16.07.2015 Views

2554-55 - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2554-55 - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2554-55 - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ค ำน ำคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> โดยคณะผู้บริหารร่วมกับบุคลากรทุกระดับในคณะ จึงได้จัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานของตนเองและส่วนงาน รอบ 2 ปี (1 ตุลาคม 2<strong>55</strong>3 – 30 กันยายน 2<strong>55</strong>5) ฉบับนี้ ขึ้นเพื่อรายงานผลในด้านข้อมูลทั่วไป วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และผลการด าเนินงานตาม ยุทธศาสตร์และนโยบายที่คณบดีได้แถลงต่อสภา<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>มีการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารงานจากระบบราชการไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ ซึ่งในส่วนของคณะเกษตรศาสตร์มีการปรับปรุงระบบบริหารงานให้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น มีการปรับโครงสร้างองค์กรให้กระชับมากขึ้น โดยการหลอมรวมจาก 8 ภาควิชาให้เหลือ 4 ภาควิชา มีการปรับปรุงและเปิด-ขยายหลักสูตรสาขาวิชาเพิ่มเติม เพื่อเป็นการสนองความต้องการของนักศึกษาและสังคมให้มากขึ้น ทั้งในระดับปริญญาตรี ระดับบัณฑิตศึกษา และหลักสูตรนานาชาติ นอกจากนี้คณะเกษตรศาสตร์ได้สนับสนุนงานด้านวิจัยและน าผลงานวิจัยออกสู่ชุมชน และน าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการบริหารจัดการในด้านe-Planning, e-Budgeting, SAR Online, eQA-Document และ e-Meeting ท าให้ผลการปฏิบัติงานผ่านการประเมินคุณภาพการศึกษา (Quality Assessment: QA) อยู่ในระดับคุณภาพดีมากมาตลอด โดยในปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ได้รับคะแนนตามระบบส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เท่ากับ 4.70 ได้รับคะแนนตามระบบมาตรฐานของส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เท่ากับ 4.66 และได้รับคะแนนตามระบบของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> (CMU QA) เท่ากับ 4.58 เป็นอันดับ 1 ในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นอันดับ 3 ของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>คณะเกษตรศาสตร์ ขอขอบคุณทุกภาควิชาและทุกหน่วยงานของคณะ ตลอดจนผู้บริหารคณะ คณาจารย์บุคลากรทุกท่าน รวมทั้งนักศึกษาปัจจุบันและนักศึกษาเก่าที่ให้ความร่วมมือร่วมใจและให้ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ต่อการด าเนินงานของคณะด้วยดีตลอดมา คณะหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้สนใจต่อไป(รองศาสตราจารย์ ธีระ วิสิทธิ์พานิช)คณบดีคณะเกษตรศาสตร์


ค าน าสำรบัญหน้าส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์ 1• ประวัติ 1• วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย วัฒนธรรม และค่านิยมองค์กร 3• โครงสร้างองค์กร 5• คณะผู้บริหาร 6ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติงาน คณะเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 91. ด้านการบริหารจัดการ 92. ด้านการผลิตบัณฑิต 283. ด้านงานวิจัย 374. ด้านการพัฒนาบุคลากร 435. ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ 60และสิ่งแวดล้อม6. ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอก 77ส่วนที่ 3 สรุปผลการด าเนินงานตามค ารับรองการปฎิบัติงานของคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>587


ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์ชื่อ และ ที่ตั้งคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ชื่อคณะ : คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ที่อยู่ : 39 ถนนห้วยแก้ว อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200โทรศัพท์ : 0-5394-4001, 0-5394-4008โทรสาร : 0-5394-4666Website : http://www.agri.cmu.ac.th/ตราสัญลักษณ์ และสีประจ า คณะเกษตรศาสตร์ ตราสัญลักษณ์คณะเกษตรศาสตร์ใช้ตราสัญลักษณ์ของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> โดยได้เพิ่มในส่วนชื่อของคณะ ความหมายตราสัญลักษณ์สภามหาวิทยาลัยได้ก าหนดตราประจ ามหาวิทยาลัย เป็นรูปช้างชูคบเพลิง และมีสุภาษิตเป็นภาษาบาลีว่า “อตฺตาน ทมยนฺติ ปณฺฑิตา” มีความหมายว่า “บัณฑิตทั้งหลายย่อมฝึกฝนตนเอง”อยู่ในวงล้อมรอบรูปช้าง ช้างมีท่าทางเหมือนธรรมชาติ งวงจับคบเพลิงชูขึ้นเหนือหัว เปรียบเสมือนแสงสว่างที่จะส่องทางให้นักศึกษาไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองต่อไป สีประจ าคณะเกษตรศาสตร์ คือ สีเหลืองข้าวโพดประวัติความเป็นมาของคณะเกษตรศาสตร์คณะเกษตรศาสตร์มีประวัติการก่อตั้งคณะมาตั้งแต่ พ.ศ.2507 จนถึงปัจจุบัน สรุปได้ดังนี้พ.ศ. 2507 <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ได้จัดตั้งเป็น ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร โดยสังกัดอยู่กับคณะวิทยาศาสตร์พ.ศ. 2510 ส านักนายกรัฐมนตรี ได้มีประกาศให้มีคณะเกษตรศาสตร์เป็นส่วนราชการใน<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> และแต่งตั้งให้ อาจารย์ ดร.สุขุม อัศเวศน์ เป็นคณบดีคนแรกของคณะเกษตรศาสตร์ โดยได้แบ่งส่วนราชการออกเป็น 5 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ ภาควิชาสัตวบาล ภาควิชาพืชศาสตร์ ภาควิชาถนอมผลิตภัณฑ์เกษตร ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตรพ.ศ. 2518 ภาควิชาถนอมผลิตภัณฑ์เกษตร เปลี่ยนชื่อเป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารและได้พัฒนาไปเป็นคณะอุตสาหกรรมเกษตรในปัจจุบัน ส่วนภาควิชาพืชศาสตร์ ได้ยุบภาควิชาและจัดตั้งเป็นภาควิชาพืชสวน ภาควิชาพืชไร่ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร และภาควิชาอารักขาพืชพ.ศ. 2523 ยุบภาควิชาอารักขาพืชจัดตั้งเป็นภาควิชาโรคพืช และภาควิชากีฏวิทยาพ.ศ. 2535 ภาควิชาสัตวบาลได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นภาควิชาสัตวศาสตร์พ.ศ. 2549 แบ่งส่วนราชการออกเป็น 1 ส านักงานเลขานุการคณะ และ 8 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ ภาควิชาพืชไร่ ภาควิชาพืชสวน ภาควิชาโรคพืชภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร ภาควิชาสัตวศาสตร์รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 1


พ.ศ. 2<strong>55</strong>5 แบ่งส่วนราชการออกเป็น 1 ส านักงานคณะ 4 ภาควิชา และ 3 ศูนย์วิจัย ได้แก่- ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช- ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ- ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร- ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า- ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ- ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร- ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูงท าเนียบผู้ด ารงต าแหน่งคณบดีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 - ปัจจุบัน1. รศ. ดร. สุขุม อัศเวศน์ คณบดี พ.ศ. 2510-25142. ผศ. ดร. พิศิษฐ์ วรอุไร คณบดี พ.ศ. 2514-25173. รศ. บุญวาทย์ ล าเพาพงศ์ คณบดี พ.ศ. 2517-25214. ผศ. ดร. มนู ศีติสาร คณบดี พ.ศ. 2521-25235. รศ. ดร. ด ารง ติยวลีย์6. รศ. นคร ณ ล าปางคณบดี พ.ศ. 2523-2527คณบดี พ.ศ. 2527-2531คณบดี พ.ศ. 2531-25357. ศ.ดร. พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ คณบดี พ.ศ. 2535-2539คณบดี พ.ศ. 2539-2543(ปัจจุบันด ารงต าแหน่งอธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> พ.ศ. 2547-2<strong>55</strong>5)8. รศ. ดร. พิทยา สรวมสิริ คณบดี พ.ศ. 2543-25479. รศ.ดร.บุญเสริม ชีวะอิสระกุล คณบดี พ.ศ. 2547-2<strong>55</strong>110. รศ.ธีระ วิสิทธิ์พานิช คณบดี พ.ศ. 2<strong>55</strong>1-2<strong>55</strong>5วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย วัฒนธรรม และค่านิยมองค์กรข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> วิสัยทัศน์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong><strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> เป็นมหาวิทยาลัยชั้นน า มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามมาตรฐานสากล ที่มุ่งเน้นการวิจัย มีการผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมและคุณภาพ มีการบริหารจัดการที่ดีตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน พันธกิจ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาและวิชาชีพชั้นสูง โดยมุ่งเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ บัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล และรอบรู้คู่คุณธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง2. ผลิตผลงานวิจัยในทุกสาขาวิชา เพื่อสามารถสนับสนุนการเรียนการสอนและการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ3. ให้บริการวิชาการแก่สังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง4. ท านุบ ารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เพื่อความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นภาคเหนือ5. พัฒนาระบบบริหารและจัดการในทุกๆ ด้าน ด้วยหลักธรรมาภิบาล พึ่งพาตนเองโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นโยบาย <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในระดับมาตรฐานสากล ใฝุรู้ มีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีความพอเพียง รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 2


ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์2. ผลิตงานวิจัยให้มีคุณภาพในระดับสากล มุ่งเน้นการวิจัยที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ นวัตกรรม เพื่อน าผลงานวิจัยไปใช้พัฒนาการเรียนการสอนและน าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นภาคเหนือ ประเทศและกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขง (GMS)3. ให้บริการวิชาการแก่สังคมด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมเรียนรู้และพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งพึ่งพาตนเอง4. เป็นผู้น าและเป็นศูนย์กลางในการอนุรักษ์ และท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นภาคเหนือ5. เป็นผู้น าและเป็นศูนย์กลางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม6. เป็นศูนย์กลางความรู้ชั้นสูงในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขง7. มีระบบบริหารงานที่ทันสมัย มีความคล่องตัวโปร่งใส ตรวจสอบได้ พึ่งพาตนเองด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ8. ร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับภาครัฐและภาคเอกชนในประเทศและต่างประเทศด้านการศึกษาวิจัย และบริการวิชาการแก่สังคม9. จัดหาทรัพยากรและรายได้มาสนับสนุนการบริหารจัดการงานในทุกด้านอย่างเหมาะสม เพียงพอและสามารถพึ่งตนเองได้10. ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีกับนักศึกษาเก่าอย่างต่อเนื่องวิสัยทัศน์ คณะเกษตรศาสตร์คณะเกษตรศาสตร์เป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์การเกษตรชั้นน าตามมาตรฐานสากล ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม มีการบริหารจัดการที่ดี และสามารถพึ่งพาตนเองได้ พันธกิจ คณะเกษตรศาสตร์1) ด้านการจัดการศึกษาจัดหลักสูตรการศึกษาที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ ตรงตามความต้องการของตลาด และผลิตบัณฑิตที่เป็นคนดี คนเก่ง รู้จริงปฏิบัติได้ มีความเป็นสากลและเป็นผู้น า2) ด้านการวิจัยวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อการเรียนการสอน และก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติ3) ด้านการบริการวิชาการให้บริการวิชาการแก่สังคม โดย ถ่ายทอดและขยายผลงานวิจัย ให้เกษตรกร ชุมชน สังคม น าไปปรับใช้ประโยชน์ได้ตรงตามความต้องการ4) ด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมอนุรักษ์และท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ ศิลปวัฒนธรรมล้านนา ประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร และสิ่งแวดล้อมในภาคเหนือ5) ด้านการบริหารจัดการพัฒนาระบบบริหารและการจัดการทุกๆ ด้าน ภายใต้ระบบมหาวิทยาลัยในก ากับ ด้วยหลักธรรมาภิบาล และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล วัตถุประสงค์ คณะเกษตรศาสตร์(ยึดเจตนารมณ์เดิมตั้งแต่เริ่มก่อตั้งคณะ)เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกร เพิ่มผลผลิตด้านเกษตรและยกระดับความเป็นอยู่ของประชากรทั้งในภาคเหนือและประเทศโดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร ค่านิยมคณะเกษตรศาสตร์เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่ความเป็นเลิศ รับผิดชอบต่อสังคม วัฒนธรรมคณะเกษตรศาสตร์เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สามัคคี มีคุณธรรมรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 3


ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์การจัดท า Road Map คณะเกษตรศาสตร์ได้ด าเนินการจากยุทธศาสตร์ 4 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.2<strong>55</strong>1 -<strong>2<strong>55</strong>4</strong> เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการคณะให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุวิสัยทัศน์รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 4


ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์โครงสร้างองค์กรโครงสร้างการบริหารงานรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 5


ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์คณะกรรมการอ านวยการประจ าคณะเกษตรศาสตร์ศาสตราจารย์ ดร. พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์(ประธานกรรมการ)อธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รองศาสตราจารย์ ดร.นคร ณ ล าปาง (กรรมการ)อดีตคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>นายประจิตต์ อุดหนุน (กรรมการ)รองกรรมการผู้จัดการบริหารบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหารจ ากัด (มหาชน)นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ (กรรมการ)อดีตอธิบดีกรมวิชาการเกษตร และรองปลัดกระทรวงส านักงานปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเสริม ชีวะอิสระกุล(กรรมการ)อดีตคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>นายธรรมรักษ์ พิชญกุล(กรรมการ)ประธานคณะกรรมการส่งเสริม <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รองศาสตราจารย์ ธีระ วิสิทธิ์พานิช(กรรมการและเลขานุการ)คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพล เศรษฐบุตร(ผู้ช่วยเลขานุการ)รองคณบดีฝุายบริหารและพัฒนา คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 6


ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์ผู้บริหารคณะเกษตรศาสตร์รศ.ธีระ วิสิทธิ์พานิชคณบดีคณะเกษตรศาสตร์รศ.ดร.สุรพล เศรษฐบุตรรองคณบดีฝุายบริหารและพัฒนาศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธารองคณบดีฝุายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ผศ.ดร.อังสนา อัครพิศาลรองคณบดีฝุายวิชาการ พัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์อ.ดร.ธนะชัย พันธ์เกษมสุขรองคณบดีฝุาย ประชาสัมพันธ์บริการวิชาการและกิจการพิเศษอ.ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษผู้ช่วยคณบดีฝุายบริหาร อาคารสถานที่เทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยบริการผศ.ดร.ดรุณี นาพรหมผู้ช่วยคณบดีฝุายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์อ.ดร.จิรวัฒน์ พัสระผู้ช่วยคณบดีฝุายพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์อ.ดร.พรสิริ สืบพงษ์สังข์ผู้ช่วยคณบดีฝุายบริหารและการเงิน คุณฟองจันทร์ สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยาเลขานุการคณะเกษตรศาสตร์รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 7


ข้อมูลทั่วไปคณะเกษตรศาสตร์รศ.ดร.จิราพร กุลสารินหัวหน้าภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืชผศ.ดร.กมล งามสมสุขหัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตรรศ.ดร.ณัฐา โพธาภรณ์หัวหน้าภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติรศ.ดร.สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์หัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ ารศ.ดร.เบญจพรรณ เอกะสิงห์หัวหน้าศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตรผศ.ทรงเชาว์ อินสมพันธ์หัวหน้าศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะรศ.ดร.โชค มิเกล็ดผู้อ านวยการศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรรศ.ร าไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัยผู้อ านวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูงรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 8


ด้านการบริหารจัดการส่วนที่ 2 ผลการปฎิบัติงาน คณะเกษตรศาสตร์ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>51. ผลการปฎิบัติงาน ด้านการบริหารจัดการ1.1 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการในทุกๆ ด้านให้เกิดความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาลโดยเปลี่ยนจากการก ากับและควบคุมมาเป็นการมอบอ านาจคณะเกษตรศาสตร์ ได้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อให้เกิดความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ โดยเปลี่ยนจากการก ากับและควบคุมมาเป็นการมอบอ านาจ ภายใต้การก ากับนโยบายจากคณะกรรมการอ านวยการ และคณะกรรมการบริหารประจ าคณะ ตามหลักธรรมาภิบาล ดังนี้คณะให้ความส าคัญกับการเข้ามามีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารจัดการโดยการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการหรือคณะท างาน ในภาระกิจด้านต่างๆ อาทิ กรรมการประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการจัดการองค์ความรู้ กรรมการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม กรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง กรรมการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ฯลฯ นอกจากนี้ คณะ ได้เปิดโอกาสให้ภาคเอกชน ประชาชน และเครือข่ายต่างๆ ได้มีโอกาสเข้าร่วมในการด าเนินงานงานของคณะ โดยการแต่งตั้งเป็นกรรมการที่ปรึกษาเพื่อร่วมก าหนดทิศทางนโยบายของคณะในด้านการพัฒนาการเรียนการสอน หรือการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนผ่านเครือข่ายงานวิจัยและการบริการวิชาการของคณะนอกจากนี้แล้วคณะยังบริหารจัดการโดยอาศัยหลักการกระจายอ านาจไปยังผู้บังคับบัญชาในแต่ละระดับ ซึ่งช่วยให้การบริหารจัดการมีความคล่องตัว การติดตามและประสานงานด้านต่างๆ ด าเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และคณะยังเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกสายงานได้ประเมินผู้บริหารทุกระดับ รวมทั้งสามารถเสนอข้อคิดเห็นให้ผู้บังคับบัญชาผ่านช่องทางต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการด าเนินงาน คณะได้ให้ความส าคัญกับการส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือบริหารจัดการสมัยใหม่ เพื่อให้องค์กรสามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างเต็มประสิทธิภาพโดยยึดหลักความคุ้มค่า มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานต่างๆ อาทิ- eQA-Document/SAR Online เพื่อสนับสนุนงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา- e-Planning/e-Budgeting เพื่อสนับสนุนงานด้านการจัดท าค าของบประมาณ- e-Meeting เพื่อสนับสนุนงานการจัดประชุมภายในคณะ- ระบบ War Room เพื่อติดตามตัวชี้วัดตามเกณฑ์ค ารับรองของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>- ระบบ KM Corner เพื่อสนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยและการบริหารจัดการ- ระบบ e-Service system เพื่อสนับสนุนงานการขอใช้ยานพาหนะ ห้องประชุม ห้องเรียน การลงเวลาปฎิบัติงาน การซ่อมบ ารุงของฝุายอาคารสถานที่ประสิทธิผลที่เกิดจากการบริหารจัดการคณะเกษตรศาสตร์ในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5 ปรากฏว่าคณะได้รับการประเมินตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาของ สมศ. สกอ. และ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>อยู่ในระดับดีมาก โดยในปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ผลการประเมินของคณะ เป็นอันดับ 1 ในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นอันดับ 3 ของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 9


ด้านการบริหารจัดการ1.2 การพัฒนาการบริหารจัดการทรัพย์สินและการหารายได้ของคณะคณะเกษตรศาสตร์ ด าเนินการด้านการบริหารจัดการทรัพย์สินและการหารายได้ ในด้านต่างๆ ดังนี้1.2.1 งบประมาณในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> คณะเกษตรศาสตร์ ได้รับงบประมาณรวมทั้งสิ้น 205,313,885.00 บาทแยกเป็นงบประมาณเงินแผ่นดิน 145,928,275.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 71.08 งบประมาณเงินรายได้59,385,610.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.92ในปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ ได้รับงบประมาณรวมทั้งสิ้น 209,637,640.00 บาทแยกเป็นงบประมาณเงินแผ่นดิน 154,004,900.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 73.46 งบประมาณเงินรายได้<strong>55</strong>,632,740.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 26.54ตารางที่ 1.1 ตารางสรุปงบประมาณเงินแผ่นดินและเงินรายได้ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ประเภทงบประมาณปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 ร้อยละงบประมาณ (บาท) ร้อยละ งบประมาณ (บาท) ร้อยละ +/-งบประมาณเงินแผ่นดิน 145,928,275.00 71.08 154,004,900.00 73.46 + 2.38งบประมาณเงินรายได้ 59,385,610.00 28.92 <strong>55</strong>,632,740.00 26.54 - 2.38รวม 205,313,885.00 100.00 209,637,640.00 100.00ตารางที่ 1.2 ตารางแสดงงบประมาณ ตามประเภทงบรายจ่าย ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ประเภทงบรายจ่ายเงินแผ่นดิน(บาท)ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5เงินรายได้(บาท)รวม (บาท) ร้อยละ เงินแผ่นดิน(บาท)เงินรายได้(บาท)รวม (บาท)งบลงทุน 18,018,700.00 6,046,007.10 24,064,707.10 11.72 29,043,000.00 14,011,837.10 43,054,837.10 20.54งบบุคลากร <strong>55</strong>,598,196.00 11,281,880.00 66,880,076.00 32.57 53,744,800.00 11,<strong>55</strong>9,000.00 65,303,800.00 31.15งบด าเนินการ 15,992,900.00 32,854,829.84 48,847,729.84 23.79 15,308,100.00 19,474,0<strong>55</strong>.90 34,782,1<strong>55</strong>.90 16.59งบเงินอุดหนุน 56,318,479.00 8,692,192.00 65,010,671.00 31.66 <strong>55</strong>,909,000.00 8,601,647.00 64,510,647.00 30.77งบรายจ่ายอื่น - 510,702.00 510,702.00 0.26 - 1,986,200.00 1,986,200.00 0.95รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 10ร้อยละรวม 145,928,275.00 59,385,610.94 205,313,885.94 100.00 154,004,900.00 <strong>55</strong>,632,740.00 209,637,640.00 100.00ตารางที่ 1.3 ตารางแสดงการแสวงหาแหล่งงบประมาณเงินรายได้ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5แหล่งงบประมาณเงินรายได้ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>51. การเปิดสอนระดับปริญญาตรี - โท - เอก ในสาขาวิชาต่างๆ ได้แก่ 23,248,970.00 10,870,157.00- ค่าหน่วยกิตปริญญาตรี 1,126,332.00 565,560.00- ค่าหน่วยกิตปริญญาโท - ภาคปกติและภาคพิเศษ 1,027,098.00 371,196.00- ค่าหน่วยกิตปริญญาเอก 331,596.00 107,370.00- ค่าบ ารุงพิเศษปริญญาตรี 6,530,836.00 3,070,090.00- ค่าบ ารุงพิเศษปริญญาโทภาคปกติ 3,253,035.00 1,639,497.00


