13.07.2015 Views

Download (23.27 MB 30.07.2008 10:47) - จาน ดาวเทียม PSI

Download (23.27 MB 30.07.2008 10:47) - จาน ดาวเทียม PSI

Download (23.27 MB 30.07.2008 10:47) - จาน ดาวเทียม PSI

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

MODULATORอุปกรณ ปรับเปลี่ยนสัญญาณ ความถี่เสียง และความถี่ภาพใหเปนคลื่นวิทยุ AUDIO &VIDEO TO RADIO FREQUENCY โดยจะมีสัญญาณ AV ปอนเขามาทาง INPUT และผสมกับวงจรผลิตความถี่ภายใน ได OUTPUT ออกมาเปนคลื่นวิทยุ ซึ่งความถี่ที่ออกมานั้นสามารถกําหนดไดวาจะให OUTPUT เปนยานความถี่ใด และชองอะไรก็ได สัญญาณ AV ที่ไดสวนใหญก็จะมาจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม ดังตัวอยางรูปSLOPE ตัวปรับลดสัญญาณแบบแปรผันสัญลักษณที่เห็นนี้ จะปรากฏอยูในตัวขยายสัญญาณแบบพิเศษ ซึ่งจะจัดวงจรการทํางานในรูปของตัวลดทอนสัญญาณ ATTENUATOR แตวงจรนี้จะทํางานพิเศษกวาตัวลดทอนสัญญาณทั่วไป คือ การลดทอนสัญญาณนี้จะลดทอนความถี่ต่ํา มากกวาความถี่สูง เชน เมื่อเราปรับลดสัญญาณและใชตัววัดสัญญาณจับที่ทางออกจะเห็นไดวา45


ความถี่สูงลดลง 5 dB แตความต่ําลดลง <strong>10</strong> dB เหตุผลที่ทําวงจรนี้ขึ้น ก็เพื่อชดเชยสัญญาณที่เดินทางสูญเสียในสายนําสัญญาณ ซึ่งความถี่สูงจะสูญเสียสัญญาณมากกวาความถี่ต่ํา ทําใหเมื่อเดินสายไกลๆแลวจะมาบูสสัญญาณซ้ําทําใหสัญญาณความถี่ต่ํา OVERGROUND หรือสายดินจุด หรือตําแหนงที่สัญญาณ หรือแรงไฟตอครบวงจร หากเปนบานพักอาศัยก็จะเปนสายดินปองกันไฟฟาดูดหากอยูในวงจรไฟฟา หมายถึง ตําแหนงนี้จะไมมีแรงไฟนั่นเองTRANFORMERอุปกรณปรับลดและเพิ่มแรงดันไฟฟา หรือสวนใหญชางจะเรียกวาหมอแปลงไฟฟา มีหลากหลายแบบโดยแบงตามการใชงาน เชน ถามีสัญลักษณเปนเสนประแทนเสนสีแดงคั่นกลาง ก็จะเปนตัวเหนี่ยวนําสัญญาณความถี่สูง ทานจะพบสัญลักษณแบบนี้จะอยูในวงจรเหนี่ยวนําสัญญาณความถี่ เปนตน46


CONDENSERตัวเก็บประจุไฟฟา แบบไมมีขั้ว มักเจอสัญลักษณนี้ในวงจรที่เกี่ยวกับความถี่มากกวาแรงไฟ เพราะจะใชตัวนี้ในวงจรฟลเตอรความถี่ตาง ๆ โดยจะใชคูกับ L หรือ คอลย(COIL) ทําใหเกิดคา RESONANCE ความถี่ที่ตองการ ดังนั้นวงจรที ่เกี่ยวกับความถี่จะใช C_แบบไมมีขั้ว เปนสวนประกอบเปนจํานวนมากตัวเก็บประจุแบบมีขั้วบวก ขั้วลบ เรามักเห็นอุปกรณตัวนี้ในวงจรภาคจายไฟเลี้ยงเนื่องจากเปนอุปกรณที่ทําหนาที่กรองแรงไฟใหเรียบ และ บางครั้งก็จะใชในวงจรเหนี่ยวนําความถี่ต่ําๆVARIABLE RESISTOR หรือ ตัวตานทานไฟฟา แบบปรับคาไดตัวตานทานปรับคาได เราจะเห็นในวงจรลดความแรงสัญญาณ หรือลดแรงไฟ หากเปนชนิดที่ใชสําหรับลดสัญญาณจะเรียกวาเปน ATTENUATOR และหากไวลดแรงไฟ จะเรียกวาชื่อยอวา VR นั่นเองDIODEเปนอุปกรณสารกึ่งตัวนําชนิดหนึ่ง ทําหนาที่คลายสวิทชไฟฟา ที่ควบคุมการปดเปดดวย ไฟขั้วบวกขั้วลบ โดยไฟขั้วบวก(ANODE) จะสามารถไหลผานจากสามเหลี่ยมทางดานซายมือไปออกที่ปลายลูกศรทางดานขวามือ หากเราปอนแรงไฟที่ขั้วลบ(CATHODE)ในทางซายมือกระแสไฟจะไมสามารถไหลผานไปได<strong>47</strong>


ZENER DIODEเปนอุปกรณสารกึ่งตัวนําชนิดหนึ่ง ซึ่งอุปกรณตัวนี้ทําหนาที่คลายกับฝายกั้นน้ํา เมื่อน้ําสูงขึ้นจนเกินขนาดน้ําก็จะลนออกไป และระดับน้ําก็จะคงที่เทานั้นสวนใหญวงจรที่นําไปใชคือ ควบคุมแรงดันไฟDC ใหคงที่ โดยจะระบุแรงไฟไวที่ตัวของ ZENERDIODE ไวเลยวาควบคุมแรงไฟไวที่เทาไหรTRANSISTORเปนอุปกรณสารกึ่งตัวนําชนิดหนึ่ง มีคุณสมบัติทําหนาที่ไดหลายอยาง ขึ้นอยูกับการออกแบบวงจรที่จะนํามันไปใชงาน เชนเปนสวิทชที่ควบคุมการปดเปดไดดวยการใหแรงดันไฟที่ขาB (BASE) หรือจะนําไปใชงานดานการขยายสัญญาณก็ได ในปจจุบันเราจะไมคอยไดเห็นเจาอุปกรณตัวนี้เปนตัวๆที่ตอวงจรอยูภายนอก เพราะสวนใหญจะถูกยอขนาดลงไปอยูในรูปของ IC(INTEGRATED CIRCUIT)ANTENNA หรือ แผงอากาศเสาอากาศ เปนคําที่ชาวบานทั่วไปนิยมเรียกกัน เวลาเขาตองการใหชางไปติดตั้ง หรือไปซื้อเพื่อนํามาติดเอง เขาก็จะบอกวา “ชางชวยไปติดตั้งเสาอากาศใหหนอยครับ” หากมีชาวบานคนไหนเกิดรอนวิชา บาทฤษฏี บอกกับชางวา “ชวยไปติดสายอากาศใหหนอยครับ” ชางก็ตองถามวา “ยาวกี่เมตรครับ?”ผมไมอยากพื้นฝอยหาตะเข็บ วาใครคิดเรียก “สายอากาศ” เพราะผมเกิดไมทัน เพื่อไมใหทานผูอานงง ผมขอเรียกเปน “แผงอากาศ” แลวกัน จะไดไมไปสับสนกับสายนําสัญญาณ48


แผงอากาศที่จะกลาวถึง เปนแผงอากาศแบบ “ยากิ” ซึ่งจะตองนําไปใชกับการติดตั้งงานระบบ MATV รูปแบบของแผงอากาศ แบงเปน VHF-LOW, VHF-HIGH, UHF ดังนี้แผงอากาศ VHF-LOW(ชองความถี่ ระหวาง 2 – 4) ปจจุบันหลายพื้นที่ยกเลิกใชงาน โดยสวนใหญ ไทยทีวีสี ชอง 3 เปนผูสงสัญญาณในยานนี้ แผงใหญที่สุด หนากวาง 305 ซ.ม. น้ําหนักจึงมากที่สุด แตสัญญาณไมคอยดี(ความคมชัดสูชองอื่นไมได เพราะโดนรบกวนไดงาย)แผงอากาศ VHF-HIGH(ชองความถี่ ระหวาง 5 – 12) แผงขนาดกลาง แตมักจะยาวที่สุดหนากวาง 91 ซ.ม. สวนใหญจะมีกานหลัง 2 กาน(REFRECTOR) ติดตั้งขนานกันแผงอากาศ UHF(ชองความถี่ ระหวาง 21 – 69) แผงขนาดกลาง หนากวาง 91 ซ.ม. มีกานหลัง 4 กาน(REFRECTOR) ติดตั้งรวมกันเปนรูปตัววี(V)ขนาดของแผงอากาศ ทางวิชาการกําหนดจากจํานวนกาน(ELEMENT) ของแตละแผง ที่ขวางอยูตามแนวนอน(สีขาว) โดยรวมจํานวนทั้งหมดเขาดวยกันในรูปตัวอยาง แผงรุน 7EHD ซึ่งมีความหมายยอมาจาก7ELEMENT หมายถึง ขนาดแผงรวม 7 กานVHF-HIGH หมายถึง แผงอากาศชองความถี่ ระหวางชอง 5 – 12DOUBLE REFLECTOR หมายถึง มีกานกันสะทอนดานหลัง 2 กาน49


องคประกอบหลักของแผงอากาศ แบงเปน DIPOLE, REFRECTOR และDIRECTOR ดังนี้1. DIPOLEDIPOLE อยูตําแหนงกลาง รูปรางแตกตางจากกานอื่น ทําหนาที่ รวมสัญญาณMATCHING อยูติดกับ DIPOLE ทําหนาที่แปลง IMPEDANCE จาก 300 เปน 75 Ohmไดโพล ทําหนาที่รับสัญญาณ และจะมีขนาดสั้นยาว ตามความถี่ของสัญาณที่ไปรับ ถาไปรับความถี่สูงตัวรับนี้ก็จะมีขนาดสั้น และถาไปรับความถี่ต่ําตัวรับนี้ก็จะมีขนาดที่ยาว โดยทานสามารถสังเกตไดจากแผงรับของชอง 3 จะมีขนาดที่ยาวกวา ชอง itvสาเหตุที่ทําใหความถี่ต่ํามีแผงอากาศที่ยาวกวา ก็เพราะวา ความถี่ต่ําแรมดา หรือคาความยาวคลื่นจะยาว(แรมดา ใชสัญลักษณ แทน)และความถี่สูงคาความยาวคลื่นก็จะสั้น คาความยาวคลื่นนี้แหละเปนตัวกําหนดขนาดความกวางของแผงอากาศ50


2. REFLECTORรีเฟลคเตอร อยูตําแหนงทายสุด จํานวนกานของแตละปก ขึ้นอยูกับแตละรุน แตละยี่หอ ทําหนาที่ ปองกันสัญญาณสะทอนจากดานหลังทําหนาที่สะทอนสัญญาณทางดานหลัง และเปนตัวปองกันสัญญาณเขามาจากทางดานหลังในแผงบางรุนจะมีตัวสะทอนมากกวาหนึ่งอัน3. DIRECTORDIRECTOR อยูตําแหนงหนาสุด ทําหนาที่ รับสัญญาณทําหนาที่เปนตัวนําสัญญาณ ซึ่งจะอยูทางดานหนา ทําหนาที่เหนี่ยวนําสัญญาณคลื่นแมเหล็กไฟฟาตาราง แสดงคาแผงอากาศที่คํานวณไดจากสูตร51


ตัวอยาง แผงอากาศที่ใชในเขตกรุงเทพฯ และปริมณทลANTENNA DISH หรือ จานรับสัญญาณดาวเทียมจานรับสัญญาณดาวเทียม เปนอุปกรณอีกตัวหนึ่งที่ชางติดตั้งตองรูจักเลือกนําไปใชงานใหถูกตอง จานรับสัญญาณดาวเทียม แบงตามระบบการใชได 2 ระบบ คือระบบC-BAND และระบบ KU-BANDจานระบบ KU-BAND หรือที่เราเรียกติดปากวา“จาน UBC” สวนใหญเปนชองรายการรับสมาชิกรายเดือนโดยเสนผาศูนยกลาง ขนาด 60 เซนติเมตร ถึง 90 เซ็นติเมตรการติดตั้งงาย และสะดวก เนื่องจากใชพื้นที่นอยในการติดตั้งอีกทั้ง ดวยขนาดเล็กทําใหน้ําหนักเบาดวยหากทานตองการรับสัญญาณของจานประเภทนี้ ตองติดตอกับผูใหบริการ(ปจจุบันมีของUBC) เพื่อประเมินเกี่ยวกับจํานวนจุดรับชม และชองรายการที่ตองการสงระบบ ซึ่งชองรายการในแต52


ละชองจะมีราคาไมเทากัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูใหบริการวามีอัตราการคิดคาใชจายเทาไหร เชน ทานตองการสมัครสมาชิกรายเดือนจํานวน 2 ชอง โดยเหมาสงสัญญาณทั้งอาคารประมาณ 300 จุด ผูใหบริการคิดคาใชจายเปนรายเดือน ชองแรก ราคา 30,000 และชองสองราคา 42,000 บาท เปนตนจานระบบ C-BAND หรือที่นิยมเรียกวา “จานดํา” จานแบบนี้เปนที่นิยมติดตั้งในการระบบMATV มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจาก สามารถรับรายการไดหลากหลายชองทั่วโลก และมีรายการบันเทิงตางๆ เพิ่มขึ้นมากกวาในอดีตมาก รวมทั้งรายการทีวีไทยผานดาวเทียมชองใหมๆ ที่ระบบแผงอากาศรับไมได เชนMV1, MV2, MV3 เปนรายการหนังจีน, บันเทิง และรายการเพลงT-CHANNEL เปนรายการเพลงลูกทุง 24 ชั่วโมงTGN เปนรายการถายทอดยอนหลัง รวมจากชองทีวีไทยนอกจากนี้ยังมีชองรายการอื่นๆ อีกมากมาย รายละเอียด ทานสามารถเปดดูไดที่www.psisat.comจานรับสัญญาณดาวเทียม ปจจุบันมีขนาดเล็กลงจากอดีตมาก เนื่องมาจากคุณภาพการสงสัญญาณ และระบบการสงเปลี่ยนมาเปนระบบ DIGITAL ประกอบกับคุณภาพการผลิตของโรงงานมีมาตรฐานกวาในอดีตการเลือกใชจานที่นําไปติดตั้งในบางพื้นที่ เราตองยอมรับวาจานรับสัญญาณดาวเทียมที่นําไปติดตั้งงานระบบ MATVสวนใหญมักจะติดอยูในที่สูงบนยอดตึก หรือในบางที่ติดชายทะเล ซึ่งพื้นที่ดังกลาวมีลมกรรโชกแรงมากหากเราลองสังเกตใบจาน ตามตึกสูงๆ เราจะพบเห็นใบจานไดรับความเสียหาย(บางทานเรียกวา “ฟนหลอ”) ตามรูป*หารายละเอียด RECEIVER, LNB, จานดาวเทียม เพิ่มเติมไดที่หนังสือ “คัมภีรดาวเทียม”53


สาเหตุเนื่องจากการเลือกจานไปใชงานไมถูกประเภท และผูติดตั้งหรือเจาของอาคารตองการจะลดตนทุนคือเลือกซื้อจานที่ใชงานตามบานพักอาศัยทั่วไปมาใชงานแทน ซึ่งสวนใหญถูกออกแบบใหติดตั้งในพื้นที่เตี้ย หรือติดบนพื้นทั่วไป ตามรูปจานแบบนี้ถูกออกแบบไวสําหรับติดตั้งทั่วไป จึงไมเหมาะที่จะนําไปติดตั้งในที่สูง ซึ่งอาจจะทําใหอายุการใชงานใบจานสั้นกวาปกติจานที่ติดตั้งอยูนี้จะเอาจานที่ใชทั่วไปติด ซึ่งจานติดในที่สูงแบบนี้จําเปนตองมีเสาค้ําใหสูงขึ้นเพื่อเพิ่มความแข็งแรง สวนใหญที่ติดตั้งอยู80% จะเปนแบบนี้54


จากรูปจะเห็นวาโครงสรางของจานทั้งสองใบนี้ จะมีความแตกตางกันตรงที่ตัวลางจะมีวงในที่เราเรียกวา “EXTRA RING” คือ มีวงในอีกชั้นซึ่งมีผลในดานความแข็งแรง และการยึดเกาะของตะแกรงไดดี ทําใหอายุการใชงานยาวนานกวาแบบแรกเทาที่สังเกตดูจานที่ติดตั้งอยูในปจจุบันสวนใหญจะเปนแบบธรรมดาที่ติดตั้งงานทั่วไปสาเหตุที่เปนเชนนี้ก็นาจะมาจากการรับงานถูก เลยตองเซฟตนทุน ดังนั้นเราจึงเห็นจานตามตึกตางๆเปนแบบนี้จานที่ใชงานระบบ MATV จะตองเปนรูปแบบนี้ จะทําใหอายุการใชงานยาวนานกวาจานที่ติดตั้งอยูนี้เปนจานรุน D240(D240 คือจานที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางของหนาจานเทากับ 240 เซนติเมตร) การติดตั้งในที่สูงจําเปนตองมีฐานเสาค้ําเพื่อความแข็งแรงยิ่งขึ้น55


รูปการติดเสาค้ําสูงเพื่อเพิ่มความแข็งแรงใหสังเกต จานรุนที่ติดตั้งนี้จะมี EXTRARINGตัวอยาง เปรียบเทียบขนาดหนาจาน 307 ซม. และ 227 ซม.ความเชื่อที่วา ติดตั้งงานระบบตองใชจานใหญ?ปจจุบันการสงสัญญาณ และเทคโนโลยีการผลิตไดพัฒนาไปมาก ทําใหเกนการรับสัญญาณดีกวาอดีตระบบการสงก็ดีขึ้นโดยเปลี่ยนเปนระบบดิจิตอลแลวการติดตั้งจึงไมจําเปนตองใชจานใหญ ทานเลือกใชขนาด 227 เซนติเมตร ก็พอแลว ซึ่งจานขนาดนี้ติดตั้งงาย ไมตานลม ราคาตนทุนก็ถูกกวา(ตรงนี้ก็ลดตนทุนไดครับ)56


ขอมูลจาน รุน D240(60 MEW)คุณสมบัติ- หนาจานอลูมิเนียมโปรง 4 ชิ้น ทนทานตอลมพายุ- ทุกชิ้นสวนพนดวยสีฝุน อบดวยความรอน 200 องศาเซลเซียส- หมดปญหาเรื่องการหลุดรอนของสี และการเกิดสนิม- ระบบการบรรจุตัวจานแบบ Diamond Shape package- น้ําหนักเบา สะดวกตอการขนสง- ยืดอายุการใชงาน และสวยงามดวยหมวกครอบกันน้ําLNB- รับสัญญาณระบบ S/C/KU BAND ในระบบ Digital- รับประกันความทนทานนาน 5 ปเต็มคอสําหรับจาน DMF240/(60 MEW)Technical SpecificationType : 4-Section / 12-PanelMount Type : MoveFeed : Prime Focus Quad Feed SupportFeed Support Length : 131.5 cm.Diameter (D) : 240 cm.Depth (h) : 38 cm.Focal Length (F) : 94.7 cm.F/D Ratio : 0.39Reflective Material : Aluminum MeshOperating Frequency : 3.20 - 12.75 (GHz)C/KU-Band Gain : 39.0 / <strong>47</strong>.0 dBiFinish : Electrode Powder-CoatNet Weight : 9 Kg.57


ขอมูลจานรุน D227คุณสมบัติ- หนาจานอลูมิเนียมโปรง 4 ชิ้น ทนทานตอลมพายุ- ทุกชิ้นสวนพนดวยสีฝุน อบดวยความรอน 200 องศาเซลเซียส- หมดปญหาเรื่องการหลุดรอนของสี และการเกิดสนิม- ระบบการบรรจุตัวจานแบบ Diamond Shape package- น้ําหนักเบา สะดวกตอการขนสง- ยืดอายุการใชงาน และสวยงามดวยหมวกครอบกันน้ํา LNB- รับสัญญาณไดตั้งแตระบบ S/C/KU BAND ใน ระบบDigital- รับประกันความทนทานนาน 5 ปเต็มคอสําหรับจาน DMF227/(40 MEW)Technical SpecificationType : 4-Section / 12-PanelMount Type : Fixed & MovedFeed : Prime Focus Quad Feed SupportFeed Support Length : 125.6 cm.Diameter (D) : 227 cm.Depth (h) : 34.8 cm.Focal Length (F) : 92.5 cm.F/D Ratio : 0.40Reflective Material : Aluminum MeshOperating Frequency : 3.20 - 12.75 (GHz)C/KU-Band Gain : 37.76 / <strong>47</strong>.3 dBiFinish : Electrode Powder-CoatNet Weight : 9 Kg.58


RECEIVER หรือ เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมสวนใหญเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมที่ใชในระบบ MATV จะเปนเครื่องรับแบบฟกDIGITAL เนื่องจาก ตรงกับวัตถุประสงคการใชงานที่สุด คือ ในระบบ MATV ตองการเครื่องรับ 1เครื่อง ตอการรับสัญญาณ 1 ชอง ไมตองการเปลี่ยนชองสัญญาณบอยๆ และไมตองการเปลี่ยนตําแหนงดาวเทียมแบบอัตโนมัติอีกทั้งใชงานเพื่อสงสัญญาณไวตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเครื่องรับตองรองรับใชงานไดนานหลายๆ ทานเรียกฟงกชั่นนี้วา “HAVY DUTY”ราคาของเครื่องรับแบบฟก ถูกกวาแบบมูฟอยูมาก การบํารุงรักษานอยกวาอีกดวยครับจากรูป เปนการนําเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมไปตอใชงานในระบบ รุน59


ขอมูลทางเทคนิคเครื่องรับดาวเทียม-• OTA มาตรฐานใหมสําหรับเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม• อัพเดทชองรายการโดยตรงจากดาวเทียม(OTA Update on air)• หมดปญหาชองรายการหายยายความถี่หรือชองใหม• เทคโนโลยี ETEG ll สุดยอดของประสิทธิภาพ ความไวในการรับสัญญาณ รับภาพจากชองที่สัญญาณออนไดดีจนสังเกตได ดวยชิพไฮเทคจากเยอรมัน ทนทานและกินไฟนอยลงทําใหประหยัดคาไฟ• รับขอมูลขาวสารที่นาสนใจ หรือกิจกรรมรวมสนุกชิงรางวัล อยางตอเนื่องเพียงแค ปด/เปด เครื่องใหมทุกวัน (Power off/on)• ติดตามขาวสารการอัพเดทไดทางชอง MVTV2• สินคาคุณภาพ ไดการรับรองดวยมาตรฐาน มอก.Features- Picture in graphic (PIG) function- Super low threshold tuner- DiSEqC 1.0/1.2 completeble- EPG (Electronic program guide) Function support- Plug & Play Self-installing program Set-up- Programmable of 4000 Digital channels- 50 Satellite/<strong>10</strong>00 TP Programmable- Manual PID insertion and scan function- Channel list edit Function (FAV/LOCK/MOVE/DEL/ADD/SORT/RENAME/SKIP)- Quick channel switching- CD quality stereo audio sound- 4:3,16:9 screen format selectable- Weight: 2 Kg.SpecificationsInputAudioVideoFrequency range : 950-2150 MHzInput level : -79-11dBmInput impedance: 750Input connect: F-typeAudio output: L/ROutput type:RCADecode format: MPEG-IIBit rate:


LNB รุน C-KUในดาวเทียมจะมีทั้งระบบ C & KU BAND ซึ่งจะแยกจานเพื่อติดตั้งงานระบบละหนึ่งชุด ดูเหมือนวาจะเปนการสิ้นเปลืองทรัพยากรโดยใชเหตุครับ เพราะจาน C-BAND สามารถรับสัญญาณของ KU-BAND ไดดวย โดยใช LNB C-KU BAND ตามรูป63


MMDS(Multi-channel Multipoint Distribution System)ระบบ MMDS ยอมาจาก Multichannel Multipoint Distribution Systemเสารับประเภทนี้ เปนระบบการจัดสงสัญญาณภาคพื้นดินอีกระบบหนึ่งที่ใชยานความถี่“ไมโครเวฟ” ในการสง คือ มีความถี่ 2500 MHz - 2650 MHzสัญญาณที่มีความถี่สูงขนาดนี้ไมสามารถเดินทางผานสายนําสัญญาณได คือ เมื่อสงสัญญาณมาทางอากาศเขาแผงรับแลว ใหความถี่ 2.5 GHz นี้ตอจากสายนําสัญญาณแลวเขาทีวีไมได(ความถี่สูงเกินไป) จึงตองมีตัวลดความถี่กอนจึงจะผานสายได คือ เสารับ MMDS65


