูใหม2. สนับสนุนใหนักวิจัยในศูนยมีความเขมแข็งสรางผลงานวิจัยอยางตอเนื่อง3. ตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยเกี่ยวกับโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้อที่สําคัญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งในวารสารนานาชาติและวารสารระดับชาติ4. เปนแหลงขอมูลความรูโรคเมลิออยโดสิส5. สรางระบบเชื่อมโยงเครือขายงานวิจัยของแตละหนวยยอยไปสูสถาบันอื่นทั้งในประเทศและตางประเทศ6. สนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในหลักสูตรตางๆ ที่เกี่ยวของใหทําการวิจัยและมีความเชี่ยวชาญโรคเมลิออยโดสิส7. เปนศูนยกลางการถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีที่นักวิจัยในศูนยสรางขึ้นหรือที่รวบรวมจากแหลงอื่นในระดับภูมิภาคใหแกหนวยงานของรัฐและเอกชนตลอดจนประชาชนทั่วไปเปาหมาย วัตถุประสงคและแผนกลยุทธเปาหมาย1. ใหมหาวิทยาลัยขอนแกนเปนศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ2. ดําเนินการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการวิจัยโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพเพื่อการสนับสนุนดานงบประมาณงานวิจัยอยางยิ่ง3. สรางความรวมมือกับนักวิชาการในหนวยงานอื่นทั้งในประเทศและตางประเทศ4. พัฒนาดานวิจัยรวมแบบเครือขายบูรณาการระหวางสถานบัน5. ใหเปนศูนยถายทอด เผยแพรความรูโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือวัตถุประสงค1. เพื่อจัดตั้งศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. เพื่อใหเกิดการใชทรัพยากรและดําเนินงานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพของบุคคลากรในมหาวิทยาลัยขอนแกน3. เพื่อสนับสนุนใหเกิดผลงานวิจัยโรคเมลิออยโดสิสในแงประเด็นตาง ๆ ที่สําคัญโดยวิจัยในรูปแบบบูรณาการและสรางเครือขายการวิจัยอยางเปนระบบ12


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส4. เพื่อสนับสนุนใหเกิดการนําผลงานวิจัยของบุคคลากรไปพัฒนาและนําไปใชใหเปนประโยชนตอประชาชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ5. เพื่อใหเกิดการสรางองคความรูใหม และ ถายทอดองคความรูที่เกิดในศูนยวิจัยสูการเรียนการสอนในระดับตาง ๆ ทั้งภาคปฏิบัติและการบรรยายอบรมทั้งระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา6. เพื่อใหเกิดการถายทอดองคความรู แกประชาชนและชุมชนในทองถิ่นแผนกลยุทธเพื่อใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคดังที่กลาวมาศูนยวิจัยที่ตั้งขึ้นจะมีกลยุทธดังตอไปนี้1. จัดใหมีศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสเพื่อประสานและสนับสนุนหนวยวิจัยยอยใหเกิดความเชื่อมโยงกันทั้งดานทรัพยากรวิจัยและศักยภาพการวิจัย2. สรางการเชื่อมโยงดวยกลไกการประชุม เสวนา สัมมนา และการสื่อสารอิเลคโทรนิกส เพื่อกําหนดทิศทาง เปาหมาย และแผนกลยุทธดานการวิจัย การพัฒนาบัณฑิตศึกษา การรวบรวมขอมูลการวิจัยตลอดจนการเผยแพรและการถายทอดความรูรวมกัน3. จัดทําแผนการดําเนินงาน ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยใหทุกคนมีสวนรวมและเปนแผนงานที่สามารถตรวจสอบและประเมินผลได4. สนับสนุนหนวยวิจัยตาง ๆ ใหมีอิสระในการวิจัยตามศักยภาพและทรัพยากรที่มีหรือที่จัดหามาได ตามแผนที่กําหนด ตลอดจนสนับสนุนการประสานความรวมมือกับสถาบันอื่นและการขอทุนวิจัยอื่นเพื่อสรางความเขมแข็งเปาหมายการผลิตและตัวชี้วัด ในระยะ 5 ป (2548-2552)ป ป ป ป ปผลผลิต2548 <strong>2549</strong> 2550 2551 2552 รวม26 +3 +4 +5 +5จํานวนนักวิจัยในเครือขาย (คน)43จํานวนนักวิจัยในเครือขายนอกมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศ 5 +3 +4 +5 +5และตางประเทศ (คน)17นักศึกษาปริญญาโท (คน) 4 3 5 3 5 20นักศึกษาปริญญาเอก (คน) 2 2 3 3 3 13นักวิจัยหลังปริญญาเอก (คน) - - - - 1 1ผลงานตีพิมพในวารสารวิชาการนานาชาติ (เรื่อง) 2 2 3 4 7 18ผลงานตีพิมพในวารสารวิชาการภายในประเทศ(เรื่อง) - 2 2 2 2 8สิทธิบัตร / ลิขสิทธิ์ (ฉบับ) - - - - - -การเสนอผลงานประชุมวิชาการนานาชาติ (เรื่อง) 1 7 2 3 4 17การเสนอผลงานประชุมวิชาการภายในประเทศ(เรื่อง) 2 2 2 4 4 14การจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ (ครั้ง) - - 1 - - 1การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (ครั้ง) 1 1 1 1 1 5การจัดประชุมวิชาการ (ครั้ง) 1 1 1 1 1 5การเผยแพรผลงานวิชาการหรือการถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชน (ครั้ง)- 1 1 1 1 413


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส3. สรุปผลการดําเนินงานตั้งแตจัดตั้งจนถึงสิ้นปงบประมาณ 2548(1 ตุลาคม 2547-30 กันยายน 2548)เปาหมายการผลิตและตัวชี้วัด ระยะเวลา 1 ป (2548)ผลผลิต เปาหมาย ผลสําเร็จ หมายเหตุ1) การตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ 3 3(เรื่อง)2) นวัตกรรม, ทรัพยสินทางปญญา, เทคโนโลยีใหม, 0 0สิ่งประดิษฐตนแบบ (เรื่อง)3) จํานวนทุนภายนอกที่ไดรับการสนับสนุน (ลานบาท) 0 9.604) การตีพิมพในวารสารวิชาการภายในประเทศ(เรื่อง) 2 25) การนําเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับ 4 4นานาชาติ (เรื่อง)6) การนําเสนอผลงานในประชุมวิชาการภายในประเทศ 2 3(เรื่อง)7) จํานวนอาจารย / นักศึกษาบัณฑิตที่เพิ่มขึ้นภายใต 5 12ศูนย (คน)8) การถายทอดเทคโนโลยี การใหบริการวิชาการของ 1 390ศูนย (ครั้ง-คน-วัน)9) การจัดประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ (ครั้ง) 0 010) การจัดประชุมสัมมนาระดับชาติ (ครั้ง) 2 2ทุนวิจัยจากหนวยงานภายนอก รวมทั้งสิ้นเปนเงิน 9,601,000 บาท1. ชื่อโครงการ กลไกการเกิดโรค ในระดับโมเลกุล และ การหาแนวทางปองกัน ตอการติดเชื้อBurkholderia pseudomallei ไดรับทุนจาก สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ระยะเวลาของโครงการ 3 ป งบประมาณรวม3,951,000 บาท หัวหนาโครงการ รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน2. ชื่อโครงการ การศึกษาระบาดวิทยาทางโมเลกุลของเชื้อ pathogenic Leptospira interrogans ที่แยกไดจากผูปวยในประเทศไทย ไดรับทุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และ สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาติ ระยะเวลาของโครงการ 3 ป งบประมาณรวม 1,190,000บาท หัวหนาโครงการ รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน3. ทุนปริญญาเอกกาญจนภิเษก (คปก.) จํานวน 2 ทุนๆ ละ 2,230,000 บาทผลงานวิจัยในปที่ผานมามีผลงานตีพิมพระดับนานานาชาติ 3 เรื่อง1. Wongratanacheewin, S., Kespichayawattana, W., Intachote, P., Pichayangkul, S,Sermswan, RW., Krieg, AM and Sirisinha, S. 2004. Immunostimulatory CpG14


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสoligodeoxynucleotide confers protection in a murine model <strong>of</strong> infection with Burkholderiapseudomallei. Infect. Immun. 72, 4494-4502. Impact factor = 3.872. Taweechaisupapong, S., Kaewpa, C., Arunyanart, C., Kanla, P., Homchampa, P., StitayaSirisinha, S., Proungvitaya, T. and Wongratanacheewin, S. 2005. Virulence <strong>of</strong> Burkholderiapseudomallei does not correlate with bi<strong>of</strong>ilm formation. Microb Pathog. 39, 77-83. Impactfactor = 1.73. Wirongrong Chierakul Siriluck Anunnatsiri Jennifer M. Short Bina Maharjan PiroonMootsikapun Andrew J. H. Simpson Direk Limmathurotsakul Allen C. Cheng KasiaStepniewska Paul N. Newton Wipada Chaowagul, Nicholas J. White, Sharon J. Peacock,Nicholas P. Day and Ploenchan Chetchotisakd. 2005. Two Randomized Controlled Trials <strong>of</strong>Ceftazidime Alone versus Ceftazidime in Combination with Trimethoprim-Sulfamethoxazolefor <strong>the</strong> Treatment <strong>of</strong> Severe Melioidosis. Clin Infect Dis (in press). Impact factor = 5.39คาเฉลี่ย Impact factor รวมของทั้ง 3 ผลงาน = 3.65ผลงานตีพิมพระดับชาติ 2 เรื่อง1. ผลของเชื้อ Burkholderia pseudomallei ที่ผลิต bi<strong>of</strong>ilm ตอเซลลโมโนซัยต และเยื่อบุผิวมนุษยโฆษิต พินใหม, วีระพงศ ลุลิตานนท, สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน, จริยา หาญวจนวงศ, โสรัจสิริ เจริญสุดใจ 2548 วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา 5, 135-145.2. การผลิตและศึกษาคุณลักษณะของเชื้อ Burkholderia pseudomallei ที่มีการกลายจีน aroC และกาประเมินศักยภาพในการนํามาใชเปนวัคซีนเชื้อเปนในหนูทดลอง มยุรี ศรีลุนชาง, ปรีชา หอมจําปา,ธนากร ปรุงวิทยา, สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน 2548 วารสารวิจัย มข. ฉบับบัณฑิตศึกษา 5, 108-115.การนําเสนอผลงานในระดับชาติ และนานาชาติระดับนานาชาติ 4 เรื่อง1. Development <strong>of</strong> immune protection in a murine model <strong>of</strong> infection with Burkholderiapseudomallei ในการประชุม The 17 th FAOB<strong>MB</strong> Symposium / 2 nd IUB<strong>MB</strong> SpecialMeeting /A-I<strong>MB</strong>N Meeting Genomics and Health in <strong>the</strong> 21 st Century, 22-26 Nov 2004.2. PATHOLOGY AND IMMUNE RESPONSES IN HAMSTER IMMUNIZED WITH HEAT-KILLED LEPTOSPIRA INTERROGANS. R.W. Sermswan, A. Srikram, S.Wongratanacheewin, A. Puapairoj and V. Wuthiekanun. The Third Congress <strong>of</strong> <strong>the</strong>Federation <strong>of</strong> Immunology Societies <strong>of</strong> Asia-Oceania (FIMSA 2005). April, 18-22, 2005.Hangzhou, China.3. CYTOKINES PROFILE IN HAMSTERS IMMUNIZED AGAINST OPISTHORCHISVIVERRINI INFECTION. S. Wongratanacheewin, J. Jittimanee, R. W. Sermswan, andW. Maleewong. The Third Congress <strong>of</strong> <strong>the</strong> Federation <strong>of</strong> Immunology Societies <strong>of</strong>Asia-Oceania (FIMSA 2005). April, 18-22, 2005. Hangzhou, China.4. The ability <strong>of</strong> bi<strong>of</strong>ilm formation does not influence virulence <strong>of</strong> Burkholderiapseudomallei in mice. Taweechaisupapong, S., Kaewpa, C., Arunyanart, C., Kanla, P.,Homchampa, P., Stitaya Sirisinha, S., Proungvitaya, T. and Wongratanacheewin, S.15