ด้านการบริหารจัดการแหล่งงบประมาณเงินรายได้ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5- ค่าธรรมเนียมนักศึกษาต่างชาติ 483,480.00 310,500.00- ค่าธรรมเนียมหลักสูตรนานาชาติ 9,135,953.00 1,340,648.00- ค่าธรรมเนียมหลักสูตรเหมาจ่าย - 2,859,856.00- ค่าบ ารุงห้องสมุด 1,360,640.00 605,440.002. กิจกรรมหารายได้ต่างๆ ได้แก่ 16,680,182.64 10,822,273.33- เงินรายได้จากการขายผลิตผลทางการเกษตร 4,384,236.26 2,807,349.41- เงินรายได้จากกิจกรรมบริการวิชาการ 3,836,448.46 3,066,704.02- เงินค่าบริการของสถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ 3,604,401.02 1,585,453.23- เงินค่าให้เช่าทรัพย์สิน และอาคารสถานที่ 360,873.00 160,110.00- เงินรายได้จากโครงการวิจัยต่างๆ เช่น เงินพิเศษ ก (โครงการวิจัย 2,994,223.90 1,702,656.67สกว.) และเงิน Overhead charge (โครงการวิจัยอื่น)- ทุนการศึกษาส าหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี - โท - เอก 1,500,000.00 1,500,000.003. งบประมาณจากโครงการวิจัย ได้แก่ 65,250,952.33 39,719,327.44- ภายในมหาวิทยาลัย 9,710,530.87 2,161,288.05- ภายนอกมหาวิทยาลัย <strong>55</strong>,540,421.46 37,<strong>55</strong>8,039.39รวมทั้งสิ้น 105,180,104.97 61,411,757.77ตารางที่ 1.4 ตารางสรุปจ านวนเงินและสินทรัพย์ที่ได้จากการบริจาค ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ประเภทเงินและสินทรัพย์ที่ได้จากการบริจาค จ านวนเงินหรือมูลค่า(บาท)จ านวนเงินหรือมูลค่า(บาท)เงินบริจาคเพื่อสมทบเข้ากองทุนพัฒนานักศึกษา 335,000.00 185,000.00เงินบริจาคเพื่อสมทบเข้ากองทุนพัฒนาคณะ 135,000.00 1<strong>55</strong>,000.00สินทรัพย์ที่ได้จากการบริจาค 2,390,000.00 7,841,757.60เงินบริจาคสนับสนุนการแข่งขันกอล์ฟการกุศลฯ 920,000.00 -เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการจัดประชุมสัมมนาวิชาการเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 8170,000.00-เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ - สักสยามินทร์ฯ364,400.00-ประเภทเงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการจัดประชุม420,000.00 300,000.00วิชาการนานาชาติประเภทเงินบริจาคเป็นทุนการศึกษาและการวิจัย 3,669,080.00แก่นักศึกษา-เงินบริจาคสนับสนุนงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 7,967,000.00เงินบริจาคเพื่อการเรียนการสอน 100,000.00รวมจ านวนเงินที่ได้จากการบริจาคทั้งสิ้น 8,403,480.00 16,548,757.60รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 11


ตารางที่ 1.5 เงินและสินทรัพย์ที่ได้รับบริจาค ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ด้านการบริหารจัดการชื่อผู้บริจาค วัตถุประสงค์หรือรายละเอียดสินทรัพย์ จ านวนเงิน หรือมูลค่า (บาท)ประเภทเงินบริจาคเพื่อสมทบเข้ากองทุนพัฒนานักศึกษา 335,000.001. รศ.ถนอม คลอดเพ็ง เงินสมทบกองทุนพัฒนานักศึกษา 20,000.002. คุณวิไลพร ธรรมตา เงินสมทบกองทุนพัฒนานักศึกษา 25,000.003. คุณวิไลพร ธรรมตา เงินสมทบกองทุนพัฒนานักศึกษา 25,000.004. ดร.ธัญญา คันธา เงินสมทบกองทุนพัฒนานักศึกษา 30,000.005. สมาคมนักศึกษาเก่าเกษตรศาสตร์ เงินสมทบกองทุนพัฒนานักศึกษา 35,000.006. สมาคมนักศึกษาเก่าเกษตรศาสตร์ สนับสนุนการศึกษาภาควิชาพืชศาสตร์ฯ 200,000.00ประเภทเงินบริจาคเพื่อสมทบเข้ากองทุนพัฒนาคณะ 135,000.007. รศ.ปราณี อัศเวศน์ เงินสมทบกองทุนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ 5,000.008. ศ.ดร.จักรี เส้นทอง เงินสมทบกองทุนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ 30,000.009. รศ.ร าไพพรรณ อภิชาติพงศ์ชัย เงินสมทบกองทุนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ 50,000.0010. คุณภาณุ ศีติสาร เงินสมทบกองทุนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ 50,000.00ประเภทสินทรัพย์บริจาค 2,390,000.0011. คุณกฤษณ์ จิตอธิศีล ปรับปรุงห้องประชุมใหญ่คณะฯ 10,000.0012. รศ.ร าไพพรรณ อภิชาติพงศ์ชัย คอมพิวเตอร์ จ านวน 2 ชุด 50,000.0013. อ.กนก เหวียนระวี วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ 300,000.0014. มูลนิธิโครงการหลวง สนับสนุนการเคลื่อนย้ายเนอสเซอรี่ และปรับปรุง 750,000.00อาคารเฉลิมพระเกียรติ (ดอยค า)15. สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน ระบบก๊าซชีวภาพ (ศูนย์สาธิต) ขนาด 300 1,280,000.00นครพิงค์ลูกบาศก์เมตรประเภทเงินสนับสนุนการแข่งขันกอล์ฟการกุศล ประจ าปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> 920,000.0016. คุณปรีชา เลิศไพรวัน สนับสนุนงบประมาณการแข่งขันกอล์ฟการกุศลฯ 20,000.00<strong>2<strong>55</strong>4</strong>17. คุณกฤษณ์ จิตอธิศีล สนับสนุนงบประมาณการแข่งขันกอล์ฟการกุศลฯ 100,000.00<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18. บมจ.กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรม สนับสนุนงบประมาณการแข่งขันกอล์ฟการกุศลฯ 400,000.00การเกษตร<strong>2<strong>55</strong>4</strong>19. คุณสมควร ชูวรรธนะปกรณ์ สนับสนุนงบประมาณการแข่งขันกอล์ฟการกุศลฯ 400,000.00<strong>2<strong>55</strong>4</strong>ประเภทเงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการจัดประชุมสัมมนาวิชาการเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 8 170,000.0020. บริษัท แปซิฟิกเมล็ดพันธุ์ จ ากัด สนับสนุนงบประมาณสัมมนาวิชาการเกษตรศาสตร์ 10,000.00ครั้งที่ 821. บริษัท เบทาโกรภาคเหนือ สนับสนุนงบประมาณสัมมนาวิชาการเกษตรศาสตร์ 10,000.00อุตสาหกรรมครั้งที่ 822. บริษัท เชียงใหม่เฟรชมิลค์ จ ากัด สนับสนุนงบประมาณสัมมนาวิชาการเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 850,000.0023. คุณประจิตต์ อุดหนุน สนับสนุนงบประมาณสัมมนาวิชาการเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 8100,000.00รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 12


ด้านการบริหารจัดการชื่อผู้บริจาค วัตถุประสงค์หรือรายละเอียดสินทรัพย์ จ านวนเงิน หรือมูลค่า (บาท)ประเภทเงินบริจาคเพื่อสนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ - สักสยามินทร์ฯ 364,400.0024. คุณเตมิกา (รุ่น 17 ) สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 500.0025. กัปตันภูวดล จุฑามาศ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 500.0026. คุณนิกร ศรีวิลัย สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0027. คุณประเวศ แสงเพชร สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0028. คุณสุทัศน์ สินไชย สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0029. คุณสมภพ ปทุมพงษ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0030. คุณเสริมศิริ กระสินธุ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0031. คุณพูนสุข ค าภา สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0032. คุณอนันต์ ปิ่นสง สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0033. คุณยุวดี เทวหสกุลทอง สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0034. คุณสมคิด สัจจิมานนท์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0035. คุณภาษิต วิทยานุรักษ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 1,000.0036. ผศ.สุเทพ วิภาศรีนิมิตร สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 2,000.0037. คุณธรรมนูญ ยุวพันธ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 2,000.0038. คุณไชยณรงค์ สุนทโรทยาน สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 2,000.0039. คุณอ าไพ ลี สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 2,000.0040. คุณสรพงษ์ อาจหาญ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 2,000.0041. คุณกานดา ผลวัฒนสุข สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 2,000.0042. คุณสามเขตต์ จินตะเลขา สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 3,000.0043. ไม่ทราบชื่อผู้บริจาค สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 3,000.0044. คุณเสาวนิต คูประเสริฐ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 4,000.0045. คุณชลิต อ านวย สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 5,000.0046. ศ.ดร.สายสมร ล ายอง สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 5,000.0047. คุณสมชัย สมัยสุต สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 5,000.0048. คุณสุรทิน พิสิษฐเกษม สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 5,000.0049. คุณรุ่งนภา เอื้อประยูรวงศ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 5,000.0050. คุณทวีวุฒิ เหรียญศิริเกียรติ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 6,400.0051. พล.อ.ต.ธานี ปิณฑะบุตร สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0052. คุณมณฑล เจียมเจริญ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0053. คุณศุภมาศ จันทร์เพ็ญ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0054. คุณสงวน - พิจิตรา สกุลส่อง สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.00บุญศิริ<strong>55</strong>. คุณสาธิต เอนกพงษ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0056. คุณอนุพงษ์ อุดมรัตนกุลชัย สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0057. คุณเฉลียว ศรีชู สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0058. ไม่ทราบชื่อผู้บริจาค สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0059. ไม่ทราบชื่อผู้บริจาค สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 10,000.0060. รศ.ดร.ไพบูลย์ กวินเลิศวัฒนา สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 20,000.00รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 13


ด้านการบริหารจัดการชื่อผู้บริจาค วัตถุประสงค์หรือรายละเอียดสินทรัพย์ จ านวนเงิน หรือมูลค่า (บาท)61. น.ต.ทัศไนย์ วิสรรคชาติ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 20,000.0062. รศ.ธีระ - รศ.ดร.จริยา วิสิทธิ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 20,000.00พานิช63. คุณสุภนันท์ ศรีทองสุข สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 20,000.0064. คุณวสันต์ ลีละยูวะ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 20,000.0065. คุณประจิตต์ อุดหนุน สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 30,000.0066. คุณสมควร ชูวรรธนะปกรณ์ สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 30,000.0067. สมาคมนักศึกษาเก่าเกษตร สนับสนุนโครงการรวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข์ฯ 50,000.00ประเภทเงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ 420,000.0068. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการ สนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ 20,000.00เก็บเกี่ยว มช.69. The Upland Program สนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ 100,000.0070. บริษัท มอนซานโต ไทยแลนด์ สนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ 100,000.00จ ากัด71. มูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์ สนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ 200,000.00ประเภทเงินบริจาคเป็นทุนการศึกษาและการวิจัยแก่นักศึกษา 3,669,080.0072. บมจ.เจริญโภคภัณฑ์อาหาร ทุนการศึกษาและการวิจัยแก่นักศึกษาคณะ 3,669,080.00เกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รวมจ านวนเงินทั้งสิ้นที่รับบริจาค 8,403,480.00ตารางที่ 1.6 เงินและสินทรัพย์ที่ได้รับบริจาค ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ชื่อผู้บริจาค วัตถุประสงค์หรือรายละเอียดสินทรัพย์ จ านวนเงิน หรือมูลค่า (บาท)ประเภทเงินบริจาคเพื่อสมทบเข้ากองทุนพัฒนานักศึกษา 185,000.001. ดร.ธัญญา คันธา ทุนการศึกษาส าหรับนักศึกษาภาควิชาพืชศาสตร์ 10,000.002. คุณปราโมทย์ เศรษฐพร ทุนการศึกษาส าหรับนักศึกษา 15,000.003. คุณวิไลพร ธรรมตา เงินสมทบกองทุนพัฒนานักศึกษา 20,000.004. คุณฟองจันทร์ สุขสวัสดิ์ ณ ทุนการศึกษาส าหรับนักศึกษาที่เรียนดี แต่ขาดแคลน 20,000.00อยุธยาทุนทรัพย์5. รศ.ถนอม คลอดเพ็ง ทุนการศึกษาส าหรับนักศึกษา จ านวน 2 ทุน 20,000.006. บ.วิริยะประกันภัย จก. (มหาชน) กิจกรรมสร้างฝาย เพื่อรักษาต้นน้ าแม่ปิง 20,000.007. รศ.ดร.สุชาดา เวียรศิลป์ ทุนการศึกษาส าหรับนักศึกษาสาขาวิชาพืชไร่ 30,000.008. คุณธนาวุฒิ หิรัญธนวิวัฒน์ ทุนการศึกษาส าหรับนักศึกษาสาขาวิชาพืชไร่ 50,000.00ประเภทเงินบริจาคเพื่อสมทบเข้ากองทุนพัฒนาคณะ 1<strong>55</strong>,000.009. รศ.ปราณี อัศเวศน์ โครงการกองทุนสุขุม อัศเวศน์ 5,000.0010. คุณภาณุ ศีติสาร เงินสมทบกองทุนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ 50,000.0011. สมทบจากเงินรายได้ ปี 2<strong>55</strong>5 เงินสมทบกองทุนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ 100,000.00รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 14


ด้านการบริหารจัดการชื่อผู้บริจาค วัตถุประสงค์หรือรายละเอียดสินทรัพย์ จ านวนเงิน หรือมูลค่า (บาท)36. บริษัท เจริญมอเตอร์ เชียงใหม่ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 30,000.00จ ากัด37. บริษัท ไพโอเนีย ไฮ-เบรด สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 50,000.00(ไทยแลนด์) จ ากัด38. บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 50,000.00เซอร์วิส จ ากัด (มหาชน)39. คุณธนกร อยู่ถมยา สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 50,000.0040. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยี สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 100,000.00หลังการเก็บเกี่ยว41. ส านักงานพัฒนาการวิจัย สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 100,000.00การเกษตร (องค์การมหาชน)42. คุณทัศไนย อติชาติ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 100,000.0043. บริษัท ไวต้าฟูด แฟคทอรี่ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 100,000.00(1989) จ ากัด44. บริษัท ยันม่าร์ เอส.พี จ ากัด สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 100,000.0045. บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 100,000.00จ ากัด46. บริษัท มอนซานโต้ ไทยแลนด์ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 100,000.00จ ากัด47. บริษัท เชียงใหม่เฟรชมิลค์ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 200,000.00จ ากัด48. บริษัท ลานนาโปรดักส์ จ ากัด สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.0049. บริษัท พรานทะเล มาร์เก็ตติ้ง สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.00จ ากัด50. ธนาคารกรุงเทพ จ ากัด สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.00(มหาชน)51. บริษัท แหลมทองสหการ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.00จ ากัด52. ธนาคารเพื่อการเกษตร สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.00และสหกรณ์การเกษตร53. ธนาคารไทยพาณิชย์ จ ากัด สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.00(มหาชน)54. บริษัท เบทาโกรภาคเหนือ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.00เกษตรอุตสาหกรรม จ ากัด<strong>55</strong>. ธนาคารออมสิน ภาค 8 สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.0056. บริษัท ไทยเบฟเวอเรต จ ากัด สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 300,000.00(มหาชน)57. บริษัท เครื่องดื่มกระทิงแดง สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 500,000.00จ ากัด58. บริษัท ปตท. จ ากัด (มหาชน) สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 500,000.00รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 16


ด้านการบริหารจัดการชื่อผู้บริจาค วัตถุประสงค์หรือรายละเอียดสินทรัพย์ จ านวนเงิน หรือมูลค่า (บาท)59. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 1,000,000.00จ ากัด (มหาชน)60. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติ ปี 2<strong>55</strong>5 2,000,000.00ประเภทเงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ANGC 2011 300,000.0061. บริษัท มอนซานโต้ จ ากัด สนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ANGC 2011 100,000.0062. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ จ ากัด สนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ANGC 2011 200,000.00ประเภทเงินบริจาคเพื่อการเรียนการสอน 100,000.0063. อ.กนก เหวียนระวี ใช้เพื่อการเรียนการสอน 100,000.00รวมจ านวนเงินทั้งสิ้นที่รับบริจาค 16,548,757.60ตารางที่ 1.7 ตารางเปรียบเทียบงบประมาณแผ่นดินที่ได้รับและที่ใช้จ่ายจริง ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ประเภทปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 (ณ พฤษภาคม 2<strong>55</strong>5)งบรายจ่าย ที่ตั้ง ใช้ไป คงเหลือ ร้อยละ ที่ตั้ง ใช้ไป คงเหลือ ร้อยละงบลงทุน 18,018,700.00 10,643,500.00 7,375,200.00 59.07 29,043,000.00 26,841,000.00 2,202,000.00 92.42งบบุคลากร <strong>55</strong>,598,196.00 <strong>55</strong>,474,115.00 124,081.60 99.78 53,744,800.00 34,004,139.84 19,740,660.16 63.27งบด าเนินการ 15,992,900.00 15,830,329.19 162,570.81 98.98 15,308,100.00 9,979,4<strong>55</strong>.12 5,328,644.88 65.19งบเงินอุดหนุน 56,318,479.00 56,179,136.63 139,342.37 99.75 <strong>55</strong>,909,000.00 36,237,<strong>55</strong>4.00 19,671,446.00 64.82รวม 145,928,275.00 138,127,080.82 7,801,194.78 94.65 154,004,900.00 107,062,148.96 46,942,751.04 69.52จากตารางที่ 1.7 พบว่า งบประมาณเงินแผ่นดินที่ได้รับจัดสรรมีจ านวน 145 ล้านบาท ในปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>และ 154 ล้านบาท ในปี 2<strong>55</strong>5 โดยมียอดการเบิกจ่ายเป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 138 ล้านบาท ในปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ107 ล้านบาท ในปี 2<strong>55</strong>5 ณ เดือนพฤษภาคม 2<strong>55</strong>5 คิดเป็นร้อยละ 94.65 และ 69.52 ตามล าดับตารางที่ 1.8 ตารางการใช้งบประมาณเงินรายได้ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ประเภทปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5งบรายจ่าย ที่ตั้ง ใช้ไป คงเหลือ ร้อยละ ที่ตั้ง ใช้ไป คงเหลือ ร้อยละงบลงทุน 6,046,007.10 4,200,114.50 1,845,892.60 69.47 14,011,837.10 5,203,3<strong>55</strong>.00 8,808,482.10 37.14งบบุคลากร 11,281,880.00 10,344,526.50 937,353.50 91.69 11,<strong>55</strong>9,000.00 6,149,4<strong>55</strong>.20 5,409,544.80 53.20งบด าเนินการ 32,854,829.84 19,699,211.33 13,1<strong>55</strong>,618.51 59.96 19,474,0<strong>55</strong>.90 8,841,854.30 10,632,201.60 45.40งบเงินอุดหนุน 8,692,192.00 5,924,644.36 2,767,547.64 68.16 8,601,647.00 2,172,470.53 6,429,176.47 25.26งบรายจ่ายอื่น 510,702.00 489,400.00 21,302.00 95.83 1,986,200.00 514,700.00 1,471,500.00 25.91รวม 59,385,610.94 40,657,896.69 18,727,714.25 68.46 <strong>55</strong>,632,740.00 22,881,835.03 32,750,904.97 41.13จากตารางที่ 1.8 พบว่า งบประมาณเงินรายได้ที่มีจ านวน 59 ล้านบาท ในปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ <strong>55</strong> ล้านบาทในปี 2<strong>55</strong>5 โดยมียอดการเบิกจ่ายเป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 40 ล้านบาท ในปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ 22 ล้านบาท ในปี 2<strong>55</strong>5ณ เดือนพฤษภาคม 2<strong>55</strong>5 คิดเป็นร้อยละ 68.46 และ 41.13 ตามล าดับรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 17


ด้านการบริหารจัดการ1.2.2 ข้อมูลด้านสาธารณูปโภคแบ่งเป็นค่ากระแสไฟฟูาค่าน้ าประปาค่าไปรษณีย์ ค่าโทรศัพท์มีรายละเอียด ดังนี้ค่ากระแสไฟฟ้าคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> เป็นส่วนงานที่มีขนาดพื้นที่กว้างขวาง และมีอาคารเพื่อใช้ในการเรียนการสอน อาคารส านักงานและอาคารปฏิบัติการ รวมหลายอาคาร เพื่อเป็นการควบคุมการใช้กระแสไฟฟูา โดยคณะ ได้ติดตั้งมิเตอร์ประจ าอาคารเพื่อแสดงควบคุมการใช้กระแสไฟฟูา สามารถจ าแนกได้ดังต่อไปนี้1) จ าแนกตามอาคารส่วนกลางของคณะ2) จ าแนกตามสาขาวิชา/ภาควิชา(2.1) สาขาวิชาพืชสวน(2.2) สาขาวิชาพืชไร่(2.3) สาขาวิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์(2.4) สาขาวิชากีฏวิทยา(2.5) สาขาวิชาโรคพืช(2.6) สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร(2.7) สาขาวิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร(2.8) ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า3) จ าแนกตามศูนย์ 4 ศูนย์(3.1) ศูนย์วิจัย สาธิต และฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ(3.2) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง(3.3) ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร(3.4) ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตารางที่ 1.9 สรุปค่ากระแสไฟฟ้าภายในหน่วยงานประจ าปีงบประมาณ<strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5 แยกตามศูนย์และหน่วยวิจัยเดือนศูนย์วิจัย สาธิต และฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะหน่วยวิจัยและพัฒนาล าไยหริภุญชัยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูงศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตรปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5*ตุลาคม 23,578.00 12,324.00 2,500.54 2,280.75 8,132.00 6,388.00 35,099.00 21,847.00 69,309.54 42,839.75พฤศจิกายน 15,772.00 29,435.00 3,677.35 4,045.06 6,327.00 7,117.00 30,577.00 15,423.00 56,353.35 56,020.06ธันวาคม 21,980.00 39,670.00 8,489.29 10,628.44 5,605.00 5,028.00 28,140.00 14,424.00 64,214.29 69,750.44มกราคม 21,010.00 18,522.00 11,171.93 11,966.83 5,605.00 5,214.00 20,899.00 16,513.00 58,685.93 52,215.83กุมภาพันธ์ 19,541.00 22,815.00 14,387.50 14,468.41 6,688.00 8,134.00 23,632.00 12,764.00 64,248.50 58,181.41มีนาคม 17,594.00 53,027.00 1,0249.14 19,916.82 7,591.00 7,002.00 26,574.00 15,665.00 62,008.14 95,610.82เมษายน 21,238.00 - 5,752.32 - 6,507.00 - 29,568.00 - 63ล065.32 -พฤษภาคม 33,778.00 - 1,412.96 - 6,221.00 - 29,933.00 - 71,344.96 -มิถุนายน 17,117.00 - 1,573.32 - 7,664.00 - 34,667.00 - 61,021.32 -กรกฎาคม 19,501.00 - 3,604.84 - 17,286.00 - 40,<strong>55</strong>6.00 - 80,947.84 -รวมรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 18


