16.07.2015 Views

Pediatric acute renal failure

Pediatric acute renal failure

Pediatric acute renal failure

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เชน IL-6, IL-8 และ C3a จากการผาน cardiopulmonary bypass มีผลทําใหการทํางานของไตลดลง 9 การใชยากระตุนหัวใจเชน dopamine และยา epinephrine ในขนาดสูง เพื่อรักษาสัญญาณชีพก็มีผลใหมีการหดตัวของเสนเลือด afferent ทําใหมีการลดลงของอัตราการกรองของไตGlomerular hydrostatic pressureAfferent arterioleEfferent arterioleRenal tubular cellA. แสดงภาวะปกติที่มีเสนเลือด afferent arteriole เขา glomerulus และมีเสนเลือด efferentarteriole ออกจาก glomerulus ไปเลี้ยงบริเวณ <strong>renal</strong> tubule ผานทางเสนเลือด peritubularcapillary และ vasa rectaGlomerular hydrostatic pressureAfferent arterioleEfferent arterioleRenal tubular cellB. ในภาวะ low cardiac output, ภาวะเสียเลือดระหวางผาตัด, ภาวะ capillary leakage syndromeเลือดไปเลี้ยงไตลดลง เสนเลือด afferent arteriole จะขยาย และมีการตีบของ efferent arterioleเพื่อรักษาglomerular hydrostatic pressure ใหคงที่


รูปที่2 แสดงคา serum และ urine NGAL ในผูปวยเด็กที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันเทียบกับผูปวยที่ไมมีภาวะดังกลาว


การปองกันภาวะไตวายเฉียบพลันในอดีตมีความพยายามในการใช <strong>renal</strong> dose dopamine (0.5 – 5 mcg/kg/min) ซึ่งมีฤทธิ์vasodilatation และ natriuresis ทําใหเลือดไปเลี้ยงไตมากขึ้นและเพิ่มปริมาณปสสาวะ นํามาปองกันและรักษาภาวะไตวายเฉียบพลันอยางไรก็ตามพบวาการใชยา dopamine ในขนาดดังกลาวไมสามารถปองกันและรักษาภาวะดังกลาวได11 ปจจุบันมีการใชยา fenoldopam ซึ่งเปน selective peripheral dopamineD 1A receptor agonist ในผูปวยผูใหญพบวายาดังกลาวลดอัตราการทํา <strong>renal</strong> replacement therapy ลงได 12 ในผูปวยเด็กยังไมมีการศึกษามากนัก แตมีบางรายงานพบวาลดอัตราการทํา <strong>renal</strong> replacementtherapy ไดเชนกัน 13 สําหรับยา N-acetylcysteine ซึ่งใชปองกันภาวะ radiocontrast inducednephropathy มาใชปองกันภาวะไตวายเฉียบพลันในผูปวยที่ไดรับการผาตัดหัวใจนั้นไมเปลี่ยนแปลงอัตราการตาย และอัตราการเกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน 14การรักษาโดยปกติ oliguric phase ของภาวะ <strong>acute</strong> tubular necrosis (ATN) มักใชเวลา 7-14 วัน ในระยะนี้ผูปวยจะมีปสสาวะออกนอย ดังนั้นแนวทางการรักษาภาวะดังกลาวโดยทั่วไป คือจํากัดสารน้ําควบคุมดุลเกลือแร และหลีกเลี่ยงการใชยาที่มีผลขางเคียงตอไต ขอบงชี้ในการบําบัดทดแทนไต (<strong>renal</strong>replacement therapy) คือภาวะ volume overload, severe hyperkalemia และ severe metabolicacidosis เปนตน อยางไรก็ตามในผูปวยเด็กหลังผาตัดหัวใจมักไดรับสารน้ํา เลือด และสวนประกอบตางๆของเลือดจํานวนมาก ดังนั้นการรักษาภาวะ ATN หลังผาตัดหัวใจดวยวิธีจํากัดน้ําเพียงอยางเดียวจึงไมสามารถทําได ผูปวยกลุมนี้จึงมักจะไดรับการรักษาดวยวิธีบําบัดทดแทนไตภายหลังเกิดภาวะไตวายเฉียบพลันในทางปฏิบัติถาผูปวยที่มีโอกาสในการเกิดภาวะไตวายเฉียบพลันหลังผาตัดมักจะไดรับการใสสายtenckhoff catheter ในหองผาตัดโดยศัลยแพทย ผูปวยที่มีภาวะ oliguric <strong>acute</strong> <strong>renal</strong> <strong>failure</strong> หรือเริ่มมีภาวะ metabolic acidosis หลังผาตัดมักจะไดรับการรักษาโดยวิธีการบําบัดทดแทนไตอยางรวดเร็ว ตางจากขอบงชี้ในการรักษาภาวะ ATN ทั่วไป เนื่องจากภาวะ metabolic acidosis ที่เกิดขึ้นจะยิ่งทําใหการทํางานของหัวใจลดลงและลดการตอบสนองของรางกายตอยากระตุนหัวใจสําหรับการรักษาบําบัดทดแทนไต ( <strong>renal</strong> replacement therapy) ทําไดหลายวิธีคือ1. Peritoneal dialysis2. Intermittent hemodialysis3. Sustained Low-Efficiency Dialysis (SLED)4. Slow continuous ultrafiltration (SCUF)5. Continuous venovenous hemofiltration (CVVH)6. Continous venovenous hemodialysis (CVVHD)7. Continuous venovenous hemodiafiltration (CVVHDF)