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสThe world congress <strong>of</strong> pathology and laboratory medicine. 26-30 May, 2005. Istanbul,Turkey.ระดับชาติ 3 เรื่อง1. The Effects <strong>of</strong> Bi<strong>of</strong>ilm Producing Burkholderia pseudomallei on Human Monocytic andEpi<strong>the</strong>lial Cell Lines Burkholderia pseudomallei. Khosit Pinmai, Sorujsiri Chareonsudjai,Viraphong Lulitanond, Surasakdi Wongratanacheewin, Chariya Hahnvajanawong. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ ครั้งที่ 7 วันศุกรที่ 21 มกราคม 2548 ณ อาคารศูนยวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน2. Construction and Phenotypic Characterization <strong>of</strong> an AroC Mutant <strong>of</strong> Burkholderiapseudomallei and Its Potential as a Vaccine Candidate. Mayuree Srilunchang, PreechaHomchampa, Tanakorn Proungvitaya, Surasakdi Wongratanacheewin. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ ครั้งที่ 7 วันศุกรที่ 21 มกราคม 2548 ณ อาคารศูนยวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแกน3. การติดเชื ้อ Burkholderia pseudomallei ในกระตาย สรรเพชญ อังกิติกูล ฐิติมา ไชยทา นริศรนางาม ไพรัช ศรแผลง เพลินพิศ หานนท สุธิดา จันทรลุน มาเรียว ริกันตี เบญจนี พันธภูวงศและ เยาวภา มณีรัตน การประชุมวิชาการประจําป สมาคมเทคนิคการแพทย ครั้งที่ 29 27-29เมษายน 2548 โรงแรมไดมอนดพลาซา จ. สุราษฎรธานีนอกจากนี้ศูนยวิจัยยังมี manuscript ที่อยูในระหวางการพิจารณาตีพิมพในวารสารนานาชาติอีก 4เรื่อง (submitted) และกําลังเตรียม manuscript อีก 2 เรื่องในรอบป 2548 ที่ผานมาศูนยไดรับนักศึกษาในระดับบัณฑิต ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก จํานวนทั้งสิ้น 7 คนในหลักสูตรตางๆดังนี้หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย จํานวน 3 คน คือนางสาว อภิชญา พวงเพ็ชรนางสาว ธนัชพร บาตรโพธิ์นาย ชาคริต สวัสดิดลหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาชีวเวชศาสตร จํานวน 2 คน คือนางสาว ภาวนา พนมเขตนางสาวจิรารัตน สองสีหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย จํานวน 1 คน คือนางสาว อรัญญา ผิวเกลี้ยงหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชีวเคมีทางการแพทย จํานวน 1 คน คือนายไพรัช โรยรสจํานวนนักวิจัยหนาใหมที่เขารวม 4 ทาน• รศ. ศิริชัย ชัยชนะวงศ• รศ ฑิฆัมพร กุยยกานนท• นาย ประจวบ ชัยมณี16


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส• ผศ. ดรุณ โกฏิมนัสวนิชย4. สรุปผลการดําเนินงานในปงบประมาณ <strong>2549</strong> (1 ตุลาคม 2548-30 กันยายน <strong>2549</strong>)4.1 ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด (KPI) จนถึง 30 กันยายน <strong>2549</strong>เปาหมายการผลิตและตัวชี้วัด ระยะเวลา 1 ป (<strong>2549</strong>)ผลผลิตเปาหมาย<strong>2549</strong>ถึงกันยายน<strong>2549</strong>1) การตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ 5 5(เรื่อง)2) นวัตกรรม, ทรัพยสินทางปญญา, เทคโนโลยีใหม, 1 1สิ่งประดิษฐตนแบบ (เรื่อง)3) จํานวนทุนภายนอกที่ไดรับการสนับสนุน (ลานบาท) 9 11.24) การตีพิมพในวารสารวิชาการภายในประเทศ(เรื่อง) 5 55) การนําเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับ 5 6นานาชาติ (เรื่อง)6) การจัดประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ (ครั้ง) 0 07) การนําเสนอผลงานในประชุมวิชาการภายในประเทศ 8 10(เรื่อง)8) การจัดประชุมสัมมนาระดับชาติ (ครั้ง) 2 49) การถายทอดเทคโนโลยี การใหบริการวิชาการของ 400 290ศูนย (ครั้ง-คน-วัน)10) จํานวนอาจารย / นักศึกษาบัณฑิตที่เพิ่มขึ้นภายใตศูนย10 11หมายเหตุ: รายละเอียดผลงานแตละ KPI ไดแนบไวใน CD ROM ทายเลมผลงานตีพิมพระดับนานานชาติ 5 เรื่อง1. Stensvold CR, Saijuntha W, Sithithaworn P, Wongratanacheewin S, Strandgaard H, OrnbjergN, Johansen MV. Evaluation <strong>of</strong> PCR based coprodiagnosis <strong>of</strong> human opisthorchiasis. ActaTrop. 2006 Jan;97(1):26-30. (Impact factor = 1.8)2. Anuntagool N, Wuthiekanun V, White N J., Currie B, Sermswan RW, WongratanacheewinS, Taweechaisupapong S, Chaiyaroj SC., and Sirisinha S. LipopolysaccharideHeterogeniety among Burkholderia pseudomallei From Different Geographical and ClinicalOrigins. Am. J. Trop. Med. Hyg. 2006. 74; 348-352. (Impact factor = 2.482)3. Pongsritasana T, Wongratanacheewin S, Prasertcharoensuk V, Sermswan RW. Isolation <strong>of</strong>fetal nucleated red blood cell from maternal blood using immunomagnetic beads for prenataldiagnosis. Asian Pacific J. Allergy Immunol. 2006. 24; 65-71. (Impact factor = 0.306)17


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส4. Jittimanee Jutharat, Sermswan RW., Puapairoj A., Maleewong W., and WongratanacheewinS. Cytokine expression in hamsters experimentally infected with Opisthorchis viverrini.Parasite Immunology 2006 (In press). (Impact factor = 1.445)5. Reechaipichitkul Wisoot, Wongratanacheewin Surasakdi, Ratanaanekchai Teeraporn,Suetrong Surapol, Nonthapa Suwanna. Bacteriology <strong>of</strong> Granulation Tissue inLaryngotracheal Stenosis Patients. J Med Assoc Thai Vol. 89 No. 9 2006 (In press)สิ่งประดิษฐตนแบบชุดตรวจแยกเชื้อ Burkholderia pseudomallei ดวยวิธี latex agglutionation testผลงานตีพิมพระดับชาติ1. การศึกษาหาปจจัยที่เหมาะสมในการทรานสฟอรมของเชื้อ Burkholderia pseudomallei โดยวิธีelectroporation สุรียพร สุวรรณรินทร ปรีชา หอมจําปา ธนากร ปรุงวิทยา <strong>2549</strong> วารสารวิจัย มข.ฉบับบัณฑิตศึกษา 6, (In press)2. การผลิตเชื้อ Burkholderia pseudomallei ที่มีการกลายจีน panC และกาประเมินศักยภาพในการนํามาใชเปนวัคซีนเชื้อเปนในหนูทดลอง ยินดี พรหมศิริไพบูลย, ปรีชา หอมจําปา, ธนากร ปรุงวิทยา, <strong>2549</strong>. Proceeding <strong>of</strong> <strong>the</strong> 8 th Symposium on graduate research, KKU.3. การสรางเสริมภูมิคุมกันโรคเพื่อตอตานการติดเชื้อ Burkholderia pseudomallei ในหนู balb/c รจนาแสงโสต สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน วีระพงศ ลุลิตานนท รศนา วงศรัตนชีวิน<strong>2549</strong>. Proceeding <strong>of</strong> <strong>the</strong>8 th Symposium on graduate research, KKU.4. การโคลนนิ่งและการแสดงออกของจีน ESAT-6 จากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis ใน E. coliและระบบที่ปราศจากเซลล รุจิรา วิทยอุดม วีระพงศ ลุลิตานนท สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน วิเศษ นามวาษ <strong>2549</strong>. Proceeding <strong>of</strong> <strong>the</strong> 8 th Symposium on graduate research, KKU.5. Cloning and expression <strong>of</strong> a regulatory protein involving iron uptake in Mycobacteriumtuberculosis. Dutsadee Maleehua, Wises Namwat, Viraphong Lulitanond, SurasakdiWongratanacheewin. Srinagarind Med J. 2005: 20 264.การนําเสนอผลงานในระดับชาติ และนานานชาติระดับนานาชาติ 6 เรื่อง1. Classification <strong>of</strong> <strong>the</strong> leptospires by molecular biology techniques. Sant Katedee, S.Wongratanacheewin, V. Wutiekanun, R. W. SermswanDepartment <strong>of</strong> Biochemistry, Department <strong>of</strong> Microbiology, Faculty <strong>of</strong> Medicine, KhonKaen University, Khon Kaen, 40002 and Wellcome Research unit, Faculty <strong>of</strong> TropicalMedicine, Mahidol University, Bangkok, Thailand. The 4 th International LeptospirosisCongress, 14-16 Nov, 2005. Central Duangtrawan Hotel, Chiangmai, Thailand.2. Interferon-γ, TNF-α and IL-4 response in hamsters vaccinated with L. interrogans.Amporn Srkrami, S. Wongratanacheewin, V. Wuthiekanun A. Puapairoj , and RasanaW. Sermswan.Department <strong>of</strong> Biotechnology Faculty <strong>of</strong> Technology, Department <strong>of</strong>18


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสMicrobiology, Pathology and Biochemistry, Faculty <strong>of</strong> Medicine, Khon Kaen University,Khon Kaen 40002, Thailand, Wellcome Research Unit, Faculty <strong>of</strong> Tropical Medicine,Mahidol University, Bangkok 10400, Thailand. The 4 th International LeptospirosisCongress, 14-16 Nov, 2005. Central Duangtrawan Hotel, Chiangmai, Thailand.3. M. Srilunchang.; P. Homchampa.; T. Proungvitaya.; S. Wongratanacheewin. 2005.Construction <strong>of</strong> a Marker-free DNA Adenine Methylase (Dam) Mutant <strong>of</strong> BurkholderiaPseudomallei. In: Abstracts <strong>of</strong> <strong>the</strong> 35 th <strong>Annual</strong> Scientific Meeting <strong>of</strong> <strong>the</strong> AustralasianSociety for Immunology and 14 th International HLA & ImmunogeneticsWorkshop. Tissue Antigens 'Genetics and The Immune Response' November 2005 -Vol. 66 Issue 5 Page 343-622 . 4-8 December 2005. Melbourne-AUSTRALIA4. S. Wongratanacheewin, P. Panomket, P. Chetchotisakd, P. Pannangpetch, R. W.Sermswan; Faculty <strong>of</strong> Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen, THAILAND. Study<strong>of</strong> Low Dose Steroid on Adjunct to Standard Treatment for Septic Shock Due toBurkholderia pseudomallei Infection in Murine Model. In: The 106 th American Society forMicrobiology General Meeting, Orlando, FL. 21-25 May 2006.5. Sermswan R. W., Palasatien S., Ledsiriwarrakune R.,Wongratanacheewin S. Faculty <strong>of</strong>Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen, THAILAND, Faculty <strong>of</strong> Technology, KhonKaen University, Khon Kaen, THAILAND. Physicochemical Properties <strong>of</strong> Soil ThatRelated to <strong>the</strong> Present <strong>of</strong> Burkholderia pseudomallei In: The 106 th American Society forMicrobiology General Meeting, Orlando, FL. 21-25 May 2006.6. U’Ren Jana, Hornstra Heidie, Pearson Talima, Schupp James, Leadem Benjamin,Shalamar Georgia, Sermswan Rasana W. and Keim Paul. Multi-Locus Variable NumberTandem Repeat Analysis <strong>of</strong> Burkholderia pseudomallei soil isolates in nor<strong>the</strong>rn ThailandIn: The 106 th American Society for Microbiology General Meeting, Orlando, FL. 21-25May 2006.ระดับชาติ 10 เรื่อง1. Immunization <strong>of</strong> Balb/c Mice Against Burkholderia pseudomallei Infection RojjanaSaengsot, Surasakdi Wongratanacheewi, Viraphong Lulitanond, RasanaWongratanacheewin การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ ครั้งที่ 8 วันศุกรที่ 20มกราคม <strong>2549</strong> ณ อาคารศูนยวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน2. Cloning and expression <strong>of</strong> ESAT-6 gene from M . tuberculosis in E .coli and using cellfree system. Rujira Witudome, Viraphong Lulitanon, Sorujsiri Chareonsudjai, WisesNamwat การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ ครั้งที่ 8 วันศุกรที่ 20 มกราคม <strong>2549</strong> ณอาคารศูนยวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน3. Construction <strong>of</strong> a panC Mutant <strong>of</strong> Burkholderia pseudomallei and its potential as avaccine candidate in a mouse model. Yindee Promsiripaiboo, Preecha Homchampa,Tanakorn Proungvitaya การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ ครั้งที่ 8 วันศุกรที ่ 20มกราคม <strong>2549</strong> ณ อาคารศูนยวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน19