เดือนศูนย์วิจัย สาธิต และฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะหน่วยวิจัยและพัฒนาล าไยหริภุญชัยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูงศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตรด้านการบริหารจัดการปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5* ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5*สิงหาคม 15,487.00 - 1,869.03 - 7,299.00 - 35,978.00 - 60,633.03 -กันยายน 16,090.00 - 2,217.69 - 5,659.00 - 17,063.00 - 41,035.69 -รวม 242,686.00175,793.00 66,905.91 63,306.31 90,584.00 38,883.00352,692.00 96,636.00752,867.91374,618.31*ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 เก็บข้อมูลถึงเดือนมีนาคม 2<strong>55</strong>5ตารางที่ 1.10 ค่าสาธารณูปโภคประจ าปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> รายไตรมาสไตรมาส ไฟฟูา ประปา ไปรษณีย์ ค่าโทรศัพท์ รวมไตรมาส 1 1,3<strong>55</strong>,944 47,278 11,017 26,968.81 1,441,207.81ไตรมาส 2 1,289,977 113,295 30,360 28,080.75 1,461,732.75ไตรมาส 3 1,341,307 131,932.50 8,457 25,518.35 1,507,214.85ไตรมาส 4 1,432,375 122,223.50 6,837 24,677.36 1,586,112.86รวมทั้งสิ้น 5,419,623 414,729 56,671 105,245.27 5,996,268.27ตารางที่ 1.11 การเปรียบเทียบค่าสาธารณูปโภค 2 ไตรมาสประจ าปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5ไตรมาส ไฟฟูา ประปา ไปรษณีย์ ค่าโทรศัพท์ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5 ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5 ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5 ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>51 1,3<strong>55</strong>,944 1,362,342 47,278 133,584.50 11,017 14,197 26,968.81 26,200.092 1,289,977 1,389,<strong>55</strong>1 113,295 119,857.50 30,360 20,687 28,080.75 20,<strong>55</strong>1.92รวม 2ไตรมาส 2,645,941.00 2,751,893.00 160,573.00 253,442.00 41,377.00 34,884.00 <strong>55</strong>,049.56 46,752.01ผลต่าง เพิ่มขึ้น 105,952.00 เพิ่มขึ้น 92,869.00 ลดลง 6,493.00 ลดลง 8,297.<strong>55</strong>คิดเป็นร้อยละ3.85 36.64 15.69 15.071.2.3 สรุปค่าสาธารณูปโภคในภาพรวมของคณะฯ ประจ าปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5จากตารางค่าสาธารณูปโภค ประจ าปี 2<strong>55</strong>5 เปรียบเทียบกับปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ประกอบด้วยค่ากระแสไฟฟูาค่าน้ าประปา ค่าไปรษณีย์และค่าโทรศัพท์ สรุปรายละเอียด ดังนี้ค่าไฟฟ้า มียอดการใช้เพิ่มขึ้น โดยผลต่างการเพิ่มขึ้นเป็นเงิน 105,952 บาท โดยเพิ่มจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 3.85ค่าน้ าประปา มีอัตราการใช้เพิ่มขึ้น โดยมียอดผลต่างที่เพิ่มขึ้นเป็นเงิน 92,869 บาท โดยเพิ่มจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 36.64ค่าไปรษณีย์ พบว่ามียอดการใช้ลดลง โดยมียอดผลต่างที่ลดลง 6,493 บาท โดยลดลงจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 15.69ค่าโทรศัพท์ พบว่ามียอดการใช้เพิ่มขึ้น โดยมียอดผลต่างการเพิ่มขึ้นเป็นเงิน 76,261 บาท โดยเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 18.79รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 19รวม


ตารางที่ 1.12 ค่าน้ ามันเชื้อเพลิงประจ าปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5ประจ าเดือน ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5*ตุลาคม 104,958.13 85,964.56พฤศจิกายน 69,235.94 94,410.53ธันวาคม 62,857.36 60,832.44มกราคม 81,409.20 85,403.49กุมภาพันธ์ 64,726.49 72,233.73มีนาคม 68,481.46 80,279.34เมษายน 42,804.71 45,367.67พฤษภาคม 75,591.25 90,033.43มิถุนายน 100,442.24 -กรกฎาคม 120,737.93 -สิงหาคม 168,627.92 -กันยายน 38,398.56 -รวม 998,271.19 614,525.19*ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 เก็บข้อมูลถึงเดือนพฤษภาคม 2<strong>55</strong>5ด้านการบริหารจัดการมีการใช้น้ ามันเชื้อเพลิงมากในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงของการฝึกงานทั่วไปนักศึกษา และในช่วงเดือนมิ.ย.-สิงหาคม อยู่ในช่วงของการจัดเตรียมสถานที่ส าหรับรองรับการฝึกงานในปี 2<strong>55</strong>5 ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม มีปริมาณการใช้น้ ามันเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น เนื่องจากอยู่ในช่วงการจัดเตรียมพื้นที่เพื่อรองรับการจัดงานวันเกษตรแห่งชาติตารางที่ 1.13 เปรียบเทียบค่าน้ ามันเชื้อเพลิงระหว่างปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5 รายไตรมาสไตรมาสที่ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>51 237,051.43 241,207.532 214,617.15 237,916.56รวม 2 ไตรมาส 451,668.58 479,124.09ผลต่าง เพิ่ม 27,4<strong>55</strong>.51คิดเป็นร้อยละ 6.08*ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 เก็บข้อมูลถึงเดือนมีนาคม 2<strong>55</strong>5ในการบริหารจัดการการใช้ยานพาหนะของคณะเกษตรศาสตร์ ได้ก าหนดมาตรการประหยัดน้ ามันเชื้อเพลิง โดยก าหนดแนวปฏิบัติดังนี้1. ให้ใช้โดยความประหยัดและใช้ในงานราชการเท่านั้น2. ผู้รับผิดชอบในการจัดรถให้ตรวจสอบการใช้รถร่วมกันให้มีประสิทธิภาพ3. รณรงค์และมอบหมายก าชับให้พนักงานขับรถขับรถในอัตราความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชั่วโมง4. สร้างจิตส านึกให้พนักงานขับรถ กรณีการจอดรถรอต้องดับเครื่องทุกครั้ง5. มอบหมายให้หน่วยยานพาหนะส ารวจและบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ให้ถูกวิธีรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 20


1.3 การพัฒนาและใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการของคณะด้านการบริหารจัดการคณะเกษตรศาสตร์ได้ก าหนดกรอบแนวทางการบริหารจัดการข้อมูลในระบบ CMU-MIS โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารจัดการข้อมูลให้ทันสมัย ครบถ้วน ถูกต้องและเชื่อถือได้ น าข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร เป็นข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการศึกษา ค ารับรองการปฏิบัติงานคณะเกษตรศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีทั้งนี้ มีการมอบหมายแต่งตั้งผู้ดูแลและจัดการฐานข้อมูลระบบ CMU-MIS มีฐานข้อมูลระดับคณะเกษตรศาสตร์ AG-MIS ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 9 ฐานข้อมูล ดังนี้ตารางที่ 1.14 ผู้ดูแลและจัดการฐานข้อมูลระบบ CMU-MISฐานข้อมูล ผู้รับผิดชอบ ผู้ตรวจสอบฐานข้อมูล1. ฐานข้อมูลด้านหลักสูตร งานบริการการศึกษา รองคณบดีฝุายวิชาการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์2. ฐานข้อมูลด้านนักศึกษา งานบริการการศึกษา รองคณบดีฝุายวิชาการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์3. ฐานข้อมูลด้านบุคลากร งานบริหารทั่วไป รองคณบดีฝุายบริหารและพัฒนา และเลขานุการคณะ4. ฐานข้อมูลด้านการเงิน งานการเงิน การคลังและพัสดุ รองคณบดีฝุายบริหารและพัฒนา และเลขานุการคณะ5. ฐานข้อมูลด้านวิจัย งานวิจัย รองคณบดีฝุายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์6. ฐานข้อมูลด้านวิเทศสัมพันธ์ หน่วยวิเทศสัมพันธ์ รองคณบดีฝุายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์7. ฐานข้อมูลด้านอาคารสถานที่ หน่วยอาคารสถานที่ รองคณบดีฝุายบริหารและพัฒนา และเลขานุการคณะ8. ฐานข้อมูลศิษย์เก่า งานบริการการศึกษา รองคณบดีฝุายวิชาการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์9. ฐานข้อมูลกิจการนักศึกษา หน่วยกิจการนักศึกษา รองคณบดีฝุายวิชาการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์1.3.1 ด้านการบริหารงาน เทคโนโลยีสารสนเทศคณะเกษตรศาสตร์ มีการน าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการบริหารจัดการ ดังนี้1. AG-MIS ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศตามภารกิจทุกด้านของคณะเพื่อใช้การวางแผนและการตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ2. KM Corner การจัดการองค์ความรู้ เป็นระบบรวบรวมองค์ความรู้ของบุคลากรทุกระดับ โดยแบ่งเป็นการจัดการความรู้ด้านการศึกษา การจัดการความรู้ด้านการวิจัย และการจัดการความรู้ด้านการบริหาร3. Time Attendance ระบบลงเวลาปฏิบัติงาน เป็นระบบลงเวลาเข้าปฏิบัติงาน และลงเวลาออกจากปฏิบัติงาน ผ่านทางระบบเครือข่ายภายในเท่านั้น4. e-Office ระบบจดหมายเวียนอิเล็กทรอนิกส์ มช. เป็นระบบรับส่งเอกสารอิเลคทรอนิกส์ พร้อมตรวจสอบขั้นตอนการด าเนินการได้5. e-Meeting ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ มช. เป็นระบบการประชุมโดยผู้เข้าร่วมประชุมสามารถศึกษาเอกสารการประชุมล่วงหน้า6. eQA-Document ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบจัดเก็บเอกสารด้านประกันคุณภาพการศึกษา ที่สามารถรองรับการประเมินผลงานได้ทุกระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 21


ด้านการบริหารจัดการ7. SAR Online ระบบการจัดท า SAR online เป็นระบบการจัดท ารายงานการประเมินตนเองที่สามารถจัดการเพิ่มและปรับปรุงแก้ไขข้อมูลได้ทุกเวลา ทุกสถานที่โดยผ่านเครือข่าย8. E-Budgeting ระบบจัดท าค าของบประมาณ เป็นระบบเพื่อจัดท าค าของบประมาณและยุทธศาสตร์ของคณะ9. Car Reserve ระบบจัดการขอใช้บริการยานพาหนะ เป็นระบบจัดการขอใช้บริการยานพาหนะ โดยบุคลากรสามารถแจ้งความประสงค์ใช้งาน และตรวจสอบ10. Meeting Room Reserve ระบบจัดการขอใช้บริการห้องประชุม เป็นระบบจัดการขอใช้บริการห้องประชุม โดยบุคลากรสามารถแจ้งความประสงค์ใช้งาน และตรวจสอบได้11. Study Room Reserve ระบบจัดการขอใช้บริการห้องเรียน เป็นระบบจัดการขอใช้บริการห้องเรียน โดยบุคลากรสามารถแจ้งความประสงค์ใช้งาน และตรวจสอบได้12. Vehicle Management ระบบจัดการยานพาหนะ เป็นระบบจัดการข้อมูลยานพาหนะ เช่นประวัติการใช้น ามัน และการซ่อมบ ารุง13. Service Management ระบบแจ้งซ่อม เป็นระบบจัดการแจ้งซ่อม โดยบุคลากรสามารถแจ้งความประสงค์ซ่อม และตรวจสอบได้14. Poll Online ระบบแบบส ารวจ เป็นระบบรวบรวมแบบส ารวจการด าเนินงานต่างๆ พร้อมประมวลผลการส ารวจ1.3.2 ด้านระบบเครือข่ายและการสื่อสารคณะเกษตรศาสตร์ ได้วางโครงสร้างเครือข่ายพื้นฐานแบบดาว (Star Network Topology) ผ่านสายใยแก้วน าแสง (Fiber Optic) ไปยังอาคารต่างๆ โดยมีอุปกรณ์เชื่อมต่อและกระจายสัญญาณหลักประจ าอาคาร (Core Switch) จ านวน 6 เครื่อง เพื่อเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์กระจายสัญญาณทั่วไป (Switch Hub)จ านวน 118 เครื่อง และแบบไร้สาย (Access point) จ านวน 63 เครื่อง เพื่อให้เกิดความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และใช้ทรัพยากรร่วมกันแผนผังโครงสร้างเครือข่ายคณะเกษตรศาสตร์รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 22


ด้านการบริหารจัดการโดยมีระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายแบบรวมศูนย์ (Information Data Center) แบ่งการให้บริการต่างๆจ านวน 6 เครื่อง พร้อมคอมพิวเตอร์ลูกข่ายจ านวน 276 เครื่อง แบ่งเป็นคอมพิวเตอร์ใช้งานการเรียนการสอนและการค้นคว้าด้วยตนเอง (e-Learning) จ านวน 111 เครื่อง และคอมพิวเตอร์ใช้การวิจัยการบริการวิชาการและการบริหารจัดการจ านวน 165 เครื่อง1.3.3 ด้านการพัฒนาบุคลากร ทางเทคโนโลยีสารสนเทศคณะเกษตรศาสตร์ได้จัดโครงการพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขึ้น เพื่อผลักดันให้บุคลากรน าความรู้ที่ได้จากการอบรมไปพัฒนางานของตนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนี้ตารางที่ 1.15 กิจกรรมการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจ าปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5หลักสูตร วันที่ ผลการประเมิน1. เทคนิคการใช้โปรแกรมส านักงาน Microsoft Office 2010 30 พฤษภาคม 2<strong>55</strong>5 4.00 (มาก)2. การพัฒนาเว็บไซต์ขั้นสูงด้วยโปรแกรม Joomla 11 เมษายน 2<strong>55</strong>5 4.09 (มาก)3. การพัฒนาเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Joomla 27 กันยายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong> 3.88 (มาก)4. การใช้งานเว็บไซต์คลังความรู้องค์กร (KM Conner) 11 พฤษภาคม 54 3.61 (มาก)5. การสร้างผังการปฏิบัติงาน ด้วยโปรแกรม Visio 27 เมษายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong> 4.14 (มาก)6. การสร้างแผนที่ความคิด ด้วยโปรแกรม Free Mind 27 เมษายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong> 4.03 (มาก)7. การลดความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ 30 มีนาคม <strong>2<strong>55</strong>4</strong> 4.06 (มาก)8. การติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์สีขาวระดับภาควิชา 2 มีนาคม <strong>2<strong>55</strong>4</strong> 4.00 (มาก)การอบรมเทคนิคการใช้โปรแกรมส านักงาน Microsoft Office 2010รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 23


ด้านการบริหารจัดการ1.4 การพัฒนาระบบกายภาพคณะเกษตรศาสตร์ ให้ความส าคัญกับการพัฒนาระบบกายภาพและภูมิทัศน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การใช้พื้นที่ภายในอาคารเกิดประโยชน์สูงสุด มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและเหมาะสมกับการใช้ประโยชน์มีการเสริมมาตรการการรักษาความปลอดภัย รวมทั้งการพัฒนาภูมิทัศน์โดยรอบบริเวณคณะฯบริเวณศูนย์วิจัยสาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ บริเวณหน่วยวิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูงขุนช่างเคี่ยน และหน่วยวิจัยพัฒนาการเกษตรที่สูงปุาเกี๊ยะ ดังนี้1. ปรับปรุงห้องประชุมพิศิษฐ์ วรอุไร เพิ่มความจุเป็น 360 ที่นั่ง เพื่อรองรับการเรียนการสอน การจัดประชุม สัมมนาและการฝึกอบรม โดยใช้เงินจากการจัดกิจกรรมระดมทุนของสมาคมศิษย์เก่าเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>2. จัดสร้างหลังคากันฝนชนิดโปร่งแสง (โพลีคาบอเนต) เชื่อมระหว่างอาคารเฉลิมพระเกียรติฯติดกับอาคารห้องประชุมพิศิษฐ์ วรอุไร เพื่ออ านวยความสะดวกแก่นักศึกษาและบุคลากรในการสัญจรระหว่างอาคาร3. ปรับปรุงต่อเติมอาคารที่จอดรถยนต์คณะเกษตรศาสตร์ ให้รองรับการจอดรถเพิ่มอีก 7 คันและก าหนดให้ภาควิชา/หน่วยงานภายในคณะฯ น ารถยนต์ราชการมาจอดในพื้นที่เดียวกัน เพื่อสะดวกในการควบคุมและดูแลรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินทางราชการรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 24


ด้านการบริหารจัดการ4. ปรับปรุงพื้นที่ห้องชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯเป็นห้องประวัติและแสดงนิทรรศการผลงานคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งภายในห้องจะมีการแสดงนิทรรศการพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระราชวงศ์ ที่มีต่อคณะเกษตรศาสตร์ การสนองงานมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริฯ การแสดงผลงานทางวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันและการจัดแสดงผลงานวิจัยเด่นของคณาจารย์และนักวิจัยคณะเกษตรศาสตร์5. ติดตั้งกล้องวงจรปิดบริเวณอาคารต่างๆเพิ่มเติมจ านวน 16 จุด (เดิมติดตั้งอยู่แล้ว 32 จุด) รวมทั้งสิ้น 48 จุดเพื่อเป็นการเสริมการดูแลรักษาความปลอดภัยปูองกันปัญหาด้านการโจรกรรมรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 25


ด้านการบริหารจัดการ6. จัดโครงการ Big Cleaning Day เป็นประจ าทุกปี เพื่อพัฒนาและท าความสะอาดภูมิทัศน์โดยรอบคณะฯ ซึ่งเป็นการร่วมท ากิจกรรมระหว่างผู้บริหาร บุคลากรและนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์7. จัดโครงการ "รวมใจภักดิ์ ปลูกมเหสักข์-สักสยามินทร์ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว" โดยบุคลากรคณะเกษตรศาสตร์ นักศึกษาเก่า และนักศึกษาปัจจุบัน ร่วมกันปลูกต้นสัก “มเหสักข์”และต้นสัก “สยามินทร์” เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา8. จัดโครงการสหกรณ์ออมทรัพย์และคณะเกษตรศาสตร์ มช. ร่วมใจสามัคคี ปลูกปุา สร้างฝายถวายในหลวงเพื่อเป็นการปลูกฝังจิตส านึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและเป็นการฟื้นฟู และน าความยั่งยืนมาสู่ปุาไม้ และระบบนิเวศน์ของอุทยานแห่งชาติสุเทพ -ปุย บริเวณขุนช่างเคี่ยนรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 26


ด้านการบริหารจัดการ9. คณะเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ บริษัท วิริยะประกันภัย จ ากัด จัดกิจกรรม "สร้างฝาย ปลูกปุารักษาต้นน้ าแม่ปิง" โดยมีกิจกรรมสร้างฝาย และปลูกปุา อาทิ ต้นนางพญาเสือโคร่ง กล้วยไม้ปุาณ หน่วยวิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูงปุาเกี๊ยะ และหน่วยจัดการต้นน้ าแม่ตะมาน ต.แม่นะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 27


ด้านการผลิตบัณฑิต2. ผลการปฎิบัติงาน ด้านการผลิตบัณฑิต2.1 ระดับคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2<strong>55</strong>3-<strong>2<strong>55</strong>4</strong> (ปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5)ผลการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะเกษตรศาสตร์ โดยคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จาก<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ประจ าปีการศึกษา 2<strong>55</strong>3-<strong>2<strong>55</strong>4</strong>ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน มีดังนี้ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาและระดับคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2<strong>55</strong>3-<strong>2<strong>55</strong>4</strong> (ปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5)องค์ประกอบที่ระดับคุณภาพการศึกษาปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5*1: ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการด าเนินการ 4.61 4.332: การเรียนการสอน 4.21 4.373: กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4.50 5.004: การวิจัย 4.71 4.145: การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00 4.506: การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม 5.00 5.007: การบริหารและการจัดการ 4.79 5.008: การเงินและงบประมาณ 5.00 5.009: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 4.35 5.00คะแนนรวม (เต็ม 3 คะแนน) 4.58 4.53* คะแนนประเมินโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายในคณะเกษตรศาสตร์ วันที่ 31 พฤษภาคม 2<strong>55</strong>5หมายเหตุ: ความหมายคะแนนรวม0.00-1.50 การด าเนินเงินต้องปรับรปรุงเร่งด่วน1.51-2.50 การด าเนินงานต้องปรับปรุง2.51-3.50 การด าเนินงานระดับพอใช้3.51-4.50 การด าเนินงานระดับดี4.51-5.00 การด าเนินงานระดับดีมากรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 28


ด้านการผลิตบัณฑิต2.2 การจัดการการศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มีการจัดการเรียนการสอน 3 ระดับ คือ ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก ในระดับปริญญาตรีมีการรับเข้าศึกษา 4 ประเภท คือ ประเภทสอบโควตาภาคเหนือประเภทสอบคัดเลือกจากระบบกลาง (Admission) ประเภทโครงการพิเศษของมหาวิทยาลัย (โครงการพัฒนาและส่งเสริมเยาวชนดีเด่นทางการกีฬา โครงการเด็กดีมีที่เรียน) โครงการความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และประเภทโครงการพิเศษของคณะ (โครงการอุดมศึกษาเพื่อทายาทเกษตร โครงการนักวิทยาศาสตร์เกษตร)ในปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะมีหลักสูตร และกระบวนวิชาที่เปิดสอน ดังนี้ตารางที่ 2.2 หลักสูตรที่เปิดสอน ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ระดับการศึกษา ประเภทหลักสูตรจ านวนหลักสูตรปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีการศึกษา 2<strong>55</strong>5ระดับปริญญาตรี หลักสูตรสาขาวิชาเดียว 2 2ระดับปริญญาโท หลักสูตรสาขาวิชาเดียว 10 9หลักสูตรนานาชาติ 2 2หลักสูตรสหสาขาวิชา 2 2ระดับปริญญาเอก หลักสูตรสาขาวิชาเดียว 7 6หลักสูตรนานาชาติ - 1หลักสูตรสหสาขาวิชา 2 2รวมทั้งสิ้น 25 24ตารางที่ 2.3 กระบวนวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ระดับการศึกษาจ านวนกระบวนวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีการศึกษา 2<strong>55</strong>5ระดับปริญญาตรี 238 165ระดับปริญญาโท 169 103ระดับปริญญาเอก 25 28รวมทั้งสิ้น 432 296ตารางที่ 2.4 หลักสูตรระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ชื่อหลักสูตรปริญญาตรี (<strong>2<strong>55</strong>4</strong>) ชื่อหลักสูตรปริญญาตรี (2<strong>55</strong>5)1) เกษตรศาสตร์ มี 7 วิชาเอก 1) เกษตรศาสตร์ มี 7 วิชาเอก- กีฏวิทยา - กีฏวิทยา- ปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ - ปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์- พืชไร่ - พืชไร่- พืชสวน - พืชสวน- โรคพืช - โรคพืช- ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร - ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร- สัตวศาสตร์ - สัตวศาสตร์2) เศรษฐศาสตร์เกษตร 2) เศรษฐศาสตร์เกษตรรวม 2 หลักสูตรรวม 2 หลักสูตรรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 29