Peritoneal dialysisการรักษาภาวะไตวายเฉียบพลันโดยวิธี peritoneal dialysis เปนวิธีที่นิยมในผูปวยเด็กที่ไดรับการผาตัดหัวใจ 15 เนื่องจากสามารถทําไดแมวาสัญญาณชีพของผูปวยไมคงที่ งายและไมใชอุปกรณที่มีความยุงยากนัก โดยอาศัยหลักการใช เยื่อบุชองทอง (peritoneum) เปนที่แลกเปลี่ยนสารตางๆจากกระบวนการdiffusion ระหวางเสนเลือดฝอยบริเวณเยื่อบุชองทองกับน้ํายา dialysate ที่ใสไปในชองทอง เชนผูปวยที่มีภาวะเลือดเปนกรด lactate จากน้ํายา dialysate จะมีการซึมผานเขาสูรางกายผานเยื่อบุชองทองและเปลี่ยนเปน bicarbonate ในรางกาย จึงเปนการแกไขภาวะเลือดเปนกรด นอกจากนั้นการที่น้ํายา dialysateมีน้ําตาลทําใหมี osmolarity สูงกวาในเลือด ดังนั้นน้ําในรางกายจะซึมผานเยื่อบุชองทองเขาไปในชองทองที่มีน้ํายา dialysate อยู เรียกกระบวนการนี้วา ultrafiltration ดังนั้นการรักษาดวยวิธี peritonealdialysis จึงเปนการแลกเปลี่ยนของเสียดวยวิธี diffusion และขจัดน้ําออกจากรางกายดวยวิธีultrafiltration แมวาเยื่อบุชองทองของรางกายมีความสามารถจํากัดในการในแลกเปลี่ยนสารตางๆ ทําใหกระบวนการแลกเปลี่ยนสารตางๆและการขจัดน้ําเปนไปอยางชาๆ ทําใหไมรบกวนความดันโลหิตและสัญญาณชีพของรางกายมากนักสําหรับชนิดของ catheter ที่ใสในชองทองนิยมใชสาย tenckhoff catheter มากกวาใชสายtrocath เนื่องจากสาย trocath มักจะใชไดไมเกิน 72 ชั่วโมง เพราะมีโอกาสติดเชื้อในชองทองสูง ในผูปวยเด็กมีขนาดใหเลือกคือ neonatal size และ pediatric size ชนิดสายตรง (straight) และโคงขดเปนวง(coil) โดยใชแตกตางตามน้ําหนักและอายุของผูปวย ในผูปวยเด็กน้ําหนักมากกวา 25-30 กิโลกรัม สามารถใชสายขนาดผูใหญ (adult size)ได สาย tenckhoff ชนิดโคงมีขอดีกวาชนิดตรงคือลดการเกินภาวะอุดตันสายจาก omentum และลดอาการปวดทองระหวางน้ํายาไหลเขาและออกจากรางกายสําหรับความเขมขนของน้ําตาลในน้ํายา dialysate มีทั้งขนาด 1.5%, 2.5% และ 4.25%เชนเดียวกับผูใหญ ในกรณีที่ตองการขจัดน้ําออกจากรางกายในปริมาณมากควรใชน้ํายาที่มีความเขมขน2.5% และ 4.25% แตควรระวังภาวะ hyperglycemia จากการที่น้ําตาลในน้ํายา dialysate ซึมเขารางกายสําหรับปริมาณน้ํายา dialysate ที่ใชเริ่มตนดวยปริมาตรนอยๆ คือ 20-25 cc/kg ในชวงแรกแลวคอยๆ เพิ่มเปน 40 cc/kg โดยเริ่ม cycle ละ 1 ชั่วโมง (ปลอยน้ํายาเขา 10 นาที ทิ้งน้ํายาไวในชองทอง 30 นาที และปลอยออก 15-20 นาที) ควรสังเกตและบันทึกสัญญาณชีพ การหายใจของผูปวย เนื่องจากเมื่อปลอยน้ําเขาในชองทองจะทําใหความดันในชองทองสูงขึ้น ทําใหการขยายตัวของปอดลดลงIntermittent hemodialysisเปนวิธีการนําเลือดจากผูปวยผาน dialysis catheter มายังตัวกรอง (hemodialyzer) เพื่อแลกเปลี่ยนของเสียและขจัดน้ําสวนที่เกินออกจากรางกายผาน dialysis membrane ในตัวกรอง ซึ่งมีความสามารถในการแลกเปลี่ยนมากกวาเยื่อบุชองทองหลายเทา ดังนั้นการทํา hemodialysis จึงสามารถแกไขภาวะความผิดปกติของเกลือแร กรดดาง และภาวะ volume overload ไดรวดเร็วกวาวิธี peritonealdialysis อยางไรก็ตามการทํา intermittent hemodialysis เปนการฟอกเลือดในระยะเวลาหนึ่งๆ เทานั้น