หลักการทํางานของ MMDS มีดังนี้ เมื่อสัญญาณเขาที่ทางดาน ANTENNA ตองบูสสัญญาณกอน ดวยวงจร RF AMP แลวสงตอใหกับ MIXER เพื่อทําการลดทอนความถี่ลงโดยมีวงจรLO. ผลิตความถี่ขึ้นไปหักลางเพื่อใหเกิดความถี่ใหม ออกไปเปนความถี่ IFยกตัวอยางสัญญาณทางเขา 2500 MHz วงจรผลิตความถี่ 1838 MHz ขึ้นไปหักลาง เราจะไดความความถี่ใหม คือ 662 MHz ซึ่งความถี่นี้ คือ ชอง UHF 45หรือ ความถี่ที่สงมาเปนความถี่ 2650 MHz วงจรผลิตความถี่ 1838 MHz ขึ้นไปหักลาง เราจะไดความถี่ใหม คือ 812 MHz ซึ่งความถี่นี้ คือ ชอง UHF 64 เปนตนเสารับ MMDS สามารถเลือกความถี่ IF ได โดยขึ้นอยูกับความตองการสําหรับการใชงานโดยทานสามารถเลือกซื้อตามคาของ LO ที่มีจําหนายอยูหลายๆ แหง66


ถาเลือกคา LO =2030 จะไดความถี่ IF ที่ ชอง 21-40ถาหากเราเลือกคา LO 2030 ไปใชงานในเขตกรุงเทพฯ ปญหา คือ67


สัญญาณชอง ในเขตกรุงเทพฯ สงความถี่ชอง 29 ซึ่งอยูในยานเดียวกันกับที่ทานเลือกความถี่ IF เพื่อแปลงคาสง MMDS เมื่อนําสัญญาณทั้งสองไปรวมกัน จะทําใหภาพดูไมไดดังนั้นคา LO ที่แนะนําใหใชในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล คือ “1838” ความถี่จะไมรบกวนชอง itv และชอง 3 เพราะความถี่ของ MMDS ที่เลือกมา อยูในตําแหนงที่เลยทั้งสองชองไปแลวนั่นเองสรุป การเลือก MMDS ไปใชงานจะตองคํานึงถึงยานความถี่ที่เราจะนําระบบนี้ไปรวมวาตรงกับความถี่ยานไหน และเราตองเลือก MMDS ไปไมใหตรงกับความถี่ที่ใชอยูแลวBOOSTER(บูสเตอร) หรืออุปกรณขยายสัญญาณตัวอยาง EXTRA BOOSTER รุน MA-120 HYBRID68


บูสเตอร หรือที่ทั่วไปเรียกวา อุปกรณขยายสัญญาณทีวี นั้น ปจจุบันมีหลากหลายรูปแบบแตกตางกันไปตามรูปแบบความตองการใชงาน หากเปรียบเทียบชางติดตั้ง MATV เปนหมอ บูสเตอร ก็คือ ยาที่หมอตองสั่งจาย หากจายยาไมถูก ก็รักษาโรคไมหายดังนั้นหมอที ่เกงๆ จะตองเรียนรูคุณสมบัติของยาแตละชนิดใหลึกซึ้ง จึงจะนํายานั้นไปใชประโยชนไดอยางเต็มที่บูสเตอรมีหลายชนิดซึ่งชางจะตองเรียนรูลักษณะการทํางานเฉพาะตัวของแตละรุน แตละยี่หอ เพื่อทานจะไดนําคุณสมบัติเฉพาะนี้ไปใชกับงานแตละชนิดที่แตกตางกัน เพื่อใหงานที่ไปติดตั้งมีคุณภาพ สมกับที่ทานเปน “ชางมืออาชีพ” ครับGAIN(เกน) การขยายสัญญาณเกนการขยาย สวนใหญผูผลิตจะเริ่มตั้งแต <strong>10</strong> dB ไปจนถึง 45 dB เพื่อใหทานผูอานเขาใจงายขึ้น ผมขอแยกบูสเตอรตามลักษณะการขยายสัญญาณ เปน 2 ประเภท ดังนี้1. บูสเตอรขนาดเล็ก หรือที่ศัพททางวิชาการเรียกวา “MINI BOOSTER” ที่มี “เกนไมเกิน 30 dB”2. บูสเตอรขนาดใหญ หรือที่ศัพททางวิชาการเรียกวา “EXTRA BOOSTER” ที่มี “เกนเกิน 30 dB”หากชางติดตั้งเขาใจหลักการทํางานของบูสเตอรสองประเภทนี้แลว ก็จะเปนพื้นฐานที่ทําใหทานเขาใจบูสเตอรแบบอื่นไดโดยไมยากตัวอยาง บูสเตอรขนาดเล็ก หรือ MINI BOOSTER69


ตัวอยาง บูสเตอรหัวเสาขนาดเล็ก หรือ PRE AMPLIFIERตัวอยาง บูสเตอรขนาดใหญ หรือ EXTRA BOOSTERบูสเตอรขนาดเล็ก หรือ MINI BOOSTERบูสเตอรขนาดเล็ก จะมีอัตราการขยายสัญญาณไมเกิน 30 dB ดวยลักษณะการขยายสัญญาณจะถูกกําหนดใหเปน “บูสเตอรขนาดเล็ก” หรือ “MINI BOOSTER”สวนใหญจะเห็นชาง นําไปใชงานทั่วไปที่ตองการอัตราการขยายไมมาก ซึ่งอาจจะเปนภายบานพักอาศัย, อาคารที่มีจุดรับชมรวมไมเกิน <strong>10</strong> จุด, หรือขยายสัญญาณตอเนื่องปลายสายที่เหลือจุดรับชมนอย ฯลฯในดานของการผลิตบูสเตอรขนาดเล็ก การจัดวงจรงาย เพราะภายในวงจรของบูสเตอรจะผลิตสัญญาณรบกวน(LOW NOISE) ออกมาต่ํา หากทานเลือกใชบูสเตอรที่มีมาตรฐาน70


ลักษณะ NOISE FLOOR ปกติลักษณะ NOISE FLOOR จากบูสเตอรไมดีจากรูปทางดานซายมือ สัญญาณจริงที่เปนรูปแหลมสี่ลูกใหญ และมีสัญญาณรบกวนที่อยูที่ฐาน ซึ่งสัญญาณนี้จะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติอยูแลว สวนจะเกิดขึ้นมาก หรือนอยนั้นขึ้นอยูกับการออกแบบวงจรบูสเตอรสัญญาณนี้ เรียกวา “NOISE FLOOR” หากดีไซดวงจรบูสเตอรไมดี จะสงผลใหมีสัญญาณรบกวนนี้ออกมามาก การแสดงผลที่จอโทรทัศนจะมีลายเสนรบกวนเปนริ้วๆ ทางแนวนอน ตามดานลางตัวอยาง สัญญาณรบกวนทางแนวนอน ที่เกิดจาก NOISE FLOORคุณลักษณะที่ดีของบูสเตอรขนาดเล็ก คือ1. การออกแบบวงจร และการผลิตงาย เนื่องจากการขยายสัญญาณไมสูง จึงตองการเพียงวัตถุดิบที่มีคุณภาพปานกลาง ก็สามารถนํามาผลิตได และการออกแบบลายวงจรไมซับซอนมากนัก71


2. ทําหนาที่ขยายสัญญาณที่มีความแรงต่ําๆ ไดดี(ชางบางทานเรียกวา เซนดดี)3. ผลิตสัญญาณรบกวนนอย LOW NOISE4. สามารถระบายความรอนไดดี ทดสอบโดยจับที่บูสเตอรตอนใชงาน ความรอนนอย(ไมถึงกับสะดุง)5. ราคาไมแพงMA-<strong>10</strong>0 LHUขอมูลการทํางาน MA-<strong>10</strong>0LHU• ขยายสัญญาณแบบแยกยาน VL(40 – 68 MHz), VH(174 – 230 MHz) และ UHF(<strong>47</strong>0 – 860MHz)• เขา 1 ทาง และออก 1 ทาง• ขนาดขั้วตอเขา และออก 75 โอหม(ขนาดสายนําสัญญาณ RG6 หรือ 5C)• มี VR เพื่อปรับแตงความแรงสัญญาณทั้งสามยานความถี่ 20 dB• สัญญาณรบกวนเกิดจากการทํางาน 3.5 dB(คานี้หากต่ํากวา 8 dB ถือวาคุณภาพไดมาตรฐานคานี้ยิ่งต่ํายิ่งดีครับ แตบางยี่หอเขียนไวที่กลองวา 1 dB อยาไปเชื่อครับ เพราะเปนไปไมไดครับ)• ใชกําลังไฟฟา AC 220V/ 50 Hz72


MA<strong>10</strong>0WBขอมูลการทํางาน MA-<strong>10</strong>0WB• ขยายสัญญาณแบบตลอดยาน 40 – 860 MHz(เหมาะสําหรับบานพักอาศัยที่มีสัญญาณสงในระบบในยาน S-BAND)• เขา 1 ทาง และออก 1 ทาง• ขนาดขั้วตอเขา และออก 75 โอหม(ขนาดสายนําสัญญาณ RG6 หรือ 5C)• มี VR เพื่อปรับแตงความแรงสัญญาณแบบบรวม 20 dB• สัญญาณรบกวนเกิดจากการทํางาน 3.5 dB(คานี้หากต่ํากวา 8 dB ถือวาคุณภาพไดมาตรฐานคานี้ยิ่งต่ํายิ่งดีครับ แตบางยี่หอเขียนไวที่กลองวา 1 dB อยาไปเชื่อครับ เพราะเปนไปไมไดครับ)• ใชกําลังไฟฟา AC 220V/ 50 Hzเปนบูสเตอรขนาดเล็กอีกแบบ ที่มีรูปรางการทํางานที่เหมือนกันแตตางกันตรงที่แบบนี้จะขยายสัญญาณไดตลอดยาน73


บูสเตอรขนาดเล็ก เหมาะที่จะนําไปใช ขยายสัญญาณ RF ตามบานพักอาศัยหรือบูสเตอรขนาดเล็ก เหมาะที่จะนําไปใชกับบานพักที่มีทีวีไมเกิน <strong>10</strong> จุด ซึ่งไมตองการขยายสัญญาณที่แรงมาก และสามารถปรับอัตราการขยายความแรงไดตามคุณลักษณะเฉพาะ74


PA-30LHUขอมูลการทํางาน PA-30LHU• ขยายสัญญาณแผงอากาศ(เหมาะสําหรับบานพักอาศัยที่มีอยูไกลสถานีสง)• เขา 3 ทาง(VL, VH, UHF) และแยกออกโทรทัศนได 2 จุด• ขนาดขั้วตอเขา และออก 75 โอหม(ขนาดสายนําสัญญาณ RG6 หรือ 5C)• อัตราขยายสัญญาณ VHF = 30 dB, UHF = 27 dB• สัญญาณรบกวนเกิดจากการทํางาน 3 dB(คานี้หากต่ํากวา 8 dB ถือวาคุณภาพไดมาตรฐานคานี้ยิ่งต่ํายิ่งดีครับ แตบางยี่หอเขียนไวที่กลองวา 1 dB อยาไปเชื่อครับ เพราะเปนไปไมไดครับ)• ใชกําลังไฟฟา AC 220V/ 50 Hz75


บูสเตอรขนาดใหญ หรือ EXTRA BOOSTERบูสแบบนี้ออกแบบมาเพื่อใหมีเกนขยายสูง และมีอัตราความแรงสัญญาณที่ OUTPUT สูงอีกดวย เพื่อสัญญาณที่ไดจะมีความความแรงเพียงพอตอการนําไปใชงานสวนใหญผูผลิต ตองออกแบบใหมี OUT TEST เพื่อตรวจสอบสัญญาณภาพ ณ จุดที่จัดชุดหัวจายสัญญาณ โดยลดความแรงสัญญาณจริงลง 20 dB เพื่อความสะดวกในการทดสอบสัญญาณภาพที่จะจายลงภายในอาคาร กอนจะสุมตรวจภายในหองพักMA-120ขอมูลการทํางาน MA-120• ขยายสัญญาณแบบตลอดยาน 40 – 860 MHz(เหมาะสําหรับอาคารที่สงในระบบในยาน S-BAND ดวย)• เขา 1 ทาง และออก 2 ทาง(1 OUTPUT & 1 OUTTEST)• ขนาดขั้วตอเขา และออก 75 โอหม(ขนาดสายนําสัญญาณ RG6 หรือ 5C)• ปรับแตง GAIN & SLOPE แบบแยกอิสระ 20 dB• สัญญาณรบกวนเกิดจากการทํางาน 4.5 dB(คานี้หากต่ํากวา 8 dB ถือวาคุณภาพไดมาตรฐานคานี้ยิ่งต่ํายิ่งดีครับ แตบางยี่หอเขียนไวที่กลองวา 1 dB อยาไปเชื่อครับ เพราะเปนไปไมไดครับ)• ใชกําลังไฟฟา AC 220V/ 50 Hz76


