28.09.2015 Views

คํานํา

จริยธรรมทางธุรกิจ - คณะวิทยาการจัดการ

จริยธรรมทางธุรกิจ - คณะวิทยาการจัดการ

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>คํานํา</strong><br />

รายวิชา 3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ เปนวิชาที่ วาดวยเรื่องการประพฤติปฏิบัติใน<br />

สิ่งที่ถูกตองดีงาม อยูในทํานองคลองธรรม ซึ่งประกอบดวยเนื้อหา 7 บท ที่กลาวถึงความ<br />

เปนมา ความสําคัญและความจําเปนที่สังคมทุกวงการจะตองมีจริยธรรม โดยเฉพาะผูมีบทบาท<br />

ในฐานะของผูบริหาร ผูนําองคกร หากมีความรับผิดชอบที่กวางขวางกับคนหมูมาก ยิ่งตองมี<br />

คุณธรรมจริยธรรมของความเสียสละ ความซื่อสัตย อดทน อดกลั้นและคํานึงถึงประโยชน<br />

สูงสุดของสวนรวมเปนสําคัญ อยางไรก็ตามจริยธรรมมักจะถูกตีความไปในลักษณะที่แตกตาง<br />

กันไป เพราะมีความเปนนามธรรม จับตองไมได ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน ผูสอนพึง<br />

ตระหนักถึงการจัดการเรียนการสอนที่จะทําใหจริยธรรมเปนรูปธรรมที่ชัดเจนขึ้น จึงไมเพียง<br />

สอนในเนื้อหาเทานั้น แตควรมีกิจกรรมสงเสริมการประพฤติปฏิบัติ เชน การบําเพ็ญประโยชน<br />

จิตสาธารณะ การอบรมบมเพาะจิตใจดวยแนวทางของศาสนา เพื่อเปนการปลูกฝงคุณธรรม<br />

จริยธรรมใหเกิดขึ้นกับผูเรียน<br />

ผูเขียนจึงหวังวาตําราเลมนี้จะเปนประโยชนแกนักศึกษาและผูสนใจทั่วไป ไดเรียนรู<br />

และตระหนักถึงความสําคัญของการเปนผูมีความรูและมีคุณธรรมจริยธรรมกํากับ จึงจะทําให<br />

เปนคนที่สมบูรณและมีคุณคายิ่ง<br />

กิ่งดาว จินดาเทวิน


(ฆ)<br />

.<br />

สารบัญ<br />

บทที่ หนา<br />

คําปรารภ<br />

(ก)<br />

คํานิยม<br />

(ข)<br />

<strong>คํานํา</strong><br />

(ค)<br />

สารบัญ<br />

(ฆ)<br />

สารบัญภาพ<br />

(ช)<br />

1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ 1<br />

ความหมายของจริยธรรม 1<br />

ที่มาของจริยธรรม 3<br />

องคประกอบของจริยธรรม 6<br />

คุณคาของจริยธรรม 8<br />

จริยธรรมทางธุรกิจ 9<br />

ขอบขายจริยธรรมทางธุรกิจ 10<br />

ความสําคัญของจริยธรรมทางธุรกิจ 13<br />

ประโยชนของจริยธรรมทางธุรกิจ 13<br />

คุณลักษณะจริยธรรมในสังคมไทย 14<br />

สภาพปญหาจริยธรรมในสังคมไทย 16<br />

สรุป 20<br />

กรณีศึกษา 21<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 1 22<br />

2 แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม 24<br />

จริยธรรมกับกฎหมาย 24<br />

แนวคิดทฤษฎีจริยธรรม 30<br />

จริยธรรมตามแนวคิดตะวันตก 30


(ง)<br />

.<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

บทที่ หนา<br />

จริยธรรมตามแนวคิดตะวันออก 35<br />

จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา 39<br />

จริยธรรมตามแนวคริสตศาสนา 42<br />

จริยธรรมตามแนวอิสลาม 44<br />

สรุป 48<br />

กรณีศึกษา 48<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 2 50<br />

3 จริยธรรมทางธุรกิจ 51<br />

ความจําเปนที่ธุรกิจตองมีจริยธรรม 51<br />

ผลกระทบทางจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ 53<br />

ระดับมาตรฐานจริยธรรมทางธุรกิจ 55<br />

การพัฒนาจริยธรรมทางธุรกิจ 58<br />

การตรวจสอบจริยธรรมในองคกรธุรกิจ 64<br />

บทบาทของภาครัฐในการเสริมสรางจริยธรรม 65<br />

สรุป 70<br />

กรณีศึกษา 70<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 3 73<br />

4 จริยธรรมผูบริหาร 74<br />

บทบาทหนาที่ของผูบริหาร 74<br />

หลักจริยธรรมสําหรับผูบริหาร 76<br />

อํานาจ อิทธิพลและความขัดแยงในผลประโยชน 85<br />

จริยธรรมกับความขัดแยง 88<br />

สรุป 91<br />

กรณีศึกษา 92<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 4 95


(จ)<br />

.<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

บทที่ หนา<br />

5 จริยธรรมและความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม 96<br />

การสงเสริมนักธุรกิจใหมีจริยธรรม 96<br />

ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม 99<br />

ขอบเขตความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจ 104<br />

บทบาทความรับผิดชอบทางจริยธรรมของธุรกิจ 105<br />

ผลที่ไดรับของธุรกิจที่มีความรับผิดชอบตอสังคม 108<br />

บทบาทองคการทางธุรกิจที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบทางสังคม 110<br />

บทบาทขององคกรเอกชนทางธุรกิจที่มีความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ 111<br />

ความรับผิดชอบของธุรกิจตอองคกรทางสังคม 113<br />

สรุป 117<br />

กรณีศึกษา 118<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 5 119<br />

6 จริยธรรมกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 120<br />

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 120<br />

แนวคิดที่มีตอหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 126<br />

การนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช 130<br />

การนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในระดับบุคคล 134<br />

แนวคิดการพัฒนาและแกปญหาเกษตรทฤษฎีใหม 136<br />

สรุป 139<br />

กรณีศึกษา 140<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 6 142<br />

7 การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ 143<br />

คุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ 143<br />

บทบาทของสถาบันที่ทําหนาที่ขัดเกลาคุณธรรมจริยธรรม 146


(ฉ)<br />

.<br />

สารบัญ (ตอ)<br />

บทที่ หนา<br />

การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศเกาหลี 151<br />

การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศเวียดนาม 154<br />

บทเรียนจากการเรียนรูถึงการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ 157<br />

สรุป 165<br />

กรณีศึกษา 166<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 7 170<br />

บรรณานุกรม 172


(ช)<br />

สารบัญภาพ<br />

ภาพที่ หนา<br />

1 เครื่องหมายการคา 26<br />

2 สายการบินไทยรูปดอกจําปและสายการบินญี่ปุน 27<br />

3 เครื่องหมายแสดงถึงการอนุรักษสิ่งแวดลอม 27<br />

4 เครื่องหมายรวมกลุมประเทศอาเซียนและสมาคมการคา 28<br />

5 มหาตมคานธีและการตอสูตามวิถีแหงอหิงสา 37<br />

6 เปยเจทและโคลเบิรก 59<br />

7 พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) 62<br />

8 ดุลยภาพของหลักกัลยาณมิตร 86<br />

9 ผูมีสวนไดสวนเสียในธุรกิจ 104<br />

10 วิกฤตเศรษฐกิจดานการเงิน 121<br />

11 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 123<br />

12 ความสัมพันธของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 125<br />

13 วอรเรน บัพเฟตตและบิล เกตต 135<br />

14 การแบงพื้นที่ทํากินตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม 137