การขจัดน้ําออกจากรางกายในระยะเวลาสั้นอาจทําใหเกิดภาวะความดันโลหิตต่ําได โดยเฉพาะผูปวยเด็กภายหลังผาตัดหัวใจในระยะแรกๆ (รูปที่ 3)รูปที่ 3 แสดงวงจรการทํา hemodialysis 16Continuous venovenous hemofiltration (CVVH), Continous venovenous hemodialysis(CVVHD) และ Continuous venovenous hemodiafiltration (CVVHDF)จากที่กลาวมาการทํา Intermittent hemodialysis ในผูปวยหลังผาตัดหัวใจ อาจมีผลกระทบตอความดันโลหิต จึงมีแนวทางการบําบัดทดแทนไตชนิดตอเนื่อง (continuous <strong>renal</strong> replacementtherapy) ซึ่งเปนการขจัดน้ําและแลกเปลี่ยนของเสียชาๆ ทําใหลดภาวะการเกิดความดันโลหิตต่ําระหวางการรักษาContinuous venovenous hemofiltration (CVVH) เปนเทคนิคที่มีการนําเลือดออกจากรางกายจาก venous system ผาน dialysis catheter อยางตอเนื่อง (continuous veno-venous) เขาสูตัวกรองที่มีประสิทธิภาพสูง (hemofilter) เพื่อขจัดน้ําออกจากรางกายแลวใหสารน้ําทดแทน (replacement fluid)โดยไมตองใชน้ํายา dialysate ในการรักษาดวยวิธีนี้จะมีการขจัดของเสียบางสวนออกจากรางกายโดยมีการพา (convection)ไปกับน้ําที่มีการขจัดออกผาน hemofilter (รูปที่ 4)18


รูปที่4 แสดงวงจรการทํา continuous venovenous hemofiltration (CVVH) 16Continous venovenous hemodialysis (CVVHD) คือการทํา hemodialysis อยางตอเนื่องโดยใชตัวกรอง hemodialyzer และใชน้ํายา dialysate ในการแลกเปลี่ยนของเสียออกจากรางกายโดยวิธีdiffusion เชนเดียวกับการทํา intermittent hemodialysisContinuous venovenous hemodiafiltration (CVVHDF) เปนการรักษาโดยใชหลักการของhemodialysis และ hemofiltration เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดของเสียออกจากรางกาย โดยใชน้ํายา dialysate แลกเปลี่ยนของเสียโดยวิธี diffusion รวมกับการใชวิธีการพา (convection) ผานตัวกรองประสิทธิภาพสูง (hemofilter) (รูปที่ 5)รูปที่ 5 แสดงวงจรการทํา continuous venovenous hemodiafiltration (CVVHDF) 16


