04.09.2015 Views

ดาวน์โหลดไฟล์นำเสนอ - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

ดาวน์โหลดไฟล์นำเสนอ - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

ดาวน์โหลดไฟล์นำเสนอ - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1:<br />

ข้าวเหนียวหอม อายุเบา ต้านทานต่อโรคไหม้<br />

ส้าหรับนาน้าฝนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

วีระศักดิ์ หอมสมบัติ<br />

และคณะท้างาน<br />

โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวนาน้าฝนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


การปลูกข้าวนาปี<br />

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

‣ พื้นที่ปลูกข้าวนาปี ประมาณ 33 ล้านไร่<br />

‣ พันธุ์ข้าวเหนียว ที่เกษตรกรนิยมปลูก<br />

พื้นที่นาค่อนข้างดอน ปลูกข้าวเหนียวอายุเบา พันธุ์หางยี 71 สกลนคร กข12<br />

พื้นที่นาลุ่ม ปลูกข้าวเหนียวอายุกลาง พันธุ์กข6<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ข้าวพันธุ์หางยี 71<br />

มีความต้านทานต่อโรคไหม้<br />

ข้อจ้ากัด คือฟางอ่อน ต้นข้าวหักล้มก่อน<br />

เก็บเกี่ยว คุณภาพข้าวนึ่งสุกไม่มีกลิ่นหอม<br />

ข้าวพันธุ์ กข6<br />

คุณภาพข้าวนึ่งสุกนุ่ม เหนียว มีกลิ่นหอม<br />

ข้อจ้ากัด คือ อ่อนแอต่อโรคไหม้<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ปัญหาการปลูกข้าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ความแห้งแล้งปลายฤดู<br />

ดังนั้น<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


โรคไหม้<br />

‣เป็นโรคที่ส้าคัญที่สุดของข้าว<br />

‣สาเหตุมาจากเชื้อรา Pyricularia grisea Sacc.<br />

‣ระบาดทั้งในฤดูนาปี(นาน้าฝน) และนาปรัง (นาชลประทาน)<br />

‣แต่มักระบาดรุนแรงในฤดูนาปีมากกว่า เนื่องจาก<br />

สภาพแวดล้อม เหมาะสมต่อการระบาด และการเข้าท้าลาย<br />

ของเชื้อมากกว่า<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


เชื้อราสามารถเข้าท้าลายต้นข้าวได้<br />

ทุกระยะการเจริญเติบโต<br />

‣ตั้งแต่ระยะกล้า บางรายต้องท้าการตกกล้าใหม่<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


‣ระยะแตกกอ (ใบ ข้อต่อใบ ข้อต่อล้าต้น)<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


‣ระยะออกรวง ไหม้คอรวง ท้าให้ข้าวเมล็ดลีบมากขึ้น<br />

โรคไหม้ จึงเป็นโรคที่ท้าให้ผลผลิตของข้าวเกิดความเสียหาย<br />

อย่างรุนแรง และผลผลิตลดลงอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

เมื่อเกษตรกรปลูกข้าวพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคไหม้


โรคไหม้ มักเกิดการระบาด ท้าให้ผลผลิตข้าว<br />

ของเกษตรกรเสียหายเป็นประจ้าทุกปี<br />

ในสภาพที่ข้าวเกิดโรคไหม้อย่ารุนแรง<br />

ผลผลิตข้าวจะลดลง 70 – 80 เปอร์เซ็นต์<br />

โดยเฉพาะในข้าวเหนียวพันธุ์ที่เกษตรกรที่นิยมปลูก<br />

คือ พันธุ์กข6 มีความอ่อนแอต่อโรคไหม้มาก<br />

ดังนั้น จึงจ้าเป็นต้องพัฒนาพันธุ์ข้าวเหนียวอายุเบา<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

ให้ต้านทานต่อโรคไหม้ เป็นทางเลือกให้เกษตรกรในพื้นที่


โครงการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวนาน ้าฝน<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