บทที่ 1<br />

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ<br />

สังคมทุกวันนี้เนนการพัฒนาทางวัตถุเพื่อสนองตอบสังคมบริโภคนิยม ทําใหมนุษยไดรับ<br />

ความสะดวกสบายในการใชชีวิตไดงายและเร็วขึ้น ขณะเดียวกันผลกระทบอันเกิดจากการพัฒนา<br />

ดวยน้ํามือมนุษยก็ถูกทําลายลงดวยน้ํามือมนุษยดวยเชนเดียวกัน จนกลายเปนปญหาใหญที่สงผล<br />

กระทบใหเกิดความเสียหายอยางมหาศาลทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ในที่สุดแตละภาค<br />

สวนของสังคมตองหันกลับมาตระหนักถึงหนทางแกไข ซึ่งไมอาจละเลยหลักการของคุณธรรม<br />

จริยธรรม อันเปนรากเหงาเดิมของการอยูรวมกันอยางสงบ สันติสุขของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมได<br />

อยางสมดุล<br />

ความหมายของจริยธรรม<br />

เมื่อพูดถึงคําวา จริยธรรม ยังมีคําที่มีความเกี่ยวของสัมพันธ ดังคําวา จริยศาสตร ซึ่งเปน<br />

คําที่มาจากภาษาสันสกฤตคือ จะริยะ+สาดตฺระ ใหความหมายวา กิริยาที่ควรประพฤติ+ระบบวิชา<br />

ความรู กลาวคือ เปนวิชาความรูที่วาดวยแนวทางที่ควรประพฤติปฏิบัติ และแปลจากศัพท<br />

ภาษาอังกฤษไดวา Ethics มาจากรากศัพทภาษากรีกวา Ethos ซึ่งแปลวา ขนบธรรมเนียม หรือธรรม<br />

เนียมปฏิบัติ (Custom) สวนEthics นั้นมีความหมายวา ศาสตรแหงศีลธรรม (Science of morals)<br />

ตาม (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. 2554. ออนไลน) ใหความหมาย จริยศาสตร<br />

วาเปนปรัชญาสาขาหนึ่ง วาดวยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย แสวงหาเกณฑในการ<br />

ตัดสินความประพฤติของมนุษยวาอยางไหนถูกตอง ไมถูกตอง ดี ไมดี ควร ไมควรและพิจารณา<br />

ปญหาเรื่องสถานภาพของคาทางศีลธรรมและใหความหมายคําวา จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปน<br />

ขอประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม ดังนั้นสามารถจะกลาวไดวา จริยศาสตรคือ วิชาที่วาดวย<br />

จริยธรรม<br />

นักสังคมวิทยาทางศาสนาชาวเยอรมัน ชื่อ แมกซ เวเบอร (Max Weber. ออนไลน.<br />

2554) เปนคนแรกที่คิดเกี่ยวกับจริยธรรมและไดเขียนเรื่อง The Protestant Ethic and the Spirit of<br />

Capitalism (จริยธรรมโปรเตสแตนตและจิตวิญญาณทุนนิยม) เพื่ออธิบายถึงการประพฤติปฏิบัติ<br />

ของผูที่นับถือศรัทธาในลัทธินิกายโปรเตสแตนตที่มีอุดมคติทํางานหนัก และกินอยูอยางประหยัด


2<br />

จึงทําใหมีเงินสะสมเพื่อการลงทุน ซึ่งเอื้อตอการเจริญเติบโตของระบบทุนนิยม ทําใหมีวิถีชีวิตที่ดี<br />

ในยุคนั้น<br />

วริยา ชินวรรโณ (2546 : 7-10) ไดรวบรวมความหมายจริยธรรม จากผูทรงคุณวุฒิหลาย<br />

ทาน ดังนี้<br />

1. ทานพุทธทาสภิกขุ กลาววา จริยธรรม แปลวา เปนสิ่งที่พึงประพฤติ จะตองประพฤติ<br />

ซึ่งอยูในรูปของปรัชญา คือ เปนสิ่งที่ตองคิดตองนึกและใชคําภาษาอังกฤษวา Ethics สวนศีลธรรม<br />

หมายถึง สิ่งที่กําลังประพฤติอยู หรือประพฤติแลว ตองทําอยูจริง เพราะเปนปญหาเฉพาะหนา โดย<br />

ใชคําภาษาอังกฤษวา Morality<br />

2. วิทย วิศทเวทย อธิบายวา จริยธรรม คือ ความประพฤติตามคานิยมที่พึงประสงค<br />

โดยใชวิชาจริยศาสตร ศึกษาพฤติกรรมดานคุณคา สามารถวิเคราะหคานิยมที่เปนคูกัน สามารถ<br />

แยกแยะไดวาสิ่งดีควรกระทําและสิ่งใดชั่วควรละเวน<br />

3. ระวี ภาวิไล ไดอธิบาย ชีวิต คือ การมีคนและมีโลกสัมพันธกัน จริยธรรมเปนหลัก<br />

กําหนดวาตนมุงอะไรในโลกและพึงปฏิบัติอยางไร ดังนั้นจึงแบงจริยธรรมออกเปน 3 ขอ คือ<br />

1) รูจักโลก รูจักตน 2) รูจักทุกข รูจักชีวิต และ 3) รูจักทุกขในชีวิต<br />

สุลักษณ ศิวรักษ (2550 : 163) ไดใหคํานิยามจริยธรรม คือ หลัก หรือหัวขอแหงความ<br />

ประพฤติปฏิบัติเพื่อเกิดปกติสุขในสังคม ไมใหมีการเอารัดเอาเปรียบกัน(หรือมีไดก็แตนอย) ใหเกิด<br />

ความมั่งคั่ง มั่นคงทั้งสวนตนและสวนทาน<br />

สารานุกรมออนไลน (2554. ออนไลน) ใหความหมายจริยธรรม วา เปนปรัชญา<br />

การศึกษาและการประเมินความประพฤติของบุคคลตามหลักศีลธรรม หลักทางศีลธรรมอาจมองได<br />

วาเปนมาตรฐานแนวทางการปฏิบัติที่บุคคลสรางขึ้นเพื่อตนเอง หรือเปนเนื้อหาสาระของขอผูกพัน<br />

และหนาที่ โดยเฉพาะสมาชิกของสังคมจําเปนตองมี<br />

จากความหมายดังกลาวพอสรุปไดวา จริยธรรม หมายถึง แนวทางการประพฤติปฏิบัติ ที่<br />

อาศัยหลักการดานศีลธรรม เปนเหตุเปนผลในการแยกแยะสิ่งที่ถูกตองควรทําและสิ่งที่ผิดไมควรทํา<br />