Slow continuous ultrafiltration (SCUF) เปนการกรองน้ําออกจากรางกายชาอยางตอเนื่อง โดยไมตองใชน้ํายา dialysate และสารน้ําทดแทน มักใชในภาวะที่ผูปวยเด็กที่มีภาวะน้ําเกินเปนหลัก (รูปที่ 6)รูปที่6 แสดงวงจรการทํา Slow continuous ultrafiltration (SCUF) 17เนื่องจากการทํา CRRT จะตองใชอุปกรณและเครื่องมือที่มีความแมนยํา นอกจากนั้นตองมีพยาบาลและเจาหนาที่ดูแลผูปวยตลอดระยะเวลาที่ทําการรักษา ตางจากการทํา intermittent hemodialysisซึ่งปฏิบัติงาย ใชบุคลากรนอยกวา แตมีขอเสียคือจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิตโดยเฉพาะผูปวยวิกฤต ดังนั้นในปจจุบันจึงมีการรักษาดวยวิธี Sustained Low-Efficiency Dialysis (SLED) คือการทํา hemodialysis ที่ใชเวลาในการทํานานกวาปกติแตไมจําเปนตองนานเทาวิธี CRRT โดยมีการขจัดของเสียแบบคอยเปนคอยไป ดวยการใชอัตราการไหลของ dialysate flow ชาๆโดยทั่วไปการรักษาดวยวิธี intermittent hemodialysis และ CRRT ในผูปวยเด็กมักตองอาศัยกุมารแพทย กุมารแพทยโรคไต พยาบาลเวชบําบัดวิกฤต พยาบาลไตเทียม และเจาหนาที่ ที่มีความพรอมและมีประสบการณ รวมทั้งมีเครื่องมือ hemodialysis machine, CRRT machine เชนเครื่อง Aquarius,Prisma, Prisma FLEX และHF440 ที่ใชไดในผูปวยเด็ก, ตัวกรองเลือด (hemodialyzer และhemofilter), สายสงเลือด (blood tube) และสายสวนฟอกเลือด (dialysis catheter) ที่เหมาะสมกับอายุและน้ําหนักของผูปวย สําหรับการกําหนดแผนการรักษา ปริมาณการขจัดน้ํา (ultrafiltration) ความดันโลหิตและระดับ central venous pressure ที่เหมาะสม การใชยายับยั้งการแข็งตัวของเลือด เชน heparinในระหวางการรักษาควรเปนการตกลงกันในทีมแพทย-พยาบาลผูรักษา แมวาในปจจุบันจะไมมีขอมูลชี้ชัดวาการรักษาวิธีใดจะใหผลตอบสองทางคลินิกไดชัดเจน ในความเห็นของผูเขียนเห็นวาการเริ่มทําการรักษาดวยวิธี <strong>renal</strong> replacement therapy ในระยะเริ่มแรก อาการทางคลินิกของผูปวย และความชํานาญของทีมผูรักษาจะเปนปจจัยสําคัญในการเลือกชนิดและเริ่มการทํา <strong>renal</strong> replacement therapy อยางไรก็ตาม