ตารางที่ 2.5 หลักสูตรระดับปริญญาโท ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ชื่อหลักสูตรปริญญาโท (<strong>2<strong>55</strong>4</strong>) ชื่อหลักสูตรปริญญาโท (2<strong>55</strong>5)หลักสูตรสาขาวิชาเดียว1) กีฏวิทยา 1) กีฏวิทยา2) ปฐพีศาสตร์ 2) ปฐพีศาสตร์3) พืชไร่ 3) พืชไร่4) พืชสวน 4) พืชสวน5) โรคพืช 5) โรคพืช6) ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร 6) ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร7) สัตวศาสตร์ 7) สัตวศาสตร์8) เศรษฐศาสตร์เกษตร 8) เศรษฐศาสตร์เกษตร9) ธุรกิจเกษตร 9) ธุรกิจเกษตร10) เกษตรศาสตร์เชิงระบบ -หลักสูตรนานาชาติ1) เกษตรศาสตร์เชิงระบบ 1) การจัดการระบบเกษตร2) เกษตรยั่งยืนและการจัดการลุ่มน้ าแบบบูรณาการ (Joint degree Master ofScience, Sustainable Agriculture andIntegrated Watershed Management:SAIWAM)หลักสูตรสหสาขาวิชา (ภายใต้บัณฑิตวิทยาลัย)1) เทคโนโลยีชีวภาพ(เกษตรศาสตร์, เภสัชศาสตร์,วิทยาศาสตร์,อุตสาหกรรมเกษตร)2) วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว(เกษตรศาสตร์, อุตสาหกรรมเกษตร,วิศวกรรมศาสตร์)รวม 14 หลักสูตรตารางที่ 2.6 หลักสูตรระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ด้านการผลิตบัณฑิต2) เกษตรยั่งยืนและการจัดการลุ่มน้ าแบบบูรณาการ (Joint degree Master ofScience, Sustainable Agriculture andIntegrated Watershed Management:SAIWAM)1) เทคโนโลยีชีวภาพ(เกษตรศาสตร์, เภสัชศาสตร์,วิทยาศาสตร์,อุตสาหกรรมเกษตร)2) วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว(เกษตรศาสตร์, อุตสาหกรรมเกษตร,วิศวกรรมศาสตร์)รวม 13 หลักสูตรชื่อหลักสูตรปริญญาเอก (<strong>2<strong>55</strong>4</strong>) ชื่อหลักสูตรปริญญาเอก (2<strong>55</strong>5)หลักสูตรสาขาวิชาเดียว1) ปฐพีศาสตร์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 1) ปฐพีศาสตร์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ2) พืชไร่ 2) พืชไร่3) พืชสวน 3) พืชสวน4) โรคพืช 4) โรคพืช5) ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท 5) ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท6) สัตวศาสตร์ 6) สัตวศาสตร์7) เกษตรศาสตร์เชิงระบบ -หลักสูตรนานาชาติ- 1) การจัดการระบบเกษตรรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 30


ชื่อหลักสูตรปริญญาเอก (<strong>2<strong>55</strong>4</strong>) ชื่อหลักสูตรปริญญาเอก (2<strong>55</strong>5)หลักสูตรสหสาขาวิชา (ภายใต้บัณฑิตวิทยาลัย)1) เทคโนโลยีชีวภาพ(เกษตรศาสตร์, เภสัชศาสตร์,วิทยาศาสตร์,อุตสาหกรรมเกษตร)อุตสาหกรรมเกษตร)2) วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว(เกษตรศาสตร์, อุตสาหกรรมเกษตร,วิศวกรรมศาสตร์)รวม 9 หลักสูตรด้านการผลิตบัณฑิต1) เทคโนโลยีชีวภาพ(เกษตรศาสตร์, เภสัชศาสตร์,วิทยาศาสตร์,2) วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว(เกษตรศาสตร์, อุตสาหกรรมเกษตร,วิศวกรรมศาสตร์)รวม 9 หลักสูตร2.2.1 การฝึกงานนักศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรีทุกหลักสูตรของคณะเกษตรศาสตร์ มีกระบวนวิชาฝึกงาน ที่นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียน ทั้งการฝึกงานทั่วไป และการฝึกงานสาขาวิชาเอก ดังรายละเอียดต่อไปนี้1. ฝึกงานทั่วไป แบ่งเป็น 2 กระบวนวิชา คือ1) กระบวนวิชาการฝึกงาน 1 จ านวน 1 หน่วยกิต เป็นกระบวนวิชาที่ฝึกให้นักศึกษาเข้ารับการอบรมจริยธรรม เรียนรู้ประสบการณ์การอยู่ร่วมกันและการท างานเป็นทีม2) กระบวนวิชาการฝึกงาน 2 จ านวน 1 หน่วยกิต เป็นกระบวนวิชาฝึกงานด้านการเกษตรแบบครบวงจร โดยให้นักศึกษาเข้ารับการฝึกงานจากโครงการของภาควิชา/หน่วยงาน/ศูนย์/สถานีต่าง ๆ ภายในคณะเกษตรศาสตร์ ให้นักศึกษาเรียนรู้ครอบคลุมกระบวนการผลิต ตั้งแต่เริ่มผลิตจนสู่ตลาด และการวิเคราะห์โอกาส แนวทางในเชิงธุรกิจ2. ฝึกงานสาขาวิชาเอก จ านวน 3 หน่วยกิต เป็นการฝึกงานภาคสนามของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในภาคการศึกษาที่ 1 ตามกระบวนการ “สหกิจศึกษา” โดยนักศึกษาจะเข้าฝึกงานในหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงานภาคเอกชน เป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาเต็มปีการศึกษา 2<strong>55</strong>3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) และปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์เกษตร) ได้ปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2<strong>55</strong>2(TQF) และได้ก าหนดกระบวนวิชาสหกิจศึกษา จ านวน 6 หน่วยกิต ไว้ทุกหลักสูตร2.2.2 ข้อมูลนักศึกษาตารางที่ 2.7 ตารางแสดงจ านวนนักศึกษาที่รับเข้าศึกษา ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ระดับการศึกษานักศึกษาตามแผนที่ตั้งไว้ นักศึกษาที่เข้าศึกษาจริงจ านวน (คน) จ านวน (คน) คิดเป็นร้อยละของแผนที่ตั้งไว้ระดับปริญญาตรี 425 364 97.50ระดับปริญญาโท 303 102 33.66ระดับปริญญาเอก 69 14 20.29รวมทั้งสิ้น 797 467 58.59รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 31


ตารางที่ 2.8 ตารางแสดงจ านวนนักศึกษาที่รับเข้าศึกษา ปีการศึกษา 2<strong>55</strong>5ด้านการผลิตบัณฑิตระดับการศึกษานักศึกษาตามแผนที่ตั้งไว้ นักศึกษาที่เข้าศึกษาจริงจ านวน (คน) จ านวน (คน) คิดเป็นร้อยละของแผนที่ตั้งไว้ระดับปริญญาตรี 425 346 81.41ระดับปริญญาโท 303 116 38.28ระดับปริญญาเอก 69 8 11.59รวมทั้งสิ้น 797 470 58.97ตารางที่ 2.9 ตารางแสดงจ านวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>--2<strong>55</strong>5ระดับการศึกษาจ านวนนักศึกษาปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีการศึกษา 2<strong>55</strong>5ร้อยละ + / -ระดับปริญญาตรี 1,319 1,330 0.83ระดับปริญญาโท 546 432 -20.88ระดับปริญญาเอก 104 111 6.73รวมทั้งสิ้น 1,969 1,873 -4.88กราฟเปรียบเทียบจ านวนนักศึกษาทั้งหมด ปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>51,4001,3191,3301,2001,0008006004002005464321041110ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> (รวม 1,969 คน)ปี 2<strong>55</strong>5 (รวม 1,873 คน)รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 32


ด้านการผลิตบัณฑิต2.2.3 บัณฑิตคณะเกษตรศาสตร์ในปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 (ปีการศึกษา 2<strong>55</strong>3-<strong>2<strong>55</strong>4</strong>) คณะเกษตรศาสตร์ มีจ านวนผู้ส าเร็จการศึกษาทุกระดับ และมีผู้ได้รับเกียรตินิยม เหรียญรางวัลเรียนดี ดังนี้ตารางที่ 2.10 ตารางแสดงจ านวนผู้ส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร และรวมทั้งหมด ในปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี พ.ศ. 2<strong>55</strong>5 ร้อยละการส าเร็จการศึกษา* ปริญญา ปริญญา ปริญญา รวม ปริญญา ปริญญา ปริญญา รวม + / -ตรี โท เอก ตรี โท เอกตามหลักสูตร 219 - - 219 204 - - 204 -6.85รวมทั้งหมด 260 100 5 365 240 85 9 334 -8.49* นับถึงภาคการศึกษาที่ 2ตารางที่ 2.11 ตารางแสดงจ านวนนักศึกษาที่ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้รับเกียรตินิยมและเหรียญรางวัลเรียนดี ในปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ภาควิชาเหรียญรางวัลเรียนดีเกียรตินิยมตลอดหลักสูตร ประจ าปีอันดับ อันดับ1 2เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดงกีฏวิทยา - - - - 7ปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ - - - - 3พืชไร่ 3 - - 15พืชสวน 1 3 - 22โรคพืช - 1 - - 12เศรษฐศาสตร์เกษตร 2 2 - - 15ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร - - - - 6สัตวศาสตร์ 1 2 - 1ทั่วไป - - - -รวม 4 11 0 81ข้อมูลภาวะการท างานของบัณฑิตระดับปริญญาตรี คณะเกษตรศาสตร์ ที่เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรเมื่อวันที่ 24 มกราคม <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2<strong>55</strong>5 จากข้อมูลของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ตารางที่ 2.12 ภาวะการท างานของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5(ณ วันที่ 24 มกราคม <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และวันที่ 21 มกราคม 2<strong>55</strong>5)ภาวะการท างานปี พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี พ.ศ. 2<strong>55</strong>5 ร้อยละจ านวน (คน) ร้อยละ จ านวน (คน) ร้อยละ + / -ท างานแล้ว 178 69.26 201 71.79 12.92ศึกษาต่อ <strong>55</strong> 21.40 39 13.92 -29.09รองาน 24 9.34 40 14.29 66.67ผู้ตอบแบบสอบถาม 257 100 280 100.00 8.95รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 33


ด้านการผลิตบัณฑิต2.2.4 นักศึกษาและศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลตารางที่ 2.14 นักศึกษาและศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัล ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5ประเภทนักศึกษาชื่อผู้รับ รางวัลที่ได้รับในระดับชาติและหน่วยงานที่ให้นายนเรศ ปินตาเลิศ นายกสโมสรนักศึกษา คณะเกษตรศาสตร์นักศึกษา<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ดีเด่น ประจ าปี 2<strong>55</strong>3 จาก<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>นางสาวสุนีย์ จันทร์สกาว และ นายศิริวุฒิ สุขขีรางวัลดีเด่น ภาคโปสเตอร์ สาขาวัสดุปลูกและธาตุอาหารพืช จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ผลของอัตราปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสารทางยาในเกล็ดหยก” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยนางสาวกฤติยาพร บวรวัฒนะรางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืชผัก จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ผลของปริมาณไออนบีมพลังงานต่ ากับการรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของอัญชัญ” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยนายพิชิต เหลืองหิรัญรางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารในดินกับลักษณะของดอกว่านจูงนาง”ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยนางสาวเทวิณี พันธ์สิทธิ์รางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก เรื่อง “ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดต่อการพัฒนาของหัวว่านจูงนาง” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยนางสาวดวงกมล กบกันทารางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์และหลังการเก็บเกี่ยว เรื่อง “ผลของระยะเวลาที่ให้เมล็ดดูดน้ าในการท า Seed Priming ต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์แตงกวา” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยนายวัชรา ปิ่นทองนักศึกษาปริญญาเอก สาขาส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท ได้รับรางวัลงานวิจัยดีเด่น ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ท้องถิ่น สาขา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ศูนย์การศึกษาการพ ฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ต าบลสามพระยา อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี เนื่องในงานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ "๘๔ พรรษา ประโยชน์สุขสู่ปวงประชา" ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี(ว/ด/ป)12 มกราคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>24-28สิงหาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 34


ด้านการผลิตบัณฑิตประเภทศิษย์เก่า(คณาจารย์คณะ)ชื่อผู้รับ รางวัลที่ได้รับในระดับชาติและหน่วยงานที่ให้อ.ดร. วรรณพร ทะพิงค์แกรางวัลทะกุจิ ประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก ประจ าปี 2<strong>55</strong>3 หัวข้อวิทยานิพนธ์ เรื่อง “การย่อยสลายฮีสตามีนโดยอาศัยอาเคียที่ชอบเกลือ” ในการประชุมวิชาการประจ าปีของสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22 จากสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทยผศ.ดร. ศุภมิตร เมฆฉายบุคลากรดีเด่น จากคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ประจ าปี 2<strong>55</strong>3อ.ดร.ศิวาพร ธรรมดี- รางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืชผัก จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ผลของปริมาณไออนบีมพลังงานต่ ากับการรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของอัญชัญ”- รางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารในดินกับลักษณะของดอกว่านจูงนาง”- รางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก เรื่อง “ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดต่อการพัฒนาของหัวว่านจูงนาง”- รางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์และหลังการเก็บเกี่ยว เรื่อง“ผลของระยะเวลาที่ให้เมล็ดดูดน้ าในการท า Seed Priming ต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์แตงกวา” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยรศ.ดร.โสระยา ร่วมรังษีรางวัลดีเด่น ภาคโปสเตอร์ สาขาวัสดุปลูกและธาตุอาหารพืช จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ผลของอัตราปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสารทางยาในเกล็ดหยก” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยอ.ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน- รางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารในดินกับลักษณะของดอกว่านจูงนาง”- รางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก เรื่อง “ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดต่อการพัฒนาของหัวว่านจูงนาง” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยอ. ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษรางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์และหลังการเก็บเกี่ยว เรื่อง “ผลของระยะเวลาที่ให้เมล็ดดูดน้ าในการท า Seed Priming ต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์แตงกวา” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10นายจตุรงค์ พวงมณีรางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืชผัก จากการน าเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “การพัฒนาระบบการผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและการเข้าถึงอาหารปลอดภัยในชุมชน” ในการประชุมพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 10 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย(ว/ด/ป)21 ตุลาคม2<strong>55</strong>329 ธันวาคม2<strong>55</strong>318-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>18-20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 35


ด้านการผลิตบัณฑิตประเภทศิษย์เก่า(ภายนอกคณะ)ชื่อผู้รับ รางวัลที่ได้รับในระดับชาติและหน่วยงานที่ให้อ. ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษรางวัลการน าเสนอผลงานยอดเยี่ยม (Best Oral Presentation Award) ผลงานเรื่อง“Radio Frequency Thermal Treatment as Alternative Insects Pests ControlIn Storage” ในการประชุมวิชาการนานาชาติ “บทบาทของการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติกับการเปลี่ยนแปลงของโลก”อ.ดร. เยาวลักษณ์ จันทร์บางรางวัลการน าเสนอผลงานโปสเตอร์ยอดเยี่ยม (Best Poster Presentation Award”ผลงานเรื่อง “Trap and Lure study for Controlling Coffee Berry Borer” ในการประชุมวิชาการนานาชาติ “บทบาทของการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติกับการเปลี่ยนแปลงของโลก”นายจตุรงค์ พวงมณีรางวัลรองชนะเลิศในการน าเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 11นายรพีพงศ์ เกษตรสุนทรรางวัลรองชนะเลิศในการน าเสนอผลงานภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 11คุณพิจารณ์ วิริยะพันธ์ (รหัส 098030) กรรมการบริหาร บ.เมืองโบราณ จ ากัดนักศึกษาเก่า<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ดีเด่น สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม จาก<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>คุณสมควร ชูวรรธนปกรณ์ (รหัส 108056) รองกรรมการผู้จัดการ บมจ.กรุงเทพผลิตผล อุตสาหกรรมการเกษตร (CP) นักศึกษาเก่า<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ดีเด่น สาขาบริหารองค์กรเอกชน จาก<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>คุณเพ็ญภัค รัตนค าฟู (รหัส3108263) นายกเทศมนตรีต าบลเกาะคา จ.ล าปางนักศึกษาเก่า<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ดีเด่น สาขาบริหารองค์กรส่วนท้องถิ่น จาก<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>(ว/ด/ป)7 – 9พฤศจิกายน<strong>2<strong>55</strong>4</strong>7 – 9พฤศจิกายน<strong>2<strong>55</strong>4</strong>3 กุมภาพันธ์2<strong>55</strong>53 กุมภาพันธ์2<strong>55</strong>5ประจ าปี<strong>2<strong>55</strong>4</strong>ประจ าปี<strong>2<strong>55</strong>4</strong>ประจ าปี<strong>2<strong>55</strong>4</strong>คณะเกษตรศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนการส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นด้วยการให้บริการห้องสมุดห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีการประเมินผลการใช้สื่อ อุปกรณ์ การเรียนการสอนโดยนักศึกษาอย่างสม่ าเสมอทุกภาคการศึกษา และมีการวิจัยความพึงพอใจของนักศึกษาด้วยนอกจากนี้คณะมีการด าเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามกลไกของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยมีการตรวจสอบและประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในคณะ เพื่อปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และพัฒนาการของมหาวิทยาลัย และมีการรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในต่อมหาวิทยาลัยและสาธารณชนคณะเกษตรศาสตร์มีเว็บไซด์ของคณะที่ http://www.agri.cmu.ac.th โดยดูที่เมนูรูป AG-QA และมีระบบAG-MIS (Agriculture Management Information Systems) ที่คณะเกษตรศาสตร์พัฒนาขึ้นเพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงให้กับ<strong>หน่วยงานอื่นๆ</strong>รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี 2<strong>55</strong>5-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 36


ด้านการวิจัย3. ผลการปฏิบัติงาน ด้านการวิจัยคณะเกษตรศาสตร์ มีการท างานวิจัยร่วมกับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนความร่วมมือกับต่างประเทศมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนางานวิจัยมาอย่างต่อเนื่อง มีศูนย์วิจัยที่ด าเนินการวิจัยภายใต้คณะเกษตรศาสตร์ จ านวน 3 ศูนย์ คือ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตร แม่เหียะ และศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร ผลงานวิจัยเด่นของหน่วยวิจัยที่สร้างชื่อเสียงให้กับคณะฯ และสามารถน าไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น กลุ่มงานวิจัยส้ม กลุ่มงานวิจัยข้าว กลุ่มงานวิจัยเกษตรที่สูงกลุ่มงานวิจัยกาแฟ กลุ่มงานวิจัยไม้ดอกไม้ประดับ และกลุ่มงานวิจัยเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นต้น ในปัจจุบัน คณะฯ มีการด าเนินงานวิจัยภายใต้ทีมงานของหน่วยวิจัยย่อยต่างๆ จ านวน 16 หน่วย ประกอบด้วย1. หน่วยวิจัยระบบสืบพันธ์ปศุสัตว์ส าหรับชุมชน2. หน่วยวิจัยการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน3. หน่วยวิจัยการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน4. หน่วยวิจัยครั่งและผลิตภัณฑ์ครั่ง5. หน่วยวิจัยการผลิตและพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยอินทรีชีวภาพ6. หน่วยวิจัยห้องปฏิบัติการพันธุกรรมและธาตุอาหารพืช7. หน่วยวิจัยธุรกิจเกษตร8. หน่วยวิจัยระบบเกษตรยั่งยืน9. หน่วยวิจัยงานวิเคราะห์ปริมาณและการใช้ฮอร์โมนพืชในทางเกษตร10. หน่วยวิจัยหมูหลุม11. หน่ววิจัยวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์12. หน่วยวิจัยนาโนเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตร13. หน่วยวิจัยเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการลดการใช้สารเคมีเกษตรและสภาวะโลกร้อน14. หน่วยวิจัยพลังงานชีวมวล15. หน่วยวิจัยงานพัฒนาพันธุ์และเทคโนโลยีไม้ดอกไม้ประดับ16. หน่วยวิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจชุมชนคณะเกษตรศาสตร์ มีระบบการบริหารจัดการงานวิจัยและการด าเนินงาน โดยแต่งตั้งคณะท างานด้านการวิจัย มีหน้าที่ในการให้ค าปรึกษาและก าหนดนโยบายตลอดจนแนวทางการวิจัยของคณะ ซึ่งปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> คณะเกษตรศาสตร์ได้รับมอบหมายจาก<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ให้เป็นหน่วยประสานงานหลักเพื่อด าเนินการวิจัยของกลุ่มคลัสเตอร์ มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจ เพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> มีระยะเวลาด าเนินการ 3 ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>6 โดยประกอบไปด้วย 4 กลุ่มวิจัย ดังนี้ กลุ่มวิจัยข้าว ล าไย สัตว์เศรษฐกิจ และกาแฟ และได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ประสานงานหลักในการจัดตั้ง “ศูนย์วิจัยและวัฒนธรรมข้าวล้านนา” ซึ่งเป็นการด าเนินการวิจัยร่วมกันคณาจารย์/นักวิจัยกลุ่มข้าวและผู้เชี่ยวชาญทางด้านข้าว ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันพัฒนางานวิจัยด้านข้าว ตลอดจนพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้แบบครบวงจรทางด้านข้าวของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้คณะฯ ได้จัดสรรงบประมาณเงินรายได้ประจ าปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>เพื่อสนับสนุนทุนวิจัยโครงการวิจัยริเริ่มแบบมุ่งเป้า ประเภทนักวิจัยรุ่นใหม่ และทุนสนับสนุนการวิจัย ประเภทบัณฑิตศึกษา เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการท าวิจัยของอาจารย์ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 37