(KKN, CPA, SKN, UDN, NKI, UBN, SRN, NRM)<br />

วัตถุประสงค์ของการปรับปรุงพันธุ์<br />

เพื่อพัฒนาพันธุ์ข้าวเหนียว อายุเบา มีความไวต่อช่วงแสง มีคุณภาพ<br />

ในการหุงต้มและรับประทาน คล้ายพันธุ์กข6<br />

ที่ส้าคัญ ต้องมีความต้านทานต่อโรคไหม้ดี ซึ่งจะเป็นวิธีการรักษา<br />

เสถียรภาพการให้ผลผลิตของข้าวในภูมิภาค เนื่องจากการปลูกข้าวพันธุ์<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

ต้านทาน เป็นวิธีการลดความเสี่ยงจากโรคไหม้ ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด


การพัฒนาสายพันธุ์ KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1<br />

การผสมข้าวเหนียวพันธุ์กข6 เป็นพันธุ์แม่<br />

ข้าวเหนียวพันธุ์หางยี 71 เป็นพันธุ์พ่อ<br />

ผสมกลับ (back cross) ไปหาพันธุ์กข6<br />

จ้านวน 2 ครั้ง ที่ศูนย์วิจัยข้าวขอนแก่น<br />

วัตถุประสงค์<br />

กข6<br />

เพื่อผนวกลักษณะคุณภาพการหุงต้มและรับประทานดีจากพันธุ์กข6<br />

กับลักษณะต้านทานต่อโรคไหม้ จากพันธุ์หางยี 71 มารวมไว้ด้วยกัน<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

ในข้าวสายพันธุ์ใหม่


ฤดูนาปี พ.ศ. 2539 ผสมพันธุ์แบบผสมเดี่ยว<br />

(single cross) ให้รหัสคู่ผสม KKN96046 (RD6/HY71)<br />

ฤดูนาปรัง พ.ศ. 2540 ปลูกลูกผสมชั่วที่ 1(F 1 )<br />

ผสมกลับไปหาพันธุ์กข6 ครั้งที่ 1 ได้ข้าวลูกผสมกลับ<br />

ชั่วที่ 1 (BC 1 F 1 ) ให้รหัสคู่ผสม KKN97012 (RD6*2/HY71)<br />

ฤดูนาปี พ.ศ. 2540 ปลูกข้าวลูกผสมกลับชั่วที่ 1<br />

(BC 1 F 1 ) ทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคไหม้<br />

คัดเลือกเฉพาะต้นที่ต้านทานต่อโรคไหม้ไปปักด้า<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


จากนั้นคัดเลือกต้นที่มีลักษณะต่างๆ ใกล้เคียงกับพันธุ์กข6<br />

น้าไปผสมกลับ กับพันธุ์กข6 ครั้งที่ 2 ได้ข้าวลูกผสมกลับชั่วที่ 2<br />

(BC 2 F 1 ) ให้รหัสคู่ผสม KKN97057 (RD6*3/HY71)<br />

ปลูกคัดเลือกลูกผสมชั่วที่ 3-7 แบบสืบตระกูล<br />

ที่ศูนย์วิจัยข้าวขอนแก่น ได้สายพันธุ์ KKN97057-7-1-1-6-4<br />

ปลูกคัดเลือกสายพันธุ์ผสมชั่วที่ 8-9 แบบสืบตระกูล<br />

ที่ศูนย์วิจัยข้าวหนองคาย ได้สายพันธุ์ KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ผลการด้าเนินงาน<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ลักษณะประจ้าพันธุ์ KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1<br />

ข้าวเหนียว<br />

มีความไวต่อช่วงแสง<br />

อายุเบา ออกรวงประมาณ วันที่ 2 ต.ค.<br />

ทรงกอ ตั้งตรง ไม่หักล้ม<br />

ความสูงประมาณ 148 เซนติเมตร<br />

ล้าต้นค่อนข้างแข็ง (ดีกว่าหางยี 71)<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ใบสีเขียว ตั้งตรง ยาว 59 เซนติเมตร<br />

ใบค่อนข้างแก่เร็ว<br />

ลิ้นใบสีขาว มีสองยอด ยาว 22.8 มิลลิเมตร<br />

หูใบสีเขียวอ่อน<br />

ข้อต่อใบสีเขียวอ่อน<br />

ใบธงตั้งตรง ยาว 45 เซนติเมตร<br />

รวงยาว 28 เซนติเมตร<br />

รวงแน่นปานกลาง<br />

จ้านวน 10 รวงต่อกอ<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ลักษณะเด่น KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1<br />