ตัวอยาง แผนวงจร EXTRA BOOSTER รุน MA-120ใชแผนปริ้นแบบ EPOXY เพื่อระบายความรอนที่ดีกวาบูสเตอรแบบที่มีกําลังขยายมากๆ สวนใหญพบปญหาในดานการออกแบบวงจรเนื่องมาจากวงจรที่มีกําลังขยายมากๆ จะเกิด NOISE ขึ้นในแผนวงจร หากผูผลิตออกแบบลายปริ้นไมเหมาะสม จะเกิดการออสซิเลทความถี่ใหมขึ้นในวงจรเอง ทําใหเกิด NOISE FLOOR ขึ้นมามากลักษณะ NOISE FLOOR ปกติลักษณะ NOISE FLOOR จากสินคาไมดีหากออกแบบไมดี จะทําใหมีสัญญาณรบกวนสูงตามรูปบนดานขวามือ และนอกเหนือจากการออกแบบวงจรแลว บูสเตอรแบบนี้ยังตองใชอุปกรณอะไหลที่มีคุณภาพสูง อีกทั้งตองพิถีพิถันในการผลิตมากขึ้นหากมีกราวดสวนหนึ่งสวนใดในตัวบูสเตอรผลิตไวไมดี จะมีสัญญาณรบกวนเกิดขึ้นทันที77


การตรวจสอบคุณภาพหลังจากผลิตจําเปนตองใชเครื่องวัดสัญญาณขนาดใหญ หรือ“SPECTRUM ANALYZER”รวมกับ เครื่องวัดสัญญาณแบบละเอียด หรือ “NETWORK ANALYZER”ซึ่งเครื่องมือเหลานี้มีราคาสูงมาก และการใชงานเครื่องมือ จําเปนตองใชเจาหนาที่ที่ชํานาญงานเฉพาะดานเปนพิเศษมากขึ้น ดวยสาเหตุนี้ อาจจะเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลใหบูสเตอรแบบนี้มีราคาแพงกวาบูสเตอรขนาดเล็กอยูมากคุณลักษณะที่ดีของบูสเตอรขนาดใหญ คือ1. เกนขยายสัญญาณสูง และวัตถุดิบเพื่อการผลิตคุณภาพดีมาก2. ในระยะทางการสงที่ไกล สามารถสงสัญญาณไดดี(ตกนอย)3. สามารถใชกับจุดรับชมระหวาง <strong>10</strong> จุด ไปจนถึง 200 จุด ไดดี4. ผลิตสัญญาณรบกวนนอย LOW NOISE5. สามารถระบายความรอนไดดี ทดสอบโดยจับที่ตัวบูสเตอรตอนใชงาน ความรอนนอย(ไมถึงกับสะดุง)ขอจํากัดของคุณสมบัติ คือ1. หากทานเลือกใชบูสเตอรคุณภาพต่ํา จะมีสัญญาณรบกวนเกิดจากตัวบูสเตอรมาก2. ขยายสัญญาณที่มีความแรงสงเขา INPUT ต่ําๆ ไมดี3. ตองการสัญญาณสงเขา INPUT สูง(HIGH INPUT MAXIMUM) หากสัญญาณเขามาต่ํากวาสเปคที่ระบุไวแตละรุน บูสเตอรจะขยายสัญญาณไมดีลักษณะที่เหมาะสม สําหรับการเลือกบูสเตอรขนาดใหญไปใชงาน คือ1. มีจํานวนชองที่ตองการสงมากกวา 30 ชองสัญญาณ2. มีจํานวนหองที่ตองการจุดรับทีวีมากกวา 20 จุดขึ้นไป3. ตองมีการจัดสัญญาณ ทางเขา MAXIMUM INPUT ใหเพียงพอกับความตองการของบูสเตอรแบบนี้4. ตองการนําไปขยายตอเนื่อง กลาวคือ สงสัญญาณไปในสายนําไป 200เมตร แลวตองการบูสอีก5. ตองการเสถีรภาพในการใชงาน เพราะตองทํางาน 24 ชม.78


MA-120 HYBRID POWERMA-120 HYBRID มีคุณสมบัติการผลิต และใชงานพิเศษ คือ การขยายสัญญาณดวยHYBRID CHIPแมเกนการขยายเพียง 35 dB(ต่ํากวา MA-120) แตคุณสมบัติเฉพาะของ HYBRID ที่มีการขยายที่สม่ําเสมอ และมีกําลังสงที่ดีกวา และระยะทางในการสงสัญญาณไดไกลกวาบูสเตอรรุนธรรมดาตามที่ผมไดกลาวมาแลววา บูสเตอรที่มีเกนขยายมากกวา 30 dB ขึ้นไป จะเกิดสัญญาณรบกวนมาก79


ปจจุบัน ไดคิดคน และพัฒนาการผลิต ของวงจรภาคขยายสัญญาณ ในรูปแบบของ “IC(Integrate Circuit)” หรือบางทานเรียกวา “ไอซี ชิพ” ขึ้นมาใชงาน เพื่อลดสัญญาณรบกวนลงตัวอยาง การเปรียบเทียบภาคขยาย รุนธรรมดา กับ HYBRID POWER CHIPจากรูปวงจรภาคขยายแบบเดิม ไดถูกพัฒนายอสวนใหเล็กลงเปนรูปดานลาง ซึ่งจะลดปญหาในเรื่องการเกิดออสซิเลทขึ้นในวงจรไดดีกวาการใชแผนปริ้นขนาดใหญแบบเดิมไดมีประสิทธิภาพจากการพัฒนาดานภาคขยายนี้ นําไปสูการสรางนวัตกรรมการผลิต อุปกรณขยายสัญญาณ ไดมากขึ้น อาทิ1. การผลิตสินคารวดเร็วขึ้น2. ผูผลิตสามารถควบคุมการผลิต และตรวจสอบคุณภาพสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ3. ตนทุน HYBRID POWER CHIP ลดลงจากอดีตมาก4. สรางประสิทธิผลที่ดีขึ้น สําหรับการใชงาน5. ผูผลิต ตองพัฒนาเทคโนโลยีการระบายความรอนแบบใหมๆ เพื่อใชงาน80


ชิพ Hybrid รุนเกามีวงจรไมเปนระเบียบชิพ Hybrid รุนใหมมีวงจรจัดเรียบรอยภาพเปรียบเทียบวิวัฒนาการของ ชิพ Hybrid รุนเกา กับ รุนใหมในชวงแรกๆ ของการออกแบบวงจรไอซี ยังทําไดไมดีเทาในปจจุบัน เนื่องจากใชแรงงานคนเปนผูประกอบหลัก ดังนั้นคุณภาพของงาน จึงออกมาไมคอยดีนัก ตามรูปบน อีกทั้งราคาในอดีตแพงมาก เนื่องจากปจจัยรวมหลายประการปจจุบันไดมีการพัฒนาในเครื่อง “SMT(Surface Mounting Technology)”เครื่อง “SMT(Surface Mounting Technology)” มีความแมนยํา และมีเสถียรภาพสําหรับผลิตมากกวาการใชคนมาก จึงทําใหคุณภาพที่ผลิตออกมามีคุณภาพที่เทากันทุกตัว81


ตัวอยาง HYBRID POWER CHIP ของชิพ Hybrid Amplifier แบบตาง ๆ หรือบางทีอาจเรียกวา Distribution Amplifier ก็คือตัวเดียวกัน*สีของเคส สีเทา, สีแดง และสีฟา ไมไดสงผลตอคุณสมบัติหลักและ เนื่องจากในปจจุบันความตองการในการสงสัญญาณทีวีตามอาคาร มีชองสัญญาณเพิ่มมากขึ้นเปนรอยชอง และมีจุดรับสัญญาณทีวีหลายรอยจุด ทําใหบูสแบบเกนขยายทั่วไปใชงานไมเพียงพอ จึงไดมีการพัฒนา ไอซีแบบใหมขึ้น เรียกวา “HYBRID AMPLIFIER”ชุดปรีแอมป ชุด Drive ชุดOutputชุดปรีแอมป ชุด Drive ชุดOutputชิพ Hybrid ใชการขยายแบบคูขนาน บูสเตอรทั่วไป ใชการขยายชุดเดียวทําใหกําลังวัตตสูงกวาแบบทั่วไปเปนสองเทาภาพแสดงความแตกตางระหวางวงจรชิพ Hybrid กับ บูสเตอรทั่วไป82


เพื่อใหทานผูอานไดเขาใจงายขึ้น จึงเอารูปของไอซีมาเปรียบเทียบใหดู ที่ตัวไอซีจะมีภาควงจรขยายอยูสองชุด รูปตัวไอซีเปนรุนเกาจะมองเห็นการแยกภาคขยายอยางชัดเจน แตถาเปนไอซีรุนใหมทุกอยางจะรวมในชิพหมดจึงมองไมเห็น ภาพที่เอามาประกอบการอธิบายเทานั้น ปจจุบันไมไดใชไอซีแบบนี้แลวการที่มีภาคขยายอยูสองชุด จะทําใหกําลังที่สงออกมากกวาแบบชุดเดียว จึงรับโหลดไดดีกวาบูสเตอรธรรมดาทั่วไป เปรียบเทียบวา ทานผูอานที่เคยไปทองเที่ยวทะเล นาจะเคยไดเห็น เรือเร็ว หรือ SPEED BOAT ที่มีเครื่องติดอยูดานหลัง เรือแบบนี้จะมีแบบ เครื่องเดียว และสองเครื่อง ซึ่งแบบสองเครื่องยนต จะทําใหวิ่งไดเร็วกวาแบบเครื่องเดียว เนื่องจากมีกําลังขับมากกวา เรื่องนี้เปรียบเหมือนกับภาคขยายสองชุดเลยครับPART NU<strong>MB</strong>ER: MA-120 Hybrid(Hybrid Amplifier Module)FEATURES● Excellent linearityOUTLINEPIN CONFIGURATION(side view)● Extremely low noise● Excellent return loss properties● High gain● High Reliability1 2 3 5 7 8 9 Fig. Simplified outlineDESCRIPTION Pin DescriptionHybrid amplifier module operating over a frequency 1 InputRange of 40to 860 MHz at a voltage supply of +12V 5 +VB 9 Output(DC).CHARACTERISTICS (Bandwidth 40 to 860 MHz; Tmb = 30 l, VB = 12 V, ZS = ZL = 75 Ω)SY<strong>MB</strong>OL PARAMETER UNIT MIN. TYP. MAX CONDITIONSGp Power Gain dB 33.5 - 34.5 f = 860MHZSL Slope cable equivalent dB 0 2.5 f = 40 to 860 MHZFL Flatness of frequency response dB - - ±0.5 f = 40 to 860 MHZS11 Input Return Loss dB 14 18 - f = 40 to 860 MHZS22 Output Return Loss dB 14 18 - f = 40 to 860MHZCTB Composite Triple Beat dB - - -46129Channels flat,Vo=44dBmVCSO Composite Second Order distortion dB - - -55 129Channels,Xmod Cross Modulation dB - - -53 Vo=44dBmVItot Total Current Consumption MA 300 - 330F Noise Figure dB - - 5 f = 860MHZV0 Output Voltage dBμV 57 - dim=-60dBTmb Operating mounting base Temperature -20 - +90TSTG Storage Temperature -40 - +<strong>10</strong>083