ด้านการวิจัยในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 มีผลงานวิจัยที่โดดเด่น ได้แก่1. การพัฒนานโยบายการเกษตรส าหรับระบบฟาร์มที่มีข้าวเป็นหลักในภูมิภาคลุ่มน้ าโขง2. การสนับสนุนงานวิจัยระดับปริญญาโท-เอก ด้านระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อเสริมงานวิจัยในประเทศเพื่อนบ้านของไทย: ระยะที่ 13. การผลิตข้ามแดน (Trans-boundary Production): กรณีไทย-ลาว4. คลัสเตอร์มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ (ภายใต้โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>) ประกอบด้วย 4 กลุ่มวิจัยดังนี้ กลุ่มวิจัยข้าว กลุ่มวิจัยล าไย กลุ่มวิจัยกาแฟ กลุ่มวิจัยสัตว์เศรษฐกิจ5. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์กับดักฟีโรโมนเพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผักบนพื้นที่สูง6. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์ก าจัดแมลงหวี่ขาวในการปลูกมะเขือเทศและพริกกะเหรี่ยงบนพื้นที่สูง7. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์ควบคุมโรคทางดินและโรคหลังการเก็บเกี่ยวของพริกกะเหรี่ยงบนพื้นที่สูง8. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์คลุกเมล็ดเพื่อควบคุมโรคในระยะกล้าของพริกกะเหรี่ยงกะหล่ าปลี และมะเขือเทศ9. การพัฒนาระบบการผลิตผักปลอดสารพิษเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและการเข้าถึงอาหารปลอดภัยในชุมชน10. โครงการพัฒนาและขยายผลการผลิตผักปลอดสารพิษตารางที่ 3.1 จ านวนโครงการ และงบประมาณ ตามแหล่งทุนวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5** ร้อยละแหล่งทุนวิจัย จ านวน งบประมาณ จ านวน งบประมาณ งบประมาณโครงการ (บาท) โครงการ (บาท) + / -ทุนวิจัยมหาวิทยาลัย 12 9,107,012.19 5 1,407,248.00 -84.<strong>55</strong>ทุนวิจัยงบประมาณเงิน 24 903,174.68 23 754,040.05 -16.51รายได้คณะ ภาควิชาและศูนย์วิจัยทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน4 11,684,133.14 210,006,971.39-14.35ทุนวิจัยจากแหล่งทุนใน 108 41,267,273.46 77 22,759,4<strong>55</strong>.02 -44.85ประเทศอื่นๆ*ทุนวิจัยต่างประเทศ 6 830,136.45 6 2,031,601.35 +144.73ทุนวิจัยเอกชน 10 2,275,906.25 10 2,760,011.63 +21.27รวม 164 66,067,636.17 123 39,719,327.44 -39.88* เช่น สกว. สวทช. วช. มูลนิธิโครงการหลวง ฯลฯ** ข้อมูลจาก MIS ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2<strong>55</strong>5หมายเหตุ: งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ที่ท างานวิจัย (ยกเว้นแต่งบประมาณทุนวิจัยมหาวิทยาลัย และทุนวิจัยงบประมาณเงินรายได้คณะฯ ไม่ได้หารเฉลี่ย)รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 38


ด้านการวิจัย- ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> รวมโครงการวิจัยสถาบัน 1 โครงการ จ านวนเงิน 5,317.29 บาท- ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 รวมโครงการวิจัยสถาบัน 6 โครงการ จ านวนเงิน 53,390.05 บาท และวิจัยการเรียนการสอน 1 โครงการ จ านวนเงิน 9,169 บาทในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> คณะเกษตรศาสตร์ได้รับงบประมาณวิจัย จากแหล่งทุนต่างๆ รวมทั้งสิ้น 164โครงการ งบประมาณ 66,067,636.17 บาท ดังต่อไปนี้ตารางที่ 3.2 จ านวนโครงการ และงบประมาณ ตามแหล่งทุนวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> **แหล่งทุนวิจัยจ านวนโครงการงบประมาณ(บาท)ร้อยละ(งบประมาณ)ทุนวิจัยมหาวิทยาลัย 12 9,107,012.19 13.79ทุนวิจัยงบประมาณเงินรายได้คณะ ภาควิชา และศูนย์วิจัย24 903,174.68 1.36ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน 4 11,684,133.14 17.68ทุนวิจัยจากแหล่งทุนในประเทศอื่นๆ* 108 41,267,273.46 62.47ทุนวิจัยต่างประเทศ 6 830,136.45 1.26ทุนวิจัยเอกชน 10 2,275,906.25 3.44รวม 164 66,067,636.17 100.00* เช่น สกว. สวทช. วช. มูลนิธิโครงการหลวง ฯลฯ** ข้อมูลจาก MIS ของคณะฯ ณ วันที่ 30 กันยายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong> (งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ที่ท างานวิจัย)สัดส่วนงบประมาณโครงการวิจัย จ าแนกตามแหล่งทุนวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>1.26%3.44% ทุนวิจัยมหาวิทยาลัย13.79%1.36%17.68%ทุนวิจัยงบประมาณเงินรายได้คณะฯ ภาควิชาและศูนย์วิจัยทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน*ทุนวิจัยจากแหล่งทุนอื่นๆ ในประเทศ**62.47%ทุนวิจัยต่างประเทศรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 39


ด้านการวิจัยตารางที่ 3.3 จ านวนโครงการ และงบประมาณวิจัย ตามสาขาวิชา/หน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงานจ านวนโครงการงบประมาณ ร้อยละ(งบประมาณ)ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 22 5,961,598.80 9.02ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ 59 38,190,891.17 57.81ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร 11 3,206,488.52 4.86ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า 17 5,521,934.70 8.36ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ 1 22,710.62 0.03ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร 27 9,481,123.31 14.35ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 19 2,195,532.01 3.31ส านักงานคณะ 8 1,487,357.04 2.26รวม 164 66,067,636.17 100.00การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติมีทั้งหมด 138 เรื่อง แบ่งเป็น การตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ จ านวน 99 เรื่อง และตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ จ านวน 39 เรื่อง (ข้อมูลตาม ปีปฏิทิน <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ม.ค. 54 – ธ.ค. 54)ระดับนานาชาติ28.26%สัดส่วนงานวิจัยที่ได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ระดับชาติ71.74%รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 40


ด้านการวิจัยตารางที่ 3.4 สรุปโครงการวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>*สรุป จ านวนโครงการ แล้วเสร็จ ยังไม่แล้วเสร็จโครงการวิจัยใหม่**โครงการเดิม1026252525010รวม 164 104 60* ข้อมูลจาก MIS ของคณะฯ ณ วันที่ 30 กันยายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong>** อนุมัติในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> (มีทั้งชื่อเรื่องใหม่ และชื่อเรื่องเดิมที่อนุมัติเป็นปีๆ)ในปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ได้รับงบประมาณวิจัย จากแหล่งทุนต่างๆ ร่วมทั้งสิ้น 123โครงการ งบประมาณ 39,719,327.44 บาท ดังต่อไปนี้ตารางที่ 3.5 จ านวนโครงการ และงบประมาณ ตามแหล่งทุนวิจัย ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 **แหล่งทุนวิจัยจ านวนโครงการงบประมาณ(ล้านบาท)ร้อยละ(งบประมาณ)ทุนวิจัยมหาวิทยาลัย 5 1,407,248.00 3.54ทุนวิจัยงบประมาณเงินรายได้คณะ และภาควิชา 23 754,040.05 1.90ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน 2 10,006,971.39 25.19ทุนวิจัยจากแหล่งทุนในประเทศอื่นๆ * 77 22,759,4<strong>55</strong>.02 57.30ทุนวิจัยต่างประเทศ 6 2,031,601.35 5.12ทุนวิจัยเอกชน 10 2,760,011.63 6.95รวม 123 39,719,327.44 100* เช่น สกว. สวทช. วช. มูลนิธิโครงการหลวง ฯลฯ** ข้อมูลจาก MIS ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2<strong>55</strong>5 (งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของอาจารย์ และบุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ที่ท างานวิจัย)สัดส่วนงบประมาณโครงการวิจัย จ าแนกตามแหล่งทุนวิจัย ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong><strong>55</strong>.12%6.95%3.54%1.90%25.19%ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยทุนวิจัยงบประมาณเงินรายได้คณะฯ ภาควิชา และศูนย์วิจัยทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน*57.30%ทุนวิจัยจากแหล่งทุนอื่นๆ ในประเทศ**ทุนวิจัยต่างประเทศรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 41


ด้านการวิจัยตารางที่ 3.6 จ านวนโครงการ และงบประมาณวิจัย ตามสาขาวิชา/หน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2<strong>55</strong>5ภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงานจ านวนโครงการงบประมาณ* ร้อยละ(งบประมาณ)ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 16 3,864,994.94 9.73ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ 44 21,725,040.87 54.70ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร 10 2,474,498.17 6.23ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า 12 3,168,983.68 7.98ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ - - 0.00ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร 12 4,<strong>55</strong>7,364.53 11.47ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 19 1,762,609.50 4.44ส านักงานคณะ 10 2,165,835.75 5.45รวม 123 39,719,327.44 100* ข้อมูลจาก MIS ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2<strong>55</strong>5 (งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของอาจารย์ และบุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ที่ท างานวิจัย)การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติหรือระดับนานาชาติมีทั้งหมด 27 เรื่อง แบ่งเป็นการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ จ านวน 18 เรื่อง และตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ จ านวน 9 เรื่อง (ข้อมูลตามปีปฏิทิน 2<strong>55</strong>5 ม.ค. <strong>55</strong> – มิ.ย. <strong>55</strong>)ระดับนานาชาติ33.33%สัดส่วนงานวิจัยที่ได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ ปี 2<strong>55</strong>5ระดับชาติ66.67%ตารางที่ 3.7 ตารางสรุปโครงการวิจัยปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5*สรุป จ านวนโครงการ แล้วเสร็จ ยังไม่แล้วเสร็จโครงการวิจัยใหม่**โครงการเดิม58651365729รวม 123 37 86* ข้อมูลจาก MIS ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2<strong>55</strong>5** อนุมัติในปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 (มีทั้งชื่อเรื่องใหม่ และชื่อเรื่องเดิมที่อนุมัติเป็นปีๆ)รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 42


ด้านการพัฒนาบุคลากร4. ผลการปฎิบัติงาน ด้านการพัฒนาบุคลากรคณะเกษตรศาสตร์ให้ความส าคัญกับการพัฒนาบุคลากรทุกสายงานอย่างทั่วถึง โดยอาศัยกระบวนการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาทรัพยากรบุคคลและเพื่อส่งเสริมให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน มีระบบและกลไกในการจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ ดังนี้- มีการแต่งตั้งผู้น าการบริหารความรู้ (Chief Knowledge Officer : CKO)- มีคณะกรรมการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management Team : KM Team)- มีการก าหนดองค์ความรู้ที่จ าเป็น 3 ด้าน คือ- องค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนเพื่อสนับสนุนการผลิตบัณฑิต- องค์ความรู้ด้านการวิจัย- องค์ความรู้ด้านการปฏิบัติงานของสายปฏิบัติการ- มีการจัดท าแผนการจัดการองค์ความรู้ครอบคลุมทั้ง 3 ด้านดังกล่าว- มีการด าเนินโครงการ กิจกรรมการจัดการองค์ความรู้- มีการติดตามและประเมินผลการจัดการองค์ความรู้ในส่วนของการจัดระบบและกลไกเพื่อส่งเสริมและธ ารงรักษาไว้ซึ่งบุคลากรคุณภาพได้มีโอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติงานและมีความสุขในการปฏิบัติงาน คณะเกษตรศาสตร์ได้ด าเนินการ ดังนี้1. มีการจัดท าแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อให้บุคลากรทุกสายงานได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองทั้งนี้ แผนพัฒนาบุคลากรจะสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดที่ก าหนดเพื่อให้การบริหารทรัพยากรบุคคลสามารถสนับสนุนการด าเนินงานในด้านต่างๆ ของคณะฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการติดตามประเมินแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นระบบ2. มีระบบสวัสดิการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างบรรยากาศที่ดีให้บุคลากรท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพและอยู่อย่างมีความสุข อาทิ- โครงการธารน้ าใจชาวเกษตร- โครงการเกษตรรักษ์สุขภาพและลดภาวะโลกร้อน (ชมรมจักรยาน)- โครงการโยคะ- การจัดสรรบ้านพักบริเวณศูนย์วิจัยฯ แม่เหียะ- การประกาศเกียรติคุณบุคลากรดีเด่น คณะเกษตรศาสตร์- โครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ให้ร่มรื่นสวยงาม3. มีการส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงให้มีโอกาสประสบความส าเร็จและก้าวหน้าในต าแหน่งหน้าที่ อาทิ การส่งเสริมให้บุคลากรได้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก การสนับสนุนงบประมาณให้ไปฝึกอบรม ดูงาน ณ ต่างประเทศ รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนคณาจารย์และนักวิชาการของคณะฯ ให้มีความพร้อมในการเสนอผลงานทางวิชาการเพื่อให้ได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งทางวิชาการสูงขึ้นรายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 43


ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงจ านวนบุคลากร ตามสายงานปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ด้านการพัฒนาบุคลากรสายงานบุคลากรปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5รวม ร้อยละ รวม ร้อยละร้อยละ +/-1. คณาจารย์คณาจารย์ (ข้าราชการ) 39 9.73 35 9.21 -10.26คณาจารย์ (พนักงานมหาวิทยาลัย) 32 7.98 31 8.16 -3.13คณาจารย์ (พนักงานส่วนงาน) - - 2 0.53 -รวม 71 17.7 68 17.9 -4.232. ข้าราชการ 27 6.74 26 6.85 -3.703. พนักงานปฏิบัติการ 65 16.21 67 17.64 3.084. ลูกจ้างประจ า 132 32.92 121 31.85 -8.335. พนักงานส่วนงาน 106 26.44 98 25.79 -7.<strong>55</strong>รวม 401 100 380 100ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงจ านวนคณาจารย์ ตามสถานะการจ้าง วุฒิการศึกษา และการลาศึกษาต่อปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ภาควิชา/ส่วนงาน สถานะการจ้าง วุฒิการศึกษา ลา รวมขรก. พนง. พนง. อ.พิเศษ อ.พิเศษ เอก โท ตรี ศึกษาแผ่นดิน ส่วนงาน (ไทย) (ต่างชาติ)ต่อภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 7 7 11 3 14ภาควิชาพืชศาสตร์และ 25 8 27 6 1 33ทรัพยากรธรรมชาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร 5 9 13 1 14และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตรภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์ 3 7 8 2 10น้ ารวม 40 31 59 12 1 71ร้อยละ 56.34 43.66 83.10 16.90 1.41รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 44


ด้านการพัฒนาบุคลากรตารางที่ 4.3 ตารางแสดงจ านวนคณาจารย์ ตามสถานะการจ้าง วุฒิการศึกษา และการลาศึกษาต่อปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ภาควิชา/ส่วนงาน สถานะการจ้าง วุฒิการศึกษา ลา รวมขรก. พนง. พนง. อ.พิเศษ อ.พิเศษ เอก โท ตรี ศึกษาแผ่นดิน ส่วนงาน (ไทย) (ต่างชาติ)ต่อภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 7 6 11 2 13ภาควิชาพืชศาสตร์และ 21 8 1 24 5 1 30ทรัพยากรธรรมชาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร 5 10 1 14 2 16และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตรภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า 2 7 8 1 9รวม 35 31 2 57 10 1 68ร้อยละ 51.47 45.59 2.95 83.83 14.71 1.47ตารางที่ 4.4 ตารางแสดงจ านวนคณาจารย์ ตามต าแหน่งทางวิชาการ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ภาควิชา/ส่วนงาน ต าแหน่งทางวิชาการ รวมอ. ผศ. รศ. ศ.ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 7 4 3 - 14ภาควิชาพืชศาสตร์และ11 7 13 2 33ทรัพยากรธรรมชาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร 4 3 6 1 14และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตรภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า 3 3 4 - 10รวม 25 17 26 3 71ร้อยละ 35.21 23.94 36.62 4.23ตารางที่ 4.5 ตารางแสดงจ านวนคณาจารย์ ตามต าแหน่งทางวิชาการ ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ภาควิชา/ส่วนงาน ต าแหน่งทางวิชาการ รวมอ. ผศ. รศ. ศ.ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 7 3 3 - 13ภาควิชาพืชศาสตร์และ11 7 11 1 30ทรัพยากรธรรมชาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร 5 3 7 1 16และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตรภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า 3 3 2 1 9รวม 26 16 23 3 68ร้อยละ 38.24 23.53 33.83 4.42รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 45


ด้านการพัฒนาบุคลากรตารางที่ 4.6 ตารางแสดงจ านวนบุคลากร ตามสถานการณ์จ้าง วุฒิการศึกษา และการลาศึกษาต่อปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>สถานการณ์จ้างวุฒิการศึกษาภาควิชา/ส่วนงานพนง. ลจ. พนักงานขรก. ประจ า ประจ า ส่วนงาน เอก โท ตรีต่ ากว่า ลารวมตรี ศึกษาต่อส านักงานคณะ 7 23 18 33 2 13 44 22 - 81ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 9 13 5 2 11 5 8 5 - 29ภาควิชาพืชศาสตร์และ 29 20 37 3 31 8 7 42 1 89ทรัพยากรธรรมชาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร5 12 2 3 13 1 6 2 - 22ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า 5 12 11 5 8 4 7 14 - 33ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 2 7 24 25 1 7 2 48 - 58ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรม 1 5 10 30 - 4 4 38 - 46การเกษตรแม่เหียะศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง 8 5 25 5 2 7 8 26 - 43เกษตรรวม 66 97 132 106 68 50 86 197 - 401ร้อยละ 16.46 24.19 32.92 26.44 16.96 12.47 21.45 49.13ตารางที่ 4.7 ตารางแสดงจ านวนบุคลากร ตามสถานการณ์จ้าง วุฒิการศึกษา และการลาศึกษาต่อปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5สถานการณ์จ้างวุฒิการศึกษาภาควิชา/ส่วนงาน พนง. ลจ. พนักงานต่ ากว่าลารวมขรก.เอก โท ตรี ศึกษาประจ า ประจ า ส่วนงานตรีต่อส านักงานคณะ 6 24 17 27 - 10 44 19 - 73ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 9 11 5 2 11 3 8 5 - 27ภาควิชาพืชศาสตร์และ 26 20 35 4 28 8 8 40 1 85ทรัพยากรธรรมชาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร 5 12 2 4 14 2 6 1 - 23และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตรภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า 4 11 8 6 8 3 7 11 - 29ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 2 7 23 22 1 7 2 44 - 54ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรม 1 5 9 27 - 4 5 33 - 42การเกษตรแม่เหียะศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร 7 5 22 4 2 7 7 22 - 38ศูนย์บริการวิชาการและ 1 3 - 4 2 3 2 2 - 9ถ่ายทอดเทคโนโลยีรวม 61 98 121 100 66 47 89 177 1 380ร้อยละ 16.05 25.79 31.84 26.32 17.37 12.37 23.42 46.58 0.26รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 46


ด้านการพัฒนาบุคลากรปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> คณะเกษตรศาสตร์ ได้จัดท าแผนพัฒนาบุคลากร โดยก าหนดขอบข่ายการพัฒนาบุคลากรไว้ 6 ด้าน และ ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ ได้จัดท าแผนพัฒนาบุคลากร โดยก าหนดขอบข่ายการพัฒนาบุคลากรไว้ 7 ด้าน ดังนี้ตารางที่ 4.8 ขอบข่ายการพัฒนาบุคลากรคณะเกษตรศาสตร์ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ 2<strong>55</strong>5ด้านที่ต้องการพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย1. บริหารจัดการ ผู้บริหารคณะหัวหน้าภาควิชาหัวหน้าศูนย์วิจัยเลขานุการคณะหัวหน้างานจ านวนโครงการ<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>53 32. การประกันคุณภาพการศึกษา บุคลากรทุกสายงาน - 53. การเรียนการสอน คณาจารย์และนักวิชาการ 3 34. การวิจัย คณาจารย์และนักวิชาการ 8 75. ศักยภาพสายปฏิบัติการ สายปฏิบัติการ 13 146. เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรทุกสายงาน 4 57. ส่งเสริมสุขภาพพลานามัย บุคลากรทุกสายงาน 3 1รวมจ านวนโครงการ 35 38ตารางที่ 4.9 จ านวนโครงการพัฒนาบุคลากรที่ด าเนินการ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ 2<strong>55</strong>5 *ปีงบประมาณ จ านวนโครงการตามแผน จ านวนโครงการที่ด าเนินการ คิดเป็นร้อยละ<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 35 35 1002<strong>55</strong>5* 38 31 81.58*ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2<strong>55</strong>5ตารางที่ 4.10 ร้อยละของคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้และประสบการณ์ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ 2<strong>55</strong>5คณาจารย์สายสนับสนุนปีงบประมาณ เข้าร่วมโครงการ คิดเป็น เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นจ านวนจ านวนพัฒนาบุคลากร ร้อยละ พัฒนาบุคลากร ร้อยละ<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 71 70 98.60 330 270 81.822<strong>55</strong>5* 68 63 92.65 312 215 68.91*ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2<strong>55</strong>5รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 47


ด้านการพัฒนาบุคลากรตารางที่ 4.11 จ านวนงบประมาณที่ได้รับจัดสรรเพื่อพัฒนาบุคลากรปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ 2<strong>55</strong>5รายการจัดสรรงบประมาณ1. สนับสนุนการเดินทางไปประชุม สัมมนา ฝึกอบรมดูงาน ภายในประเทศ2. สนับสนุนโครงการพัฒนาบุคลากรและโครงการสร้างเสริมสุขภาพบุคลากรจ านวนเงินแหล่งงบประมาณรวม<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5งบแผ่นดิน 500,000 588,400 1,088,400งบเงินรายได้ <strong>55</strong>3,485 639,008 1,161,490รวม 1,053,485 1,227,400สรุปงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรโดยเฉลี่ยต่อคน ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> = 2,627.15 บาทสรุปงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรโดยเฉลี่ยต่อคน ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 = 3,230 บาท4.1 โครงการพัฒนาบุคลากรการสัมมนาและศึกษาดูงานคณะเกษตรศาสตร์ประจ าปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>เรื่อง การเตรียมความพร้อมของคณะเกษตรศาสตร์เพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2<strong>55</strong>8 และการเปลี่ยนแปลงของโลก วันที่ 18 – 21 มีนาคม <strong>2<strong>55</strong>4</strong>มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมาบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ ากัดอ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมาบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ ากัดอ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมารายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 48


โครงการอบรมการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นสูงด้วย Joomla 2.5 วันที่ 27 กันยายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ด้านการพัฒนาบุคลากรโครงการฝึกอบรมนักวิจัยพบแหล่งทุน เรื่องแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัย วันที่ 7 ตุลาคม <strong>2<strong>55</strong>4</strong>โครงการ "แลกเปลี่ยนเรียนรู้ว่าด้วยหนังสือราชการ"22 พฤศจิกายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong>รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 49


ด้านการพัฒนาบุคลากรโครงการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ประจ าปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong>เรื่อง ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (eQA-Document) วันที่ 25 พฤศจิกายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong>โครงการอบรมเทคนิคการสอนเป็นภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพ วันที่ 30 พฤศจิกายน <strong>2<strong>55</strong>4</strong>โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญและการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน วันที่ 4 มกราคม 2<strong>55</strong>5รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 50


ด้านการพัฒนาบุคลากรโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การเพาะเห็ดเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้” 27 มกราคม 2<strong>55</strong>5โครงการฝึกอบรมภาษาอังกฤษ หลักสูตร General Conversation วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2<strong>55</strong>5โครงการพัฒนาบุคลากรโดยกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ด้านการเงิน การคลังและพัสดุวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2<strong>55</strong>5รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 51


ด้านการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาคณะเกษตรศาสตร์วันที่ 2 เมษายน 2<strong>55</strong>5โครงการอบรมระบบ SAR Online ประจ าปีการศึกษา <strong>2<strong>55</strong>4</strong> วันที่ 20 เมษายน 2<strong>55</strong>5โครงการ "ฝึกโยคะเพื่อสุขภาพกายและจิต"บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ได้รับการส่งเสริมพัฒนาอย่างต่อเนื่องสามารถสร้างชื่อเสียงและได้รับรางวัลเกียรติยศต่างๆ ดังนี้รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 52