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส4. Bioinformatics and Immunology. Surasakdi Wongratanacheewin. The 22 nd NationalCongress on Allergy and Immunology 2006. Siamcity Hotel, Bangkok, 30-31 March2006.5. Cytokine expression in hamsters experimentally infected with Opisthorchis viverrini.Jutharat Jittimanee, Rasana Sermswan, Anucha Puapairoj, Wanchai Maleewong,Surasakdi Wongratanacheewin. The 22 nd National Congress on Allergy andImmunology 2006. Siamcity Hotel, Bangkok, 30-31 March 2006.6. ผลของ capsule ของ เชื้อ Burkholderia psedomallei ตอเซลลเยื่อบุผิวมนุษยที่ติดเชื้ออรัญญา ผิวเกลี้ยง โสรัจสิริ เจริญสุดใจ สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน การประชุมวิชาการประจําปสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย ครั้งที่ 30 28-31 มีนาคม <strong>2549</strong> โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล อุดรธานี7. การใช CpG-liposome ในการปองกันการติดเชื้อ Burkholderia psedomallei ในหนู balb/cอภิชญา พวงเพ็ชร รศนา เสริมสวรรค วีระพงศ ลุลิตานนท สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน การประชุมวิชาการประจําปสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย ครั้งที่ 30 28-31 มีนาคม <strong>2549</strong>โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล อุดรธานี8. ความสัมพันธระหวาง bi<strong>of</strong>ilm ของเชื้อ Burkholderia psedomallei กับการดื้อยา ชาคริต สวัสดิดล สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ อัญชลี ตัตตะวะศาสตร รศนา เสริมสวรรค สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน การประชุมวิชาการประจําปสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย ครั้งที่ 30 28-31 มีนาคม<strong>2549</strong> โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล อุดรธานี9. การศึกษาหาปจจัยที่เหมาะสมในการ transform เชื้อ Burkholderia psedomallei ดวยวิธีelectroporation สุรียพร สุวรรณรินทร ปรีชา หอมจําปา ธนากร ปรุงวิทยา การประชุมวิชาการประจําปสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย ครั้งที่ 30 28-31 มีนาคม <strong>2549</strong> โรงแรมเจริญศรีแกรนด รอยัล อุดรธานี10. Cloning and expression <strong>of</strong> genes encoding leptospiral outer membrane lipoproteins asvaccine candidates for leptospirosis. Amporn Srikram, Dieter M. Bulach, Rasana W.Sermswan, Surasakdi Wongratanacheewin, Ben Adler. RGJ Deminar Series XL:Molecular and Cellular Biology for Medicine. Faculty <strong>of</strong> Medicine, Khon Kaen University,23 January 2006.ทุนวิจัยจากหนวยงานภายนอก รวมทั้งสิ้นเปนเงิน 11,200,000 บาท1. ชื่อโครงการ การศึกษาแบบแผนการแสดงออกของจีน Burkholderia pseudomallei ในหนูทดลองไดรับทุนจาก ระยะเวลาของโครงการ 3 ป งบประมาณรวม 1,200,000 บาท หัวหนาโครงการรศ. ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน (เซ็นสัญญาแลว)2. ทุนการศึกษาระดับปริญญาเอกภายใน-รวมตางประเทศ จากสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาติ (สกอ.) สมัครภายใตศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส จํานวน 4 ทุนๆ ละ 2,000,000 บาท รวม8,000,000 บาท คือ20


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส1. รศ. ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน2. รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน3. รศ. ดร. สุวิมล ทวีชัยศุภพงศ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะทันตะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน4. รศ. ดร. สุมาลี ตั้งประดับกุล ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล3. ชื่อโครงการ A Comparison <strong>of</strong> Doxycycline plus Trimethoprim-Sulphamethoxazole versusTrimethoprim-Sulphamethoxazole as Maintenance Therapy for Melioidosis เปนโครงการวิจัยรวมกันระหวาง Wellcome research unit และศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส ระยะเวลาของโครงการ 4ป งบประมาณรวม 6,000,000 บาท หัวหนาโครงการ ศ. พญ. เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากwelcome research unit 3,000,000 บาท4. ชื่อโครงการ ความเปนไปไดในการใช low dose steroid รวมกับยาปฏิชีวนะ ในการ รักษา septicshock จากโรคเมลิออยโดสิส และ การศึกษาความสัมพันธของ bi<strong>of</strong>ilm และการสรางเอนไซม β-lactamase ตอการดื้อยาปฏิชีวนะ ของเชื้อ Burkholderia pseudomallei กําลังอยูในระหวางการพิจารณา ของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ระยะเวลาของโครงการ 3 ป งบประมาณรวม 4,478,320 บาทหัวหนาโครงการ รศ. ดร. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ ภาควิชาชีววิทยาชองปาก คณะทันตะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน5. ทุนปริญญาเอกกาญจนภิเษก (คปก.) จํานวน 3 ทุนๆ ละ 2,230,000 บาท ผูขอทุนคือ• รศ. ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน• รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน• รศ. ดร. สุวิมล ทวีชัยศุภพงศ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะทันตะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน(กําลังอยูในระหวางการพิจารณา ที่ชาเนื่องจาก ผลกระทบจากการไมมีสภาผูแทนราษฎรในการพิจารณางบประมาณ)หมายเหตุ โครงการวิจัยที่ยังไมไดรับการแจงยืนยันอยางเปนทางการ (ขอ 4 และ 5) ยังไมไดนับรวมใน KPI ปนี้ดานการถายทอดเทคโนโลยีและการบริการวิชาการของศูนยศูนยวิจัยจัดประชุมวิชาการระดับชาติ เพื่อเปนการบริการวิชาการในป <strong>2549</strong> เปนจํานวน 4 ครั้ง คือ• การประชุมวิชาการของศูนย รวมกับการประชุมประจําปคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน ครั้งที่ 21 วันที่ 11-14 ตุลาคม 2548 ณ.คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน รวม 1 วัน โดยมีผูเขารวมประชุมทั้งสิ้น 80 คน21


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส• การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การวิเคราะหการหลั่งไซโตคายนและการคัดแยกที่ลิมโฟไซนที่จําเพาะตอแอนติเจน ระหวางวันที่ 2-3 พฤษภาคม <strong>2549</strong> ณ หองประชุมกวีทังสุบุตร และหองปฏิบัติการ 7 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ผูเขารวมประชุมทั้งสิ้น 20 คน จัดรวมกับศูนยวิจัยโรคติดเชื้อระบาดใหม• ศูนยไดรวมจัดงาน KKU Innovation 2548 ในเดือน 20-22 มกราคม <strong>2549</strong> เนื่องในวันสถาปนามหาวิทยาลัยขอนแกน จํานวนผูเขาชมงานโดยประมาณ 100 คน (รวม 3วัน)• การประชุมเชิงปฏิบัติการการตรวจวินิจฉัยโรคเมลิออยโดสิสทางหองปฏิบัติการ วันที่16-18 สิงหาคม <strong>2549</strong> เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ หองประชุมกวี ทังสุบุตร ชั้น 5และหองปฏิบัติการ 7 ชั้น 4 อาคารเรียนรวม คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน ดําเนินการโดย ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยมีผูเขารวมประชุมทั้งสิ้น 30 คน (รวม 3วัน)จํานวนอาจารยและนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นจํานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น ปริญญาเอก 2 คน• นางสาวอุมาพร ยอดประทุม (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาชีวเคมีทางการแพทย)• นางสาวสกาวรัตน กันธวงศ (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย)จํานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น ปริญญาโท 5 คน• นางนัตฏิยา ศรีสุราช (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย)• นายอรรถพงษ ปรัชญามาศ (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย)• นางสาวนันทะภร แกวอรุณ (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย)• นางสาวยินดี พรหมศิริไพบูลย (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการแพทย)• นางสาวพรรณราย พิบาลภักดี (หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา)การดําเนินงานของศูนยในดานอื่นๆในรอบปที่ผานมา1. การสรางบัณฑิตศึกษา22


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสศูนยวิจัยไดดําเนินการออกเดินสายไปยังคณะตางๆ ในมหาวิทยาลัยขอนแกน และมหาวิทยาลัยใกลเคียง เพื่อชักจูงนักศึกษาที่มีผลการเรียนดี ถึง ดีมาก ที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสาขาตางๆ มาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยขอนแกน และดําเนินงานวิจัยภายใตศูนย2. ดานการวิจัยและการหาทุนวิจัยศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสมุมเนนใหเกิดการพัฒนางานวิจัยเพื่อแกปญหาโรคเมลิออยโดสิสเปนสําคัญและจะขยายงานไปสูโรคติดเชื้ออื่น ๆ ที่สําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยอาศัยเทคโนโลยีองคความรูที่ไดจากการวิจัยโรคเมลิออยโดสิส การวิจัยที่จะดําเนินการบริหารจัดการภายในศูนยจะมุงเนนงานวิจัยเชิงบูรณาการโดยไมเพียงแตจะอาศัยศูนยวิจัยของมหาวิทยาลัยขอนแกนแตจะสรางเครือขายความรวมมือกับสถาบันวิจัยอื่นทั้งในและตางประเทศ เชน มหาวิทยาลัยมหิดล, welcome Research Unitและกระทรวงสาธารณสุข ศูนยไดกําหนดกิจกรรมดานการวิจัยโดยมุงเนนประเด็นที่สําคัญดังนี้ก. การวิจัยและพัฒนาวิธีการรักษาโรคที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นทั้งการรักษาเฉพาะโดยใชยาตานจุลชีพ และการรักษาเสริมดวยวิธีอื่นข. การวิจัยเพื่อพัฒนาการปองกันโรคเพื่อใหประชาชนปลอดภัยจากการไดรับเชื้อโรค โดยใชกลยุทธในการวิจัยและพัฒนามาตรการเครื่องมือหรือ เทคโนโลยีทําลายเชื้อที่มีอยูในดิน หรือปรับเปลี่ยน virulence ของเชื้อตลอดจนการพัฒนาวัคซีนปองกันโรคค. การวิจัยเพื่อพัฒนาการวินิจฉัยโรคที่รวดเร็วและแมนยําเพื่อการรักษาที่ถูกตอง ลดอัตราการเสียชีวิตของผูปวยง. การวิจัยเพื่อศึกษาตัวเชื้อแบคทีเรีย กลไกการกอโรค ภูมิตานทานตอโรค สวนของเชื้อที่เกี่ยวของกับ virulence โดยองคความรูที่ไดจะเชื่อมโยงไปยังการวิจัยการพัฒนาการรักษาการปองกันโรค (ขอ ก และ ข)จ. การวิจัยเพื่อศึกษา ระบาดวิทยาของชนิดของเชื้อในสิ่งแวดลอม เพื่อเปนขอมูลในการหามาตรการปองกันการสัมผัสโรค หรือหาเทคโนโลยีในการทําลายเชื้อ (ขอ ข)ศูนยวิจัยไดดําเนินการหาทุนวิจัยโดยไดมีการสรางเครือขายความรวมมือกับสถาบันอื่นๆ หลายแหงและไดดําเนินการ สมัครขอทุนเขาโครงการเครือขายเชิงกลยุทธเพื่อการพัฒนาบุคคลากรอาจารยในสถาบันอุดมศึกษาสูการเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันของประเทศ(http://www.research.mua.go.th/)และไดสงโครงการเขาขอรับทุนทั้งสิ้น 6 ทุน คือ ทุนระดับปริญญาเอกของ สกอ. จํานวน 4 ทุน ทุนการพัฒนาอาจารยใหเปนนักวิจัยอาชีพ จํานวน 1 ทุน และทุนการสรางเครือขายเชิงกลยุทธและเครือขายกับตางประเทศจํานวน 1 ทุนศูนยวิจัยไดดําเนินการศึกษาวิจัยการระบาดวิทยาของเชื้อ B. pseudomallei ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือดดยไดดําเนินการรวมกับสํานักงานควบคุมปองกันโรคที่ 6 จังหวัดขอนแกนโครงการนี้ศูนยวิจัย ไดไปศึกษาในโรงพยาบาลจังหวัดในทุกจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเก็บตัวอยางเชื้อ และ serum ตลอดจนขอมูลดานระบาดวิทยา เพื่อเปนฐานขอมูลที่สําคัญสําหรับใชในงานวิจัย และงานดานการเฝาระวังโรคตอไป ในปนี้ศูนยไดเริ่มดําเนินการไปแลว 4 โรงพยาบาลคือโรงพยาบาลนครพนม โรงพยาบาลสกลนคร โรงพยาบาลอุดรธานี และ โรงพยาบาลหนองคาย3. ดานการสรางความรวมมือกับสถาบันอื่นทั้งในและตางประเทศ23