ชิพ Hybrid เรามักเจอใน Trunk Ampตัวอยาง รูปไอซีที่ใชในภาคขยายสัญญาณ TRUNK AMPLIFIER ของระบบเคเบิ้ล ที่ใชสําหรับขยายสัญญาณเพื่อการเดินสายไกลๆ หลายกิโลเมตรไอซีชิพ รุน MA-120 HYBRID เปนรุนที่มีกําลังขยาย 35 dB & OUTPUT MAX 120 dBถึงแมขอดีของบูสเตอรแบบ HYBRID จะมีมากก็จริง แตก็มีขอเสียเหมือนกันครับ เนื่องจาก วงจรถูกยอสวนลงมาก และยังมีภาคขยายสองชุด(DUO POWER) อีกตางหาก จึงทําใหเกิดความรอนขึ้นมากกวาแบบธรรมดา ในชวงที่ใชงานดังนั้น หากทานเลือกใชงานอุปกรณประเภท HYBRID ทานตองมั่นใจในมาตฐานสินคาเนนคุณสมบัติการระบายความรอน เปนปจจัยการเลือกที่มากขึ้นกวาแบบธรรมดาอีกหนึ่งอยางครับเพราะวา สวนใหญการใชงาน EXTRA BOOSTER จะตองใชงานแบบตอเนื่องตลอด 24 ชม.หากมาตรฐานสินคาต่ํา ทําใหการระบายความรอนไมดี แตทานตองการใชงานตอเนื่อง อีกทั้งสถานที่ติดตั้งบูสเตอรประเภทนี้ สวนใหญอยูในที่รอน หรือรอนชื้น(เพราะบานเรารอนครับ) ทานตองจินตนาการเอาครับวา บูสเตอรที่มาตรฐานต่ํา จะอยูยังไง????84


ตัวอยาง การออกแบบบอดี้สินคา เพื่อการระบายความรอนไดดีวิธีการ สําหรับแกปญหาความรอนที่ไดผลดีที่สุดอีกทางหนึ่ง คือ การเลือกใชบอดี้ที่ผลิตจากอลูมิเนียม และออกแบบรอนคลีบตามหลักการระบายความรอนตัวอยาง ฝาครอบดานบน ซึ่งเปนอลูมิเนียมแบบฉีดขึ้นรูปไรรอยตอ85


ตัวอยาง ฝาลาง ซึ่งเปนอลูมิเนียมแบบปมขึ้นรูปไรรอยตอเพื่อชวยถายเทความรอน และเปน GROUND ไดดีกวาวัสดุอื่นๆการยึดนอตที่ฝาลาง เพื่อทําใหสัญญาณลงกราวดไดดีขึ้น86


การยึดนอตไอซีติดกับฝาลางที่เปนอลูเนียมเพื่อชวยใหการระบายความรอนผานบอดี้ไดดีขึ้นฝาครอบดานบนเปนอลูมิเนียม ที่รับความรอนจากแทนเครื่องขึ้นมาชาง หรือเจาของสวนใหญจะเกิดปญหาเวลาไปจับบูสเตอรในขณะใชงาน โดยคิดไปเองวา“บูสเตอรตัวนี้รอนจริงๆ สงสัยมีปญหาแน” หากจับนานกวานั้น คิดไปไกลวา “สงสัยไมรอด ระเบิดแหงๆ”87


ความจริงแลวบูสเตอรขณะใชงานจะรอนเปนปกติ และรอนแบบสม่ําเสมอ เพราะความรอนถูกระบาย และถายเทออกมาจากวิธีการที่ผูผลิตไดทดสอบมาแลวครับทานลองสังเกตวา บูสเตอรแบบนี้ไมจําเปนตองมีรู เพื่อระบายความรอน ซึ่งเปนขอดีคือไมมีฝุนเขาไปรบกวนการทํางานของบูสเตอรไดเลยครับ(IC CHIP แบบนี้ กลัวฝุน พอๆ กับกลัวน้ําครับ)คุณสมบัติที่นําไปใชงาน1. ตองการจุดรับทีวีมากกวา <strong>10</strong>0 จุดขึ้นไป2. ตองการชองรายการมากกวา 30 ชอง3. ตองการคุณภาพของสัญญาณที่ดี4. ตองการเสถียรภาพในการใชงาน5. มีความทนทานมากกวาบูสเตอรธรรมดาการใชบูสเตอรแบบนี้ ก็ตองยอมรับเรื่องราคาที่แพงกวาแบบธรรมดา แตถาคิดในดานคุณภาพที่แตกตาง บวกกับระยะเวลาในการใชงาน ผมคิดวา “คุม” ครับการเลือกประเภทของ INPUT บูสเตอรไปใชงานนอกเหนือจากการที่ตองเลือกเกนการขยายซึ่งก็มีอยูมาก เรายังตองเลือกทางเขาที่เหมาะสมกับงานที่นําไปใชงาน ถาเลือกไมถูกตองก็จะเกิดปญหาขึ้นไดในอดีต แนวทางการผลิตบูสเตอรเพื่อรองรับกับความตองการของลูกคา หากจะแยกตามประเภทของ INPUT เพื่อนําไปใชงาน จะมีหลายแบบครับ มีตั้งแต 1 INPUT ไปจนถึง 6 INPUT เลยก็มีครับแตเนื่องจากความตองการสําหรับการใชงาน ขัดแยงขอจํากัดบางประการ เชน ทานซื้อบูสเตอรแบบ 6 INPUT มาเพื่อ ขยายสัญญาณแยกชุดแผงอากาศ 6 แผง(กะไววาเอาแบบใสปง) แตทานพบขอจํากัด คือ บูสเตอรอยูนอกอาคารไมได และตองใชปลั๊กไฟเสียบใชงาน ซ้ํารายกวานั้น หากเดินสายจากแผงอากาศแยกเขามา 6 เสน กวาจะมาถึงหองคอนโทรล พบวาสัญญาณแผงอากาศตกไปกอนซะแลว บูสอยางไรกอไมดีขึ้นเลย เปนตนทําใหปจจุบัน ผูผลิตใหความสนใจแบบ 1 INPUT เปนสวนใหญครับ แตเพื่อสรางความเขาใจใหกับผูอาน ผมจะอธิบายใหทานเขาใจทุกแบบ ดังนี้88


บูสเตอรแบบ มากกวา 1 INPUTปจจุบันบูสเตอรลักษณะนี้ไมเปนที่นิยม เนื่องจากรับสัญญาณเขาได 5 INPUT ซึ่งแตละINPUT จะกําหนดไวชัดเจนวา ทานจะตองนําสัญญาณความถี่ประเภทใด ตอเขาที่ขั้วใด ที่สําคัญราคาแพงดวยครับ เนื่องจาก จํานวนการผลิตตอรุนนอยครับ(เพราะมีหลายรุน)เชน VL ตองตอสัญญาณเขาในยานความถี่ VHF LOW BAND เทานั้น หากนําความถี่อื่นเชน หากนําความถี่ FM เขาไปแทน INPUT ในขั้วนี้ จะไมขยายสัญญาณ เนื่องจากภายในวงจรที่ทางเขา VL มีวงจรฟลเตอรเพื่อกรองความถี่ VL อยู ดังนั้นขั้วนี้จะไมยอมใหความถี่อื่นใดผานเขาไปไดเลย ดังนั้น หลักการขยายสัญญาณของขาเขาอื่นๆ ก็ใชหลักการเดียวกันเราจะเห็นไดวา ทางเขาทั้งหาทางนั้น จะแยกเฉพาะยานความถี่แตกตาง หรือเหมือน ขึ้นอยูกับคุณสมบัติของบูสเตอร รุน และยี่หอนั้นๆ ครับ จากพื้นฐานหลักการเพื่อปองกันการรบกวนกันเองขอดี คือ1. สะดวกตอการนําไปใชงานปรับแตงความแรงสัญญาณ หากทานแยกสัญญาณเขามาเฉพาะ2. ลดการใชคอมไบเนอร เพื่อรวมสัญญาณขอเสีย คือ1. การเลืกกใชงานถูกจํากัดใหแคบลง ดวยการกําหนดความถี่ ดังนั้นความถี่ตองตรงกับสินคาจริงๆ2. นําไปบูสแบบตอเนื่อง(เบิ้ลบูส)ไมได เพราะมีหลาย INPUT3. ทานตองเก็บสตอกบูสเตอรหลายรุน เพื่อเลือกใชในแตละโครงการ89


บูสเตอรแบบ 1 INPUT ระบุยาน (ONE INPUT SOLUTION)จากตัวอยาง เปน “บูสเตอรแบบแยกยาน” โดยมีสัญญาณสงเขาเพียง 1 INPUT ดังนั้นสัญญาณขาเขา จึงสามารถเขามาไดทุกความถี่ตลอดยานหลักการทํางาน คือ เมื่อสัญญาณเขาทาง INPUT แลวซึ่งมีความถี่ตลอดยาน แตสัญญาณเขาจะถูกแยกออกจากกันดวยวงจรภายใน โดยมีฟลเตอรเปนชุดหลักเพื่อแยกแตละความถี่ออกจากกันใหเหลือแต VL, VH และ UHF จากนั้นวงจรจะขยายสัญญาณ และรวมสัญญาณ กอนสงสัญญาณออกที่OUTPUT90


VL VH UHFจากรูป ใช SPECTRUM ANALYZER ตรวจวัดสัญญาณ OUTPUT จะปรากฎตามเสนสีเหลืองตามรูปครับ สัญญาณ OUTPUT จะถูกแยกเปน VL คือ ชอง 2 - 4, VH คือ ชอง 5 - 12 และUHF คือชอง 21 – 69 รูปของเสนสีเหลืองจะสูงใกลเคียงกัน สวนสัญญาณยาน S-BAND และ FM ถูกวงจรฟลเตอรกดความแรงลงลักษณะเฉพาะของ MA-<strong>10</strong>0LHU จะมี VR เพื่อปรับแตงสัญญาณแยกอิสระ 3 ยาน เพื่อปรับความแรงของสัญญาณแตละยานที่เขามา ใหมีความแรงที่ใกลเคียงกันครับ(ตามรูปกําลังปรับสัญญาณยานความถี่ VL)VLหลังจากการปรับแตง ใชสเปคตรัมวัดสัญญาณ OUTPUT เราก็จะเห็นเสนสีเหลืองตําแหนง VL จะถูกลดความแรงลงมา สวนสัญญาณ VH & UHF จะไมมีผลกระทบครับ91


VHเมื่อเราไปปรับแตงสัญญาณที่ตําแหนง VH และตรวจวัดสัญญาณ OUTPUT ดูอีกครั้ง เราจะเห็นรูปสัญญาณเสนสีเหลือง ที่ตําแหนง VH ถูกลดความแรงสัญญาณลงมา โดยที่ VL และ UHF ไมมีผลกระทบใดๆ เชนกันUHFเชนเดียวกันครับ หากเราไปปรับแตงสัญญาณที่ตําแหนง UHF เสนสีเหลืองตําแหนง UHFจะถูกลงความแรงลงเชนกัน92


สรุปบูสเตอรประเภท 1 INPUT แบบเฉพาะยาน จะขยายสัญญาณเฉพาะยานที่ไดระบุมาเทานั้นและจะทําการกรองสัญญาณนอกเหนือจากที่ระบุมาทิ้งทั้งหมด ตามตัวอยาง ผมระบุวา คือ L,H,Uเทานั้น หากมีสัญญาณ S-BAND เขามา บูสเตอรจะขจัดสัญญาณทิ้งดังนั้น กอนเลือกมาใชงาน ทานควรตรวจสอบคุณสมบัติของบูสเตอรแตละชนิด ใหตรงกับความตองการของทานกอนครับ เพื่อลดเวลา และคาใชจายที่ไมจําเปนลงครับบูสเตอรแบบ 1 INPUT ตลอดยาน(ONE INPUT SOLUTION)ตัวอยาง บูสเตอรแบบ 1 INPUT ตลอดยานรุน MA-120 HYBRIDบูสเตอรแบบ 1 INPUT ขยายตลอดยาน ผลิตเพื่อรองรับกับความตองการของผูบริโภคที่สวนใหญตองการชองความถี่เพิ่มมากขึ้น ตองการความชัดเจนของสัญญาณภาพที่ดีขึ้น ดังนั้นจึงจําเปนตองใชความถี่มากขึ้น และหากเปนไปได ผูบริโภคโดยสวนใหญที่เขาใจพื้นฐานดานความถี่ตองการสงสัญญาณดวยความถี่ต่ําแทบทั้งสิ้นดังนั้นบูสเตอรขยายสัญญาณแบบตลอดยาน จึงไดรับความนิยมมากในปจจุบันผูผลิตจึงออกแบบบูสเตอรเพื่อรองรับกับความตองการแบบตลอดยาน โดยเฉพาะ S-BANDตัวอยาง รูปสัญญาณ เพื่อนํามาขยายสัญญาณแบบตลอดยาน93