ด้านการพัฒนาบุคลากร4.2 บุคลากรที่ได้รับรางวัล ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> และ 2<strong>55</strong>5ตารางที่ 4.12 บุคลากรที่ได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการหรืองานวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5ชื่อ – สกุล รางวัลที่ได้รับ เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบอ.ดร. วรรณพร ทะพิงค์แกรางวัลทะกุจิ ประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก ประจ าปี๒๕๕๓ หัวข้อวิทยานิพนธ์เรื่อง “การย่อยสลายฮีสตามีนโดยอาศัยอาเคียที่ชอบเกลือ”1 ตุลาคม2<strong>55</strong>3สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทยศ. ดร. สัญชัย จตุรสิทธารางวัลชมเชย จากผลงานวิจัยเรื่อง "ผลของน้ าหนักฆ่า ต่อลักษณะเส้นใยกล้ามเนื้อ และคุณภาพเนื้อของกระบือปลัก"รางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจ าปี 2<strong>55</strong>3“ครุฑทองค า”1 กุมภาพันธ์<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 เมษายน<strong>2<strong>55</strong>4</strong>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ส านักงาน ก.พ.นายเกษม ไชยวงค์รศ.ดร. โสระยา ร่วมรังษีและสุนีย์ จันทร์สกาวศิริวุฒิ สุขขีนักศึกษาระดับปริญญาโทรางวัลดีเด่น ภาคโปสเตอร์สาขาวัสดุปลูกและธาตุอาหารพืช เรื่อง ผลของอัตราปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสารทางยาในเกล็ดหยก18 - 20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยรายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 53


ด้านการพัฒนาบุคลากรชื่อ – สกุล รางวัลที่ได้รับ เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบรางวัลดีเยี่ยม ภาค 18 - 20 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บรรยาย สาขาสรี พฤษภาคม ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งวิทยาการผลิตพืชผัก เรื่อง <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ประเทศไทยผลของปริมาณไออนบีมพลังงานต่ ากับการรอดอ.ดร. ศิวาพร ธรรมดีชีวิตและการเจริญเติบโตของอัญชัญรศ.ดร. อดิศร กระแสชัยและกฤติยาพร บวรวัฒนะนักศึกษาระดับปริญญาโทสาขาพืชสวนอ.ดร. ฉันทลักษณ์ ติยายนรางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารในดินกับลักษณะของดอกว่านจูงนาง18 - 20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยอ.ดร. ศิวาพร ธรรมดีและพิชิต เหลืองหิรัญนักศึกษาระดับปริญญาโทรายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 54


ด้านการพัฒนาบุคลากรชื่อ – สกุล รางวัลที่ได้รับ เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบรางวัลชมเชย ภาค 18 - 20 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บรรยาย สาขาสรีรวิทยา พฤษภาคม ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งการผลิตพืชผัก เรื่อง การ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ประเทศไทยพัฒนาระบบการผลิตผักคุณจตุรงค์ พวงมณีปลอดสารพิษเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและการเข้าถึงอาหารปลอดภัยในชุมชนคุณกุศล ทองงามคุณกุหลาบ อุตสุขอ.ดร. ฉันทลักษณ์ ติยายนรางวัลชมเชย ภาคบรรยาย สาขาสรีรวิทยาการผลิตไม้ดอก เรื่อง ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดต่อการพัฒนาของหัวว่าน จูงนาง18 - 20พฤษภาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทยอ.ดร. ศิวาพร ธรรมดีและเทวิณี พันธ์สิทธิ์นักศึกษาระดับปริญญาโทสาขาพืชสวนรายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> <strong>55</strong>


ด้านการพัฒนาบุคลากรชื่อ – สกุล รางวัลที่ได้รับ เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบรางวัลชมเชย ภาค 18 - 20 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บรรยาย สาขาเทคโนโลยี พฤษภาคม ร่วมกับ สมาคมพืชสวนแห่งเมล็ดพันธุ์และหลังการ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ประเทศไทยเก็บเกี่ยว เรื่อง ผลของระยะเวลาที่ให้เมล็ดดูดน้ าอ.ดร. ศิวาพร ธรรมดี ในการท า Seed Primingต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์แตงกวาอ. ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษและดวงกมล กบกันทานักศึกษาระดับปริญญาโทสาขาพืชสวนอ. ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษรางวัลการน าเสนอผลงานยอดเยี่ยม (Best OralPresentation Award)ผลงานเรื่อง “RadioFrequency ThermalTreatment asAlternative InsectsPests Control InStorage” ในการประชุมวิชาการนานาชาติ“บทบาทของการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติกับการเปลี่ยนแปลงของโลก”7 – 9พฤศจิกายน<strong>2<strong>55</strong>4</strong>คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 56


ด้านการพัฒนาบุคลากรชื่อ – สกุล รางวัลที่ได้รับ เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบอ.ดร. เยาวลักษณ์ จันทร์บางรางวัลการน าเสนอผลงานโปสเตอร์ยอดเยี่ยม (BestPoster PresentationAward” ผลงานเรื่อง“Trap and Lure studyfor Controlling CoffeeBerry Borer” ในการประชุมวิชาการนานาชาติ“บทบาทของการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติกับการเปลี่ยนแปลงของโลก”7 – 9พฤศจิกายน<strong>2<strong>55</strong>4</strong>คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รางวัลรองชนะเลิศในการน าเสนอผลงานภาคบรรยายในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 113 กุมภาพันธ์2<strong>55</strong>5กรมวิชาการเกษตรนายจตุรงค์ พวงมณีรางวัลรองชนะเลิศในการน าเสนอผลงานภาคบรรยายในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 113 กุมภาพันธ์2<strong>55</strong>5กรมวิชาการเกษตรนายรพีพงศ์ เกษตรสุนทรรางวัลรองชนะเลิศในการน าเสนอผลงานภาคบรรยายในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 113 กุมภาพันธ์2<strong>55</strong>5กรมวิชาการเกษตรนางกุหลาบ อุตสุขรายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 57


ด้านการพัฒนาบุคลากรชื่อ – สกุล รางวัลที่ได้รับ เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบนางแสงดาว แบนซิเกอร์รองชนะเลิศ อันดับ 1ประเภทการน าเสนอผลงานวิจัย (แบบโปสเตอร์)สาขากลุ่มมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ เรื่องการตัดสินใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 ในการเลือกเข้าสังกัดวิชาเอกของคณะเกษตรศาสตร์ ในงาน “ทองกวาววิชาการ”<strong>55</strong> การประชุมวิชาการวิจัยส าหรับบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันการศึกษา ครั้งที่ 44 พฤษภาคม2<strong>55</strong>5<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ตารางที่ 4.13 บุคลากรที่ได้รับการยกย่องหรือรับรางวัลด้านอื่นๆ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 2<strong>55</strong>5ชื่อ – สกุล ได้รับการยกย่องหรือรับรางวัล เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบศ.ดร. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม ได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์เกียรติคุณดร. ชนากานต์ พรมอุทัยรางวัล “ดุษฎีบัณฑิต คปก.ดีเด่น”ในสาขาวิทยาศาสตร์เกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร23พฤศจิกายน<strong>2<strong>55</strong>4</strong>โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยรายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 58


ด้านการพัฒนาบุคลากรชื่อ – สกุล ได้รับการยกย่องหรือรับรางวัล เมื่อวันที่ หน่วยงานที่มอบรศ.ดร. สุรพล เศรษฐบุตร รางวัลชนะเลิศการแข่งขันกอล์ฟการกุศล สมทบ “กองทุนหมอเจ้าฟ้า” Low Gross Flight C11 มีนาคม2<strong>55</strong>5สมาคมศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่รศ.ดร. พิทยา สรวมศิริบุคลากรดีเด่น (พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ)คณะเกษตรศาสตร์ ประจ าปี<strong>2<strong>55</strong>4</strong>29 ธันวาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>นางลาลิตยา นุ่มมีศรี บุคลากรดีเด่น (พนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ)คณะเกษตรศาสตร์ ประจ าปี<strong>2<strong>55</strong>4</strong>29 ธันวาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>นายดวงทิพย์ ห้วยทราย บุคลากรดีเด่น (ลูกจ้างประจ า)คณะเกษตรศาสตร์ ประจ าปี<strong>2<strong>55</strong>4</strong>29 ธันวาคม<strong>2<strong>55</strong>4</strong>คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รายงานผลการปฏิบัติงานปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 59


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม5. ผลการปฎิบัติงาน ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม5.1 ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชนคณะเกษตรศาสตร์ ดําเนินงานด้านการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน โดยเน้นลักษณะของการให้บริการรูปแบบต่างๆ เป็นการเข้าถึงประชาชนในพื้นที่เปูาหมาย ทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และเป็นการให้บริการแบบให้เปล่า ในขณะเดียวกันยังจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนในสถานศึกษาได้รับความรู้ด้ านวิทยาศาสตร์เกษตรศาสตร์เพิ่มเติม ตลอดจนมีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่คณะจัดขึ้นผ่านสื่อต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักกว้างขวางมากยิ่งขึ้น ดังนี้ตารางที่ 5.1 ตารางแสดงการบริการวิชาการแก่ชุมชน ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ประเภทในการบริการประเภทในการบริการ จํานวนครั้งจํานวนผู้รับบริการจํานวนครั้งจํานวนผู้รับบริการฝึกอบรม/สัมมนา/เสวนา 14 1,046 26 1,074จัดนิทรรศการร่วมกับหน่วยงานภายนอก 10 16,600 3 33,000งานเกษตรแห่งชาติ ประจําปี 2<strong>55</strong>5 - - 1 200,000*ค่ายวิทยาศาสตร์เกษตรภาคฤดูร้อน 1 59 1 46กาดวัฒนธรรมเกษตร 1 2,000* - -จัดประกวดไม้ตัดดอก ไม้ดอกกระถางฯ งานมหกรรมพืชสวนโลก - - 1 50,000*บทความทางหนังสือพิมพ์ 2 คอลัมน์ :1. คอลัมน์ “ข่วงเกษตร” ทางหนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์ ฉบับประจําทุกวันพุธ-ศุกร์2. คอลัมน์ “เกษตรใกล้ตัว” ทางหนังสือพิมพ์ไทยนิวส์ ฉบับประจําทุกวันเสาร์รายการวิทยุ จํานวน 2 รายการ :1. รายการ “เกษตรใกล้ตัว” ทางสถานีวิทยุเสียงสื่อสารมวลชน FM 100ทุกวันอังคาร เวลา 20.00 - 20.15 น.2. รายการ “เกษตร มช.เพื่อหมู่เฮา” 2 สถานี คือ2.1 สวท. เชียงใหม่ คลื่น AM 639 KHz เวลา 6.30-7.00 น.2.2 สวท. ตาก คลื่น FM 102 MHz เวลา 13.00-13.30 น.3. รายการเกษตร มช.เพื่อสังคม AM 612 กิโลเฮิร์ต ทุกวันพฤหัสบดีที่สองสองเดือนต่อครั้ง ทางสถานีวิทยุ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เชียงใหม่63 18,000* 57 18,000*50 36,000* 40 36,000*51 24,000* 40 24,000*52 21,000* 39 21,000*52 21,000* 39 21,000*9 50,000* 3 50,000*รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 60


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ประเภทในการบริการประเภทในการบริการ จํานวนครั้งจํานวนผู้รับบริการจํานวนครั้งจํานวนผู้รับบริการสนับสนุนการเรียนการสอน (ห้องปฏิบัติการกลาง) 984 234 425 112วิเคราะห์ตัวอย่างทางการเกษตร 3,<strong>55</strong>4 2,750 2,625 71จําหน่ายสินค้าผ่านทางร้านค้าเกษตร มช. (จําหน่ายทุกวัน) 365 60,000* 365 70,000*รวม 5,206 252,689 3,665 524,303ร้อยละที่เพิ่ม -29.60 107.49* เป็นการประมาณการผู้รับบริการวิชาการคณะเกษตรศาสตร์มีรายได้จากการบริการวิชาการจากแหล่งต่างๆ ดังนี้ตารางที่ 5.2 ตารางแสดงแหล่งรายได้จากการบริการวิชาการ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5แหล่งรายได้ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 ร้อยละจํานวน (บาท) ร้อยละ จํานวน (บาท) ร้อยละ + / -ฝึกอบรม 43,439.89 2.81 10,243.00 0.10 -76.42ร้านค้าเกษตร/ผลิตภัณฑ์เกษตร 875,851.66 56.73 495,845.37 4.91 -43.39ค่าเช่าพื้นที่ 16,800.00 1.09 18,200.00 0.18 8.33รายได้จากโครงการวิเคราะห์ 454,946.37 29.47 90,335.20 0.89 -80.14ค่าธรรมเนียมการใช้ห้องปฏิบัติการ 36,674.50 2.37 118,544.80 1.17 223.23โครงการวิเคราะห์ถ่านหินไฟฟูาหงสา - - 675,299.70 6.68 100Overhead Charge 58,316.00 3.77 8,250.00 0.08 -85.85โครงการผลิตปุ๋ยฯ 57,982.30 3.76 3,500.00 0.03 -93.96โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ฯ - - 168,711.03 1.67 -โครงการวิจัยไก่ไข่ฯ - - 820,662.72 8.12 -โครงการบริการวิชาการฯ ภาควิชา - - 62,600.00 0.62 -โครงการงานวันเกษตรแห่งชาติ - - 7,967,000.00 78.92รวม 1,544,010.72 100 10,094,769.76 100 37.81ตารางที่ 5.3 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ประเภทในการบริการ จํานวนฉบับ/ครั้ง จํานวนผู้รับบริการ*จุลสารเกษตร มช.รายปักษ์ 24 5,700หนังสือข่าวสารคณะเกษตรศาสตร์ 4 12,000ข่าวประชาสัมพันธ์หนังสือพิมพ์ไทยนิวส์ 8 36,000*ข่าวประชาสัมพันธ์หนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์ 4 18,000*ข่าวประชาสัมพันธ์หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 1 100,000*หนังสือพิมพ์มติชน 1 100,000*หนังสือพิมพ์คมชัดลึก 1 100,000*รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 61


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประเภทในการบริการ จํานวนฉบับ/ครั้ง จํานวนผู้รับบริการ*หนังสือเทคโนโลยีชาวบ้าน 4 10,000*หนังสือพิมพ์บ้านเมือง 1 50,000*มช.รอบสัปดาห์ 48 1,200ประชาสัมพันธ์กิจกรรมบนเว็ปไซด์คณะฯ 92 13,200*ส่งข่าวงานแถลงข่าวจังหวัด 24 100*รวม 212 446,200* เป็นการประมาณการผู้รับบริการวิชาการภาพกิจกรรมการบริการวิชาการ- -- -- -- -รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 62


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม---- -รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 63


ภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ์ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม1. ไวนิลขนาดใหญ่ งานวันเกษตรแห่งชาติ 2<strong>55</strong>52. คัทเอาท์ / แผนที่ / ปูายขวางคลองรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 64


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม3. โปสเตอร์ 4. ปฏิทินพกรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 65


5. รายการวิทยุด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม- -6. ข่าว / บทความหนังสือพิมพ์- --7. รายการโทรทัศน์ / สารคดีเกษตร-รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 66


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม---- -8. การจัดงานแถลงข่าว / Press Tour- -9. การเข้าร่วมกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในงานสําคัญต่างๆ- -รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 67


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม- -10. รถแห่11. การแจกใบปลิวตามสถานที่ต่างๆ/ PR บุคคล- -รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 68


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม- -12. การจัด Display5.2 ด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคณะเกษตรศาสตร์ กําหนดเปูาประสงค์ด้านการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม คือ คณะเกษตรศาสตร์เป็นแหล่งรวบรวมสะสมองค์ความรู้และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับด้านการเกษตรของภาคเหนือ และได้กําหนดกําหนดกลยุทธ์ไว้ 3 ประการดังนี้5.2.1 อนุรักษ์ สืบสาน พัฒนาเผยแพร่เอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาล้านนาคณะเกษตรศาสตร์ ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดโครงการ กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ สืบสานประเพณีที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมตลอดจนภูมิปัญญาล้านนา โครงการหรือกิจกรรมการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมดังกล่าวมีทั้งในส่วนที่คณะฯ เป็นผู้ดําเนินการ หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดโครงการของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>และหน่วยงานภายนอก อาทิ พิธีจุดเทียนชัยในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ประเพณีปี๋ใหม่เมือง ประเพณีทอดกฐินประจําปี พิธีทําบุญสืบชะตาเมือง ประเพณีหล่อเทียนและถวายเทียนพรรษา กิจกรรมกาดวัฒนธรรมเกษตร และโครงการรับน้องปลอดเหล้าเข้าศาสนสถาน เป็นต้น5.2.2 ส่งเสริมการใช้ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่ออนุรักษ์และท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมล้านนาคณะเกษตรศาสตร์ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์/นักวิชาการ ใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรเพื่อศึกษา ค้นคว้าวิจัย ด้านการอนุรักษ์พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ภาคเหนือ โครงการวิจัยดังกล่าวถือว่าเป็นโครงการที่มีส่วนสําคัญในการอนุรักษ์รวมทั้งการต่อยอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 69


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมความเป็นอยู่ของประชาชนในเขตภาคเหนือ มีการการจัดกิจกรรมและการวิจัยเชิงอนุรักษ์เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากเป็นการวิจัยค้นคว้าคิดหาวิธีการบํารุงรักษาเชิงอนุรักษ์พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่หายากเกือบจะสูญพันธุ์ไปแล้วเป็นองค์ความรู้เช่น- การใช้เครื่องหมายโมเลกุลตรวจสอบพันธุกรรมข้าวก่ําพื้นเมืองเพื่อการอนุรักษ์และปรับปรุงพันธุ์- การสร้างพันธุ์ข้าวเจ้าก่ําพันธุกรรมเด่นชนิดใหม่- การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตมะเกี๋ยงเชิงอุตสาหกรรม- การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้กลุ่มนางอั้ว- ความหลากหลายการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากงาขี้ม้อนของเกษตรกรชนเผ่าที่แตกต่างกัน- การศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้ปุาในสภาพปลอดเชื้อ- ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของพืชในระบบไร่หมุนเวียนของเกษตรกรเผ่ากะเหรี่ยงเขตอําเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน- การประยุกต์ใช้โมโนโคลนอลแอนติบอดีเพื่อการผลิตน้ําเชื้อคัดเพศสําหรับโคขาวลําพูน5.2.3 รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลคณะเกษตรศาสตร์ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์/นักวิชาการ ใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรเพื่อศึกษา ค้นคว้าวิจัย ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเขตพื้นที่ภาคเหนือ รวมทั้งคณะฯ ได้จัดโครงการ กิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักให้กับบุคลากรในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการร่วมมือเพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์ภาวะโลกร้อน เช่น- โครงการคณะเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ร่วมใจสามัคคี ปลูกปุาสร้างฝายถวายในหลวง- โครงการ รวมใจภักดิ์ ปลูกมเหสักข์-สักสยามินทร์ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (กิจกรรมวันเฉลิมพระชนพรรษา 12 สค.)- โครงการศึกษาเรียนรู้ศิลปวัฒธรรม ประวัติศาสตร์และแหล่งทรัพยากรธรรมชาติภาคเหนือตอนบน- โครงการเกษตร -พยาบาลบําเพ็ญ 2<strong>55</strong>5 (นักศึกษาคณะเกษตรและนักศึกษาพยาบาลร่วมบําเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชน)- โครงการปูองกันกําจัดไฟปุา ประจําปี 2<strong>55</strong>5 (อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ของชุมชน)- โครงการผลิตข้าวและพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเพื่อสุขภาพ- โครงการการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์เกษตร- โครงการปลูกปุาผสมผสานเป็นส่วนหนึ่งในโครงการค่ายอาสา (ชมรมอาสาพัฒนาชนบท)- โครงการการจัดการธาตุอาหารพืชเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของเกษตรกรที่มีการปลูกงาขี้ม้อนในระบบไร่หมุนเวียนบนพื้นที่สูง- อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในระบบการเกษตรบนพื้นที่สูงเพื่อสร้างความมั่นของระบบการผลิตอาหารและการอนุรักษ์ทรัพยากรพืชพันธุ์พื้นเมืองในระดับท้องถิ่น- คณะเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ บ.วิริยะประกันภัยจํากัด จัดกิจกรรม สร้างฝาย ปลูกปุา รักษาต้นน้ําแม่ปิง- การฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ปุาโดยใช้ระบบการผลิตกาแฟอาราบีก้าในรูปแบบเกษตรปุาไม้เป็นระบบนําร่องเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติบนที่สูงคณะเกษตรศาสตร์ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการกิจกรรมการทํานุบํารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรมอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของคณะ มหาวิทยาลัยและองค์กรอื่นโดยแบ่งเป็นโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>จํานวน 29 โครงการ ในปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 จํานวน 23 โครงการ และโครงการที่ดําเนินการเพื่อแก้ไข/ลดรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 70