พันธุ์/สายพันธุ์ วันออกดอก<br />

KKN97057<br />

HY71<br />

RD12<br />

2 ต.ค.<br />

3 ต.ค.<br />

9 ต.ค.<br />

1.อายุเบาใกล้เคียงกับพันธุ์หางยี 71 และอายุเบากว่าพันธุ์กข12<br />

ประมาณ 1 สัปดาห์ เหมาะส้าหรับพื้นที่นาค่อนข้างดอน<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

ซึ่งบางสภาพอาจไม่เหมาะสมกับข้าวพันธุ์ กข12


700<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

651 a<br />

610 a<br />

581 a<br />

538 a<br />

480 b<br />

582<br />

557 a 557<br />

2551 2552 2553 เฉลี่ย<br />

ผลผลิต<br />

KKN97057<br />

RD12<br />

ผลผลิต เฉลี่ยของข้าวสายพันธุ์ KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

และRD12 (เปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานี ฤดูนาปี พ.ศ.2551-53)


800<br />

700<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

682 a<br />

572 b<br />

491 a<br />

442 a<br />

ผลผลิตเฉลี่ยของข้าวสายพันธุ์ KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1 และ RD12<br />

(เปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร์ ฤดูนาปี พ.ศ. 2552 และ 2553)<br />

532<br />

2552 2553 เฉลี่ย<br />

562<br />

KKN97057<br />

RD12<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


คุณภาพเมล็ดทางกายภาพ<br />

พันธุ์/สายพันธุ์ สีเปลือก ความยาว รูปร่าง<br />

เมล็ดข้าวกล้อง (มม.)<br />

KKN97057 น้าตาล 7.36 เรียว<br />

HY71 น้าตาลเข้ม 7.22 เรียว<br />

RD12 น้าตาลเข้ม 7.37 เรียว<br />

กข12<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


คุณภาพเมล็ดทางกายภาพ<br />

ขนาดของเมล็ดข้าวเปลือก ยาว 10.52 + 0.16 มม.<br />

กว้าง 2.65 + 0.11 มม.<br />

หนา 2.06 + 0.07 มม.<br />

ขนาดของเมล็ดข้าวกล้อง ยาว 7.36 + 0.18 มม.<br />

กว้าง 2.21 + 0.07 มม.<br />

หนา 1.83 + 0.07 มม.<br />

ขนาดของเมล็ดข้าวขาว ยาว 7.09 + 0.21 มม.<br />

กว้าง 2.13 + 0.06 มม.<br />

หนา 1.75 + 0.04 มม.<br />

น้าหนักข้าวเปลือก 1,000 เมล็ด 26.8 กรัม<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


กข12<br />

คุณภาพการขัดสี<br />

พันธุ์/สายพันธุ์ ข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าว (%)<br />

KKN97057 61<br />

HY71 66<br />

RD12 59<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


คุณภาพทางเคมีของเมล็ด<br />

พันธุ์/สายพันธุ์ การสลายเมล็ดในด่าง (%) ความหอม<br />

1.4 1.7<br />

KKN97057 5.30 6.95 +<br />

HY71 5.47 6.95 0<br />

RD12 5.42 7.00 0<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ปฏิกิริยาของข้าวKKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1 ต่อโรคไหม้ระยะกล้า<br />

พันธุ์/สายพันธุ์<br />

ระยะกล้า<br />

NKI SKN UBN CRI MHS PRE<br />

พ.ศ. 2551<br />

KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1 S S R - R MS<br />

กข12 MS S S - MR HR<br />

หางยี 71 (เปรียบเทียบต้านทานต่อโรคไหม้) MS MS R - MR MS<br />

ขาวดอกมะลิ 105 (เปรียบเทียบอ่อนแอต่อโรคไหม้) HS HS HS - S HS<br />

พ.ศ. 2552<br />

KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1 S R R MR MS MS<br />

กข12 MS R R MR MS MS<br />

หางยี 71 (เปรียบเทียบต้านทานต่อโรคไหม้) MR R R R R MS<br />

ขาวดอกมะลิ 105 (เปรียบเทียบอ่อนแอต่อโรคไหม้) HS HS HS S HS S<br />

พ.ศ. 2553<br />

KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1 MS R R R MR MR<br />

กข12 S R R MR MR MS<br />

หางยี 71 (เปรียบเทียบต้านทานต่อโรคไหม้) MR R MR MR MR MS<br />

ขาวดอกมะลิ 105 (เปรียบเทียบอ่อนแอต่อโรคไหม้) HS HS HS HS HS HS<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