ไมเบียดเบียนกัน เห็นแกประโยชนตนเองและผูอื่น เพื่อการอยูรวมกันของคนในสังคมอยางเปน<br />

ปกติสุข


3<br />

ที่มาของจริยธรรม<br />

จริยธรรมไมใชสิ่งใหมของมนุษย แตมีอยูแลวตามธรรมชาติของโลก เมื่อมนุษยเกิดขึ้นมา<br />

ในยุคตน ๆ การดํารงชีวิตเปนอยูอยางมนุษยถ้ําอาศัยการลาเพื่อการยังชีพ สิ่งมีชีวิตที่แข็งแรงกวา<br />

ยอมอยูรอด สิ่งมีชีวิตที่ออนแอกวายอมตกเปนเหยื่อ เมื่อมีวิวัฒนาการในการเปลี่ยนแปลงตนเองจาก<br />

นักลามาเปนนักผลิต จากสังคมเกษตรสูสังคมอุตสาหกรรมและบริการเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน จาก<br />

การเปลี่ยนแปลงที่ผานไปแตละยุคสมัย ไดเกิดการทําราย ทําลายกันและการพัฒนาที่ทําใหชีวิตดีขึ้น<br />

เปนทางคูขนานกันไป ดังนั้นปจจัยใดที่ทําใหมนุษยสามารถอยูรวมกันไดในสังคมสืบตอกันมาเปน<br />

ปกติ<br />

ศาสตราจารยกีรติ บุญเจือ (2551 : 15-21) ไดอธิบายถึงประวัติศาสตรจริยะ ตั้งแตกอน<br />

เปนมนุษยเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ที่เริ่มตนจากการสังเกตพฤติกรรมของสัตว เชน มดและผึ้งมีความ<br />

สามัคคี ความเสียสละ อูฐที่มีความเขมแข็งและชางรูจักเชื่อฟงผูนํา ซึ่งพฤติกรรมเหลานี้ยังไมไดถือ<br />

วาสัตวเหลานั้นมีคุณธรรมจริยธรรมอยางแทจริง แตปฏิบัติไปตามสัญชาตญาณของการอยูรวมกัน<br />

ของสัตวชั้นสูง ซึ่งมีความสอดคลองกับมาตรการทางจริยธรรมและกอใหเกิดสํานึกขึ้นในภายหลัง<br />

เมื่อมนุษยมีวิวัฒนาการเริ่มเปนมนุษยขึ้นมาไดยึดถือประเพณี(Custom Attachment)ของหมูคณะ<br />

เปนแนวทางในการปฏิบัติอยางเครงครัดโดยไมตองมีกฎหมาย เพราะเชื่อวาการถือปฏิบัติตาม<br />

ประเพณีชวยใหหมูคณะอยูรอด ผูไมยึดถือประเพณีตามหมูคณะนั้นก็หมายถึง ไมใชคนของหมู<br />

คณะนั้น แมแตผูปกครองเองหากฝาฝนประเพณีก็จะหมดอํานาจโดยอัตโนมัติ กฎหมายไดเกิดขึ้น<br />

ตั้งแตเริ่มมีกษัตริย เพราะสังคมของหมูคณะมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น มีการละเมิดประเพณีจนไม<br />

สามารถที่จะลงโทษและคุมกันการเอารัดเอาเปรียบไดทั่วถึง มีการใชอิทธิพล มีการแบงพรรคพวก<br />

ทําใหเกิดความหวาดระแวง เกิดไมมั่นใจในความปลอดภัยภายในหมูคณะ จึงไดมีการมอบหมาย<br />

อํานาจใหคนดีมีความเสียสละและมีความสามารถมาเปนผูจัดระเบียบสังคมใหเกิดความสงบรมเย็น<br />

นับเปนจุดเริ่มตนของกฎหมาย ที่เริ่มจากการประมวลประเพณีขึ้นประกาศใชเปนกฎหมาย ใน<br />

ระยะนี้กฎหมายมีความศักดิ์สิทธิ์มาก เพราะทุกคนรูสึกไดถึงผูออกกฎหมายเขียนกฎหมายขึ้นเพื่อ<br />

ประโยชนของสังคมเปนที่ตั้ง จึงใหความรวมมือเปนอยางดีโดยทั่วหนาและยึดกฎหมาย(Law<br />

Attachment) ผูที่ปฏิบัติตามกฎหมายจะไดรับการยกยองวาเปนคนดีของสังคม สวนผูละเมิด<br />

กฎหมายจะถือเปนคนชั่วรายและถูกลงโทษ กฎหมายฉบับแรกของโลก ไดแก กฎหมายกษัตริย<br />

แฮมเมอแรบบิของเมโสโพเทเมีย กฎหมายมนูศาสตรของอินเดียและบทบัญญัติโมเสสของชาวยิว<br />

ตอมาเมื่อมีการออกกฎหมายมากขึ้นและเกิดพฤติกรรมที่สอใหเห็นถึงผูออกกฎหมายมุงรักษา<br />

ประโยชนของตน คนใกลชิดและพรรคพวก จึงเกิดขอโตแยงในความยุติธรรมของกฎหมายแก


4<br />

ผูปฏิบัติจะตองทําอยางไร ดังนั้นเมื่อมีผูนําที่สามารถวางแนวทางการดําเนินชีวิตแกเขาไดก็<br />

กลายเปนศาสดาหรือเจาลัทธิ(Person Attachment) ตาง ๆ ของศาสนา ซึ่งมีผลสําหรับการตัดสินใจ<br />

ดานจริยธรรมมาก เมื่อความเชื่อถือตอศาสนาแพรหลาย กฎหมายลดความสําคัญลง โดยถือวาการ<br />

ปฏิบัติตามกฎหมายเปนบุญ การละเมิดกฎหมายเปนบาป แตถากฎหมายขัดกับศาสนา การละเมิด<br />

กฎหมายจะเปนบุญ การปฏิบัติตามกฎหมายจะเปนบาป จึงถือไดวาเปนระยะที่ศาสนามีอํานาจ<br />

กําหนดมาตรการทางจริยธรรมอยางเด็ดขาดเพราะถือวา การปฏิบัติตามศรัทธาเปนความดีสูงสุด<br />

และบริสุทธิ์ที่สุดที่ผูมีศรัทธาพึงเสียสละทุกสิ่งใหแมชีวิต ตอมาเมื่อมีการนําศาสนาไปใชอยางไม<br />

ถูกตอง มีการแทรกแซงจากนักการเมืองและผูมีอํานาจในการนําศาสนามาใชเปนเครื่องมือโดยมิ<br />

ชอบ จึงเกิดคําถามวามโนธรรม หรือความสํานึกคุณคาความประพฤติควรจะอยูบนพื้นฐาน<br />

อะไรบาง เพื่อจะใชเปนมาตรการสําหรับทุกคนและทุกศาสนาที่สามารถใชรวมกันได นั่นเปนการ<br />

คิดหาเหตุผล (Reason Attachment) ในเชิงปรัชญา กฎหมายจะถูกปฏิบัติเมื่อเห็นเหตุผลทางปรัชญา<br />

วาควรปฏิบัติมิฉะนั้นก็จะฝาฝน มาถึงปจจุบันเปนการใชวิจารณญาณ(Critical Mind) นั่นคือ ผูที่รูจัก<br />