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลพิษให้กับชุมชนในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> จํานวน 11 โครงการและในปีงบประมาณ2<strong>55</strong>5 จํานวน 13 โครงการ (ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2<strong>55</strong>5)นอกจากนี้คณะได้ส่งเสริมให้บุคลากรมีส่วนร่วมในโครงการกิจกรรมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไทยและล้านนาซึ่งจัดโดยคณะ มหาวิทยาลัย และองค์กรอื่น ระหว่างปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 หลายกิจกรรม ดังนี้ตารางที่ 5.4 โครงการกิจกรรมท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมไทยและล้านนา ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5กิจกรรม ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5 *1. กิจกรรมวันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมแต่งกายด้วยผ้าไทย ตลอดปี ตลอดปี2. โครงการธารน้ําใจชาวเกษตร ตลอดปี ตลอดปี3. โครงการตลาดนัดเกษตรปลอดพิษ อาหารปลอดภัยทุกวันพุธ ตลอดปี ตลอดปีและวันเสาร์ของสัปดาห์4. กิจกรรมทําบุญตักบาตรเทโวโรหณะ 24 ตค. 53 13 ตค.545. กิจกรรมพิธีทอดกฐิน<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 29 ตค. 53 21 ตค. 546. กิจกรรมการแข่งขันกีฬาบุคลากร พย.-ธค. 53 พย-ธค. 547. พิธีจุดเทียนชัยถวายพระพรชัยมงคลและถวายสัตย์ปฏิญาณฯ 5 ธค. 53 5 ธค. 548. กิจกรรมงานวันเกษตรสัมพันธ์ 29 ธค. 53 29 ธค. 549. กิจกรรมทําบุญตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ 1 มค. 54 1 มค. <strong>55</strong>10. กิจกรรมพิธีทําบุญวันครบรอบวันสถาปนา25 มค. 54 24 มค. <strong>55</strong><strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>11. กิจกรรมปัจฉิมนิเทศและพิธีอําลาสถาบัน 5 กพ. 54 11 กพ. <strong>55</strong>12. กิจกรรมวันมาฆบูชา 18 กพ. 54 7 มีค. <strong>55</strong>13. กิจกรรมพิธีทําบุญครบรอบวันสถาปนาคณะเกษตรศาสตร์ 25 กพ. 54 24 กพ. <strong>55</strong>14. กิจกรรมร่วมขบวนแห่ในงานประเพณีสงกรานต์ 13 เมย. 54 13 เมย. <strong>55</strong>15. กิจกรรมพิธีรดน้ําดําหัว อธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>และ 22 เมย. 54 27 เมย. <strong>55</strong>ผู้อาวุโสมหาวิทยาลัย16. กิจกรรมพิธีรดน้ําดําหัวอดีตคณบดี คณบดี และผู้อาวุโส 22 เมย. 54 27 เมย. <strong>55</strong>คณะเกษตรศาสตร์17. กิจกรรมวันวิสาขบูชา 17 พค.54 4 มิย. <strong>55</strong>18. พิธีมอบไท-ใส่เข็ม 6 มิย. 54 7 มิย. <strong>55</strong>19. โครงการช้างเชือกใหม่ปลอดเหล้าเข้าศาสนสถาน 27 พค. 54 4 มิย. <strong>55</strong>20. กิจกรรมพิธีทําบุญสืบชะตาเมือง เชียงใหม่ 9 มิย.54 14 มิย. <strong>55</strong>21. คณะเกษตรศาสตร์ร่วมกับบริษัทวิริยะประกันภัย จํากัดจัด25-27 พค. <strong>55</strong>กิจกรรมสร้างฝาย ปลูกปุา รักษาต้นแม่น้ําปิง22. กิจกรรมพิธีหล่อเทียนพรรษาของคณะเกษตรศาสตร์ 30 มิย.54 5 กค. <strong>55</strong>23. กิจกรรมพิธีสมโภชและหล่อเทียนพรรษาของ11 กค. 54 -<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>24. โครงการคณะเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ร่วมใจ 9 กค. 54 -สามัคคี ปลูกปุาสร้างฝายถวายในหลวง25. กิจกรรมพิธีถวายเทียนพรรษาของคณะเกษตรศาสตร์ 13 กค. 54 26 กค. <strong>55</strong>26. กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา 15 กค. 54 -รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 71


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกิจกรรม ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5 *27. โครงการรวมใจภักดิ์ ปลูกมเหสักข์-สักสยามินทร์ ถวาย 10 สค. 54 -พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว28. กิจกรรมประเพณีสืบสานวัฒนธรรมการปลูกข้าวชาวเหนือ 20 สค. 54 -29. กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหามหาราชินี 12 สค. 54 -30. กิจกรรมพิธีมุทิตาจิตผู้ครบเกษียณอายุราชการ 28 กย. 54 -*ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2<strong>55</strong>5ภาพกิจกรรมปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>กิจกรรมทําบุญทอดกฐิน<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 29 ต.ค. 53กิจกรรมพิธีเฉลิมพระเกียรติ 5 ธันวามหาราช 5 ธ.ค. 53กิจกรรมงานวันเกษตรสัมพันธ์ 29 ธ.ค. 53กิจกรรมทําบุญวันคล้ายวันสถาปนาคณะเกษตรศาสตร์ 25 ก.พ. <strong>2<strong>55</strong>4</strong>กิจกรรมเดินขบวนปี๋ใหม่เมืองสืบสานวัฒนธรรมล้านนา 13 เม.ย. 54รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 72


ภาพกิจกรรมปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิธีทําบุญครบรอบวันสถาปนาคณะฯ 24 กพ. <strong>55</strong>กิจกรรมพิธีรดน้ําดําหัวอดีตคณบดี คณบดี และคณาจารย์ผู้อาวุโสคณะเกษตรศาสตร์ 27 เมย. <strong>55</strong>กิจกรรมพิธีรดน้ําดําหัวอธิการบดี 27 เมย. <strong>55</strong>โครงการช้างเชือกใหม่ปลอดเหล้าเข้าศาสนสถาน 4 มิย. <strong>55</strong>รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 73


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่คณะเกษตรศาสตร์ได้สนับสนุนให้ดําเนินการแบ่งเป็น ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> จํานวน 9 โครงการ และปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 จํานวน13 โครงการ มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 22 โครงการ ดังนี้ตารางที่ 5.5 โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่นปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong> จ านวน 9 โครงการลําดับ โครงการ วัน/เดือน/ปี งบประมาณ*1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของ 12 กค.2<strong>55</strong>3 - 88,889พืชในระบบไร่หมุนเวียนของเกษตรกรเผ่ากะเหรี่ยงเขตอําเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (อนุรักษ์พันธุ์ข้าวและสมุนไพรสําหรับย้อมผ้า) ของชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยง11 กค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>2. การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพข้าวก่ําเพื่อสร้าง 1 ตค.2<strong>55</strong>3 - 500,611นวัตกรรมเอกลักษณ์ข้าวก่ําไทย3. การใช้เครื่องหมายโมเลกุลตรวจสอบพันธุกรรมข้าวก่ําพื้นเมืองเพื่อการอนุรักษ์และปรับปรุงพันธุ์ (ภายใต้กลุ่มคลัสเตอร์ :มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ)4. การสร้างพันธุ์ข้าวเจ้าก่ําพันธุกรรมเด่นชนิดใหม่ (ภายใต้กลุ่มคลัสเตอร์ :มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ)5. การใช้ประโยชน์พันธุ์พืชจากศูนย์การศึกษาหริภุญไชย (ภายใต้โครงการความหลากหลายของพืชและจุลินทรีย์เพื่อสนองพระราชดําริในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี)6. การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอที่สัมพันธ์กับสารต้านอนุมูลอิสระในข้าวก่ํา (ภายใต้กลุ่มคลัสเตอร์ :มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ)7. การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและระบบการตลาดของข้าวอินทรีย์และข้าวก่ํา (ภายใต้กลุ่มคลัสเตอร์ :มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ)8. การประยุกต์ใช้โมโนโคลนอลแอนติบอดีเพื่อการผลิตน้ําเชื้อคัดเพศสําหรับโคขาวลําพูน (ภายใต้กลุ่มคลัสเตอร์ : มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ)9. การประเมินและคัดเลือกข้าวเจ้าพันธุ์พื้นเมือง เหมยนองและข้าวลูกผสมที่มีความทนทานต่อแมลงบั่วสําหรับชุมชนที่สูงแบบมีส่วนร่วมกับเกษตรกร* งบประมาณโดยเฉลี่ย30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ตค.2<strong>55</strong>3 -30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ตค.2<strong>55</strong>3 -30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ตค.2<strong>55</strong>3 -30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ตค.2<strong>55</strong>3 -30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ตค.2<strong>55</strong>3 -30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ตค.2<strong>55</strong>3 -30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ธค.2<strong>55</strong>3 -30 พย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>415,056532,208357,483468,611620,676484,470100,<strong>55</strong>6รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 74


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตารางที่ 5.6 โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่นปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5 จ านวน 13 โครงการ (ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2<strong>55</strong>5)ลําดับ โครงการ วัน/เดือน/ปี งบประมาณ1. การใช้เครื่องหมายโมเลกุลตรวจสอบพันธุกรรมข้าวก่ํา 1 ตค.2<strong>55</strong>3 - 125,100พื้นเมืองเพื่อการอนุรักษ์และปรับปรุงพันธุ์31 ธค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>2. การสร้างพันธุ์ข้าวเจ้าก่ําพันธุกรรมเด่นชนิดใหม่ 1 ตค.2<strong>55</strong>3 - 160,41031 ธค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>3. การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพข้าวก่ํา 1 ตค.2<strong>55</strong>3 - 249,267เพื่อสร้างนวัตกรรมเอกลักษณ์ข้าวก่ําไทย30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>4. การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอที่สัมพันธ์กับสารต้านอนุมูล 1 ตค.2<strong>55</strong>3 - 327,494อิสระในข้าวก่ํา31 ธค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>5. การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตมะเกี๋ยงเชิงอุตสาหกรรม 1 ตค.2<strong>55</strong>3 - 111,76030 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>6. การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้กลุ่มนางอั้วปีที่ 2 3 ธค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 213,6472 ธค.2<strong>55</strong>57. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้กลุ่มนางอั้วปีที่ 2 3 ธค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong> - 260,9262 ธค.2<strong>55</strong>58. ความหลากหลายการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากงา 1 ตค.2<strong>55</strong>3 -13,333ขี้ม้อนของเกษตรกรชนเผ่าที่แตกต่างกัน30 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>9. การศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้ปุาในสภาพปลอดเชื้อ 1 ตค.2<strong>55</strong>0 -50,00030 กย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของพืชในระบบไร่หมุนเวียนของเกษตรกรเผ่ากะเหรี่ยงเขตอําเภอสบเมยจังหวัดแม่ฮ่องสอน12 กค.2<strong>55</strong>3 -11 กค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>11,38911. ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์จากพันธุ์ข้าวไร่ของเกษตรกรบนพื้นที่สูงในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย12. การประเมินและคัดเลือกข้าวเจ้าพันธุ์พื้นเมือง เหมยนองและข้าวลูกผสมที่มีความทนทานต่อแมลงบั่วสําหรับชุมชนที่สูง แบบมีส่วนร่วมกับเกษตรกร13. การประยุกต์ใช้โมโนโคลนอลแอนติบอดีเพื่อการผลิตน้ําเชื้อคัดเพศสําหรับโคขาวลําพูน1 ตค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong> -30 กย.2<strong>55</strong>51ธค.2<strong>55</strong>3 -30พย.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>1 ตค.2<strong>55</strong>3 -31 ธค.<strong>2<strong>55</strong>4</strong>238,32233,333338,578รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 75


ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาพงานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่นการขยายพันธุ์กล้วยไม้ สมุนไพรไทยโคขาวลําพูน การจัดการและอนุรักษ์ พันธุ์ข้าวพื้นเมืองนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้วคณะเกษตรศาสตร์ยังให้ความสําคัญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นการสร้างจิตสํานึกและการมีส่วนร่วมในการรณรงค์ลดภาวะโลกร้อนและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการรณรงค์เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชผักที่ปลอดภัยไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและผู้บริโภค เช่น1. โครงการตลาดนัดเกษตรปลอดพิษ อาหารปลอดภัยทุกวันพุธและวันเสาร์ของสัปดาห์2. โครงการช้างเชือกใหม่ปลอดเหล้าเข้าศาสนสถาน3. โครงการคณะเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ออมทรัพย์ มช. ร่วมใจสามัคคี ปลูกปุาสร้างฝายถวายในหลวง4. โครงการรวมใจภักดิ์ ปลูกมเหสักข์-สักสยามินทร์ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว5. กิจกรรมประเพณีสืบสานวัฒนธรรมการปลูกข้าวชาวเหนือ6. คณะเกษตรศาสตร์ร่วมกับบริษัทวิริยะประกันภัย จํากัด จัดกิจกรรมสร้างฝาย ปลูกปุา รักษาต้นแม่น้ําปิงรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 76


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอก6. ผลการปฏิบัติงาน ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอก6.1 ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายในประเทศโครงการตามแนวพระราชด าริ มีความส าคัญอย่างยิ่งที่ทุกส่วนงานของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> จะสนองพระราชด าริในการด าเนินการโครงการ คณะเกษตรศาสตร์ จึงได้มีความร่วมมือกับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ทั้งทางด้านงานวิจัย บริการวิชาการ การประชุมสัมมนา และการจัดนิทรรศการนอกจากนี้คณะยังมีความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกที่หลากหลาย อาทิ ความร่วมมือกับต่างประเทศ ความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนภายในประเทศ เป็นต้นในปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ มีโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิโครงการหลวงจ านวน 11 โครงการ และ 8 โครงการ ตามล าดับมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จ านวน 1 โครงการ ชื่อโครงการ“โครงการศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากพระราชด าริ” เป็นโครงการต่อเนื่องทุกปี เริ่มตั้งแต่ปี 2523 โดยไม่ระบุระยะเวลาสิ้นสุดการด าเนินงานนอกจากนี้ยังมีโครงการโครงการมูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชด าริในพื้นที่ขยายผลจ านวน 1 โครงการ ได้ด าเนินการเสร็จสิ้นแล้วเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2<strong>55</strong>5และมีโครงการตามแนวพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จ านวน 2โครงการ ได้แก่ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>” เป็นโครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2549-2<strong>55</strong>5 และ “โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรและโอกาสการศึกษาแก่นักเรียนและประชาชนบนพื้นที่สูง” เป็นโครงการต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2<strong>55</strong>1-2<strong>55</strong>5 โดยมีรายละเอียดดังนี้โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิโครงการหลวง ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>จ านวน 11 โครงการตารางที่ 6.1 โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิโครงการหลวง ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ หน่วยงานคณะ งบประมาณ1 การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์บร็อคโคลี่ (Brassica รศ.ดร. ณัฐา โพธาภรณ์ สาขาวิชาพืชสวน 140,000oleracea L. var. italica Plenck)เพื่อผลิตต้นอ่อน(sprouts) ที่มีสาร sulforaphame sproutproduction) ปีที่ 2 Selection andimprovement of broccoli (Brassica oleraceaL. var. italica Plenck) for high sulforaphamesprout production)2 การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อลดความสูญเสียของผลสตรอเบอรี่พันธุ์พระราชทาน 72รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ สาขาวิชาพืชสวน 115,000รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 77


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ หน่วยงานคณะ งบประมาณ3 การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและ รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ สาขาวิชาพืชสวน 43,000สารเติมแต่งอาหารส าหรับการยืดอายุการปักแจกันดอกไม้ ปีที่ 24 การประเมินคุณภาพ ดัชนีการสุกแก่และการหา รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ สาขาวิชาพืชสวน 207,000สารพิษตกค้างในผักและผลไม้ด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี้ ปีที่ 15 ผลของการดัดแปลงบรรยากาศต่อคุณภาพทาง รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ สาขาวิชาพืชสวน 86,000กายภาพและเคมีของผักตัดแต่งพร้อมบริโภค ปีที่ 16 ผลของปัจจัยบางประการต่อการผลิตแซนเดอร์โซ รศ.ดร.โสระยา ร่วมรังษี สาขาวิชาพืชสวน 350,000เนีย ปีที่ 17 อิทธิพลของระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารที่มี ดร.ศิวาพร ธรรมดี สาขาวิชาพืชสวน 79,297ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาญี่ปุนในระบบวัสดุปลูกไร้ดิน8 ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการสวนกาแฟตามหลัก รศ.ร าไพพรรณ อภิชาติพงศ์ สาขาส่งเสริมเผยแพร่ 300,000วิชาการของเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟที่ได้รับการส่งเสริมจากมูลนิธิโครงการหลวงชัยการเกษตร9 คุณภาพซากและเนื้อของปลาที่ผลิตโดยมูลนิธิ รศ.ดร. สัญชัย จตุรสิทธา สาขาสัตวศาสตร์และ 280,000โครงการหลวง10 การจัดการแปลงแบบประณีตเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อต้นและพัฒนาคุณภาพผลผลิตกาแฟอราบิก้า (ระยะที่2) ปีที่ 1นายชวลิต กอสัมพันธ์สัตว์น้ าศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง170,00011 การผลิตกาแฟอินทรีย์ในระบบเกษตรป่าไม้ที่มีเมี่ยง นายวราพงษ์ บุญมา ศูนย์วิจัยและฝึกอบรม 108,200เป็นพืชเด่น ปีที่ 1ที่สูงรวมงบประมาณทั้งสิ้น 1,878,497โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิโครงการหลวง ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5จ านวน 8 โครงการตารางที่ 6.2 โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิโครงการหลวง ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ หน่วยงานคณะ งบประมาณ1 การประเมินคุณภาพ ดัชนีการสุกแก่และ รศ.ดร. ดนัย บุณยเกียรติ สาขาวิชาพืชสวน 199,000การหาสารพิษตกค้างในผักและผลไม้ด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด สเปกโทรสโกปี้ ปีที่ 22 ผลของการดัดแปลงบรรยากาศต่อ รศ.ดร. ดนัย บุณยเกียรติ สาขาวิชาพืชสวน 86,000คุณภาพทางกายภาพและเคมีของผักตัดแต่งพร้อมบริโภค ปีที่ 23 ผลของปัจจัยบางประการต่อการผลิตแซนรศ.ดร. โสระยา ร่วมรังษี สาขาวิชาพืชสวน 330,000เดอร์โซเนีย ปีที่ 2รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 78


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกชื่อโครงการวิจัย หัวหน้าโครงการ หน่วยงานคณะ งบประมาณ4 การศึกษาการเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้ส าหรับ รศ.ดร.โชค มิเกล็ด สาขาวิชาสัตวศาสตร์ 200,000พิธีกรรมวัฒนธรรม จารีตประเพณีต่างๆและการบริโภคของชาวเขาเผ่าต่างๆ บนพื้นที่สูง5 การศึกษาแนวทางการผลิตและต้นทุน รศ.ดร.โชค มิเกล็ด สาขาวิชาสัตวศาสตร์ 206,500การผลิตไก่ประดู่อินทรีย์ในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง6 การจัดการแปลงแบบประณีตเพื่อเพิ่ม นาย ชวลิต กอสัมพันธ์ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 130,000ผลผลิตต่อต้นและพัฒนาคุณภาพผลผลิตกาแฟอราบิก้า (ระยะที่ 2) ปีที่ 27 การผลิตกาแฟอินทรีย์ในระบบเกษตรป่า นายวราพงษ์ บุญมา ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 98,200ไม้ที่มีเมี่ยงเป็นพืชเด่น ปีที่ 28 ความแปรปรวนของลักษณะทางกายภาพ นางสาวพัชนี สุวรรณวิศลกิจ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 142,000ของกาแฟเมล็ดดิบจากพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมของมูลนิธิโครงการหลวงรวมงบประมาณทั้งสิ้น 1,391,700โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากพระราชด าริเริ่มด าเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.2523 เป็นต้นมามีงบประมาณที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จ านวน 80,000 บาท ด าเนินงานโดยคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> อ.เมืองจ.เชียงใหม่ ปัจจุบันมีรองศาสตราจารย์ ดร.โสระยา ร่วมรังษี ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ด ารงต าแหน่งเป็นอ านวยการโครงการฯ โครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชด าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ด าเนินการให้งานไม้ดอกไม้ผลเป็นประโยชน์ถึงประชาชนอย่างแท้จริง (งานนี้เป็นประโยชน์ถึงประชาชนอย่างแท้จริง ให้ขยายงานไปให้มาก และหาคนมาช่วยท างานเพิ่ม ช่วยให้ถึงประชาชน)ผู้ประสานงานโครงการรองศาสตราจารย์ ดร.โสระยา ร่วมรังษี ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทร. 053-944043, 081-8851805งบประมาณที่เริ่มด าเนินการ/ระยะเวลาในการด าเนินงานเริ่มงานปี 2523 / ระยะเวลาในการด าเนินงาน : ไม่ระบุรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 79


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกตารางที่ 6.3 สรุปงบประมาณที่ได้รับของโครงการศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2535 จนถึงปัจจุบันปีงบประมาณ จ านวนเงินงบประมาณ (บาท)2535 9,5000,0002536 9,5000,0002537 9,5000,0002538 9,5000,0002539 9,498,7002540 9,490,1202541 10,000,0002542 7,930,4302543 5,243,0002544 9,857,2752545 6,185,0752546 5,758,5732547 5,758,3602548 5,959,0002549 6,240,0002<strong>55</strong>0 5,547,9002<strong>55</strong>1 5,547,9002<strong>55</strong>2 5,<strong>55</strong>0,0002<strong>55</strong>3 5,<strong>55</strong>0,000<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 5,<strong>55</strong>0,0002<strong>55</strong>5 5,<strong>55</strong>0,000โครงการมูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชด าริในพื้นที่ขยายผล ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>สืบทอดจากที่คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ได้ด าเนินโครงการร่วมกับส านักบริการวิชาการ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ดังนั้นมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จึงได้ขอให้คณะเกษตรศาสตร์ด าเนินโครงการถอดบทเรียนองค์ความรู้เรื่องการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านทุ่งเริงจากนายสิงห์แก้ว ต๊ะสู้ ณ บ้านทุ่งจ าเริงอ าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยได้ด าเนินการเสร็จสิ้นแล้วเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2<strong>55</strong>5รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 80


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจ านวน 2 โครงการ1. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ก าหนดพื้นที่ศึกษา โดยในช่วงปี พ.ศ. 2549-<strong>2<strong>55</strong>4</strong> ได้มีการก าหนดพื้นที่ศึกษาเพื่อใช้ในการศึกษาการเรียนรู้ทรัพยากร ณ ศูนย์การศึกษา<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>หริภุญไชย จังหวัดล าพูน เพื่อเป็นการปกปักพันธุกรรมพืชที่มีอยู่ ส ารวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช และปลูกรักษาพันธุกรรมพืช สามารถน ามาขยายผลโดยน าไปสู่การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช และการพัฒนาพันธุ์พืชเพื่อใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต นอกจากนั้นแล้ว ยังมีภารกิจในการส่งเสริมและสร้างจิตส านึกให้นักศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนที่อยู่โดยรอบพื้นที่อนุรักษ์ให้ตระหนักถึงความส าคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และการน าพันธุกรรมพืชไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆหน่วยงานรับผิดชอบศูนย์บริหารงานวิจัย ส านักงานมหาวิทยาลัย <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>งบประมาณที่ได้รับในปีเริ่มต้นและแหล่งที่มาของงบประมาณในปีเริ่มต้นโครงการอพ.สธ.-มช ในระยะแรกที่เริ่มท าโครงการได้รับการสนับสนุนจากศูนย์บริการการพัฒนาไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ซึ่งไม่ทราบตัวเลขที่แน่ชัด ประมาณการปีละ 300,000 บาทต่อมา<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ได้มีการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินมาให้ โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2<strong>55</strong>2 เป็นจ านวนเงิน 1,500,000 บาท2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรและโอกาสการศึกษาแก่นักเรียนและประชาชนบนพื้นที่สูงโครงการตามแนวพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> โดยท่านอธิการบดีได้รับสนองพระราชด าริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ในการด าเนินโครงการตามแนวพระราชด าริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการพัฒนาการศึกษาและพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูง ในต าบลนาเกียน อ าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยคณะเกษตรศาสตร์ได้รับมอบหมายให้เข้าไปดูแลการพัฒนาอาชีพทางด้านการเกษตรและการพัฒนาโอกาสทางการศึกษาด้านวิชาชีพเกษตรของประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นชาวเขาทั้งหมดหน่วยงานรับผิดชอบคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 81