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสศูนยวิจัยไดตั้งปณิธานแนวแนในการสรางเครือขายเชื่อมโยงกับสถาบันอื่นทั้งในและตางประเทศ ศูนยไดเริ่มสรางเครือขายในการทําวิจัยรวมกับ นักวิจัยใน มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยเชียงใหม ตลอดจน มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานีนอกจากนี้ยังไดมีความรวมมือกับตางประเทศคือ1. Pr<strong>of</strong> Paul Keim, Nor<strong>the</strong>rn Arizona University, USA2. Dr. Adel M. Talaat, University <strong>of</strong> Wisonsin, Madison, USA.3. Pr<strong>of</strong> Gary Splitter, University <strong>of</strong> Wisonsin, Madison, USA.โดยไดดําเนินการสงนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของศูนยไปทําวิจัยที่ Nor<strong>the</strong>rn Arizona University, USA 1คน และ University <strong>of</strong> Wisonsin, Madison, USA. 1 คน แลวและจะดําเนินการสงนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาของศูนยไปทําวิจัยที่ University <strong>of</strong> Wisonsin, Madison, USA. อีก 1 คนในเดือนธันวาคม<strong>2549</strong> นี้ในปนี้นักวิจัยในศูนยวิจัย (รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน) ไดรับเกียรติจาก บริษัท ลอริออ ประเทศไทย ใหเปนตัวแทนของประเทศไทย เปนนักวิจัยเพียง 1 เดียวในเอเซียและ เปน 1 ใน 7 จากทั่วโลกที่ไดไปรวมประชุมวิชาการดานสิ่งแวดลอม ในระดับนานาชาติ ในฐานะ Woman in Science4. ดานการถายทอดเทคโนโลยีและการบริการวิชาการของศูนยศูนยวิจัยไดเขารวมประชุมระดมสมองกับ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในการจัดทําคูมือการเฝาระวัง และควบคุมดรคเมลิออยโดสิส ซึ่งจะไดแจกจายไปยังหนวยงานตางๆทั่วประเทศศูนยวิจัยไดเขารวมสนับสนุนการดําเนินของ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในการใหการอบรมการตรวจวินิจฉัยเชื้อ B. pseudomallei ทางหองปฏิบัติการแกโรงพยาบาลทั่วประเทศดดยจะจัดการอบรมทุกปๆละ 1 ครั้งนอกจากนี้เพื่อเปนการเผยแพรความรูดานวิชาการจากศูนยวิจัยสูประชาชนโดยตรง นักวิจัยของศูนยวิจัย (รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน) ไดมีการเผยแพรความรูแกประชาชนโดยผานสื่อโทรทัศน UBC07 ในรายการ คนดีคูสังคม โดยไดทําการบันทึกเทปรายการ ในวันอังคารที่ 20 กันยายน <strong>2549</strong>5. ดานการประชุมกรรมการบริหาร สมาชิก และประชุมวิชาการของศูนยศูนยมีการประชุมสมาชิกและกรรมการบริหารทุกเดือนๆละ 1 ครั้ง ในสัปดาหสุดทายของทุกเดือนโดยแตละครั้งของการประชุจะเริ่มจากการนําเสนองานวิจัยความกาวหนาทางวิชาการกอน45 นาที และตามดวยการประชุมกิจกรรมของศูนย ซึ่งในปที่ผานมามีการประชุมทั้งสิ้น 12 ครั้งนอกจากนั้นศูนยยังมีการประชุมกลุมยอยในการติดตามงานวิจัย วิจารณ และแกปญหาการวิจัยทุกวันอังคาร และที่ผานมาไดมีการประชุมไปแลวทั้งสิ้น 30 ครั้ง6. การจัดประชุมวิชาการนานาชาติ24


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสศูนยไดรับเกียรติใหเปนแกนนําในการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ World Melioidosis Congress ในวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2550 โดยศูนยไดติดตอหาเจาภาพรวม และไดรับความรวมมือจากหนวยงานตางๆดังนี้• มหาวิทยาลัยขอนแกน ในนาม มหาวิทยาลัย และ ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส เปนแกนนํา• ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (BIOTEC) สนับสนุนคาใชจายวิทยากรรับเชิญจากตางประเทศ 2ทาน• สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) สนับสนุนคาใชจายในการจัดประชุม100,000 บาท• สมาคมโรคติดเชื้อแหงประเทศไทย (เจาภาพรวม)• Welcome Research Unit (เจาภาพรวม)• กระทรวงการตางประเทศ สนับสนุนคาใชจายในการเดินทางเขารวมประชุมของนักวิจัยจากประเทศในแถบอินโดจีนจํานวน 10 คน• กรมควบคุมโรค (เจาภาพรวม)• สํานักคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาติ (สกอ.)โดยในปที่ผานมาศูนยไดดําเนินการเตรียมการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ The 5 th WorldMelioidosis Congress โดยไดรับการอนุมัติใหจัดการประชุม และไดดําเนินการเกี่ยวกับการจัดประชุมวิชาการไปแลวดังนี้1. จัดพิมพแผนโปสเตอรประชาสัมพันธ โครงการจํานวน ทั้งสิ้น 1,500 แผน2. จัดพิมพแผนประชาสัมพันธ The first announcement จํานวน ทั้งสิ้น 2,000 แผน3. จําทํา website www.wmc2007.org โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ• ประชาสัมพันธการประชุม• ใหผูเขาประชุมสามารถ ลงทะเบียน on-line• ใหผูเขาประชุมสามารถ สง abstract on-line• ใหผูประเมิน abstract สามารถ ประเมิน abstract on-line4. สงโปสเตอรและแผน first announcement ออกไปหนวยงานตางๆ ทั้ง รัฐบาล และเอกชนจํานวนทั้งสิ้น 1,000 ชุด และสงไปยังเครือขายตางประเทศอีก 500 ชุด5. จัดตั้ง International advisory committee คณะกรรมการดําเนินการจัดประชุม (เอกสารแนบ)6. จัดเตรียม ตารางการประชุมเบื้องตน ตลอดจนผูประเมิน abstract7. จัดเตรียมตารางการประชุม pre-congress workshop8. คัดเลือก Keynote speakers และ invited speakers9. ประสานงานกับโรงแรมในการจัดประชุม10. คาใชจายในการดําเนินงานทั้งหมดที่ไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา25


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสรายการคาใชจายคาจางทํา webpage และฐานขอมูล128,000 บาทคาพิมพ แผนพับและ poster35,876 บาทคาใชจายในการเดินทางเขารวมประชุมกรรมการจัด25,755 บาทงานคาไปรษณียากรในการสงแผนพับและ poster8,369 บาทรวมคาใชจายทั้งหมด 198,000 บาท26


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสโครงการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ World Melioidosis Congress ครั้งที่ 5(The 5 th World Melioidosis Congress)ณ โรงแรมโซฟเทลราชาออคิด จ. ขอนแกนวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2550และการประชุมเชิงปฏิบัติการ (pre-congress) วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2550จัดโดยศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส มหาวิทยาลัยขอนแกนหลักการและเหตุผลโรคเมลิออยโดสิสและเชื้อ Burkholderia pseudomallei ซึ่งเปนแบคทีเรียที่เปนสาเหตุของโรค เปนโรคและเชื้อที่พบกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย และประเทศอื่นๆ ในบริเวณใกลเสนศูนยสูตร รายงานผูปวยจะมีมากที่สุดจากประเทศไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ จากจํานวนผูปวยที่มากนี้ทําใหรัฐตองเสียคาใชจายในการรักษาปละไมต่ํากวา 150 ลานบาท ซึ่งยังไมนับรวมการสูญเสีย โอกาสทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน ในทางตรงขามจํานวนผูปวยที่มากนี้ทําใหนักวิจัยของไทยสามารถใชขอไดเปรียบดังกลาวเพื่อทําการวิจัยในเรื่องนี้ไดอยางกวางขวางและลึกซึ้ง ในปจจุบัน ยังมีแงมุมตางๆ ที่เกี่ยวกับโรคนี้และเชื้อนี้ที่ยังไมเปนที่ทราบอยูอีกมาก เปนตนวา กลไกของการทําใหเกิดโรค องคประกอบของเชื้อที่เกี่ยวของกับการ เพิ่มและลดความรุนแรงในการกอโรค การกลับมาเปนซ้ําอีกของโรคหลังจากที่รักษาจนอาการเปนปกติแลว (relapse) และพบไดบอยกวาโรคติดเชื้ออื่นๆ การวินิจฉัยโรคที่รวดเร็วและแมนยํา การปองกันและการรักษาโรคในผูปวย ความรูในชีววิทยาระดับโมเลกุลของเชื้อและการกระจายของเชื้อในสิ่งแวดลอมในปจจุบันนักวิทยาศาสตรไทยที่สนใจเรื่องดังกลาวมีอยูจํานวนจํากัด ในทางตรงขามมีนักวิทยาศาสตร จากตางประเทศใหความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากเหตุการณวันที่ 9กันยายน พ.ศ. 2544 ทําใหประเทศสหรัฐอเมริกาไดจัดเชื้อดังกลาวใหอยูในกลุม B ซึ่งมีความเปนไปไดที่จะนํามาใชเปนอาวุธชีวภาพ ทําใหเชื้อนี้มีความสําคัญมากยิ่งขึ้น ประกอบกับใน 2-3 ปที่ผานมา ยังมีนักวิจัยของสหราชอาณาจักร (Sanger Institute, Cambridge, UK) และสหรัฐอเมริกา (The Institute for GenomicResearch, MD, USA) ไดรวมการศึกษายีนของเชื้อ B. pseudomallei และ B. thailandensis จนกระทั่งรูโครงสรางทั้งหมดและไดตีพิมพเปดเผยขอมูลฉบับสมบูรณเมื่อเดือนกันยายน 2547 นี้เอง ซึ่งจากความสําเร็จอันนี้จะชวยใหงานวิจัยเกี่ยวกับแงมุมตางๆ ของเชื้อ B. pseudomallei และโรคเมลิออยโดสิสกาวหนาไปไดรวดเร็วยิ่งขึ้นไปอีกในอนาคตอันใกลๆ นี้ ซึ่งจะเปนประโยชนโดยตรงตอประเทศไทยที่มีผูปวยติดเชื้อนี้มากที่สุดในโลกก็วาไดเพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความรู ความกาวหนาดานการวิจัย ไดมีการจัดประชุม World MelioidosisCongress ขึ้นทุกๆ 3 ป นับตั้งแตป พ.ศ. 2538 ที่ประเทศมาเลเซีย พ.ศ. 2541 ที่ประเทศไทย พ.ศ. 2544 ที่ประเทศออสเตรเลีย และลาสุด พ.ศ. 2547 ที่ประเทศสิงคโปร จากการประชุมครั้งลาสุดที่ประเทศสิงคโปร ที่ประชุมมีมติให ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนแกนหลักในนามประเทศไทยที่จะจัดประชุม World Melioidosis Congress ครั้งที่ 5 ขึ้น ณ โรงแรมโซฟเทลราชาออคิด จ.ขอนแกน27


