13.07.2015 Views

CARDIAC ARRHYTHMIA - Thaiheartclinic.com

CARDIAC ARRHYTHMIA - Thaiheartclinic.com

CARDIAC ARRHYTHMIA - Thaiheartclinic.com

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>CARDIAC</strong> <strong>ARRHYTHMIA</strong>เรียบเรียงโดยนพ.เจริญลาภ อุทานปทุมรส อายุรแพทยโรคหัวใจ ความรูพื้นฐานของ <strong>CARDIAC</strong> RHYTHMTACHY<strong>ARRHYTHMIA</strong>/ PREMATURE BEATSBRADY<strong>ARRHYTHMIA</strong>/ HEART BLOCK


Accelerated junctional rhythmRhythmP waveQRS <strong>com</strong>plexP-QRS relationshipลักษณะทุกอยางเหมือน junctional rhythm แต rate 60-100/minสาเหตุที่พบ เชน myocardial ischemis, drug, electrolyte abnormalities Junctional tachycardia [ถาเปนในผูใหญ เรียกวา Nonparoxysmal AV junctional tachycardia(NPJT)][ถาเปนในเด็ก เรียกวา junctional ectopic tachycardia or JET]Rhythm สม่ําเสมอP waveอาจจะนําหนา(โดยมีP wave หัวกลับ และPR interval


Idioventricular rhythm ไมจัดเปน tachyarrhythmiaRhythm สม่ําเสมอP waveไมมีQRS <strong>com</strong>plex QRS interval มากกวา 0.12sec,rate 20-40/minP-QRS relationship ไมมีAccelerated idioventricular rhythm (AIVR)Rhythm สม่ําเสมอP waveไมมี P wave หรือมี P wave แตเปน AV dissociationQRS <strong>com</strong>plex QRS interval มากกวา 0.12sec,rate 60-100/minP-QRS relationship อาจจะมีหรือไมมี AV dissociation


Atrial fibrillationRhythm ไมสม่ําเสมอ ยกเวนกรณีมี <strong>com</strong>plete heart block รวมดวย*P wave ไมมี P wave แตมี fibrillation waveซึ่ง coarse AF อาจเห็นลักษณะคลาย P wave ได;atrial rate350-600/minQRS <strong>com</strong>plex QRS interval นอยกวา 0.12sec (ยกเวนกรณีมี conduction disturbances);ventricular rate ไมแนนอน อาจชาหรือเร็ว**P-QRS relationship ไมมี- *ในกรณีที่มี <strong>com</strong>plete heart block รวมดวย ก็จะมี cardiac rhythm อีกชนิดหนึ่งเกิดขึ้นดวย เชน junctional rhythm,idioventricular rhythm เปนตน


- **แตถา ventricular rate เร็ว>200/min ใหนึกถึงภาวะ catecholamine excess,parasympathetic withdrawal, preexcitationsyndrome(มี accessory bypass tract) ดังรูปAtrial flutterRhythm สม่ําเสมอ ยกเวนกรณี มี varying degrees of AV blockP wave ไมมี P wave แตจะมี flutter wave แทนลักษณะเปนฟนเลื่อย เห็นไดชัดในlead II,V1atrial rate 240-340/min(type I) หรือ 340-440/min(type II)QRS <strong>com</strong>plex QRS interval นอยกวา 0.12 sec(ยกเวนกรณีมี conduction disturbances); ventricular rate ไมแนนอน ขึ้นกับ AV block (มักเปนเลขคูเชน 2:1, 4:1 block มากกวาเลขคี่ เชน 3:1, 5:1 block)-ถาเปน 2:1 AV block ventricular rate จะประมาณ 150/min-ถาเปน 3:1 AV block ventricular rate จะประมาณ 100/min-ถาเปน 4:1 AV block ventricular rate จะประมาณ 75/min* จะเกิด 1:1 AV conduction ทําให ventricular rate 300/min ไดเฉพาะกรณี accessory bypasstracts(ดังรูป), sympathetic excess, and parasympathetic withdrawalP-QRS relationship มักจะมี pattern ที่ชัดเจนตาม ratio ของ AV block