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกตารางที่ 6.4 งบประมาณที่ได้รับของโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรและโอกาสการศึกษาฯตั้งแต่ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>1-2<strong>55</strong>5 และแหล่งที่มาของงบประมาณปีงบประมาณ จ านวนเงิน (บาท) แหล่งที่มาของงบประมาณ2<strong>55</strong>1 420,000.- งบประมาณแผ่นดิน2<strong>55</strong>2 112,000.- งบประมาณแผ่นดิน2<strong>55</strong>3 120,000.- งบประมาณแผ่นดิน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 133,000.- งบประมาณแผ่นดิน2<strong>55</strong>5 100,000.- งบประมาณแผ่นดิน6.2 ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศในด้านกิจกรรมและความร่วมมือกับต่างประเทศหลายกิจกรรมเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน การวิจัย การประชุม สัมมนาวิชการ ฯ โดยมีการด าเนินงานดังนี้ตารางที่ 6.5 กิจกรรมและความร่วมมือกับต่างประเทศ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ประเภทความร่วมมือ/กิจกรรมจ านวน (ครั้ง)ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong> ปี 2<strong>55</strong>5*1. ลงนามในบันทึกความเข้าใจ/ข้อตกลง 3 62. รับรองอาคันตุกะต่างประเทศ 4 163. โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากร 5 74. การจัดบรรยายพิเศษ และฝึกอบรมระยะสั้น 7 65. การจัดประชุม สัมมนาวิชาการนานาชาติ 2 36. โครงการวิจัยร่วม การพัฒนาหลักสูตรร่วม 4 67. ทุนการศึกษา วิจัย น าเสนอผลงาน ฝึกอบรม หรือปฏิบัติงานต่างประเทศ 62 37รวม 87 81* ข้อมูล ณ วันที่ 31 พ.ค. 2<strong>55</strong>5ตารางที่ 6.6 จ านวนหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมที่ได้ลงนามและมีการด าเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัยหรือองค์กรในต่างประเทศ ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>ประเภท ชื่อหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรม ลักษณะ/รายละเอียด มหาวิทยาลัย/องค์กร ประเทศ ระดับความร่วมมือหลักสูตร 1. Double Degree Program หลักสูตรร่วมนานาชาติใน Kagawa University ญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยระดับปริญญาโท2. Double Degree Program หลักสูตรร่วมนานาชาติใน Niigata University ญี่ปุ่น คณะระดับปริญญาเอก3. วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต หลักสูตรร่วมนานาชาติใน The University of เยอรมัน มหาวิทยาลัยสาขาวิชาการเกษตรยั่งยืนและ ระดับปริญญาโท Hohenheimการจัดการลุ่มน้ าแบบบูรณาการรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 82


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกประเภท ชื่อหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรม ลักษณะ/รายละเอียด มหาวิทยาลัย/องค์กร ประเทศ ระดับความร่วมมือ4. The 7th IntensiveCourse Program (27หลักสูตรพิเศษระยะสั้นครั้งที่ 7 ส าหรับนักศึกษาKinki University ญี่ปุ่น คณะ/มหาวิทยาลัยFebruary - 25 March 2011) ญี่ปุ่นในระดับปริญญาตรีโครงการ 1. International Platformfor Asian AgriculturalEducation (IPAAE)2. International TrainingProgram (ITP)3. โครงการพัฒนาบุคลากรภายใต้แผนงานความร่วมมือระยะยาวด้านการศึกษา ไทย -ลาว4. โครงการวิจัยเพื่อการพัฒนาชนบทและการใช้ที่ดิน อย่างยั่งยืนในเขตพื้นที่ภูเขาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TheUplands Program)5. หลักสูตรฝึกอบรมประเทศที่สาม Third Country TrainingProgramme – TCTPกิจกรรม 1. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ2. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ3. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ4. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการความร่วมมือด้านการถ่ายโอนหน่วยกิตและแลกเปลี่ยนทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัย6 แห่ง จาก 3 ประเทศโครงการฝึกอบรม และการฝึกปฏิบัติงานระยะสั้นพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยสุพานุวงโดยการศึกษาต่อระดับปริญญาโทโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาด้านวิชาการและการแลกเปลี่ยนนักศึกษาหลักสูตรฝึกอบรมนานาชาติภายใต้ความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่น ประจ าปีงบประมาณญี่ปุ่น 2<strong>55</strong>5 – 2<strong>55</strong>6สาขาเกษตรศาสตร์และอุตสาหกรรมเกษตรสาขาเกษตรศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สาขาเกษตรศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สาขาเกษตรศาสตร์Kyushu University ญี่ปุ่น คณะKobe University ญี่ปุ่นTokyo U. of Agri. & ญี่ปุ่นTechnologyThe University of เยอรมันHohenheimมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ไทยKyushu University ญี่ปุ่น คณะKobe University ญี่ปุ่นมหาวิทยาลัยสุพานุวง ลาว มหาวิทยาลัยThe University of เยอรมันHohenheimHanoi Agricultural เวียดนามUniversityThai Nguyen University เวียดนามof Agriculture andForestryสพร. - JICAมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย/คณะFree University ofBozen Bolzanoอิตาลี คณะNational Pingtung ไต้หวัน มหาวิทยาลัยUniversity of Scienceand TechnologyAsia University ไต้หวัน มหาวิทยาลัยThe United NationsUniversityญี่ปุ่น คณะรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 83


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกประเภท ชื่อหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรม ลักษณะ/รายละเอียด มหาวิทยาลัย/องค์กร ประเทศ ระดับความร่วมมือ5. ลงนามความร่วมมือทาง สาขาเกษตรศาสตร์ Center of Southeast ญี่ปุ่น คณะวิชาการAsian Studies (CSEAS),Kyoto University6. Kobe and Q-beef การบรรยายพิเศษภายใต้ Kyushu and Kobe ญี่ปุ่น คณะProduction in Japan โครงการ IPAAE University7. Research in Plant การบรรยายพิเศษภายใต้ Kobe University ญี่ปุ่น คณะPathology in Japan โครงการ IPAAE8. Global 30 ประชาสัมพันธ์ทุน Kyushu University ญี่ปุ่น คณะการศึกษาระดับปริญญาตรี University of Tsukuba ญี่ปุ่นเพื่อศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น9. 2011 InternationalExchange and EducationalProgram for Food Safety(25 August – 27September 2011)นักศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะเกษตรศาสตร์เข้าร่วมศึกษาดูงานภายใต้โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น ณมหาวิทยาลัยคากาว่าประเทศญี่ปุ่นKagawa University ญี่ปุ่น คณะตารางที่ 6.7 จ านวนหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมที่ได้ลงนามและมีการด าเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัยหรือองค์กรในต่างประเทศ ปีงบประมาณ 2<strong>55</strong>5ประเภท ชื่อหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมหลักสูตร 1. Double DegreeProgram2. Double DegreeProgram3. วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการเกษตรยั่งยืนและการจัดการลุ่มน้ าแบบบูรณาการ4. The 8th IntensiveCourse Program (26February - 26 March2012)โครงการ 1. โครงการวิจัยเพื่อการพัฒนาชนบทและการใช้ที่ดิน อย่างยั่งยืนในเขตพื้นที่ภูเขาของเอเชียตะวันออกลักษณะ/รายละเอียด มหาวิทยาลัย/องค์กร ประเทศ ระดับความร่วมมือหลักสูตรร่วมนานาชาติใน Kagawa University ญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยระดับปริญญาโทหลักสูตรร่วมนานาชาติใน Niigata University ญี่ปุ่น คณะระดับปริญญาเอกหลักสูตรร่วมนานาชาติใน The University of เยอรมัน มหาวิทยาลัยระดับปริญญาโท Hohenheimหลักสูตรพิเศษระยะสั้นครั้งที่ 8 ส าหรับนักศึกษาญี่ปุ่นในระดับปริญญาตรีโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาด้านวิชาการและการแลกเปลี่ยนนักศึกษาKinki University ญี่ปุ่น คณะ/มหาวิทยาลัยThe University ofHohenheimHanoi AgriculturalUniversityเยอรมันเวียดนามมหาวิทยาลัยรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 84


ด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกประเภท ชื่อหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมลักษณะ/รายละเอียด มหาวิทยาลัย/องค์กร ประเทศ ระดับความร่วมมือเฉียงใต้ (The UplandsThai Nguyen University เวียดนามProgram) Transfer Projectof Agriculture andForestry2. การจัดการลุ่มน้ าอย่างมี โครงการวิจัยเพื่อศึกษาการ Finland Futures ฟินแลนด์ คณะส่วนร่วม อ าเภอสะเมิง ใช้ที่ดินและ Research Centre and อเมริกาจังหวัดเชียงใหม่ (Samoeng ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ University of CaliforniaParticipatory Watershed อ าเภอสะเมิง จังหวัด at BerkeleyManagement Project เชียงใหม่(SAMPART-WMP)Samoeng district, ChiangMai province)3 Learning innovation oncommunity carbonaccounting and forestlandmanagement in twoKaren villages inNorthern highlands:Samoeng district, ChiangMai province, Thailandกิจกรรม 1. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ2. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ3. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ4. ลงนามความร่วมมือทางวิชาการโครงการวิจัยเพื่อศึกษาการใช้คาร์บอนในชุมชนและการจัดการพื้นที่ป่าไม้ของหมู่บ้านชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ในอ าเภอสะเมิงจังหวัดเชียงใหม่EURAISIA 3 – EuropeanAcademic MobilityNetwork with Asiaหลักสูตรร่วมนานาชาติในระดับปริญญาโท โครงการระยะที่ 2The Uplands ProgramTransfer Projectsหลักสูตรร่วมนานาชาติในระดับปริญญาโท (DoubleDegree Program)5. การบรรยายพิเศษ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับต่างประเทศของคณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ประจ าปี 2<strong>55</strong>56. การทัศนศึกษา ดูงานระยะสั้นSwiss Agency forDevelopmentCooperation (SDC)Czech University of LifeSciences PragueBogor AgriculturalUniversityThe University ofHohenheimThe University ofHohenheimFaculty of Agriculture,Kagawa UniversityUniversity of SouthernSydney (USQ)จัดการศึกษาดูงานระยะสั้น National Chung Hsingด้านการเกษตรของประเทศ Universityไทยให้แก่คณะนักศึกษาจาก National Chungสวิตเซอร์แลนด์คณะสาธารณรัฐเช็ค คณะอินโดนีเซียเยอรมันเยอรมันญี่ปุ่น คณะออสเตรเลียไต้หวันมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 85คณะคณะ


ประเภท ชื่อหลักสูตร/โครงการ/กิจกรรมไต้หวัน จ านวน 23 คน7. การศึกษา ดูงานระยะสั้น ดูงานกิจกรรมด้านการส่งเสริมการเกษตรและการมีส่วนร่วมกับชุมชน ณสถานีวิจัยเกษตรเขตชลประทาน และศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร8. การศึกษา ดูงานระยะสั้น การศึกษาดูงานด้านการใช้ที่ดินและการพัฒนาบนพื้นที่สูงของ The Uplands9. การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตผักปลอดสารพิษ10. การเยี่ยมชม และศึกษาดูงานระยะสั้นด้านความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรภายนอกลักษณะ/รายละเอียด มหาวิทยาลัย/องค์กร ประเทศ ระดับความร่วมมือHsing University ประเทศProgramเผยแพร่องค์ความรู้และกระบวนการผลิต การตรวจสอบคุณภาพของผักปลอดสารพิษเยี่ยมชมดูงานของภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า11. การประชุมวันธาตุอาหารจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสังกะสีนานาชาติ เรื่อง วันธาตุอาหารสังกะสี12. การประชุมวิชาการนานาชาติเรื่อง “บทบาทของการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติกับการเปลี่ยนแปลงของโลก” (TheRole of Agriculture andNatural Resources onGlobal Changes: ANGC2011)13. การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการ ส ารวจพื้นที่และพัฒนาโจทย์วิจัยเรื่อง การผลิตข้ามแดน (Trans -boundary production):กรณีไทย - ลาวน าเสนอผลงานวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลกรวมทั้งเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างนักวิจัย และนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา(Mekong Delta Research เวียดนามInstitute (MDI) และInstitute of AgriculturalScience South Vietnam(IAS)องค์กรการอนุรักษ์ดินและน้ านักวิชาการ นักวิจัย จากประเทศเวียดนาม จ านวน18 คนDepartment of AnimalScience, Faculty ofAgriculture, GottingenUniversityHarvestPlus/HarvestZincGlobal Consortiumจีนเวียดนาม(สนับสนุนโดยJICA)เยอรมันตุรกีกรมวิชาการเกษตร ไทย ญี่ปุ่นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เยอรมันเครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน KyushuUniversity, KobeUniversity, TokyoUniversity ofAgriculture, Universityof Hohenheimจัดท าโครงการตามข้อเสนอ เมืองวังเวียง แขวงฝ่ายลาวในชื่อ โครงการวิจัยเวียงจันทน์เรื่อง "การผลิตสินค้าข้ามแดน (Trans-boundaryProduction)"ลาวคณะคณะคณะคณะคณะคณะคณะรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 86


ส่วนที่ 3 สรุปผลการด าเนินงานตามค ารับรองการปฎิบัติงานของคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ปีงบประมาณ <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพในระดับสากลตัวชี้วัด1.1 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตคณะเกษตรศาสตร์1.2 ร้อยละของบัณฑิต<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ที่ได้งานท้าและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี1.4 ผลการตรวจสอบและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของส่วนงานหน่วยนับน้าหนักผลการด้าเนินงาน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5 (รอบ 6 เดือน) เกณฑ์การให้คะแนนคะแนนถ่วงน้าหนักรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 87เป้าหมายผลการด้าเนินงานคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้าหนักคะแนน1คะแนน2คะแนน3คะแนน4ระดับ 5.00 3.78 0.1890 5 3.78 3.7800 0.1890 1 2 3 4 5ร้อยละ 5.00 76.47 0.1647 85 83.40 4.6805 0.2340 65 70 75 80 85ระดับ 5.00 4.58 0.2290 5 4.53* 4.5300 0.2265 1 2 3 4 51.6 จ้านวนนักศึกษาต่างชาติทั้งหมดในแต่ละปี คน 5.00 27 0.2500 27 6 1.0000 0.0500 23 24 25 26 271.7 ร้อยละของการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)ร้อยละ 4.00 8.696 0.0400 100 8.33 1.0000 0.0400 60 70 80 90 1001.10 จ้านวนหลักสูตรสหกิจศึกษา หลักสูตร 3.00 - 0.0300 1 0 1.0000 0.0300 - - - - 11.11 จ้านวนหลักสูตรสองภาษา (Bilingual) และหลักสูตรนานาชาติหลักสูตร 3.00 3 0.0900 4 3 3.0000 0.0900 1 2 3 - 4รวม 30.00 0.9927 0.8595* คะแนนประเมินโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายในคณะเกษตรศาสตร์ วันที่ 31 พฤษภาคม 2<strong>55</strong>5คะแนน5


ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนางานวิจัยและสร้างนวัตกรรมที่น าไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของท้องถิ่น ประเทศ และสากลตัวชี้วัด หน่วยนับ น้าหนัก2.1 จ้านวนผลงานวิจัย นวัตกรรม หรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่หรือน้าไปใช้ประโยชน์ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ2.2 จ้านวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน Refereedjournal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ2.3 จ้านวนเงินทุนวิจัย นวัตกรรม หรืองานสร้างสรรค์จากแหล่งทุนภายนอก/ภาคการผลิต2.4 ร้อยละของอาจารย์และนักวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการท้าวิจัยนวัตกรรม หรืองานสร้างสรรค์จากแหล่งทุนภายในและภายนอกต่ออาจารย์และนักวิจัยทั้งหมดผลงาน/ชิ้นงานผลการด้าเนินงาน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5 (รอบ 6 เดือน) เกณฑ์การให้คะแนนคะแนนถ่วงน้าหนักเป้าหมายผลการด้าเนินงานคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้าหนักคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 54.00 143 0.1643 157 10 1.0000 0.0400 94 110 126 141 157บทความ 4.00 80 0.1636 88 33 1.0000 0.0400 53 62 70 79 88บาท 4.00 <strong>55</strong>,540,421 0.1642 61,000,000 31,686,521 1.0000 0.0400 36,600,000 42,700,000 48,800,000 54,900,000 61,000,000ร้อยละ 4.00 88(จ้านวน)0.2000 80 83.91 5.0000 0.2000 60 65 70 75 80รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 88


ตัวชี้วัด หน่วยนับ น้าหนัก2.5 จ้านวนโครงการวิจัยที่ร่วมบูรณาการกับประเทศกลุ่มอาเซียนหรือนานาชาติ2.6 จ้านวนผลงานวิจัย นวัตกรรม หรืองานสร้างสรรค์ที่ได้ยื่นขอจดทะเบียนสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ์2.7 จ้านวนผลงานวิจัย นวัตกรรม หรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ผลการด้าเนินงาน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5 (รอบ 6 เดือน) เกณฑ์การให้คะแนนคะแนนถ่วงน้าหนักเป้าหมายผลการด้าเนินงานคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้าหนักคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5โครงการ 3.00 - 0.0300 1 5 5.0000 0.1500 - - - - 1ผลงาน/ชิ้นงานผลงาน/ชิ้นงาน3.00 2 0.1500 2 3 5.0000 0.1500 - - - 1 24.00 - 0.0400 1 0 1.0000 0.0400 - - - - 1รวม 26.00 0.9122 0.6600รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 89


ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาการบริการวิชาการและการให้บริการบนฐานความต้องการของชุมชนและท้องถิ่นตัวชี้วัด หน่วยนับ น้าหนัก3.4 ระดับความส้าเร็จของการด้าเนินงานของแหล่งเรียนรู้และบริการวิชาการด้านการเกษตร3.5 จ้านวนโครงการ/กิจกรรมที่ถ่ายทอดความรู้/บริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ3.6 จ้านวนรายได้จากการให้บริการวิชาการผลการด้าเนินงาน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5 (รอบ 6 เดือน) เกณฑ์การให้คะแนนคะแนนถ่วงน้าหนักเป้าหมายผลการด้าเนินงานคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้าหนักคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5ระดับ 4.00 4 0.1600 5 5 5.0000 0.2000 1 2 3 4 5โครงการ/กิจกรรม2.00 4,231 0.1000 2,500 318 1.0000 0.0200 1,500 1,750 2,000 2,250 2,500บาท 3.00 7,352,861 0.1441 7,500,000 3,207,627 1.0000 0.0300 4,500,000 5,250,000 6,000,000 6,750,000 7,500,000รวม 9.00 0.4041 0.2500รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 90


ยุทธศาสตร์ที่ 4 : มุ่งท านุบ ารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทยท้องถิ่นล้านนาและกลุ่มชาติพันธุ์ และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตัวชี้วัด หน่วยนับ น้าหนัก4.2 จ้านวนโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และท้านุบ้ารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทยท้องถิ่นล้านนา และกลุ่มชาติพันธุ์4.5 จ้านวนผลงานที่ส่วนงานได้ด้าเนินการเพื่ออนุรักษ์/แก้ไข/ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมให้กับชุมชนและสังคมภายนอกมหาวิทยาลัยโครงการ/กิจกรรมผลการด้าเนินงาน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5 (รอบ 6 เดือน) เกณฑ์การให้คะแนนคะแนนถ่วงน้าหนักเป้าหมายผลการด้าเนินงานคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้าหนักคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 52.50 43 0.1250 43 18 1.0000 0.0250 26 30 34 39 43โครงการ 2.50 25 0.1250 16 11 2.0000 0.0500 10 11 13 14 16รวม 5.00 0.2500 0.0750รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 91


ยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาความเป็นสากลของมหาวิทยาลัยตัวชี้วัด หน่วยนับ น้าหนัก5.1 จ้านวนโครงการความร่วมมือหรือสร้างเครือข่ายกับสถาบันวิชาการต่างประเทศฉบับ/โครงการผลการด้าเนินงาน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5 (รอบ 6 เดือน) เกณฑ์การให้คะแนนคะแนนถ่วงน้าหนักเป้าหมายผลการด้าเนินงานคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้าหนักคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 53.00 7 0.0900 8 8 5.0000 0.1500 5 6 7 - 85.2 จ้านวนโครงการแลกเปลี่ยนอาจารย์ นักวิจัยบุคลากรสายปฏิบัติการ และนักศึกษานานาชาติ5.3 จ้านวนอาจารย์ นักวิจัย ผู้เชี่ยวชาญ หรือบุคลากรชาวต่างชาติที่ปฏิบัติงานในส่วนงานโครงการ/กิจกรรม3.00 7 0.1500 7 8 5.0000 0.1500 3 4 5 6 7คน 3.00 0 0.0300 1 2 5.0000 0.1500 - - - - 15.5 จ้านวนหลักสูตรที่มีความร่วมมือกับนานาชาติ หลักสูตร 3.00 0 0.0300 1 3 5.0000 0.1500 - - - - 1รวม 12.00 0.3000 0.6000รายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 92


ยุทธศาสตร์ที่ 6 : พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพตัวชี้วัด หน่วยนับ น้าหนัก6.2 ระดับความส้าเร็จของการบริหารจัดการข้อมูลของส่วนงานในระบบ CMU-MIS ให้สามารถรองรับการตัดสินใจทางการบริหารได้อย่างถูกต้อง6.5 ร้อยละของอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ทั้งหมด6.6 ร้อยละของอาจารย์ที่ด้ารงต้าแหน่งทางวิชาการ(ผู้ช่วยศาสตราจารย์) ต่ออาจารย์ทั้งหมด6.7 ร้อยละของอาจารย์ที่ด้ารงต้าแหน่งทางวิชาการ(รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์) ต่ออาจารย์ทั้งหมด6.8 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการ(อาจารย์และนักวิจัย)ได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถในการสอนการวิจัย และทักษะในวิชาชีพต่อบุคลากรสายวิชาการทั้งหมด6.9 ร้อยละของบุคลากรสายปฏิบัติการได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการท้างานต่อบุคลากรสายปฏิบัติการทั้งหมดผลการด้าเนินงาน<strong>2<strong>55</strong>4</strong> 2<strong>55</strong>5 (รอบ 6 เดือน) เกณฑ์การให้คะแนนคะแนนถ่วงน้าหนักรายงานผลการปฏิบัติงาน ปี <strong>2<strong>55</strong>4</strong>-2<strong>55</strong>5 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 93เป้าหมายผลการด้าเนินงานคะแนนที่ได้คะแนนถ่วงน้าหนักคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5ระดับ 2.50 5 0.1250 5 5 5.0000 0.1250 1 2 3 4 5ร้อยละ 3.50 84.51 0.1750 60 82.35 5.0000 0.1750 12 24 36 48 60ร้อยละ 3.50 23.94 0.1048 40 23.53 2.9412 0.1029 8 16 24 32 40ร้อยละ 3.50 40.85 0.1750 35 36.76 5.0000 0.1750 7 14 21 28 35ร้อยละ 2.50 98.59 0.1250 90 69.41 1.0000 0.0250 70 75 80 85 90ร้อยละ 2.50 81.57 0.1250 80 50.94 1.0000 0.0250 60 65 70 75 80รวม 18.00 0.8298 0.6279

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!