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสวัตถุประสงค1. เพื่อนําเสนอความกาวหนาดานการวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความรู กับนักวิจัย แพทย ที่มีประสบการณในโรคเมลิออยโดสิส ในระดับนานาชาติ3. เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนตลอดจนสรางความรวมมือในการวิจัยเพื่อแกปญหาโรคเมลิออยโดสิส4. เพื่อเปนการไดนําความรูที่ไดมาประยุกตใชชวยในการรักษา ควบคุม ปองกัน และลดอัตราการติดเชื้อหนวยงานที ่รับผิดชอบ1. ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส มหาวิทยาลัยขอนแกน2. คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนไดรับการสนับสนุนจาก1. สํานักงานความรวมมือเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ2. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแหงชาติ3. ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ4. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย5. สมาคมโรคติดเชื้อแหงประเทศไทย6. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดําเนินงานเปนการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติโดยมีรูปแบบการประชุมแบบ Plenary lecture, Symposia,Oral และ Poster presentations โดยมีหัวขอการประชุมดังนี้1. Epidemiology2. Clinical studies3. Diagnosis4. Molecular biology5. Immunization6. Genomic and Proteomic studies7. Pathogenesis8. Host-pathogen interactions9. Prevention and control10. Veterinary aspectระยะเวลาในการจัด 5 วัน วันที่ 19 - 23 พฤศจิกายน 2550ชวงแรก – ประชุมเชิงปฏิบัติการ pre-congress 2 วัน ระหวางวันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2550ชวงหลัง – ประชุมวิชาการนานาชาติ 3 วัน ระหวางวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2550สถานที่ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และ28


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสโรงแรมโซฟเทล ราชาออคิด จ. ขอนแกนวิทยากรรับเชิญ ผูมีประสบการณและมีผลงานเปนที่ยอมรับในการวิจัยโรคเมลิออยโดสิสในระดับนานาชาติในสาขาตางๆ จํานวนไมนอยกวา 6-10 ทานผูเขารวมประชุม จากหนวยงานภาครัฐ เอกชน ทั้งในประเทศและตางประเทศ จํานวน300-500 คน โดยเปนผูรวมประชุมจากตางประเทศจํานวน 15 ประเทศผลที่คาดวาจะไดรับ1. ทราบความกาวหนาดานการวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. แลกเปลี่ยนความรูกับนักวิจัยแพทยที่มีประสบการณในโรคเมลิออยโดสิส ในระดับนานาชาติ3. สรางความรวมมือในการวิจัยเพื่อแกปญหาโรคเมลิออยโดสิส4. นําความรูที่ไดมาประยุกตใชชวยในการรักษา ควบคุม ปองกัน และลดอัตราการติดเชื้อคาลงทะเบียนการประชุมนานาชาติEarly registration(กอน Sep, 15th 2007)Late registration(หลัง Sept, 15th 2007)On-Site registration(ลงทะเบียนหนางาน)Participant US$ 350 US$ 400 US$ 450Accompany person US$ 250 US$ 300 US$ 350Student US$ 175 US$ 200 US$ 450สําหรับคนไทย 3,500 บาท 4,000 บาท 5,000 บาทนักศึกษาไทย 2,500 บาท 3,000 บาท 5,000 บาทการประชุม pre-congress workshopคนตางชาติ= US$ 100คนไทย 1,000 บาทWebsite: www.wmc2007.orgงบประมาณประมาณการรายรับคาลงทะเบียนผูเขารวมประชุมจากตางประเทศจํานวน 70 คนๆละ 350$US931,000 บาทคาลงทะเบียนผูเขารวมประชุมจากตางประเทศจํานวน 30 คนๆละ 250$US (นักศึกษา) 285,000 บาทคาลงทะเบียนผูเขารวมประชุมจากในประเทศจํานวน 150 คนๆละ 3500 บาท525,000 บาท29


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสคาลงทะเบียนผูเขารวมประชุมจากในประเทศจํานวน 50 คนๆละ 2500 บาท (นักศึกษา) 125,000 บาทคํานวณจาก 1$US = 38 บาทไดรับการสนับสนุนจาก สกอ. และ biotec รวม300,000 บาทสํานักงานรวมมือและการพัมนาระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ (TICA) สนับสนุนคาใชจายของผูเขารวมประชุมจากประเทศในลุมแมน้ําโขง235,100 บาทงบสนับสนุนจากศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส200,000 บาทงบสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยขอนแกน100,000 บาทรวมรายรับ 2,701,100บาทประมาณการรายจาย- คาอาหารกลางวันโรงแรมโซฟเทล หัวละ 500 บาทตอวันตอคน จํานวน 300 ทานเปนเวลา 3 วัน450,000 บาท- คาอาหารกลางวันโรงแรมโซฟเทล หัวละ 500 บาทตอวันตอคน ของกรรมการจัดการประชุมจํานวน 25ทานเปนเวลา 3 วัน37,500 บาท- คาอาหารวางโรงแรมโซฟเทล หัวละ 200 บาทตอวันตอคน (เชา-บาย) จํานวน 300 ทานเปนเวลา 3 วัน180,000 บาท- คาอาหารวางโรงแรมโซฟเทล หัวละ 200 บาทตอวันตอคน (เชา-บาย) ของกรรมการจัดการประชุมจํานวน 25 ทานเปนเวลา 3 วัน15,000 บาท- คาจัดเลี้ยง welcome dinner โรงแรมโซฟเทล หัวละ 600 บาท จํานวน 325 ทาน (รวมกรรมการจัดงาน) 195,000 บาท- คาหองประชุมเพื่อแสดง poster presentation วันละ 40,000 บาทเปนเวลา 3 วัน 120,000 บาท- คาจัดทําบทคัดยอและ CD การประชุม และกระเปาเอกสาร จํานวน 325 ชุดๆ ละ 550 บาท178,750 บาท- คาใชจายในการเชิญวิทยากรจากตางประเทศจํานวน 10 ทานๆเฉลี่ยทานละ 100,000 บาท รวม1,000,000 บาท- ทุนคาเดินทางและคาลงทะเบียนสําหรับใหนักศึกษาตางประเทศที่มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงมานําเสนอผลงานในที่ประชุมจํานวน 3 ทุนๆละ 1,000 $US114,000 บาท- ทุนคาเดินทางและคาลงทะเบียนสําหรับใหนักศึกษาจากประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวประเทศเวียดนาม พมาและกัมพูชาที่ไดรับการสนับสนุนจาก TICA235,100 บาท- ทุนคาเดินทางและคาลงทะเบียนสําหรับใหนักศึกษาในประเทศที่มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง มานําเสนอผลงานในที่ประชุมจํานวน 5 ทุนๆละ 5,000 บาท25,000 บาท30


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส- คาใชจายอื่น ๆ ไมนับรวมคาใชใจในการจัดทํา poster ประชาสัมพันธ แผนพับ firstannouncement และ website ซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก สกอ. จํานวน 200,000 บาทในปงบประมาณ <strong>2549</strong> (คาใชจายในการเตรียมการอื่นๆ เชน คาไปรษณียสงประชาสัมพันธไปตางประเทศและในประเทศ คาโทรศัพท คาใชจายในการประชุมกรรมการจัดงานฝายตางๆ คาลวงเวลา คาจัดทําsecond and final announcements คาน้ํามันเชื้อเพลิง คาใชจายในการจัดทํา board สําหรับ posterpresentation คาเอกสาร abstract การประชุมจํานวน 350 ชุด คาใชจาย internet สําหรับงานประชุมฯลฯ)440,000 บาทรวม2,990,350 บาทรายจายมากกวารายได จํานวน 289,250 บาท ซึ่งจะขอรับการสนับสนุนจาก สกอ.โปรแกรมการอบรม / รายละเอียดของการประชุมเปนการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติโดยมีรูปแบบการประชุมแบบ Plenary lecture, Symposia,Oral และ Poster presentations โดยมีหัวขอการประชุมดังนี้21 st November 200722 nd November 200723 rd November 2007Tentative ScheduleDay Time Theme07.30 am Registration and Opening Ceremony09.00 am Epidemiology10.30 am Clinical Aspects12.00 am Lunch01.00 pm Diagnosis03.00 pm Antibiotics Resistance06.30 pm Welcome Dinner08.30 am Molecular Biology10.30 am Pathogenesis12.00 am Lunch01.00 pmGenomics, Proteomics andBioinformatics03.00 pm Environmental Aspects08.30 am Immunology and Vaccine10.30 am Prevention and control12.00 am Lunch01.00 pm Veterinary Aspects03.00 pm Closing Ceremonyนอกจากนี้ยังมีการจัดประชุม pre-congress workshop ดังนี้31


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสSoil surveillance Workshop (Pre-congress)19-20 November 2007Faculty <strong>of</strong> Medicine, KKU19 th November 20078.00-8.30 Registration8.30-9.30Soil survey protocol(V. Wuthiekanun)9.30-10.00 Group assigned and soil collection at Nampong district, Khon Kaen10.00-12.30 Trip to Nampong and soil collection12.30-14.00 Lunch at Faculty <strong>of</strong> Medicine14.00-16.30 Soil processing/ Discussion20th November 2007How to culture B. pseudomallei from soil8.30-9.00(V. Wuthiekanun)Identification <strong>of</strong> B. pseudomallei using biochemical reactions, PCR9.00-9.30and latex agglutination(S. Wongratanacheewin)Lab hand on1. Culture from soil9.30-11.302. Colony demonstration on medium3. Biochemical and latex identifications11.30-12.00 Discussion and conclusion12.00-13.00 Lunch32


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสคณะกรรมการฝายตางๆในการจัดการประชุมInternational Advisory Committee• Pr<strong>of</strong>. A Leelarasamee (Thailand)• Pr<strong>of</strong>. S. Sirisinha (Thailand)• Pr<strong>of</strong>. W. Chaowagul (Thailand)• Pr<strong>of</strong>. D.E. Wood (Canada)• Pr<strong>of</strong>. B. Currie (Australia)• Pr<strong>of</strong>. G.J. Bancr<strong>of</strong>t (UK)• Dr. P. Tan (Singapore)• Pr<strong>of</strong>. S.D. Puthucheary (Malaysia)• Mrs. V. Wuthiekanun (Welcome)• Dr. D.A.B. Dance (UK)• Pr<strong>of</strong>. P. Keim (USA)Organizing committeeคณะกรรมการที่ปรึกษา• อธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแกน• ผูอํานวยการสํานักงานปองกันโรคที่ 6 ขอนแกน• คณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน• นพ. เกรียงศักดิ์ เวทีพุฒาจารย ผูทรงคุณวุฒิ ระดับ 10 กรมควบคุมโรคกรรมการจัดการประชุมประธานจัดงาน รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน1. ฝายวิชาการที่ปรึกษาฝายวิชาการ: ศ.นพ.อมร ลีลารัศมีประธาน: ศ.พญ.เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์รองประธาน: ผศ.ดร.ปรีชา หอมจําปาเลขานุการ: รศ.ดร.โชติชนะ วิลัยลักขณากรรมการ:1. รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน2. ผศ.ดร.ชาญวิทย ลีลายุวัฒน3. พญ.วิรงครอง เจียระกุล4. Dr. Nick Day5. ศ.พญ.ยุพิน ศุพุทธมงคล6. Dr. Sharon Peacock33