ตัวอยาง การปรับแตงสัญญาณ GAINเนื่องมาจากสามารถนําไปใชงานไดกวางกวาแบบที่มีหลาย INPUT ซึ่งจะเกิดปญหาวาบูสเตอรตัวนั้นจะตองถูกจํากัดใหเลือกทางเขาโดยเฉพาะบูสเตอรแบบทางเขาเดียว(ONE INPUT SOLUTION) ออกแบบมาใหขยายสัญญาณไดตลอดยาน จึงสามารถนําไปใชงานไดหลายรูปแบบ94


จากรูป สามารถนําบูสเตอรแบบนี้ไปขยายจากตนแหลงของสัญญาณ โดยการจัดสัญญาณใหดีกอน และยังใชบูสเตอรนี้ไปขยายตอเนื่องไดอีกดวย เพราะเนื่องจากบูสเตอรแบบนี้ไดออกแบบใหมีวงจรชดเชยสัญญาณความถี่สูง และต่ําไดดีสัญญาณที่ออกจาก OUTPUT บูสเตอรตัวที่หนี่ง สัญญาณความถี่ต่ํา และสูงมีความแรงเทากัน แตสัญญาณที่ออกมาจากตึกที่หนึ่ง ซึ่งสัญญาณเดินทางมาไกล ทําใหสัญญาณความถี่สูงสูญเสียสัญญาณไปตามสายนําสัญญาณ แตความถี่ต่ําสัญญาณยังแรงอยู เพราะสูญเสียไปกับสายนําสัญญาณนอยกวานั้นบูสเตอรตัวที่สองสามารถปรับแตงสัญญาณใหสโลปลงไป ถาหากไมไดปรับแตงสัญญาณกอน และทําการขยายเลย จะทําใหสัญญาณความถี่ต่ํา OVER ดังนั้นจึงตองนําไปผานวงจรจัดสัญญาณ SLOPEตัวอยาง การปรับแตงสัญญาณ SLOPEเพื่อปรับชดเชยความถี่สูงที่สูญเสียไปSLOPE จะทําหนาที่ “กลับกัน” กับสายนําสัญญาณ คือ ปรับใหสัญญาณความถี่สูงสูญเสียสัญญาณนอย และปรับใหสัญญาณความถี่ต่ําจะสูญเสียสัญญาณมาก95


ตัวอยาง รูปสัญญาณการใชบูสเตอร แบบซอนตอเนื่องตัวอยาง รูปสัญญาณเสนสีเหลือง คือสัญญาณกอนปรับเปรียบเทียบกับสีเขียวหลังจากปรับแตง SLOPE แลว96


กอนปรับจากรูป เปนการแสดงผลตรวจวัดการขยายสัญญาณ ดวยเครื่อง SPECTRUM ANALYZERเสนสีแดง คือ เสนอางอิง (REFERENT LINE) โดยเสนสีแดงมีความแรงสัญญาณเปน 0 dBตารางสีขาวแนวตั้ง และแนวนอน คือ ระดับอัตราการขยาย ในรูปกําหนดชองละ <strong>10</strong> dBเสนสีเหลือง คือ ระดับความแรงสัญญาณ ที่บูสเตอรทําการขยายหากเสนสีเหลืองสูงกวาเสนสีแดงมากขึ้นเทาไหร หมายถึง เกนการขยายสูงขึ้นเทานั้น โดยคาความถี่ต่ําสุดจะเริ่มจากซายไปขวา คือ สูงสุดบูสเตอรที่อัตราการขยายอยูในเกนคุณภาพที่ดี จะมีเสนสีเหลืองความสูงสม่ําเสมอกัน ศัพทในหอง LAB เรียกวา “เคิรปสวย”97


ตัวอยาง รูปสัญญาณ กอนปรับแตง SLOPEภาพการปรับ slopeตัวอยาง รูปสัญญาณ หลังปรับแตง SLOPE98


รูปสัญญาณ แสดงใหเห็นความแตกตางของความแรงสัญญาณ กอน และหลังปรับแตงSLOPE เมื่อเราปรับชดเชยแลว เสนสีเหลืองทางดานความถี่ต่ําจะลดความแรงลง เพื่อชดเชยสัญญาณทางเขา ดังนั้นสัญญาณเสนสีเหลืองจะมีความแรงสัญญาณกลับมาใกลเคียงกันอีกครั้งขอจํากัดการใชงาน คือเมื่อมีทางเขาเพียงอันเดียว สัญญาณเขาจึงตองมีตัวรวมสัญญาณ และปรับแตงความแรงสัญญาณใหใกลเคียงกันมากอนแตอยางไร บูสเตอรแบบ 1 INPUT ขยายตลอดยานความถี่ ก็มีความคลองตัวมากกวาสําหรับการนําไปใชงาน เพราะในปจจุบันนี้ มีความหลากหลายของความถี่ที่จะนําไปใชงานตอไปดังนั้น จึงนําไปสูการพัฒนาอุปกรณรวมสัญญาณไดหลายหลายรูปแบบ ซึ่งจะกลาวในตอนสรุปการเลือกเกนการขยายของบูสเตอร1. จุดรับชม 1 – <strong>10</strong> จุด เกนขยายไมเกิน 30 dB แบบเฉพาะยาน ที่มีตัวปรับแยกอิสระ L, H, Uความแรงทางออกไมเกิน <strong>10</strong>0 dB(MAXIMUM OUTPUT <strong>10</strong>0 dB) บูสเตอรชนิดนี้มีคุณสมบัติขยายสัญญาณเบาๆ(ออนๆ) ที่ไดมาจากแผงทีวี หรือการนําไปขยายสัญญาณที่ตองผานตัวรวมสัญญาณ ซึ่งความแรงไมพอ ทําใหสัญญาณแรงขึ้นเล็กนอย ใหเพียงพอที่จะสงเขาไปขยายที่บูสเตอรตัวใหญ กอนสงเขาไปในระบบ MATVขอดี คือ การผลิตสัญญาณรบกวนต่ํา จึงผลิตไดงาย และราคาถูก เหมาะสําหรับใชภายในบานพักอาศัยที่มีจุดรับชมนอย หรือการขยายสัญญาณเบาๆ เพื่อการปรับแตง2. จุดรับชม 11 – <strong>10</strong>0 จุด เกนขยายเกิน 30 dB แบบตลอดยาน ที่มีตัวปรับอิสระ GAIN และSLOPE ความแรงทางออกระหวาง 115 – 120 dB(MAXIMUM OUTPUT115 - 120 dB) บูสเตอรชนิดนี้เหมาะกับงานที่มีจุดรับทีวีมากกวา 50 จุดขึ้นไป ควรที่จะมี99


การปรับชดเชยสัญญาณที่ เรียกวา “SLOPE” อีกทั้งจําเปนตองสามารถขยายสัญญาณไดตลอดยาน บูสเตอรแบบนี้จัดวงจรยาก เพราะการขยายที่สูงจะเกิดการออสซิเลทขึ้นทําใหเกิดการรบกวน ดังนั้นจึงตองเลือกบูสเตอรที่มีมาตรฐาน เพราะตองนําไปใชงานหนัก 24 ชม. จึงไมควรนําบูสเตอรแบบนี้ไปใชงานตามบานทั่วไป เพราะเกินความจําเปนและราคาแพง อีกทั ้งตัวบูสเตอรตองการสัญญาณที่เขาที่ INPUT 80 - 85 dB จึงจะไดสัญญาณที่ขา OUTPUT 115 - 120 dBมีชางนําบูสเตอรแบบนี้ไปใชงานผิด ทําใหคุณภาพของสัญญาณขาออกไมดี เนื่องจากนําไปขยายสัญญาณที่เบาๆ ไมถึง 80 dB ซึ่งบูสเตอรประเภทนี้ไมมีคุณสมบัติในการขยายแบบนี้3. จุดรับชมมากกวา <strong>10</strong>0 จุด หรือการนําไปขยายตอเนื่อง หรือมีชองสงสัญญาณมากกวา 30ชองรายการ HYBRID AMPLIFIER เปนบูสเตอรที่ออกแบบมาเพื่อใชงานหนักโดยมีชุดขับสัญญาณ สองชุด และรวมอุปกรณตางอยูในรูปของ ICPOWER AMP มีสัญญาณรบกวนต่ํากวาเนื่องจากใชเครื่องจักรทําการผลิต ทําใหคุณภาพสินคาไดมาตรฐานทัดเทียมกัน อีกทั้งระบบการระบายความรอนดี เนื่องจากใช BODYCASE ALUMINUM บูสเตอรแบบสุดทายนี้ดีหมดทุกอยาง แตเสียอยูอยางเดียว คือ“แพง” ครับCO<strong>MB</strong>INER หรืออุปกรณรวมสัญญาณการเลือกใชบูสแบบ “ONE INPUT SOLUTION” จําเปนตองอาศัยอุปกรณรวมสัญญาณมาก เพื่อชวยปรับแตง และรวมสัญญาณกอนขยาย โดยอุปกรณรวมสัญญาณ มีหลายรูปแบบ ชางติดตั้งจําเปนตองศึกษา เพื่อจะไดนําไปใชงานไดถูกตองอุปกรณรวมสัญญาณมีรูปแบบการใชงานแตกตางกันตามความตองการ และแยกตามพื้นที่ในการใชงาน ดังนั้นอาจกลาวไดวา การเลือกใชอุปกรณรวมสัญญาณในแตละจังหวัด หรือแมกระทั่งภายในบานแตละหลัง อาจจะมีรูปแบบการเลือกใชอุปกรณไมเหมือนกัน โดยมีรูปแบบใหเลือกดังนี้<strong>10</strong>0


อุปกรณรวมสัญญาณภายนอกอาคารใชสําหรับรวมสัญญาณชุดแผงอากาศ แบงตามลักษณะสัญญาณเขา ดังนี้อุปกรณรวมสัญญาณ แบบ เขา 2 / ออก 1หมายถึง สามารถรวมสัญญาณแผงอากาศได 2 เสนและออก(เพื่อเขาสูบานพักอาศัย)ได 1 เสน ลักษณะของการรวมสัญญาณเขา อาทิ VH + UHF หรือVHF + UHF เปนตนอุปกรณรวมสัญญาณ แบบ เขา 3 / ออก 1หมายถึงสามารถรวมสัญญาณแผงอากาศได 3 เสนและออก(เพื่อเขาสูบานพักอาศัย)ได 1 เสนลักษณะของการรวมสัญญาณเขา อาทิ VH + UHF+ UHF หรือ VHF + VHF + UHF เปนตนอุปกรณรวมสัญญาณ แบบ เขา 5 / ออก 1หมายถึงสามารถรวมสัญญาณแผงอากาศได 5 เสนและออก(เพื่อเขาสูบานพักอาศัย)ได 1 เสนลักษณะของการรวมสัญญาณเขา อาทิ V5 + V7 +V9 + V11 + UHF หรือ V6 + V8 + V<strong>10</strong> + V12 +UHF เปนตน<strong>10</strong>1


ตัวอยาง รูปแบบการใชงานอุปกรณรวมสัญญาณภายนอกอาคาร เชนหรือ<strong>10</strong>2


อุปกรณรวมสัญญาณภายในอาคารใชสําหรับรวมสัญญาณทั่วๆ ไป ซึ่งไมจําเปนตองมีคุณสมบัติในการกันน้ํา และอุปกรณที่มีคุณภาพ จําเปนตองเลือกใชอุปกรณตามความเหมาะสม และตองเปนอุปกรณที่ผลิตโดยใชแผงวงจร(PCB) ในการผลิตสินคา แบงตามลักษณะสัญญาณเขา ดังนี้อุปกรณรวมสัญญาณแบบ เขา 2 / ออก 1หมายถึง สามารถรวมสัญญาณได 2 INPUT และมีสัญญาณหลังจากรวมแลวจํานวน 1 OUTPUTลักษณะของการรวมสัญญาณประเภทนี้มีมากมาย อาทิ1. MIX2-VV หมายถึง การรวมสัญญาณ VHF กับ VHF2. MIX2-VU หมายถึง การรวมสัญญาณ VHF กับ UHF3. MIX2-UU หมายถึง การรวมสัญญาณ UHF กับ UHF4. VU/U-28,30 หมายถึง การรวมสัญญาณ 2-28 กับ 30-695. VU/U-32,34 หมายถึง การรวมสัญญาณ 2-32 กับ 34-696. VU/U-40,42 หมายถึง การรวมสัญญาณ 2-40 กับ 42-69เปนตนอุปกรณรวมสัญญาณ แบบ เขา 3 / ออก 1หมายถึง สามารถรวมสัญญาณได 3 INPUT และมีสัญญาณหลังจากรวมแลวจํานวน 1 OUTPUT ลักษณะของการรวมสัญญาณประเภทนี้มีดังนี้1. MIX3-VVU หมายถึง การรวมสัญญาณ VHF กับ VHF และ UHF2. MIX3-VUU หมายถึง การรวมสัญญาณ VHF กับ UHF และ UHF<strong>10</strong>3