Atrial tachycardiaRhythm สม่ําเสมอ ยกเวน มี varying degrees of AV blockP wave มักมีรูปรางไมกลมมนเหมือนsinus; atrial rate 100-250/min (บางครั้งมองไมเห็น P wave ทําใหดูเหมือน junctional tachycardia[4])QRS <strong>com</strong>plex QRS interval นอยกวา 0.12sec(ยกเวน กรณีมี conduction disturbances); ventricular rate ขึ้นกับAV blockP-QRS relationship ขึ้นกับ ratio ของการมี AV blockMultifocal atrial tachycardiaRhythm ไมสม่ําเสมอ อาจสับสนวาเปน atrial fibrillation ไดP wave มีรูปรางแตกตางกันอยางนอย 3 รูปราง; atrial rate โดยเฉลี่ยมากกวา 100/min*QRS <strong>com</strong>plex QRS interval นอยกวา 0.12sec (ยกเวน กรณีมี conduction disturbances); ventricular rate ตามatrial rateP-QRS relationship เปนแบบ 1:1- มักพบในรายที่เปน pulmonary disease เชน COPD-*ถา rate


Supraventricular tachycardiaRhythm สม่ําเสมอP waveมักไมเห็น หรือเห็นกอนหรือตามหลัง QRS <strong>com</strong>plex เปน retrograde P wave( หัวกลับในleadI,II)QRS <strong>com</strong>plex QRS interval < 0.12sec(ยกเวนกรณีมี conduction disturbances); ventricular rate 150-250/minP-QRS relationship ไมเห็นชัดเจน เนื่องจาก typical case มักไมเห็น P wave เพราะฝงตัวอยูใน QRS <strong>com</strong>plexแบงเปน 2 ชนิดคือ1.AV nodal reentrant tachycardia(AVNRT) เปนแบบที่พบบอยที่สุด(ดังรูป)เรียกอีกชื่อหนึ่งวา junctional reciprocating tachycardia2.AV reentrant tachycardia(AVRT)ชนิด orthodromic ซึ่งเกิดในรายที่มีaccessory pathway (WPW syndrome)


- ในกรณีของ orthodromic AV reentrant tachycardia- จะมี antegrade limb ผานมาทาง AV node และ retrograde limb ทาง accessory pathway โดย QRS interval จะไมกวางเหมือนกรณี antidromic AV reentrant tachycardia (ยกเวนกรณีมี preexisting bundle branch block)- Pwaveมักจะเห็นอยูบริเวณ ST segment โดยมี RP’ interval < P’R interval (กลาวคือ retrograde P wave อยูตามหลังQRS ตัวหนา)


Antidromic AV reentrant tachycardiaRhythmregularP wave มักไมเห็น P wave;แตถาเห็น retrograde P จะอยูหลัง QRS โดยที่ RP’ interval > P’R interval(กลาวคือ ระยะ RP’ interval มากกวาครึ่งหนึ่งของ RR interval);atrial rate 150-250/minQRS <strong>com</strong>plex QRS interval กวางกวา 0.12 sec;ventricular rate 150-250/minP-QRS relationship ไมเห็นชัดเจน- ในกรณีของ antidromic AV reentrant tachycardia จะมี antegrade limb ผานมาทาง accessory pathway และ retrogradelimb ทาง AV nodeVentricular tachycardiaRhythm Regular แตอาจไมสม่ําเสมอไดเล็กนอยP waveมักไมเห็น; แตอาจเห็น P wave ไดแตเปนแบบ AV dissociation คือไมสัมพันธกับ QRSQRS <strong>com</strong>plex QRS interval กวางกวา 0.12 sec;ventricular <strong>com</strong>plex ติดตอกันตั้งแต 3 ตัวขึ้นไป และถาduration30sec เรียก sustained VT; ventricular rate >100/minP-QRS relationship มักไมเห็นลักษณะที่ชวยวินิจฉัย ventricular tachycardia ไดแก-มี positive หรือ negative concordance ของ QRS <strong>com</strong>plex ใน precordial leads (มีแต R waves หรือมีแต S waves)-มี monophasic Rr' pattern in lead 1 (เรียกวา rabbit ears) โดยมีหูขางซายสูงกวาหูขางขวา