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส7. ผศ.พรรณนิกา ฤตวิรุฬห8. รศ. ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน9. ศ. ดร. สถิตย สิริสิงห10. รศ. ดร. พงศศักดิ์ อุทัยสินธุเจริญ11. นางวรรณาพร วุฒิเอกอนันต12. รศ. ดร. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ13. นางนริศรา จันทราทิตยหนาที่ฝายวิชาการ• พิจารณา Keynote และ invited speakers• พิจารณา abstract online• จัดกลุม abstract• จัด schedule (plenary session & invited & key person)• จัด Chairperson and co-chairperson• กําหนดรูปแบบ abstract2. ฝายลงทะเบียนและตอนรับประธาน: รศ.ดร.สุวิมล ทวีชัยศุภพงษเลขานุการ: บุษราภรณ อินทรตาแสงกรรมการ:1. ดร.นิรมล เมืองโสม2. นางลักษณา หลายทวีวัฒน3. นางอุมาพร แกวซิม4. นางสาวกังสดาล สุวรรณรงค5. นางสาวชัชชฎา ชูศรีเปยม6. นางสาวเสาวลักษณ คัชมาตย7. นางสาวชุติมา อนงาม8. นางอุมา นามวิเศษ9. นางสาวนุช วงษโคตรหนาที่ฝายลงทะเบียน• รับเรื่องลงทะเบียน online และโอนเงินเขาบัญชี และการรับเงิน• ตอบรับการลงทะเบียน (Online)• ประสานกับฝายการเงิน• ประสานกับฝายวิชาการ• จัดเอกสาร• ทําปายชื่อผูเขารวมประชุม• ทํารายชื่อสําหรับเซ็นชื่อ34


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส• จัดทําของที่ระลึก (กระเปา/ ปากกา/ สมุด/ CD)3. ฝายประชาสัมพันธและพิธีการประธาน: ผศ.ดร.โสรัจสิริ เจริญสุดใจเลขานุการ: ผศ. ฐิติมา นุตราวงศกรรมการ:1. นางสาวเสาวลักษณ คัชมาตย2. นางสาวประคอง เทียบศรี3. ดร.ดวงกมล แมนศิริ4. พญ.ณัฐมล ปทุมวัน5. นาง วัลยณรัตน ศรีไสย6. นางสาวกนกเลขา ศิริวัชรพงษ7. นางนภา อาษารัฐ8. นางสาวเฌอมาลย ทองมี9. นางสาวชุติมา อนงาม10. นางอุมา นามวิเศษ11. นางดวงกมล ศรีสวัสดิ์12. นางสาวภาวินี คําลา13. นางสาวบุหงา ตนปราสาทหนาที่ฝายประชาสัมพันธและพิธีการ• ประชาสัมพันธ- 1 st announcement- 2 nd announcement• ติดตอประสานงานเรื่อง webpage• พิธีการระหวางการประชุม• ทําปายชื่อ chairperson, speaker เพื่อวางในปายสามเหลี่ยม4. ฝายสถานที่จัดประชุมและหองพักประธาน: คุณประจวบ ชัยมณีเลขานุการ: นายยิ่งฤทธิ์ จันทรสุขกรรมการ:1. นางพวงกาญจน โคตมะ2. นายเชิดชัย แกวปา3. นายเสรี สิงหทอง4. นางสาวกมลทิพย กฤษฎารักษ5. นายสิทธิพร นามมา35


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสหนาที่ฝายสถานที่จัดประชุมและหองพัก• ติดตอโรงแรมเรื่องหองพักผูเขารวมประชุม• ประสานฝายลงทะเบียนเรื่องหองพัก• ประสานกับฝายรับสง• ติดตอโรงแรมเรื่องสถานที่ประชุมและอาหาร• ติดตอโรงแรมเรื่องกรตั้ง booth แสดงสินคาและ poster5. ฝายรับสงและจัดเลี้ยงประธาน: ผศ.นเรศ วโรภาสตระกูลเลขานุการ: ผศ.นพ.สุวิน วองวัจนะกรรมการ:1. รศ.นพ.วัลลภ แกวเกษ2. นางสาวจมาภรณ ใจภักดี3. นางอมรรัตน ภูกาบขาว4. นายพิเชษฐ โฉมเฉลา5. นางสาวศิริวรรณ หมื่นหัสหนาที่ฝายรับสงและจัดเลี้ยง• ติดตอเรื่องรถรับสง• ติดตอการแสดง• ติดตอการจัดงานเลี้ยง6. ฝายรวมเลมหนังสือบทคัดยอประธาน: ผศ.ดร.อัญชลี ตัตตะวะศาสตรเลขานุการ: อ.ดร.วิเศษ นามวาทกรรมการ:1. นางกนกพร พินิจลึก2. นายสมจิตร พันธุโพธิ์3. นายบุญเทียน อาสารินทร4. นายสุดใจ หอธรรมกุลหนาที่ฝายรวมเลมหนังสือบทคัดยอ• จัดทํารวมเลม abstract• จัดทํารวมเลม proceeding• สงเอกสารเขาโรงพิมพ36


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส7. ฝายหารายไดประธาน: รศ.ดร.วีระพงศ ลุลิตานนทเลขานุการ: นางสาวสุขุมาล อุดมกรรมการ:1. ผศ.เสาวลักษณ สุขประเสริฐ2. รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวินหนาที่ฝายหารายได• จัดหารายไดสนับสนุนการประชุม• จัด booth แสดงสินคา8. ฝายเลขานุการประธาน: รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวินเลขานุการ: นางสาวจิราภรณ โสดาจันทรกรรมการ:1. ผศ. ฐิติมา นุตราวงศ2. อ.ดร.วิเศษ นามวาท3. ผศ.นพ.สุวิน วองวัจนะ4. รศ.ดร.โชติชนะ วิลัยลักขณา5. นางสาวบุษราภรณ อินทรตาแสง6. นางสาวสุขุมาล อุดม7. นายยิ่งฤทธิ์ จันทรสุข8. นางทัศมาลี ขุลี9. นายประจวบ ชัยมณีหนาที่ฝายเลขานุการ• ขอ CV ผูพูด• รับ slide เพื่อสงใหฝายโสตฯ• ติดตอประสานงานทุกฝายในการดําเนินการ9. ฝายการเงินประธาน: นายประมวล เปลี่ยนผึ้งเลขานุการ: นางทัศมาลี ขุลีกรรมการ:1. นางสาวสุขุมาล อุดมหนาที่ฝายการเงิน• จัดการเรื่องการเงินของการประชุม• ทําบัญชีรับ-จาย37


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส10. ฝายจัดเตรียมงาน Workshopประธาน: นางวรรณพร วุฒิเอกอนันตเลขานุการ: นายประจวบ ชัยมณีกรรมการ:1. พญ.ศศิธร ตั้งสวัสดิ์2. ดร. นิรมล เมืองโสม3. รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน4. รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน5. นายเชิดชัย แกวปา6. นางสาวสุวรรณา นนทภา7. นางสาวนภาพิศ สังสีโห38


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสโปสเตอร ประชาสัมพันธ งานประชุมวิชาการนานาชาติที่ศูนยฯ เปนเจาภาพThe first announcement ประชาสัมพันธ งานประชุมวิชาการนานาชาติ ที่ศูนยฯ เปนเจาภาพ39


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสWebsite ประชาสัมพันธ งานประชุมวิชาการนานาชาติ ที่ศูนยฯ เปนเจาภาพ www.wmc2007.org40


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสรายงานการประชุมศูนยเมลิออยโดสิส ครั้งที่ 3/<strong>2549</strong>วันอาทิตยที่ 24 เมษายน <strong>2549</strong>ณ หองประชุม สถานที่พักตากอากาศกองทัพเรือ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรีผูเขาประชุม1. รศ.ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ผูอํานวยการศูนยฯ2. รศ.ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน รองผูอํานวยการ ฝายวิจัยระบาดวิทยา3. ผศ.ดร. ปรีชา หอมจําปา รองผูอํานวยการ ฝายวิจัยดานการปองกันโรค4. รศ.ดร. ทญ. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ รองผูอํานวยการ ฝายวิจัยแบคทีเรีย5. ผศ. นเรศ วโรภาสตระกูล วิทยากรพิเศษ6. อ.ดร. ธนกร ปรุงวิทยา นักวิจัย7. นายประจวบ ชัยมณี นักวิจัย8. นางสาวแกวกัลยา วงศกาฬสินธุ ผูจัดการศูนยฯ9. นางสาวทัศมาลี ขุลี เจาหนาที่ธุรการศูนยฯ10. นางสาวสุวรรณา นนทะภา ผูชวยนักวิจัย11. นางสาวนภาพิศ สังสีโห ผูชวยนักวิจัย12. นางสาวอรัญญา ผิวเกลี้ยง นักศึกษา13. นางสาวภาวนา พนมเขต นักศึกษา14. นางสาวธนัชพร บาตรโพธิ์ นักศึกษา15. นายไพรัตน โรยรส นักศึกษา16. นางสาวจิรารัตน สองสี นักศึกษา17. นางสาวยินดี พรหมศิริไพบูลย นักศึกษา18. นางสาวรจนา แสงโสต นักศึกษา19. นายชาคริต สวัสดิดล นักศึกษา20. นางสาวอภิชญา พวงเพ็ชร นักศึกษา21. นางสาวอัมพร ศรีคราม นักศึกษา22. นางสาวนัตฏิยา ศรีสุภาช นักศึกษา23. นางสาวจุฑารัตน จิตติมณี นักศึกษา24. นายภาสกร แพงมา นักศึกษา25. นางสาวนันทะภร แกวอรุณ นักศึกษาเริ่มประชุมเวลา 8.30 น.ดําเนินการประชุมเพื่อใหสมาชิกในศูนยรวมกําหนดแผนกลยุทธในงานวิจัยระยะยาวของศูนยฯ ดังนี้วาระที่ 1 เรื่องแจงรายงานการประชุม1. รศ.ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน (ผูอํานวยการศูนยฯ) กลาวถึงความเปนมา วัตถุประสงควิสัยทัศน และเปาหมายของการจัดตั้งศูนยฯ อีกทั้งใหสมาชิกในที่ประชุมแนะนําตัว41