วิเคราะหแยกประเด็นเพื่อเขาใจ ยอมรับหรือปฏิเสธประเด็นตาง ๆ โดยแตละคนมีระบบมาตรฐาน<br />

ของตนสําหรับตัดสินใจเลือกแตละครั้ง โดยมีการปรับปรุงใหสมบูรณขึ้นเรื่อย ๆ จากการเรียนรู<br />

และประสบการณ เรียกวา มีวิจารณญาณในการศึกษา การใชวิจารณญาณจะอาศัยหลักเกณฑของ<br />

หลังนวยุคสายกลาง (Moderate Postmodernism) ที่เริ่มราว พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) โดยมีวิธีคิด คือ<br />

ยอนอานมาตรการทุกสิ่งที่แลวมา เพื่อวิเคราะหและประเมินคาวาอะไรยังดีทําการรื้อฟนขึ้นมาใช<br />

ผสมผสาน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดกันและยอมรับคุณคาของกันและกันดวยการเสวนา ในการ<br />

แสวงหาจุดรวม สงวนจุดตาง นั่นคือ ใชจุดรวมในการรวมมือกันและมองจุดตางเปนความงดงาม<br />

ของความหลากหลายทางสังคม<br />

ดังที่กลาวมาขางตนจะเห็นถึงที่มาของจริยธรรมผานวิวัฒนาการของมนุษยที่เปนมาจาก<br />

สัญชาตญาณที่สอดคลองกับการปฏิบัติตามมาตรการทางจริยธรรมสะสมเรื่อยมาเปนมโนธรรม<br />

สํานึก โดยอาศัยปจจัยที่เปนที่มาของจริยธรรมเปนเครื่องยึดเหนี่ยว อันไดแก<br />

1. การยึดตามประเพณี เมื่อมนุษยอยูรวมกันเปนหมูคณะ สังคม ชุมชน ยอมจะเกิดความ<br />

เชื่อที่สอดคลองในการยึดถือและปฏิบัติตามวิถีทางของหมูคณะนั้น ๆ รวมกัน จนกลายเปน<br />

ประเพณีนิยมที่เปนแบบแผนในการถือปฏิบัติสืบตอกันไปจนถึงอนาคต เพราะเชื่อมั่นวาประเพณี<br />

จะทําใหหมูคณะอยูรอด ผูที่ละเมิดประเพณีแมไมมีบทลงโทษที่เปนลายลักษณอักษร แตก็จะถูก<br />

ตําหนิโดยสังคม ไมไดรับการยอมรับ หรือการคบคาสมาคมดวย ผูมีอํานาจเองก็จะถูกเสื่อมความ<br />

เคารพนับถือและหมดอํานาจในที่สุด จึงถือไดวาประเพณีเปนมาตรการในการปฏิบัติทางจริยธรรม<br />

ที่เกิดจากความสมัครใจของหมูคณะที่รวมกันกําหนดวาอะไรถูกตอง ควรทํา อะไรไมถูกตอง ควร


5<br />

ละเวนที่จะทํา ดังจะยกตัวอยางประเพณีของประเทศไทยที่สะทอนถึงวิถีชีวิตความเปนสังคม<br />

เกษตรกรรม เชน 1) ประเพณีทางศาสนา ไดแก ประเพณีแหเทียนพรรษา ประเพณีการบวช<br />

ประเพณีทอดกฐิน 2) ประเพณีทางสังคม ไดแก ประเพณีแตงงาน ประเพณีบําเพ็ญกุศลงานศพ<br />

ประเพณีสงกรานต และ 3) ประเพณีตามความเชื่อของแตละทองถิ่น ไดแก ประเพณีแหนางแมว<br />

ประเพณีผีตาโขน ประเพณีเดือนสิบ(สารทเดือนสิบหรือชิงเปรต) ประเพณีวิ่งควาย เปนตน<br />

2. การยึดตามกฎหมาย เกิดขึ้นเนื่องจากสังคมมีความเปลี่ยนแปลงที่ซับซอนขึ้น มี<br />

สมาชิกเพิ่มมากขึ้นและปญหาก็มีมากขึ้นตามไปดวย จนประเพณีไมสามารถควบคุมพฤติกรรมของ<br />

หมูคณะ ชุมชน สังคมไดในวงกวาง จึงตองมีมาตรการใหมเขามาเพื่อควบคุมการประพฤติปฏิบัติใน<br />

การอยูรวมกันของคนในสังคมนั้น ๆ ดวยการกําหนดแนวทางการปฏิบัติที่เปนลายลักษณอักษร มี<br />

บทลงโทษและประกาศใชโดยผูมีอํานาจจากฝายปกครองบานเมือง อยางไรก็ตามกฎหมายถูกจัดให<br />

เปนเครื่องมือเบื้องตนเพื่อใหคนไดตระหนักถึงจริยธรรม ดวยเหตุวา การกระทําดีชั่วไมไดเกิดจาก<br />

มโนธรรมที่แทจริง แตเกิดจากความกลัวตอโทษที่จะไดรับ ซึ่งพอจะกลาวไดวาถาทําผิดกฎหมายก็<br />

ผิดจริยธรรม แตการทําถูกกฎหมายไมไดหมายความวาจะถูกตองตามจริยธรรมทุกอยางแตอยางใด<br />

3. การยึดตามหลักศาสนา ศาสนา หรือลัทธิตาง ๆ เริ่มตนมาจากความกลัว ความสงสัย<br />

ของมนุษยและเมื่อมีใครสามารถอธิบาย หรือวางแนวทางการปฏิบัติที่เปนที่ยอมรับ เลื่อมใสศรัทธา<br />

ผูนั้นก็จะกลายเปนศาสดา หรือเจาลัทธิในที่สุด นอกจากนี้ยังกลาวไดวาศาสนาเปนหลักสําคัญของ<br />

จริยธรรม เพราะทุกศาสนามีหลักคําสอนที่เปนสากล ในการใหทําความดีและละเวนการทําความ<br />

ชั่วทั้งปวง ศาสนาจึงเปนทั้งเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจและเครื่องมือกํากับการประพฤติปฏิบัติของคนให<br />

อยูบนมาตรฐานของจริยธรรมไดหนักแนนและชัดเจน<br />

4. การยึดตามหลักปรัชญา เมื่อมาถึงยุคสมัยที่คนเสื่อมศรัทธาในศาสนา มีความเลื่อมใส<br />

ตอศาสนาลดนอยลง เบื่อหนายหลักคําสอนในศาสนา เพราะมีการใชศาสนาไปในทางที่ไมถูกตอง<br />

เชน มีการแทรกแซงจากนักการเมือง มีการนําศาสนามาหากิน มีการนําศาสนาเพื่อทําลายฝาย<br />

ตรงกันขาม ดังนั้นจึงเกิดความคิดที่วาจะมีหลักการใดที่เปนกลางในการใหทุกศาสนาสามารถใช<br />

เปนพื้นฐานกําหนดคุณคาการปฏิบัติรวมกันได โดยอาศัยหลักปรัชญาเปนพื้นฐานกอนจะอาง<br />