ผูปวยที่ไดรับการบําบัดทดแทนไตมักจะมีการทํางานของระบบอื่นๆผิดปกติไปดวย ดังนั้นอัตราการเสียชีวิต18ในผูปวยเด็กกลุมนี้จึงสูงถึง 76%นอกจากการใหการรักษาดวยวิธี <strong>renal</strong> replacement therapy หลังผาตัดหัวใจแลว การใหการดูแลในเรื่องโภชนาการ วิตามิน เกลือแรและพลังงานที่เพียงพอ รวมถึงการหลีกเลี่ยงยาที่มีผลขางเคียงตอการทํางานและการฟนตัวของไต เชน aminoglycoside และมีการปรับขนาดของยาอื่นๆ ตามการทํางานของไตเปนสวนสําคัญในการรักษาผูปวยกลุมนี้เอกสารอางอิง1. Akcan-Arikan A, Zappitelli M, Loftis LL, Washburn KK, Jefferson LS, Goldstein SL.Modified RIFLE criteria in critically ill children with <strong>acute</strong> kidney injury. KidneyInternational 2007; 71: 1028 -1035.2. Baxter P, Rigby ML, Jones ODH, Lincoln C, Shinebourne EA. Acute <strong>renal</strong> <strong>failure</strong>following cardiopulmonary bypass in children: results of treatment.Int J Cardiol 1985;7: 235-9.3. Baskin E, Saygili A, Harmanci K, Agras PI, Ozdemir FN, Mercan S, Tokel K, SaatciU. Acute <strong>renal</strong> <strong>failure</strong> and mortality after open-heart surgery in infants. Ren Fail 2005;27: 557-60.4. Dittrich S, Dahnert I, Vogel M. Peritoneal dialysis after infant open heart surgery:observations in 27 patients. Thorac Surg 1999; 68: 160-3.5. Chan KL, Ip P, Chiu CS, Cheung YF. Peritoneal dialysis after surgery for congenitalheart disease in infants and young children. Ann Thorac Surg2003; 76: 1443–1449.6. Jenkins KJ, Gauvreau K, Newburger JW et al. Consensus-based method for riskadjustment for surgery for congenital heart disease. J Thorac Cardiovasc Surg 2002;28: 877–881.7. Schwartz GJ, Furth SL. Glomerular filtration rate measurement and estimation inchronic kidney disease. Pediatr Nephrol 2007; 22 11:1839-48.8. Liang KV, Williams AW, Greene EL, Redfield MM. Acute decompensated heart<strong>failure</strong> and the cardio<strong>renal</strong> syndrome. Crit Care Med 2008; 36(1 Suppl): S75-88.9. Stiller B, Sonntag J, Dähnert I, Alexi-Meskishvili V, Hetzer R, Fischer T, Lange PE.Capillary leak syndrome in children who undergo cardiopulmonary bypass: clinicaloutcome in comparison with complement activation and C1 inhibitor. 1Intensive CareMed 2001; 27:193-200.10. Mishra J, Dent C, Tarabishi R, Mitsnefes MM, Ma Q, Kelly C, Ruff SM, Zahedi K,Shao M, Bean J, Mori K, Barasch J, Devarajan P. Neutrophil gelatinase-associatedlipocalin (NGAL) as a biomarker for <strong>acute</strong> <strong>renal</strong> injury after cardiac surgery. Lancet2005; 365:1231-8.11. Kellum JA, M Decker J. Use of dopamine in <strong>acute</strong> <strong>renal</strong> <strong>failure</strong>: a meta-analysis. CritCare Med 2001 ; 29: 1526-31.12. Landoni G, Biondi-Zoccai GG, Tumlin JA, Bove T, De Luca M, Calabrò MG,Ranucci M, Zangrillo A. Beneficial impact of fenoldopam in critically ill patients withor at risk for <strong>acute</strong> <strong>renal</strong> <strong>failure</strong>: a meta-analysis of randomized clinical trials. Am JKidney Dis 2007; 49: 56-68.13. Knoderer CA, Leiser JD, Nailescu C, Turrentine MW, Andreoli SP. Fenoldopam for<strong>acute</strong> kidney injury in children. P ediatr Nephrol 2008; 23: 495-8.


14. Nigwekar SU, Kandula P. N-acetylcysteine in cardiovascular-surgery-associated <strong>renal</strong><strong>failure</strong>: a meta-analysis. Ann Thorac Surg 2009; 87:139-47.15. Pedersen KR, Hjortdal VE, Christensen S, Pedersen J, Hjortholm K, Larsen SH,Povlsen JV. Clinical outcome in children with <strong>acute</strong> <strong>renal</strong> <strong>failure</strong> treated withperitoneal dialysis after surgery for congenital heart disease. Kidney Int 2008;108:S81-6.16. http://www.asahi-kasei.co.jp/.../therapies/crrt.html17. http://crrtinfo.googlepages.com/18. Jander A, Tkaczyk M, Pagowska-Klimek I, Pietrzykowski W, Moll J, Krajewski W,Nowicki M. Continuous veno-venous hemodiafiltration in children after cardiacsurgery. Eur J Cardiothorac Surg 2007; 31: 1022-8.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!