-indeterminate QRS axis (อยูในชวง -90 and -180º)-มี evidence ของ AV dissociation เชน การเกิด fusion beats (QRS <strong>com</strong>plex จากsinusปกติมาผสมกับ QRS <strong>com</strong>plex จากVT), capture beatsหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา Dressler beats (QRS <strong>com</strong>plex จากsinus ปกติ) โดยมีวิธีสังเกตคือ• มี P wave นําหนา fusion beats และ capture beats• ใน fusion beats จะมี QRS รูปรางกวางและผสมกันระหวางตัวปกติกับVT• ใน capture beats จะมี QRS รูปรางแคบเหมือนตัวปกติรูปรางของ QRS ถาเหมือนกัน เรียกวา monomorphic VT ถามีรูปรางตางกัน เรียกวา polymorphic VT ดังรูป


Torsade de PointesRhythm ไมสม่ําเสมอP waveไมมีQRS <strong>com</strong>plex QRS interval กวางและรูปรางไมเทากัน แตมี pattern คลายเปน waveสูงต่ําสลับกันบิดเปนเกลียวคลื่นP-QRS relationship ไมมี


Sinus bradycardiaBradyarrhythmiaRhythm สม่ําเสมอP waveรูปรางปกติแบบ sinus; atrial rate


Idioventricular rhythmRhythm สม่ําเสมอP waveไมมีQRS <strong>com</strong>plex QRS interval มากกวา 0.12sec,rate 20-40/minP-QRS relationship ไมมีAsystoleRhythmP waveQRS <strong>com</strong>plexP-QRS relationshipไมมี waveไมมี waveไมมี waveไมเห็นHeart blockHeart block หมายถึงภาวะที่มีการปดกั้นหรือทําใหชาลงของการนําไฟฟาในหัวใจ ปกติเราจะแบงเปน 3ระดับตามความรุนแรงเรียกวา first,second,third degree AV block


First degree AV blockRhythm สม่ําเสมอP waveรูปรางปกติเหมือน sinus; atrial rate ไมจํากัดQRS <strong>com</strong>plex QRS interval


Second degree AV blockRhythm สม่ําเสมอP waveรูปรางปกติเหมือน sinus; atrial rate ไมจํากัดQRS <strong>com</strong>plex QRS interval


-ถาเปนกรณี 2:1 AV block จะไมสามารถแยกไดวาเปน Mobitz type I or type II blockAdvanced or High-degree AV block(High-grade AV block)เปน second degree AV block ที่เปนมากกวา Mobitz type I และ type II โดยจะมี non-conducted P wave ติดตอกันหลายตัว


Third degree AV blockRhythm สม่ําเสมอP waveแลวแต rhythm ของ atrium เชน sinus, AFQRS <strong>com</strong>plex QRSอาจจะกวางหรือแคบก็ได ,ถาแคบจะเปน junctional escape rhythm rate40-60bpm;ถากวางจะเปนventricular escape rhythm rate 20-40bpmP-QRS relationship ไมมีความสัมพันธกันThird degree AV block หรืออีกชื่อหนึ่งวา <strong>com</strong>plete AV block ทําใหคลื่นไฟฟาหัวใจไมสามารถผานจากatriumสูventricleไดจะมีภาวะที่เรียกวา AV dissociation(third degree AV blockจะมี AV dissociation แต AV dissociationไมจําเปนตองเปน thirddegree AV block)เอกสารอางอิง1. Alfred EB et al. ACC/AHA/HRS 2006 Key Data Elements and Definitions for Electrophysiological Studies andProcedures. J Am Coll Cardiol, 2006; 48:2360-2396(http://content.onlinejacc.org/cgi/content/full/48/11/2360/FOO13)2. Zipes DP, Libby P, Bonow RO, Braunwald E, eds. Braunwald's Heart Disease: A Textbook of CardiovascularMedicine . 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders; 2005.3. http://library.med.utah.edu/kw/ecg/ecg_outline/Lesson5/supra.html4. Zipes DP et al. Atrial tachycardia without P waves masquerading as an A-V junctional tachycardia. Circulation1977 Feb;55(2):253-60.5. http://www.medscape.<strong>com</strong>6. http://en.ecgpedia.org/wiki/AV_Conduction

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!