ศาสนา ดังนั้นในระยะนี้มาตรการดานความประพฤติที่เกิดขึ้นจึงไมไดอางศาสนา แตเปนความคิด<br />

และขอโตแยงที่นักปรัชญาทุกคนชวยกันขบคิดปญหาทางจริยธรรมดวยการใชหลักเหตุและผล<br />

5. การยึดตามหลักการใชวิจารณญาณ โดยเริ่มนับตั้งแตค.ศ. 1970 ยุคหลังสมัยใหม<br />

(Postmodern) จนถึงปจจุบัน ใหอิสระทางความคิดจากการเรียนรูและประสบการณที่มีการปรับปรุง<br />

อยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง ดังนั้นทุกคนสามารถที่จะสรางมโนธรรมในการตัดสินใจเลือกดวย<br />

วิจารณญาณของตนเอง นั่นคือ การแยกแยะวาสิ่งใดถูกผิด ดีชั่ว ควรทํา หรือไมควรทํา ทุกคน


6<br />

สามารถใชความรูสึกผิดชอบชั่วดีที่อยูภายในของตนเองในการตัดสินใจ โดยใชปญญาในการหา<br />

เหตุผลที่ถูกตองไดดวยตนเอง<br />

แมวาที่มาของจริยธรรมจะมีหลักยึดที่เปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา แตทั้งหมดนั้นก็ยังมี<br />

ความสําคัญสําหรับเปนแนวทางในมาตรการทางจริยธรรมหนักเบาไปตามสถานการณและ<br />

สิ่งแวดลอมของแตละเหตุการณ โดยเชื่อวาไมสามารถที่จะใชเพียงหลักการใดเพียงหลักการเดียว<br />

เปนหลักยึดเหนี่ยวที่จะสามารถใชเปนแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ถูกตองดีงามไดอยาง<br />

สมบูรณ<br />

องคประกอบของจริยธรรม<br />

จริยธรรมจะเกิดขึ้นไดดวยการใชมโนธรรมภายในจิตใจของบุคคลประเมินคุณคาของสิ่ง<br />

ใด ๆ เพื่อหาเหตุผลในการแยกแยะถึงความถูก-ผิด ความควร-ไมควร แลวตัดสินใจเลือกแสดง<br />

พฤติกรรมนั้นออกมาภายนอก เพื่อบงบอกวาเปนคนดีของหมูคณะนั้น ซึ่งมีองคประกอบทั้งภายใน<br />

และภายนอกเปนสวนเกื้อหนุนใหเกิดจริยธรรมขึ้นในบุคคล<br />

เนตรพัณณา ยาวิราช (2551 : 6) กลาววา จริยธรรมมีองคประกอบ 3 ประการ คือ<br />

1. ดานความรูเหตุผล คือ ความเขาใจในความถูกตอง สามารถแยกแยะและตัดสินไดวา<br />

อะไรถูกตอง ไมถูกตองดวยความคิด<br />

2. ดานอารมณความรูสึกผิดชอบชั่วดี ความเชื่อ คือ ความพึงพอใจ ศรัทธา ความเลื่อมใส<br />

ยอมรับที่จะนํามาเปนแนวทางการปฏิบัติ<br />

3. ดานพฤติกรรมการแสดงออก คือ การแสดงออกที่บุคคลไดตัดสินใจแลววาเปนการ<br />

กระทําถูกหรือผิดในสถานการณแวดลอมตาง ๆ<br />

นอกจากนี้จริยศาสตรสามารถแบงสาขาที่เกี่ยวพันกับศาสตรอื่น ๆ อีกหลายศาสตร<br />

สําหรับศาสตรที่จะกลาวถึงนี้มีอิทธิผลตอจริยธรรมของมนุษย เชน จิตวิทยาจริยะ (Psychology of<br />

Ethics) กลาวถึงอิทธิพลของสาเหตุที่อยูภายในจิตใจของคนเราที่มีตอพฤติกรรมการแสดงออกของ<br />

คนและสังคมวิทยาจริยะ (Sociology of Ethics) กลาวถึงพฤติกรรมของคนที่ไดรับอิทธิพลมาจาก<br />

สิ่งแวดลอมตาง ๆ ในสังคม นอกจากนี้ยังมีคําที่มีความหมายสําคัญหลายคําที่ควรรูจักและทําความ<br />

เขาใจถึงองคประกอบของจริยธรรมใหมากขึ้น ดังนี้<br />

ความประพฤติ (Conduct) หมายถึง การกระทําที่มีมโนธรรมกํากับ ถาตัดสินใจเลือกทํา<br />

ตามมโนธรรม เรียกวา มีความประพฤติดี(Good or Moral Conduct) แตหากเลือกตัดสินใจกระทําไม<br />

ดี ฝนมโมธรรม เรียกวา มีความประพฤติเลว (Bad or Immoral Conduct) ซึ่งศาสตราจารยกีรติ


7<br />

บุญเจือ ไดกลาววา ถาทําเลวมาก ๆ เรียกวา ชั่ว ดังนั้นความประพฤติสามารถตัดสินไดดวย<br />

พฤติกรรมการกระทําที่ดี หรือไมดีอยางชัดเจน เชน การแสดงความกาวราว พูดจาหยาบคาย<br />

พฤติกรรมดังกลาวยอมแสดงวา ผูนั้นมีความประพฤติไมดี ไมสมควร<br />

พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง การแสดงออกของการกระทําหรืออาการที่เผยออกมาให<br />

เห็นทางกาย วาจา ความคิดและความรูสึกเพื่อตอบสนองสิ่งเราที่มากระตุนจากภายในหรือภายนอก<br />

ซึ่งไมเกี่ยวของกับมโนธรรม เชน การเคลื่อนไหวทางรางกาย เดิน พูด เขียน คิด ความหิว กระหาย<br />

ความพอใจ ไมพอใจ เปนการแสดงออกทางพฤติกรรมอยางกลาง ๆ ไมไดบอกวาดีหรือไมดี<br />

มโนธรรม (Conscience) หมายถึง ความรูสึกผิดชอบชั่วดี ความรูสึกวาอะไรควรทําอะไร<br />

ไมควรทํา ซึ่งมีอยูในจิตใจคนเราเปนปกติอยูแลวจึงมีคํากลาววา มนุษยมีจิตประภัสสร คือ มีจิตใจที่<br />

ผองใสบริสุทธิ์ แตอยางไรก็ตามจะตองไดรับการขัดเกลา ฝกฝนและพัฒนาอยูเสมอ เพราะกิเลส<br />

สามารถครอบงําจิตใจไดงาย ทั้งนี้เพราะการทําความดีในบางครั้งยังมีการชั่งใจที่จะเลือกตัดสินใจ<br />

ในบางกรณี หรือบางเหตุการณ เชน ถาใครเดือดรอนแลวสามารถชวยไดก็จะชวยทุกครั้งโดยไม<br />

ลังเล หรืออาจจะชวยเมื่อหาเหตุผลมาอธิบายไดวาควรชวยก็จะชวย ทั้ง 2 พฤติกรรมนี้เปนความ<br />

ประพฤติที่ดีทั้งสิ้น แตในระดับของมโนธรรมที่มีคุณธรรมยอมจัดอยูในความประพฤติแรก<br />