KDML105<br />

KKN97057<br />

Reaction to leaf blast<br />

KDML105<br />

HY71<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


Reaction to neck blast<br />

พันธุ์/สายพันธุ์ 2551 2552 2553<br />

KKN97057 R MS R<br />

HY71 MS S MR<br />

RD12 MS MS MS<br />

สถานที่ทดสอบ : ศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


คุณภาพการหุงต้มและรับประทานดี มีกลิ่นหอม<br />

เป็นที่ยอมรับของเกษตรกร<br />

อ.รัตนวาปี จ.หนองคาย<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


การประเมินการยอมรับคุณภาพข้าวเหนียวอายุเบา โดยเกษตรกรมีส่วนร่วม<br />

บ้านหัวนา ต.ศรีวิชัย อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


การประเมินความชอบในลักษณะของข้าวเปลือกและข้าวสาร<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

79<br />

การยอมรับคุณภาพข้าวนึ่งสุกของเกษตรกร<br />

อ.รัตนวาปี จ.หนองคาย<br />

10<br />

48<br />

13<br />

ข้าวสุกอุ่น ข้าวสุกเย็น<br />

KKN97057<br />

RD12<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

58<br />

การยอมรับคุณภาพข้าวนึ่งสุกของเกษตรกร<br />

อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร<br />

24<br />

45<br />

14<br />

ข้าวสุกอุ่น ข้าวสุกเย็น<br />

KKN97057<br />

RD12<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ไม่ต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง<br />

ไม่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล<br />

อย่างไรก็ตาม ฤดูนาปีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลไม่ระบาดทุกปี และการระบาด<br />

ในพื้นที่ไม่รุนแรงมากนัก<br />

ข้อควรระวัง<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


สรุป<br />

KKN97057-7-1-1-6-4-NKI-1-1<br />

‣เป็นข้าวเหนียวไวต่อช่วงแสง ผลผลิตเฉลี่ยในศูนย์ฯ 557 กก./ไร่<br />

ในนานาเกษตรกร 532 กก./ไร่<br />

‣ข้าวเปลือกสีน้าตาล รูปร่างเมล็ด เรียว ยาว<br />

‣คุณภาพการขัดสีดีมาก<br />

‣อายุเบา วันเก็บเกี่ยวใกล้เคียงกับพันธุ์หางยี 71 และอายุเบากว่า<br />

พันธุ์กข12 ประมาณ 1 สัปดาห์<br />

‣ค่อนข้างต้านทานต่อโรคไหม้ในหลายพื้นที่<br />

‣คุณภาพการหุงต้มและรับประทาน ข้าวสุกเหนียว นุ่ม และมีกลิ่นหอม<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

เป็นที่ยอมรับของเกษตรกรในพื้นที่


ขอขอบพระคุณ<br />

ผู้อ านวยการศูนย์วิจัยข้าวหนองคาย อุดรธานี ชุมแพ<br />

สกลนคร ขอนแก่น นครราชสีมา สุรินทร์ และอุบลราชธานี<br />

ที่ได้ให้การสนับสนุนและอ านวยความสะดวกทุกประการ<br />

ขอขอบคุณ<br />

คณะท างานโครงการวิจัยและพัฒนาข้าวนาสวนนาน้ าฝน<br />

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทุกท่าน<br />

ที่ได้ร่วมกันทุ่มเทสรรพก าลัง ความรู้ ความสามารถ<br />

ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development<br />

ที่มีอยู่ จนท าให้การด าเนินงานของโครงการประสบผลส าเร็จ


ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development


ลิขสิทธิ์ของสํานักวิจัยและพัฒนาข้าว<br />

Bureau of Rice Research and Development

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!