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. วิทยากรพิเศษ (ผศ. นเรศ วโรภาสตระกูล) บรรยายเรื่อง "การจัดทําแผนพัฒนากลุมวิจัยMelioidosis" โดยใหโจทยกับสมาชิกในศูนยฯ เพื่อหาคําตอบ ในหัวขอ "Stakeholder เปนใคร และคาดหวังอะไร" และทําไมจะตองตั้งศูนยฯ นี้ขึ้นภายใน มข. หลังจากนั้นวิทยากรไดแบงกลุมสมาชิก ออกเปน 3 กลุมไดแก (1) กลุมนักศึกษาปที่ 1 และ 2, (2) กลุมอาจารย นักวิจัย และนักศึกษาปที่ 3 ขึ้นไป, และ (3) กลุมเจาหนาที่ศูนยฯ เพื่อใหแตละกลุมไดทํากิจกรรมและแสดงความคิดเห็นรวมกัน ดังนี้2.1 ตั้งเปาหมายของศูนย โดยใหแตละกลุมตั้งเปาหมายของศูนยโดยสื่อออกมาเปนภาพวาด "ศูนยเมลิออยโดสิสในฝน" และใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาบรรยายความหมายของภาพ พรอมทั้งให key word ของภาพนั้นๆ ซึ่งสรุปผลไดดังนี้2.1.1 กลุมนักศึกษา สงตัวแทน คือ นายไพรัช โรยรส ออกมานําเสนอ ในหัวขอ "ตนไมแหงความฝน ความหวัง พลังแผนดิน" โดยมี key words ดังนี้ คือ การผลิตบัณฑิต ปองกัน รักษา การพัฒนานวัตกรรม สรางเครือขายแกสมาชิก2.1.2 กลุมอาจารย สงตัวแทน คือ นายชาคริต สวัสดิดล ออกมานําเสนอวา การบริหารจัดการที่ดี จะทําใหศูนยฯ มีความเขมแข็ง และทางศูนยฯ ตองการดําเนินงานรวมกับหนวยงานหรือสถาบันอื่นๆ เพื่อเกิดการทํางานลักษณะเครือขาย โดยมี key words ดังนี้ คือ Center <strong>of</strong> excellence, Researchrecognition และ Networks2.1.3 กลุมเจาหนาที่ศูนยฯ สงตัวแทน คือ นางสาวสุวรรณา นนทะภา ออกมานําเสนอวา การมีระบบประสานงานภายในศูนยฯ ที่ดี จะทําใหศูนยฯ มีความมั่นคง และนาเชื่อถือ อีกทั้งยังตองการมี<strong>of</strong>fice เปนของศูนยฯ เอง โดยมี key words ดังนี้ คือ การประสานงานอยางมีระบบ และ ศูนยฯ เติบโตไดอยางมั่นคง2.2 การเสนอแนวทางเพื่อใหบรรลุตามเปาหมาย โดยใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอแนวทางของกลุม ซึ่งสรุปไดดังนี้กลุม ตัวแทน เปาหมาย แนวทาง1. นักศึกษา จุฑารัตน จิตติมณี 1. การผลิตบัณฑิต - รับสมัครนักศึกษา- สนับสนุนงานวิจัย- ฝกฝนทักษะ/ทํางานวิจัยตางประเทศ- เผยแพรงานวิจัย2. ปองกันและรักษาโรค - ประชาสัมพันธ และจัดอบรม เพื่อเผยแพรความรู3. การพัฒนานวัตกรรม - การพัฒนา/ การผลิต Diagnosis kit และvaccine4. สรางเครือขาย - ใหความรวมมือระหวางนักวิจัย- เชิญชวนนักวิจัยหนาใหมเขามารวมงานกลุม ตัวแทน เปาหมาย แนวทาง2. เจาหนาที่ ทัศมาลี ขุลี 1. ระบบการประสานงานที่ดี - กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของเจาหนาที่แตละฝาย- จัดเก็บขอมูล/ เอกสารใหเปนระบบ42


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส3. อาจารย กุลวรา พูนผล Center <strong>of</strong> excellence ที่ประกอบดวย1. Knowledge2. ศูนยฯ เติบโตและมั่นคง - เสริมสรางบุคลากรที่มีคุณภาพและมีความรู- เพิ่มงานบริการชุมชนเพื่อใหไดซึ่งชื่อเสียงและแหลงทุน2. National &InternationalRecognition- เสริมสรางบุคลากรใหเชี่ยวชาญดานการวิจัยรวมถึงการสรางนวัตกรรมใหม โดยการ1. ผลิตบัณฑิตศึกษาที่มีคุณภาพ2. ใหทุนวิจัยเพื่อระดมนักวิจัยเขามารวมกันทํางานดานวิชาการ3. สรางหองปฏิบัติการมาตรฐานในการวินิจฉัยโรค- เผยแพรองคความรู โดยการ1. ตีพิมพผลงานวิจัยเผยแพรทั้งในระดับชาติและนานาชาติ2. จัดประชุมวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ3. จัดทําฐานขอมูลทางดานโรคเมลิออยโดสิสในทุกๆ สื่อ4. เผยแพรความรูและนวัตกรรมที่สรางขึ้นใหประชาชนไดรับประโยชนเปนรูปธรรมและเขาถึงได5. เผยแพรความรูแกบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขเพื่อใชในการวินิจฉัยและรักษาโรค3. Networks - การแสวงหาความรวมมือจากหนวยงานตางๆโดยการ1. แลกเปลี่ยนบุคลากรระหวางหนวยงาน2. ใชทรัพยากรรวมกันในการทํางานวิจัยขนาดใหญ3. ทําความรวมมืออยางเปนทางการดานการวิจัยกับนานาชาติกลุม ตัวแทน เปาหมาย แนวทาง3. อาจารย(ตอ)กุลวรา พูนผล 4. การไดมาซึ่งแหลงทุน - สนับสนุนนักวิจัยและบุคลากรในศูนยฯ จัดทําโครงรางเสนอขอทุนจากแหลงทุนตางๆ- ปญหา: ทําอยางไรใหทุกคนรูจักแหลงทุน43


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2.3 การวางแผนกลยุทธระยะยาว โดยแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอแผนการดําเนินงานระยะยาวของกลุม ซึ่งสรุปไดดังนี้2.3.1 กลุมนักศึกษา ไดสงตัวแทน คือ นายภาสกร แพงมา ออกมานําเสนอแผนการดําเนินงาน โดยมีคณาจารยและนักศึกษา เปนผูรับผิดชอบในทุกโครงการโครงการ กลยุทธเรื่อง ขั้นตอนปฏิบัติ1. โครงการแนะแนวการศึกษาและแนะนําศูนยฯ2. เผยแพรความรูสูชุมชน3. เผยแพรความรูใหแกเจาหนาที่สาธารณสุขทั่วประเทศ4. แลกเปลี่ยนนักศึกษาตางประเทศ5. เผยแพรผลงานวิจัยเกี่ยวกับเมลิออยโดสิสการรับสมัคร/คัดเลือกบัณฑิตศึกษาการเผยแพรความรูเกี่ยวกับเมลิออยโดสิสการเผยแพรความรูเกี่ยวกับเมลิออยโดสิสการรวมมือในการดําเนินงานวิจัยงานวิจัย1. เตรียมสถานที่2. เก็บขอมูล1. เลือกกลุมปาหมาย2. ประชาสัมพันธ3. จัดหาวิทยากร1. เลือกกลุมปาหมาย2. ประชาสัมพันธ3. จัดหาวิทยากร1. เลือกสถาบันวิจัย2. เลือกนักศึกษา3. เสนอ proposal1. ประชาสัมพันธ2. รับสมัคร3. คัดเลือกระยะเวลา1ครั้ง/ปม.ค.-พ.ค.1ครั้ง/ป2ป/ครั้ง2 ป/ครั้งKPI/ติดตาม (คน)ป 1 ป 2 ป 3 ป 4 ป 52 3 4 5 6100 150 200 250 300100 150 200 250 300- 1(ครั้ง)- 1(ครั้ง)- 100 - - 100-* ขอเสนอแนะจากผูรวมประชุม: ยังขาดอีก 1 กลยุทธที่ไมไดวางแผน คือ การพัฒนานวัตกรรม ไดแก การผลิต Diagnosis kit และ vaccine จึงควรเพิ่มเติมในหัวขอดังกลาว2.3.2 กลุมเจาหนาที่ ไดสงตัวแทน คือ นางสาวแกวกัลยา วงศกาฬสินธุ ออกมานําเสนอแผนการดําเนินงาน โดยมีคณาจารย, เจาหนาที่ และนักศึกษา เปนผูรับผิดชอบรวมกันในทุกโครงการโครงการ กลยุทธเรื่อง ขั้นตอนปฏิบัติ ระยะเวลาKPI/ติดตาม1. ฝกอบรมเจาหนาที่ เสริมสรางบุคลากร 1. หาขอมูลเกี่ยวกับการจัด 1 ครั้ง/ป 3 คนฝกอบรม2. คัดเลือกบุคลากรเขารวมฝกอบรม3. ถายทอดความรู2. การเผยแพรความรู การบริการชุมชน 1. จัด “เมลิออยโดสิสสัญจร” 1 ครั้ง/ป 100 คน44


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสเกี่ยวกับโรคเมลิออยโดสิสสูชุมชน3. อนุเคราะหชุดตรวจ Latexแกโรงพยาบาลชุมชนในเครือขายการบริการชุมชน2. จัดสงขอมูลใหแกหนวยงานตางๆเชน อนามัยหมูบาน อบต.3. จัดการบรรยายตามสถานีวิทยุชุมชน1. จัดสงชุด Latex แกโรงพยาบาลชุมชนในเครือขาย2. ติดตามประสิทธิภาพการใชงานจัดทํา Flow-chart การ4. วางแผนการปฏิบัติงาน การจัดระบบงานระยะเวลา 1 ปปฏิบัติงาน5. จัดทํา 5ส การจัดระบบงาน ทําความสะอาด, จัดเก็บเอกสารและขอมูลทุกเดือนปที่ 1 6โรงพยาบาลปที่1 1 ปทุกเดือน 2 ครั้ง/ป*ขอเสนอแนะจาก อ.นเรศ:- การฝกอบรมนอกสถานที่: เจาหนาที่ศูนยฯ ควรประเมินความสามารถของตน เพื่อคนหาสิ่งที่ตนเองตองการฝกอบรม และกระจายความรูแกบุคลากรทานอื่นๆ ที่อยูในสายงาน2.3.2 กลุมอาจารย ไดสงตัวแทน คือ รศ.ดร. ทญ. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ ออกมานําเสนอแผนการดําเนินงานระยะยาวของศูนยฯ ดังนี้โครงการ กลยุทธเรื่อง ขั้นตอนปฏิบัติ1. ระดมสมองเพื่อพัฒนาเปน Proposalการหาแหลงทุน 1. ประชุมแลกเปลี่ยนความรูและขอคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นปญหาวิจัย (หา Researchquestion)2. ราง Proposal สําหรับแหลงทุนที่เหมาะสม3. Submitted ไปยังแหลงทุนโครงการ กลยุทธเรื่อง ขั้นตอนปฏิบัติ2. นวัตกรรมใหมในการผลิต Diagnostic kitการสรางนวัตกรรมใหม1. นําเสนอหลักการ, เหตุผล,วิธีการ ใหไดมาซึ่ง Diag. kit2. ผลิตและตรวจสอบคุณภาพ3. อาจจะเผยแพรหรือจําหนายระยะเวลาประชุมทุกเดือนระยะเวลาผูรับผิดชอบคณาจารย,นักวิจัยและเลขาศูนยฯผูรับผิดชอบKPI/ติดตาม1 เรื่อง/3 เดือนKPI/ติดตาม3 ป อ.ปรีชา 1kit /3ป3. การตีพิมพผลงานใน การเผยแพรองค 1. หาแหลงที่จะลงตีพิมพ เชน 5 ป นักวิจัยและ 5 เรื่อง/45