คุณธรรม (Virtue) หมายถึง สภาพคุณงามความดี ความดีงาม สภาพที่เกื้อกูล ความ<br />

ประพฤติจนเคยชินเปนนิสัยแตละดาน เมื่อพูดถึงคุณธรรมเรามักจะคุนเคยกับการใชคําวาคุณธรรม<br />

จริยธรรมไปดวยกัน ซึ่งสามารถสรุปไดวา เปนความประพฤติที่ดีที่หมูคณะหรือสังคมนั้น ๆ ใหการ<br />

ยอมรับวาผูมีความประพฤติดังกลาวเปนคนดี ดังที่กระทรวงศึกษาไดมีนโยบายปฏิรูปการศึกษาใน<br />

ปงบประมาณ 2550-2551 และกําหนดคุณธรรมขั้นพื้นฐาน 8 ประการเพื่อใหขาราชการ นักศึกษา<br />

และบุคคลทั่วไปปฏิบัติ ดังนี้<br />

1. ขยัน หมายถึง ความตั้งใจเพียรพยายามทําหนาที่การงานอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ<br />

อดทน ไมทอถอยเมื่อพบอุปสรรค ความขยันตองควบคูกับการใชสติปญญาแกปญหาจนเกิดผลงาน<br />

สําเร็จตามความมุงหมาย<br />

2. ประหยัด หมายถึง การรูจักเก็บออม ถนอมใชทรัพยสินสิ่งของตน แตพอควร<br />

พอประมาณ ใหเกิดประโยชน คุมคา ไมฟุมเฟอยฟุงเฟอ<br />

3. ซื่อสัตย หมายถึง ประพฤติตรงไมเอนเอียง ไมมีเลหเหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจาก<br />

ความรูสึกลําเอียงหรืออคติ<br />

4. มีวินัย หมายถึง การยึดมั่นในระเบียบแบบแผนขอบังคับและขอปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัย<br />

ในตนเองและวินัยตอสังคม


8<br />

5. สุภาพ หมายถึง เรียบรอย ออนโยน ละมุนละมอม มีกิริยา มารยาทที่ดีงาม<br />

มีสัมมาคารวะ<br />

6. สะอาด หมายถึง ปราศจากความมัวหมองทั้งกายใจและสภาพแวดลอม ความผองใส<br />

เปนที่เจริญตา ทําใหเกิดความสบายใจแกผูพบเห็น<br />

7. สามัคคี หมายถึง ความพรอมเพียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ความ<br />

รวมใจกันปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามที่ตองการ เกิดการงานอยางสรางสรรค ปราศจากการทะเลาะ<br />

วิวาท<br />

8. มีน้ําใจ หมายถึง ความจริงใจที่ไมเห็นแตเพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แตเห็นอก<br />

เห็นใจ เห็นคุณคาในเพื่อนมนุษย มีความเอื้ออาทรเอาใจใสในความสนใจ ในความตองการ ความ<br />

จําเปน ความทุกขของผูอื่นและพรอมที่จะใหความชวยเหลือเกื้อกูลกันและกัน<br />

ศีลธรรม (Morals) หมายถึง ความประพฤติที่ดีที่ชอบ ศีลและธรรม ธรรมในระดับศีล<br />

ซึ่งคําวาศีลใหความหมายเปนขอเวน หรือขอหามในการทําความชั่วทั้งปวง ยังแบงตามระดับความ<br />

บริสุทธิ์ของผูรักษาศีล ระดับของฆราวาสรักษาศีล 5 เปนเบื้องตนและพระภิกษุสงฆรักษาศีลสูงสุด<br />

227 ขอ สวนธรรม เปนการประพฤติดี หรือทําตามคําสั่งสอน ในความหมายของพุทธศาสนา<br />

ศีลธรรมเปนระดับธรรมที่ปฏิบัติถึงขั้นของการหลุดพน<br />

คุณคาของจริยธรรม<br />

จริยธรรมเปนสิ่งที่พึงประพฤติปฏิบัติ ตามที่ไดตัดสินใจเลือกสิ่งที่ถูกตอง เหมาะสมแลว<br />

ยอมกอใหเกิดความสัมพันธที่ราบรื่นระหวางบุคคล สังคมและการทํากิจกรรมใด ๆ ยอมเปนไปดวย<br />

ความเรียบรอย แสดงถึงคุณคาที่มีของจริยธรรมตอชีวิตของมนุษยเรา อันเปนคุณคาที่เปนประโยชน<br />

ตอชีวิตที่เปนปกติสุขทั้งสวนตัวและสวนรวม<br />

พิภพ วชังเงิน (2545 : 22) ใหความเห็นวา จริยธรรมมีคุณคาตอชีวิตมนุษย ดังนี้<br />

1. จริยธรรมชวยใหรูจักตนเอง มีสํานึกตอบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของตนที่มีทั้ง<br />

ตอตนเอง ตอครอบครัว ตอสังคม ตอประเทศชาติและหนาที่การงานของตน<br />

2. จริยธรรมเปนวิถีแหงปญญา ทําใหเปนผูรูจักใชสติปญญาในการคิดแยกแยะหาเหตุผล<br />

ดวยความเชื่อที่วาการทําความดีเปนสิ่งที่ถูกตอง จึงสามารถแกปญหาอยางเปนเหตุเปนผลตามหลัก<br />

จริยธรรม<br />

3. จริยธรรมชวยพัฒนาคุณภาพชีวิต ทําใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพกายใจดี ยอมกอ<br />

ใหเกิดความสมบูรณของชีวิต


9<br />

4. จริยธรรมชวยใหการอยูรวมกันในสังคมเปนไปอยางเปนระบบ มีระเบียบ สังคม<br />

อบอุน มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ชีวิตมีความสงบสุข<br />

5. จริยธรรมชวยสรางสันติภาพในสังคมและในโลก<br />

6. จริยธรรมชวยใหเกิดการเรียนรูในการปรับตัวเขากับผูอื่นได มีความสามารถในการ<br />

ครองคน ครองงาน ครองตนและครองเรือน<br />

7. จริยธรรมชวยใหมีเครื่องยึดเหนี่ยวและเปนหลักปฏิบัติ เพื่อปองกันการเบียดเบียน<br />

เอารัดเอาเปรียบในทางสวนตัวและสวนรวม<br />

8. จริยธรรมชวยใหคนเรามีความหนักแนน ตอสู ขยัน อดทน พึ่งพาตนเองได ไมรอ<br />

โชคชะตาดลบันดาล<br />

9. จริยธรรมทําใหสามารถกําหนดเปาหมายชีวิต โดยดําเนินและพัฒนาชีวิตใหสําเร็จ<br />

ตามเปาหมาย<br />

10. จริยธรรมชวยใหสามารถแกปญหาชีวิตและทําใหความทุกขหมดไปได<br />

ดังนั้นจะเห็นไดวาคุณคาการมีจริยธรรมของมนุษยควรเริ่มจากระดับบุคคล เปรียบเสมือน<br />

การโยนกอนหินกอนเล็ก ๆ ลงในน้ําจะเห็นวงกระเพื่อมจากดานในออกสูดานนอกเปนวงกวางขึ้น<br />