ตัวอยาง รูปแบบการใชงานอุปกรณรวมสัญญาณภายในอาคาร เชนหรือ<strong>10</strong>4


อุปกรณรวมสัญญาณ MMDSเปนตัวรวมสัญญาณจากแผงอากาศ กับชุด MMDSเขาดวยกัน มีทางเขา 2 INPUT และทางออกOUTPUT โดยขาที่กําหนดใหเปน MMDS จะมีไฟผานเพื่อสงไปเลี้ยงชุดเสารับ MMDSใหทํางาน ดังนั้นจึงสลับขั้วตอไมไดอุปกรณรวมสัญญาณแบบนี้ เปนลักษณะของการผลิตเฉพาะพื้นที่ ดังตัวอยางเปนความถี่เฉพาะของเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึ่งอุปกรณรวมสัญญาณจะ แยกกําหนด ดังนี้• ANT INPUT(แผงอากาศ) จะกําหนดวา ยอมใหผานไดเฉพาะความถี่ระหวางชอง 2 - 32เทานั้น• MMDS INPUT(MMDS) ก็จะกําหนดวา ยอมใหผานไดเฉพาะความถี่ระหวางชอง 34 – 69เชนกัน<strong>10</strong>5


หากใชสเปคตรัมตรวจวัด จะปรากฏดังภาพเสนสีเหลือง คือ ลักษณะการกําหนดชองสัญญาณขาเขา ของแผงอากาศเสนสีเขียว คือ ลักษณะการกําหนดชองสัญญาณขาเขา ของ MMDSอุปกรณรวมสัญญาณแบบนี้จะชวยในเรื่องปองกันการรบกวนกันระหวาง แผงอากาศ กับMMDS เมื่อรวมสัญญาณแลวออกที่ OUTPUT สงเขาที่ INPUT ของบูสเตอร ทานควรปรับสัญญาณความแรงกอนขยายออก OUTPUTอุปกรณรวมพรอมขยายสัญญาณ หรือACTIVE CO<strong>MB</strong>INERที่เรียกวา “แอ็คทีฟ” หรือ “ACTIVE” เพราะวา ตัวรวมสัญญาณแบบนี้มีวงจรขยายสัญญาณดวยในตัว ตัวรวมสัญญาณที่ไมมีวงจรขยายสัญาณเรียกวา PASSIVE)MUV-<strong>10</strong>0<strong>10</strong>6


คุณสมบัติการทํางาน• รวมพรอมขยายสัญญาณ UHF 6 INPUT และ VHF 1 INPUT แตละทางเขาจะมีวงจรฟลเตอรสัญญาณใหผานไดเฉพาะยานความถี่ที่กําหนดไวเทานั้น• ปรับแตงความแรงสัญญาณแยกอิสระ UHF 15 dB และ VHF <strong>10</strong> dBตัวอยาง การตอใชงาน MUV-<strong>10</strong>0อุปกรณรวมสัญญาณดาวเทียม และแผงทีวี ที่มี UHF 6 INPUT & VHF 1 INPUT สัญญาณที่สงจากจานดาวเทียมเปน RF MODULATOR สัญญาณ RF ที่ได เปนความถี่ยาน UHF ที่สามารถปรับชองไดตั้งแต 21-69 ในภาพ มีทั้งหมด 6 ชอง เริ่มตั้งแต ชอง 34, 36, 38, 40, 42 และ44(สาเหตุที่ตองสงชองเวนชองจะกลาวในชวงของ MODULATOR)ความแรงสัญญาณที่ออกมาจากเครื่องรับดาวเทียมสวนใหญจะไมเกิน 70 dB สัญญาณก็จะมาเขาที่ตัวรวมสัญญาณ MUV-<strong>10</strong>0 ในตัวรวมสัญญาณนี้จะมีตัวปรับความแรงสัญญาณเพื่อปรับแตงใหสัญญาณเทากัน การรวมสัญญาณจะปรับแตงใหสัญญาณลดลง จึงตองมีตัวขยายสัญญาณอยู<strong>10</strong>7


ภายใน ที่เรียกวา “PRE BOOST” เกนประมาณ 15 dB และ MAXIMUM OUTPUT ไมเกิน <strong>10</strong>0 dBเพื่อที่จะทําใหสัญญาณทางออกมีความแรงพอที่จะสงเขาไปขยายตอ และนําไปใชงาน ซึ่งบูสเตอรสวนใหญตองการสัญญาณทางเขาไมต่ํากวา 80 dBACT-<strong>10</strong>Uคุณสมบัติการทํางาน• รวมพรอมขยายสัญญาณ UHF <strong>10</strong> INPUT แตละทางเขาจะมีวงจรฟลเตอรสัญญาณใหผานไดเฉพาะยาน UHF เทานั้น• ปรับแตงความแรงสัญญาณแยกอิสระ 15 dBอุปกรณรวมสัญญาณแบบ ACTIVE CO<strong>MB</strong>INER ที่มี UHF <strong>10</strong> INPUT แบบนี้ เปนการพัฒนาขึ้นมาจากรุน MUV-<strong>10</strong>0แตจะแตกตางตรงที่รุนนี้ไมมี INPUT VHF เนื่องจาก INPUT นี้ปจจุบันใชงานนอยลงเพราะสวนใหญแลวสัญญาณ VHF จะมีตัว CO<strong>MB</strong>INER รวมมาอยูแลว จึงมีการพัฒนารุน ACT-<strong>10</strong>Uขึ้นมาแทนใหตรงกับความตองการของลูกคามากขึ้น และราคาก็ใกลเคียงกับรุน MUV-<strong>10</strong>0<strong>10</strong>8


ตัวอยาง การตอใชงาน ACT-<strong>10</strong>Uหรือ<strong>10</strong>9


COMCAT-IIICOMCAT-III คือ อุปกรณรวมสัญญาณแบบ PASSIVE CO<strong>MB</strong>INER(ไมมีตัวขยายสัญญาณในตัว) ใชรวมสัญญาณแบบตลอดยาน ความถี่ระหวาง 40 – 860 MHz โดยสามารถใชรวมสัญญาณไดถึง 16 INPUTเนื่องจากเปนแบบ PASSIVE จึงมีอัตราการสูญเสียสัญญาณในตัวอุปกรณประมาณ 20 dBเพราะมียานความถี่การรวมสัญญาณกวางตลอดยานความถี่ และมีจํานวน INPUT เยอะมากการออกแบบเพื่อการผลิตยากกวาตัวรวมสัญญาณทั่วๆ ไป เพื่อใหไดคา “อิมพิแดนซ” ที่ถูกตอง จึงเปนเรื่องสําคัญ ถาออกแบบไมดี เมื่อนําสัญญาณไปรวมกันแลวจะเกิดการรบกวนขึ้นทันทีตัวรวมสัญญาณแบบนี้จะนําไปใชงานแบบทั่วๆ ไปไมได เนื่องจากตัวมันตองการ HIGHMAXIMUM INPUT มากกวา <strong>10</strong>0 dB จึงไมเหมาะที่จะใชงานทั่วๆ ไปโดยหลัก COMCAT-III จําเปนตองใชควบคู กับ MODULATOR ครับและดวยความตองการชองสัญญาณที่มากกวา 16 ชอง COMCAT-III พัฒนาคุณสมบัติสําหรับการรวมสัญญาณระหวาง COMCAT-III จํานวน 2 เครื่องเขาดวยกัน(รวมเปนสูงสุด 32 ชอง)โดยสูญเสียสัญญาณนอยโดยนําสัญญาณ OUTPUT จากเครื่องแรก มารวมสัญญาณที่ INPUT B ของเครื่องที่สองและนําสัญญาณ INPUT A ของเครื่องที่สองเชื่อมสัญญาณที่ OUTPUT ของเครื่องที่สอง1<strong>10</strong>


ทานจะไดสัญญาณ OUTPUT ที่จุด “TRUNK OUTPUT” จากเครื่องที่สอง เพื่อสงในระบบ MATVตัวอยาง การตอใชงาน COMCAT-IIIหรือ111


อุปกรณรวมสัญญาณแบบนี้ สวนใหญจะนําไปใชงานกับระบบงานขนาดใหญ ที่ตองการคุณภาพสัญญาณดี เนนไปที่ CLOSE SYSTEMS เปนหลักครับ(ทานศึกษาเพิ่มไดที่บทที่ 5)RF MODLATORคืออุปกรณรวมสัญญาณ AUDIO และ VIDEO ใหเปนคลื่นวิทยุ(ตอไปผมขออนุญาตเรียกวา “มอดฯ” ครับ)มอดฯ มีหลายชนิด แตละชนิดมีคุณสมบัติในการใชงานแตกตางกันไปขึ้นอยูกับการเลือกนําไปใชงานตามลักษณะตางๆ ชางติดตั้งจึงตองเรียนรูหลักการทํางานและคุณสมบัติของมอดฯเพื่อที่จะนํามอดฯ ไปใชไดอยางถูกตองประเภทของมอดฯมอดฯ แบงออกมาไดสามแบบ(ที่จริงมียอยมากกวานี้ แตถาทานเขาใจสามแบบนี้ก็จะมีพื้นฐานในการเรียนรูเพิ่มเติมตอไป) คือ1. MODULATOR2. MOD SHIFT3. FIX MODULATORหลักการทํางานสัญญาณภาพเขามาทางขา V และสัญญาณเสียงเขามาทางขา A ในตัวมอดฯ ผลิตควาวถี่คลื่นพาหเพื่อไปผสมเปนความถี่คลื่นวิทยุ ออกที่ RF OUTโดยกําหนดความถี่เปนชองไดตามตองการในยาน UHF112


MODULATOR หรือ มอดกระปองคือมอดฯ แบบที่ติดมากับตัวเครื่องรับดาวเทียมทั่วไป หรือที่เรียกกันวา “มอดกระปอง”(แคเรียกชื่อ ฟงดูก็ไมนาเชื่อถือแลวครับ ผลงานก็พอถูไถไดครับ ขึ้นอยูกับฝมือ)RF Modulator แบบกระปองมอดฯ แบบนี้จะมีอยูในเครื่องรับดาวเทียมทั่วไป โดยทําหนาที่รวมสัญญาณ AV ใหออกมาเปนคลื่น RF ความถี่ยาน UHF และสามารถปรับความถี่ไดตั้งแตชอง 21 – 69 ซึ่งโดยเจตนาของผูผลิตออกแบบมาเพื่อนําไปใชงานสําหรับทีวีเพียงเครื่องเดียว แตเนื่องดวยคุณสมบัติที่สามารถ SHIFTเลื่อนความถี่ได โดยการสั่งโปรแกรมจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม ทําใหชางติดตั้ง(เนนหนักเฉพาะบานเราครับ) จึงนําไปใชสงเขาระบบทีวีรวม MATV ภายในอาคารซะเลยตัวอยาง การตอสัญญาณ RF หลังเครื่องรับสัญญาณ113


ตัวอยาง การตอสัญญาณ RF หลังโทรทัศนตัวอยาง การตอสัญญาณ RF เพื่อใชงานเพียงจุดเดียวหากใชงานเพียงจุดเดียว ก็ไมมีปญหาอะไรครับแตถาจะดัดแปลงไปใชกับการสงสัญญาณเขาระบบโรงแรมฯ เราก็ตองเรียนรู และเขาใจถึงธรรมชาติการทํางานของระบบถึงขอจํากัดดานตางๆ เพื่อเราจะไดรู และหาทางแกไขไดถูกตอง114