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ประเทศ ความรู - สมาคมเทคนิค- สมาคมโรคติดตอ- วารสาร มข.2. รวบรวมงานวิจัยที่เหมาะสม3. เขียนและตีพิมพ4. แลกเปลี่ยนบุคลากร(อาจารยและนักศึกษา)ภายในและตางประเทศสรางความรวมมือจากหนวยงานตางๆ1. ติดตอนักวิจัยในเครือขาย2. ประชุมหารือเพื่อแลกเปลี่ยนและกําหนดหัวขอ/ ตัวบุคคล/ระยะเวลา3. ดําเนินการศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสนักศึกษา5 ป ป 49 -อ.สุรศักดิ์-อ.รศนา-อ.ปรีชาป 50 อ.สุรศักดิ์ป 51 อ.สุวิมลป 52 อ.อัญชลีป 53 อ.เพลินจันทรป2-3คน/ ป3. รศ.ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน กลาวสรุปพรอมขอขอเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานของศูนยฯดังนี้3.1 ขอเสนอแนะจากสมาชิกศูนยฯ1. นายชาคริต เสนอใหมีนักวิทยาศาสตรประจําศูนยฯ เพื่อชวยคณาจารยของศูนยวิจัยในการเปนที่ปรึกษาใหกับ นักศึกษา และเจาหนาที่ของศูนยฯ2. น.ส. ทัศมาลี เสนอเกี่ยวกับการหาแหลงทุน โดยใหคณาจารยชวย อบรม/ แนะนําในการหาแหลงทุนกับนักศึกษา และจัดทําขอมูลแหลงทุนเพื่อใหนักศึกษาคนหาผานเว็ปไซตของศูนยฯ3. อ. ปรีชา เสนอวาควรการสรางความเขมแข็ง โดยการนําเสนอบทความทางวิชาการ(ภายใน) รวมกันระหวางนักศึกษา (Journal club)4. น.ส. กุลวรา เสนอใหจัดทํา Library งานวิจัยที่เกี่ยวกับ Melioidosis3.2 รศ.ดร. สุรศักดิ์ และคณาจารย รวมชี้แจงพรอมสรุปเกี่ยวกับขอเสนอแนะดังกลาว1. เรื่องการรับนักวิทยฯ คาดวานาจะรับ Post-Doc. เพื่อทํางานประจําศูนยฯ2. เรื่อง แหลงทุน นักศึกษาสามารถหาทุนได โดยไมจําเปนที่ตองรับเฉพาะทุนจากศูนยฯ3. เรื่องการจัดทํา Library: อ. จะแสกน paper เกาใน PDF file และจัดสงเปน E-mailloop ใหกับนักศึกษา หรืออาจจะ online paper ใน web site ของศูนยฯ เพื่อใหนักศึกษาและผูสนใจเขาไปคนควา สําหรับสถานที่ เก็บ/ คนควา พอจะมี database อยูบาง4 . ใหนักศึกษามั่นติดตามขาวสาร หรือ update มานําเสนอเปนประจํา5. การใชเครื่องมือ/อุปกรณภายใน lab ควรซื้อใหนอย อาจจะใช Co-resource ยกเวนเครื่องมือที่จําเปนจริงๆ พื้นที่ทํา lab. ตองรอใหอาคารวิจัยสรางแลวเสร็จ ควรชวยกันจัดการระบบการใชหอง (ความสะอาด) , การใชเครื่องมือวิจัย (ลง log book)6. ดูแลเรื่องอาชีวอนามัย safety /health, อาจตองทํา serum pr<strong>of</strong>ile ของนักศึกษาที่เขามาทํา lab เปนระยะเวลานาน7. แยกระหวางการประชุมประจําสัปดาหของศูนยฯ และการสัมมนาวิชาการภายใน(Journal club)เพื่อ update ขอมูล (อาจใหมีการเซ็นชื่อ และมีจัดตารางวันเวลา) โดยจัดขึ้นที่คณะแพทยศาสตร 2 ครั้ง คณะเทคนิคการแพทย 1 ครั้ง46


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส3.3 สิ่งที่ทางศูนยฯ ตองการจากนักศึกษา1. มีความรับผิดชอบตองานและขยัน หมั่นหาความรู2. ชวยกันดูแลรักษาเครื่องมือรวมกันเลิกประชุม เวลา 17.00 น.(นางสาวแกวกัลยา วงศกาฬสินธุ)ผูจัดการศูนยฯผูจดรายงานการประชุมแผนการดําเนินงานระยะเวลา 5 ปกิจกรรม ปที่ 1(2548)1. จัดทําเครือขายใหเปนระบบ1.1 ทําแผนกลยุทธ ทั้งระยะยาวและระยะสั้น1.2 กําหนดทิศทางการวิจัย1.3 จัดทํากรอบแนวทางการบริหารการสนับสนุน1.4 รวบรวมขอมูล ทรัพยากร ผลงาน1.5 ประสานงานเครือขายกับสถานบันอื่นทั้งในและตางประเทศ1.6 ติดตามและประมวงผล2. สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา2.1 ประชุมวิชาการพัฒนาขีดความสามารถนักวิจัย2.2 ระดมสมองนักวิจัยในศูนยและเครือขายตางสถาบันเพื่อพัฒนาโครงการวิจัยแบบบูรณาการ2.3 สนับสนุนการดําเนินงานวิจัยของนักวิจัยและการดําเนินงานวิจัยบัณฑิตศึกษา2.4 สัมมนาวิชาการประจําเดือน3. สนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยทั้งระดับในประเทศและตางประเทศ√√√√√√√√√ปที่ 2(<strong>2549</strong>)√---√√√√√ปที่ 3(2550)√√√√√√ปที่ 4(2551)√---√√ปที่ 5(2552)√√√√√√ √ √ √ √- √ √ √ √√√√√√√√√√√47


รายงานประจําป <strong>2549</strong>4. สนับสนุนการอบรมถายทอดความรูสูประชาชนในรูปแบบตาง ๆ5. จัดประชุมวิชาการนานาชาติ World Congresson Melioidosis ที่มหาวิทยาลัยขอนแกน6. รวมพัฒนาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทและเอกศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส- √ √ √ √- - √ - -√ √ √ √ √สรุป องคความรูในรอบปที่ผานมา ศูนยวิจัยไดสรางเครือขายงานวิจัยไปทั่วประเทศ ไมวาจะเปนมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ตลอดจนเครือขายตางประเทศ(USA) 3 แหง ไดผลิตผลงานวิจัยที่เปนองคความรูที่สําคัญ 5 เรื่อง ศูนยไดผลิตผลิตน้ํายาชุดตรวจหาเชื้อ Burkholderia pseudomallei ไดและสามารถจําหนายทั้งในและตางประเทศ ไดการนําเสนอผลงานในระดับชาติ 10 เรื่องและระดับนานานชาติ 6 เรื่อง สรางนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาปริญญาเอก 5 คน และ ปริญญาโท 2 คน ภายใตหลักสูตร 6 หลักสูตร และกําลังดําเนินโครงการวิจัยอยูทั้งสิ้น 5 โครงการโดยทุกโครงการใชเงินสนับสนุนจากแหลงเงินภายนอกเปนหลักเพื่อใหเขากับวัตถุประสงคของการกอตั้งศูนยวา sustainable ศูนยไดหาเงินทุนสนับสนุนจากภายนอกทั้งสิ้นในปนี้ถึง 11.2 ลานบาทและทายสุดศูนยไดรับเกียรติใหเปนเขาภาพหลักในการจัดประชุม The 5 th WorldMelioidosis Congress ที่ ขอนแกนรายงานการเงิน (รายงานถึงวันที่ 30 กันยายน <strong>2549</strong>)งบประมาณระยะเวลา 1 ป (<strong>2549</strong>) ตุลาคม 48-กันยายน 49รายการ ยอดที่ไดรับ ยอดเบิกจายจริง หมายเหตุ(ยอดคงเหลือ)1. คาจางเหมาเจาหนาที่ประจําศูนยวิจัย 623,256 435,840รวมหมวดคาจางเหมา 623,256 435,840 187,4162. หมวดคาใชสอยตอบแทน2.1 คาตอบแทนและคาเดินทางวิทยากร 40,0001,000ผูทรงคุณวุฒิ ที่ปรึกษาและกรรมการอํานวยการของศูนย2.2 คาลวงเวลา2.3 คาที่พักวิทยากรที่ปรึกษาผูทรงคุณวุฒิของศูนย2.4 คาอาหารและการประชุมสัมมนาวิชาการ2.5 คาถายเอกสารและคาโทรศัพท2.6 คาสนับสนุนการประชุมวิชาการของ10,00023,500100,00020,00040,000*96035,70024,0363,330-48


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสนักวิจัย2.7 สนับสนุนนักวิจัยไปนําเสนอผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ2.8 ทุนสนับสนุนระดับบัณฑิตศึกษา2.9 คาใชจายในการเดินทางของกรรมการบริหารศูนยในการเขารวมประชุมกับเครือขาย ที่กรุงเทพ หรือจังหวัดอื่นๆ2.10 คาใชจายสอยอื่นๆ150,000*471,360*38,50020,000* ถัวเฉลี่ยในหมวด-275,110.009,810135,383รวมหมวดคาใชสอย 937,360 485,329 452,0313. หมวดวัสดุ3.1 วัสดุสํานักงาน3.2 วัสดุวิทยาศาสตร3.3 วัสดุเชื้อเพลิง10,000569,93430,00017,803327,552.0925,020รวมหมวดวัสดุ 609,934 370,375.09 239,558.914. หมวดครุภัณฑ4.1 Computers 4 ชุด4.2 เครื่อง printer hard disk และอุปกรณเชื่อมตอ router wireless 1ชุด4.3 ตูอบเพาะเชื้อ 1 เครื่อง94,50014,95090,00094,50014,95089,9874.4 ตูอบความรอน 1 เครื่อง4.5 ชุดแปลง ดี เอ็น เอ และ โปรตีน บนgel ใหเปนภาพเพื่อการวิเคราะห4.6 ตูถายเชื้อ (laminar flow)4.7 กลองจุลทรรศนแบบหัวกลับแบบ 3กระบอกตาพรอมกลองถายภาพระบบดิจิตอล4.8 ตูเก็บสิ่งสงตรวจและสารเคมี 1 ตู4.9 ตูเย็น 4 o C จํานวน 2 ตู90,000500,000300,000400,00015,00025,00089,987499,800295,000399,00013,67023,60049


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสรวมหมวดครุภัณฑ 1,529,450 1,520,494 8,956รวมทั้งสิ้น 3,700,000 2,812,038.09 887,961.91ปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะศูนยวิจัยมีขออุปสรรคในการดําเนินงานและอยากใหมหาวิทยาลัยมีการปรับปรุงคือ1. ระบบการจัดซื้อครุภัณฑ ถาสามารถใหมีหนวยงานประสานงานตรงกลางกับพัสดุคณะและการเงินจะทําใหสะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากปจจุบันมีขั้นตอนมากและลาชา2. ระบบการสงเอกสารระหวางศูนยกับคณะ และมหาวิทยาลัย ถาสามารถสงใหทาง e-mailจะสะดวกมากยิ่งขึ้น และการลงนามเพื่อขอทุนตางๆ นาจะมีขั้นตอนที่รวดเร็วภายในไมเกิน 1 วัน3. ระบบการบริหารจัดการเรื่องการเงินเปนปญหาที่สําคัญมาก ศูนยวิจัยสามารถผลิตน้ํายาชุดตรวจหาเชื้อ Burkholderia pseudomallei ได และสามารถจําหนายไดแตไมมีระบบการreturn เงินที่กลับเขามาในศูนย50


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสภาคผนวก รายละเอียดผลงานแตละ KPI ไดแนบไวใน CD ROM ทายเลม1. รูปกิจกรรมตางๆของศูนยนักวิจัยในศูนยวิจัย (รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน)ไดรับเกียรติจาก บริษัท ลอริออ ประเทศไทย ใหเปนตัวแทนของประเทศไทย เปนนักวิจัยเพียง 1 เดียวในเอเซียและ เปน 1 ใน 7 จากทั่วโลกที่ไดไปรวมประชุมวิชาการดานสิ่งแวดลอม ในระดับนานาชาติในฐานะ Woman in ScienceKKU Innovation 200651


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสการสัมมนาจัดทําแผนของศูนยที่ จ. ชลบุรีการศึกษาวิจัยการระบาดวิทยาของเชื้อ B. pseudomallei ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือดดยไดดําเนินการรวมกับสํานักงานควบคุมปองกันโรคที่ 6 จังหวัดขอนแกน โครงการนี้ศูนยวิจัยไดไปศึกษาในโรงพยาบาลจังหวัดในทุกจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ52


รายงานประจําป <strong>2549</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสชุดตรวจ Latex Agglutination Testประกอบดวย Latex Agglutination,Positive control, Negative controlเตรียมสไลดปลอดเชื้อ 2 แผนหยด Latex Agglutination Test 1หยดหยด Positive control และ Negativecontrol อยางละ 1 หยดหยดน้ํายา Latex 1 หยด เขี่ยเชื้อที่ตองการทดสอบ 1 colony ผสมใหเขากัน53

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!