นั่นเพราะวาเมื่อบุคคลสามารถเขาใจตนเอง เขาใจความตองการวาชีวิตตองการอะไร ดวยสติปญญา<br />

ก็จะสามารถดําเนินชีวิตของตนไดเปนอยางดี รวมถึงการมีความสัมพันธที่ดีกับคนอื่น สิ่งแวดลอม<br />

โดยไมสรางปญหาหรือสรางปญหาใหเกิดนอยที่สุด ซึ่งการกระทําใด ๆ ของบุคคลหนึ่งอาจสงผล<br />

กระทบทั้งดานดีและไมดีตอสิ่งรอบขางไดเสมอ ฉะนั้นจริยธรรมจึงมีความสําคัญที่ทรงคุณคาและ<br />

เปนประโยชนที่ควรอยางยิ่งที่จะนําไปใชกับทุกหนวยทางสังคม ไมวาจะเปนวงการราชการ วงการ<br />

การเมือง วงการการศึกษา วงการธุรกิจและวงการวิชาชีพตาง ๆ<br />

จริยธรรมทางธุรกิจ<br />

จริยธรรมทางธุรกิจ มีคําหลัก 2 คํา คือ จริยธรรมและธุรกิจ ซึ่งไดกลาวถึงจริยธรรมไป<br />

พอสังเขปแลว จึงควรมาทําความเขาใจกับคําวา ธุรกิจ ตอไป ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน<br />

พ.ศ. 2542 ใหความหมายธุรกิจวา การงานประจําเกี่ยวกับอาชีพคาขายหรือกิจการอื่นที่สําคัญและ<br />

ไมใชราชการ (กฎ) การประกอบกิจการในทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม หัตถกรรม พาณิชยกรรม<br />

การบริการหรือกิจการอื่น แตหากมองความหมายของธุรกิจในเชิงพฤติกรรมเราจะเห็นวา ธุรกิจ<br />

เปนกิจกรรมที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลอยางนอย 2 ฝายที่เรียกวา ผูซื้อและผูขาย มาทําการตกลง เจรจา


10<br />

แลกเปลี่ยนหรือซื้อขายกัน โดยฝายผูซื้อไดรับสินคาหรือบริการตามที่ตองการและผูขายไดรับ<br />

ผลตอบแทนเปนตัวเงินในรูปของกําไร ซึ่งทําใหเกิดความพึงพอใจทั้งสองฝาย<br />

ธุรกิจเปนอาชีพหนึ่งที่เกี่ยวพันกับวิถีชีวิต เศรษฐกิจ การเมืองและสังคม หากสังคมใดมี<br />

นักธุรกิจ หรือผูประกอบการที่ดีก็ยอมจะเปนธุรกิจที่ดีดวยและนับวาเปนโชคดีของสังคมนั้นเปน<br />

อยางยิ่ง<br />

จริยธรรมทางธุรกิจ มีผูใหความหมายไวพอสังเขป ดังนี้<br />

อานันท ปนยารชุน (2554. ออนไลน) ไดใหความหมาย จริยธรรมทางธุรกิจ หมายถึง<br />

การผสมผสานระหวางเศรษฐกิจและจริยธรรมโดยมีเปาหมาย เพื่อสงเสริมนโยบายและการปฏิบัติ<br />

ของภาคธุรกิจ ในการสรางความสําเร็จในการประกอบการอยางมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มี<br />

ผลในระยะยาวขณะเดียวกันก็ชวยสรางความสมดุลระหวางผูมีสวนไดเสียในกิจการนั้น ๆ อันไดแก<br />

ผูลงทุน ลูกจาง ลูกคา ชุมชน ตลอดจนสภาพสิ่งแวดลอมอยางสมดุล<br />

คริสต แมคโดนัลด (Chris MacDonald. 2554. ออนไลน) นักวิชาการดานปรัชญา<br />

และจริยศาสตร ชาวแคนาดา ใหคํานิยาม จริยธรรมทางธุรกิจ หมายถึง การตรวจสอบโครงสราง<br />

ของวิธีการที่นักธุรกิจและสถาบันทางธุรกิจควรประพฤติปฏิบัติในโลกการคา โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

เพื่อตรวจสอบขอจํากัดที่เหมาะสมในการแสวงหาผลกําไรแกตนเองและธุรกิจ เมื่อการกระทํานั้น<br />

สงผลกระทบตอผูที่เกี่ยวของ<br />

จากความหมายจริยธรรมทางธุรกิจขางตนกลาวสรุปไดวา จริยธรรมทางธุรกิจเปนการนํา<br />

ขอพึงประพฤติปฏิบัติที่ชอบดวยความดี ความถูกตอง มาใชกับธุรกิจโดยนักธุรกิจ หรือ<br />

ผูประกอบการ ดังนั้นจริยธรรมตองเริ่มจากการมีนักธุรกิจที่ดี จึงจะมีการประกอบการที่ดีและเปน<br />

ธุรกิจที่ดีในที่สุดนั่นเอง แตถานักธุรกิจมุงแตผลประโยชนของตนเอง หรือผลกําไรของธุรกิจ<br />

แตเพียงอยางเดียว โดยไมคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับผูที่เกี่ยวของ หรือผูมีสวนไดสวนเสีย<br />

ธุรกิจนั้นยอมจะเปนธุรกิจที่ขาดจริยธรรม ซึ่งจะกอใหเกิดความเสียหาย ความเดือดรอนขึ้น รวมทั้ง<br />

ธุรกิจเองก็จะไมสามารถดําเนินธุรกิจตอไปไดในอนาคต ดังสุภาษิตไทยที่วา “ซื่อกินไมหมด<br />

คดกินไมนาน”<br />

ขอบขายจริยธรรมทางธุรกิจ<br />

ธุรกิจที่ดีจะตองเปนธุรกิจที่มีความรับผิดชอบทางดานจริยธรรม ดังนั้นภายใตขอบเขต<br />

ของความรับผิดชอบตองานดานธุรกิจจะตองครอบคลุมถึงการเปนคนดีของนักธุรกิจ หรือ


11<br />

ผูประกอบการ การมีหลักการทําธุรกิจที่คํานึงถึงความดีและเปนธุรกิจถูกตองตามกฎหมาย รวมถึง<br />

เปนธุรกิจที่ดี ไมมอมเมาผูบริโภค หรือนําสังคมไปในทางเสื่อมทราม<br />

ขอบเขตความรับผิดชอบในการดําเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรม ประกอบดวย<br />

1. ความเปนคนดีของนักธุรกิจ นับเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญสําหรับการดําเนินธุรกิจอยางมี<br />

จริยธรรม ซึ่งจะตองไดคนทําธุรกิจที่เปนคนดี มีมโนธรรม มีคุณธรรม เชน เปนคนซื่อสัตย มีความ<br />

ขยัน อดทน รับผิดชอบ เสียสละ ยุติธรรม กตัญูและไมคบมิตรชั่ว เปนตน ดังจะเห็นไดวานักธุรกิจ<br />

ที่มีชื่อเสียงที่ประสบผลสําเร็จระดับประเทศและระดับโลกหลายคนตางมีคุณสมบัติของความเปน<br />