ตัวอยาง รูปสัญญาณ RF ที่ออกจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมสัญญาณจริง เลข 1 และมีสัญญาณที่ผลิตออกมาขางเคียงเลข 2 และเลข 3 ออกมาดวย และหากเปนเครื่องรับดาวเทียมคุณภาพต่ําดวยแลว สัญญาณรบกวนยิ่งมากขึ้นในเมื่อลักษณะสัญญาณที่ไดออกมาแบบนี้ หากเรานําไปตอรวมกันตามรูป นี้สมมุติวาเราจูนชองสงสัญญาณเปน 34, 36, 38, 40.....ตามลําดับ เราจะไดสัญญาณ ดังนี้จากรูป สัญญาณจริง ชอง 34, ชอง 36 และชอง 38.........(เสนสีแดง) จะมีสัญญาณที่เรียกวา“ฟุง” คือ เสนสีฟาที่ฟุงกระจายออกมา ซึ่งทําใหภาพที่ออกมามีเสนรบกวน115


การที่จะนํามอดฯ ที่ติดเครื่องรับไปใชงานได ทานตองใสฟลเตอรเฉพาะชอง หรือ OCF ไปตอรวมดวย จึงจะแกปญหาการรบกวนสัญญาณได ดังภาพจากตัวอยางในรูป ในวงรีจะเปนตัวฟลเตอร OCF ใชกรองสัญญาณเฉพาะชอง เชน34,36,38………… สัญญาณกอนผานตัวฟลเตอร จะมีสัญญาณรบกวนเปนเสนปะไขปลาสีฟา แตเมื่อสัญญาณผานตัว OCF มารวมกันที่คอมไบเนอรแลวสงออกไป สัญญาณสีฟาถูกดักเอาใวหมดจึงมีแตสัญญาณจริงสีแดงผานมาอีกปจจัยที่ทําใหมีการรบกวนในมอดฯแบบนี้ คือสัญญาณที่ออกมานั้นเปน DOUBLE SIDE BAND คือ มีสัญญาณทั้งสองดาน ตามรูป116


โดยปกติการสงสัญญาณในระบบที่เรามักพบจะเปน DOUBLE SIDE BAND คือ มีสัญญาณลูกเล็กที่อยูดานซายและดานขาว และมีสัญญาณภาพอยูตรงกลางสัญญาณลูกเล็กที่อยูดานขวา เรียกวา USB UPPER SIDE BAND เปนสัญญาณเสียงที่สงมาสวนสัญญาณลูกเล็กที่อยูทางดานซาย เรียกวา LSB LOWER SIDE BAND สัญญาณทางดาน LSB นี่แหละเปนสัญญาณรบกวน ซึ่งโดยปกติมอดฯ ทั่วไปจะมี LSB ออกมาดวยสัญญาณ Double Side Bandซึ่งทําใหเวลาสงชองไปติดกันเกิดการรบกวนกันระหวางชอง สัญญาณรบกวนที่ตัวมอดฯผลิตออกมาเชน เราตองการสงชอง 34 คือ มีสัญญาณจริงออกชอง 34 แตตัวมอดฯแบบนี้เองก็แถมผลิตความถี่ชองขางเคียง เชนชอง 38, 41, 46 ออกมาดวย ยิ่งเมื่อนําเอาหลายๆ ตัวมารวมกันดวยแลวไมตองพูดถึงวาจะมีสัญญาณรบกวนออกมาขนาดไหน ดังนั้นภาพที่ออกมาก็จะไมใสจะมีลายเสนรบกวนทางแนวนอนปญหาที่พบบอยในมอดฯแบบนี้ คือ1. ภาพมีลายเสนรบกวน2. ภาพเปนสโนว เพราะความถี่สูงสายในอาคารไมรองรับ3. ชองเคลื่อนตองเขาไปบริการบอย เนื่องจากไฟฟาดับบอย4. สงงานไมผาน117


ตามรูปถาดูภาพทางดานซายมือตรงบริเวณใบหนาจะมีเสนริ้วๆ อยู ถาไมมีภาพมาเปรียบเทียบก็จะไมรูวาความชัดมันเปนอยางไร จึงมีภาพตรงบริเวณผม มาเปรียบใหดู ภาพที่ชัดตองเปนแบบนี้การที่จะนํามอดฯ แบบนี้มาใชงานใหมีประสิทธิภาพก็สามารถที่จะทําได แตตองมีอุปกรณฟลเตอรสัญญาณรบกวน เชน OCF ตัวฟลเตอรนี้จะทําหนาที่ตัดสัญญาณที่ฟุงออกมาจากมอดฯ ไดแตอยางไรการนําไปใชงานใหไดดีจริงนั้นทําไดยาก เพราะมีปจจัยหลายดานเชน1. ความถี่ของมอดฯ แบบนี้สงไดเฉพาะยาน UHF ตองสงชองเวนชองทําใหไมสามารถสงชองไดมาก2. การสงความถี่สูงทําใหการสงสัญญาณเขาระบบ หากสายนําสัญญาณในอาคารที่ติดตั้งไมดีก็ทําใหสงสัญญาณไมผาน3. ชางติดตั้งตองมีความรู ประสบการณ และเครื่องมือตรวจวิเคราะหเพื่อทําการเซ็ตระบบเขียนมาถึงตรงนี้คงคิดวามอดฯ แบบนี้คงไมเปนที่นิยมใชกันใชไหมครับ?ในความเปนจริงโรงแรม และอพารทเมนท กวา 80% ใชมอดฯที่ติดมากับเครื่องแบบนี้ในเมื ่อมันไมดี ทําไมใชกันเยอะ ?118


ความเห็นสวนตัวของผมสาเหตุที่ชางนํามอดฯ แบบนี้ไปใช เนื่องจากรับงานมาในราคาที่ต่ํา หรือโดนกดราคา และบางทีก็ทําไปโดยไมรู เห็นเขาทํากันก็ทําบางMOD SHIFT(MODULATOR SHIFT CHANNEL ALL BAND)มอดฯแบบปรับความถี่ไดตลอดยานมอดฯแบบที่แลวเปนมอดฯที่ติดมากับเครื่องรับดาวเทียม ซึ่งปรับความถี่ไดแตยานความถี่UHF คือ ชอง 21 - 69 ซึ่งมีขอจํากัดในการนําไปใชงาน จึงมีมอดฯ อีกแบบใหเลือกนําไปใชงาน ซึ่งมอดฯแบบนี้ จะมีระบบการทํางานที่ดีกวามอดฯ แบบแรก คือ มอดฯแบบนี้จะมีเทคโนโลยีควบคุมการจูนนิ่งตลอดยานความถี่119


ในปจจุบัน(ตอนเขียนตนฉบับนี้) มี “โมโตโรลา” ที่สามารถผลิตชิพนี้ไดเทานั้นและ ตอนนี้ไดพัฒนาเปน VERSION 2 แลว ทําใหคุณภาพดีขึ้นมาก และราคาตนทุนการผลิตก็ลดลงพอสมควร จากอดีตตั้งราคาขายกันในระดับหมื่นขึ้น แตในปจจุบันลดลงเหลือสองสามพันบาท รวมไปถึงขนาดของ BODY ก็เล็กลงอีกดวยวงจรการตอใชงาน CHIP MOTOROLAโครงสรางภายใน IC ควบคุมการทํางานดวย CPU120


บล็อคไดอะแกรม แสดงการทํางานในวงจรมอดฯ แสดงใหเห็นวาสัญญาณ VIDEO เขาที่ขา 9 จากนั้นสัญญาณภาพจะผานวงจร CLAMP & PEAK WHITECLIP คือ วงจรปรับแตงสัญญาณใหภาพขาวดํามีความเหมาะสมที่สุด แลวสงเขาวงจร VIDEOMODULATORสวนสัญญาณเสียง AUDIO เขาขาทาง 7 สัญญาณผานเขาไปขยายกอนที่ AUDIOAMPLIFIER แลวสงไปเขาวงจร SO&FM MODULATOR ปรับเปลี่ยนสัญญาณใหเปนระบบ FMจากนั้นก็สงตอไปผาน FM S/W กอนสงไปเขาวงจร SOUND MODULATOR สงผานวงจร LPF ไปรวมกับสัญญาณภาพ ที่ + สงออกไปที่ RF OUTขาที่ควบคุมการปรับเปลี่ยนความถี่ ขาที่ 1, 2 เปนขาควบคุมการปรับความถี่ RF ซึ่งจะควบคุมจาก CPU PLL(PHASE LOCK LOOP) โดยการสั่งงานแบบเปรียบเทียบเวลา และสัญญาณพัลส PLL จึงจะสามารถปรับเปลี่ยนความถี่ไดตลอดยานหากทานตองการปรับเปลี่ยนชองสงสัญญาณ ใหกดปุม UP หรือ DOWN อุปกรณจะแสดงตัวเลขดิจิตอล 3 หลักที่จอระบบควบคุมการปรับเปลี่ยนสัญญาณจะทําการล็อคอัตโนมัติ เมื่อไมมีการกดเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ปุมควบคุมการทํางานภายในระยะเวลาหนวงประมาณ 3 วินาที ที่กําหนดไว121


รูปแบบการกําหนดชองสัญญาณ ดังนี้ตัวอยางการกําหนดชอง 3 ยาน VHF LOWตัวอยางการกําหนดชอง S7 ยาน S LOWตัวอยางการกําหนดชอง S9 ยาน S LOWตัวอยางการกําหนดชอง S18 ยาน S HIGHตัวอยางการกําหนดชอง E25 ยาน UHF LOWตัวอยางการกําหนดชอง E37 ยาน UHF LOW122


ตัวอยางการกําหนดชอง E45 ยาน UHF HIGHตัวอยางการกําหนดชอง E69 ยาน UHF HIGHการปรับชองขางตน เมื่อนําสัญญาณมารวมกัน จะไดรูปสัญญาณดังนี้123


MOD SHIFT มีขอดีในการปรับความถี่ไดตลอดยานก็จริง แตก็มีขอเสีย คือ การผลิตความถี่ขางเคียงออกมาดวย ซึ่งเปนธรรมชาติของมอดดูเลเตอรที่ชิพชองความถี่ไดตองเปนแบบนี้ จึงมีผลทําให “ไมสามารถนํามาสงชองติดกันได” ทานจําเปนจะตองเซ็ตสัญญาณสงแบบ “ชองเวนชอง”ความถี่ขางเคียงที่วานี้มีชื่อเรียกตามศัพยวา ฮาโมนิคที่สอง สาม......[HARMONIC 2, 3…]สัญญาณที่สอง และที่สามนี้ เปนสัญญาณที่ไมพึงประสงค เพราะมันจะไปรบกวนกับชองอื่นๆ เมื่อนําไปรวมสัญญาณ จึงขอกลาวถึงที่มาที่ไปของสัญญาณนี้ เพื่อใหทานผูอานไดเขาใจที ่มาของมันเมื่อเราเขาใจแลวเราจะไดมีความรูที่จะจัดการกับมันไดแลวอยางนี้จะดีกวา MODULATOR ที่ติดกับเครื่องรับแบบแรกอยางไร???ขอแตกตางใหญๆ คือ สัญญาณที่ไดจะสะอาดมากกวาแบบแรก และ แบบนี้ปรับชองเปนVHF S-BAND ได โดยที่แบบแรกไมสามารถทําได ดังนั้นทานจะมีชองสําหรับการสงมากขึ้นนั่นเองสัญญาณรูปที่ 1 เปนสัญญาณที่เราตองการสงออกไปใชงานจริง แตก็มีการผลิตสัญญาณที่สอง ที่สาม ที่สี่.... ออกมาดวย และสัญญาณนี้จะมีคาผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงคาสัญญาณจริงตัวอยาง สัญญาณจริงเราสงออกมาเปนชอง 4 ความถี่ 62 MHz ถามวาสัญญาณฮาโมนิคที่ 2 และ 3เทากับเทาไร?• ฮาโมนิคที่ 2 ใหใชเลข 3 คูณ กับความถี่ที่สงจริง คือ HARMONIC 2 = 62 x 3 = 186 MHz• ฮาโมนิคที่ 3 ใหใชเลข 5 คูณ กับความถี่ที่สงจริง คือ HARMONIC 3 = 62 x 5 = 3<strong>10</strong> MHzเมื่อเทียบคาฮาโมนิคจากผลการคูณดังกลาวตามตาราง ทานผูอานจะพบวา• HARMONIC 2 = 186 MHz อยูในยาน VHF BAND ชองที่ 7• HARMONIC 3 = 3<strong>10</strong> MHz อยูในยานไมไดใชงานหมายความวา หากสงสัญญาณจริงชอง VL4 สัญญาณ HARMONIC 2 จะขามไปรบกวนชองที่VH7 แนนอน124


125

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!