12.07.2015 Views

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

15พาลงมาในชวงเวลาดังกลาว ก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหน้ํามีความขุนเพิ่มขึ้น ซึ่งปจจัยตางๆ เหลานี้อาจจะเปนสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของหญาใบพายในชวงเวลาดังกลาว แมการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของหญาทะเลในเขตรอนไมคอยเดนชัดนัก (Hillman et al., 1989) แตการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล (Monsoon exposure) ในบริเวณอาวไทยทําใหเกิดกระแสลมมรสุมในทะเลที่มีการเปลี่ยนแปลงแตกตางกันอยางเดนชัดคือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งทําใหปริมาณน้ําจืดที่ไหลลงสูชายฝงทะเลมีการแปรผัน และการที่อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นมากในชวงฤดูรอน(เดือนเมษายนและพฤษภาคม) จะสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตและการแพรกระจายของหญาทะเลไดหญาทะเลที่ขึ้นอยูในบริเวณที่ตื้นสัมผัสกับอากาศในชวงที่น้ําลงต่ําสุดจะมีการเจริญเติบโตนอยและมีการตายมาก เนื่องจากอุณหภูมิอากาศที่สูงมาก แตจะมีการเจริญเติบโตมากในชวงฤดูฝน (เดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม)ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปริมาณน้ําจืดที่ไหลลงมาและพัดพาเอาสารอาหารและอินทรียสารตางๆ ลงมาดวย(กาญจนภาชน และคณะ, 2534)พันธุทิพย (2547) ศึกษาคุณภาพน้ําในอาวทุงคา-สวี เปรียบเทียบชวงเวลาน้ําขึ้นและน้ําลงบริเวณดานในชายฝง บริเวณแนวหญาทะเล และนอกชายฝง พบวาบริเวณแนวหญาทะเลเปนบริเวณที่มีความแตกตางของความเค็ม ในชวงน้ําขึ้นน้ําลงเห็นไดอยางชัดเจน แนวหญาทะเลเปนบริเวณที่เชื่อมตอระหวางดานในและดานนอกของชายฝง ซึ่งแนวหญาทะเลจะถูกปกคลุมดวยน้ํ าทะเลในชวงน้ําขึ้น และจะโผลพนน้ําในชวงน้ําลง ในชวงน้ําขึ้นความเค็มของน้ําบริเวณแหลงหญาทะเลจะมีคาใกลเคียงกับน้ําทะเลบริเวณนอกชายฝง และเมื่อน้ําลงคาความเค็มมีคาใกลเคียงกับความเค็มบริเวณดานในชายฝง ซึ่งความแตกตางของความเค็มในแนวหญาทะเล นาจะเกิดจากเปนบริเวณที่เชื่อมตอระหวางน้ําจืดและน้ําทะเลประกอบกับอิทธิพลของน้ําขึ้นน้ําลง จึ งทําใหเกิดความแตกตางของความเค็มในระหวางน้ําขึ้นและน้ําลงอยางชัดเจน การเปลี่ยนแปลงของความเค็มที่เกิดขึ้นในชวงรอบวันบริเวณแนวหญาทะเล คาดวาหญาทะเล H. beccarii นาจะเปนสิ่งมีชีวิตที่มีความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงความเค็มไดในชวงกวาง ซึ่งคุณสมบัติน้ําที่มีการผันแปรในชวงวัน แตการเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้ําในชวงเวลานานทําใหหญาทะเลตายได และอาจจะเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลใหบริเวณอาวทุงคา-สวี มีหญาทะเลเพียงชนิดเดียว การเปลี่ยนแปลงความเค็มนี้จะมีผลตอหญาทะเลแตละชนิดแตกตางกัน Hillman et al., (1989) ไดรวบรวมผลของความเค็มที่มีตอหญาทะเล โดยพบวาความเค็มที่มีความเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของหญาทะเลแตละชนิดมีความแตกตางกัน เชน หญาใบมะกรูด (Halophila ovalis) สามารถเจริญเติบโตไดดีที่ระดับความเค็ม 25-35 สวนในพัน และจะตายเมื่อความเค็มลดต่ําลงจนมีความเค็ม 5-10 สวนในพัน ในเวลา 4 เดือน Halodule sp. สามารถทนตอการเปลี่ยนแปลงของชวงความเค็มไดกวาง ในขณะที่ Turtle grass (Thalassia testudinum) จะเปนกลุมที่ทนไดในระดับปานกลาง สวนพวก Manatee grass (Syringodium sp.) และ Halophila sp. จะทนตอการเปลี่ยนแปลงความเค็มไดนอย และสอดคลองกับผลการศึกษาของชัชรี และสุวลักษณ (2547) พบวาระบบรากของหญาทะเลจะสามารถชอนไชเกาะยึดพื้นที่ไดดีเพียงใดก็ตาม แตกระแสความแรงของคลื่นก็สามารถ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!