คนดี จากตัวอยาง ในรายการสัมภาษณของสถานีโทรทัศน CNBC ทําการสัมภาษณมหาเศรษฐี<br />

อันดับ 1 ใน 3 ของโลก “วอรเรน บัฟเฟตต” โดยสังเขป ดังนี้ Warren Buffett หรือชื่อเต็มวา<br />

Warren Edward Buffett เปนนักลงทุนในตลาดหุนวอลลสตรีท (Wall Street) ผูประสบความสําเร็จ<br />

อยางสูง ดวยกฎทอง 2 ขอ (วอรเรนต บัฟเฟตต. ออนไลน. 2554) ไดแก 1) อยาทําใหเงินของผูถือ<br />

หุนเสียหาย 2) อยาลืมกฎขอ 1 นอกจากนี้ยังมีหลักปรัชญาการดํารงชีวิตที่พอเพียงและการรูจัก<br />

แบงปน ดังคํากลาวที่กินใจและใหแงคิดแกคนทั่วไปใหตระหนักถึงขอเท็จจริงของการมีชีวิต การ<br />

ใชชีวิตที่เปนจริง ที่แตละคนไมอาจหลีกเลี่ยงหรือหนีพนไปได นั้นก็คือ<br />

1) มหาเศรษฐีหรือยาจก กินขาวแลวก็อิ่ม 1 มื้อเทากัน<br />

2) มหาเศรษฐีหรือยาจก มีเสื้อผากี่ชุด ก็ใสไดทีละชุดเทากัน<br />

3) มหาเศรษฐีหรือยาจก มีบานหลังใหญแคไหน พื้นที่ที่ใชจริงๆ ก็เหมือนกันคือ<br />

หองนอน หองน้ํา หองครัวเหมือนกัน<br />

4) มหาเศรษฐีหรือยาจก จะมียารักษาโรคดีแคไหน ยื้อชีวิตไปไดนานเพียงไร<br />

สุดทายก็ตองตายเหมือนกัน<br />

จากคําสัมภาษณขางตนจะเห็นถึงแนวคิดและการปฏิบัติตนในชีวิตของ บัฟเฟตต อยาง<br />

ชัดเจน ทั้งดานจริยธรรมสวนตัวและจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจที่มีความรับผิดชอบตอผูถือหุน<br />

นอกจากนี้ในปพ.ศ. 2547 ดวยวัย 76 ป เขาไดยกทรัพยสินถึง 85 %ของทรัพยสินทั้งหมดที่เขามีซึ่ง<br />

คิดเปนมูลคา 3.7 หมื่นลานเหรียญใหแกมูลนิธิการกุศล 5 แหง ดวยคํากลาววา “ผมเกิดมาโชคดีมาก<br />

จึงตองการตอบแทนสังคมบาง”<br />

2. การบริหารธุรกิจ หรือการดําเนินงานของนักธุรกิจ เปนการนําหลักการและแนวคิด<br />

ของนักธุรกิจสูการปฏิบัติ ดวยวิธีการบริหารจัดการทางธุรกิจ เชน การวางแผน (Planning) การจัด<br />

องคการ(Organizing) การสั่งการ (Directing) และการควบคุม (Controlling) ซึ่งในทุกขั้นตอนของ<br />

กระบวนการจะตองมีมโนธรรมดานจริยธรรมกํากับ แมวาธุรกิจจะมีเปาหมายเพื่อกําไรสูงสุดและ


12<br />

มั่งคั่งสูงสุด ก็ยังไมเพียงพอจะตองมีความยั่งยืนดวย ดังนั้นจริยธรรมจะเปนสัญญาณที่สามารถบง<br />

บอกไดวาการบริหารธุรกิจนั้นอยูภายใตขอบเขตของคุณธรรมจริยธรรมที่ไมเอารัดเอาเปรียบลูกคา<br />

ไมเบียดเบียนพนักงานลูกจาง ไมสรางความเดือดรอนเสียหายใหกับสิ่งแวดลอมและสังคม ไมเห็น<br />

แกตัวในการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอยางถูกตอง ไมทําลายคูแขงขันทางการคาดวยการใชเลหเหลี่ยม<br />

กลโกง ตลอดจนไมบริหารธุรกิจดวยการหาผลประโยชนทางการคาโดยวิธีการที่ผิดกฎหมาย เชน<br />

สรางความสัมพันธกับนักการเมืองและพรรคการเมือง เพื่อใหธุรกิจตนไดประโยชนเหนือธุรกิจอื่น<br />

ใด เปนตน<br />

3. การเปนองคกรธุรกิจที่ดี หมายถึง การมีวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย วัตถุประสงคและ<br />

กลยุทธขององคกรที่ถูกกําหนดขึ้นดวยแนวคิด หลักการในการบริหารและนําไปสูการปฏิบัติการ<br />

อยางมีความรับผิดชอบตอบุคคลภายในภายนอกองคกร ความรับผิดชอบตอหนวยงานภายนอก<br />

หนวยงานภาครัฐและสังคมที่มีสวนไดสวนเสีย นั่นคือ เปนการดําเนินธุรกิจที่ถูกตองตามกฎหมาย<br />

เปนธุรกิจที่ไมทําลายสิ่งแวดลอม เปนธุรกิจที่จายภาษีใหแกรัฐอยางถูกตองครบถวน เปนธุรกิจที่มี<br />

ความรับผิดชอบตอการสรางสรรคสังคม ถึงแมวาในบางสภาวะที่ธุรกิจนั้นอาจตองประสบวิกฤติ<br />

ทางเศรษฐกิจ ยอมจะมีหนทางออกในการแกปญหาได ดังตัวอยาง บริษัทปูนซิเมนตไทย(SCG)<br />

ประสบวิกฤติมีหนี้สินกวา 6,000 ลานดอลลารสหรัฐ เมื่อมีการลดคาเงินบาทในปพ.ศ. 2540 ทําให<br />

ตองจายดอกเบี้ยเกือบ 1,000 ลานดอลลารและประสบกับการขาดทุนถึง 1,300 ลานดอลลาร แตเมื่อ<br />

ปพ.ศ. 2545 บริษัทปูนซิเมนตไทย สามารถชําระหนี้ตางชาติไดหมดสิ้นและเริ่มกลับมาทํากําไรอีก<br />

ครั้ง ความสําเร็จที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ เพราะบริษัทไดแกปญหาโดยใชมาตรการลดขนาดขององคกรให<br />

เหลือเพียงธุรกิจหลักและใชมาตรการประหยัดคาใชจาย ประยุกตใชระบบกระจายสินคาแบบสงถึง<br />

ปลายทางอยางทันทวงที ทั้งเนนใหความสําคัญกับการปรับโครงสรางองคกรสูความโปรงใสแกผูที่<br />

เกี่ยวของ<br />

ในปพ.ศ. 2545 จากผลการสํารวจองคกรธุรกิจดีเดนของไทย (Thailand Corporate<br />

Excellence Awards 2001) บริษัทปูนซิเมนตไทยจํากัด(มหาชน) ควา 3 รางวัลใหญองคกรดีเดนและ<br />

Thailand Corporate Excellence Awards 2009 SCG ควา 4 รางวัลใหญองคกรดีเดนรางวัล<br />

พระราชทาน คือ 1) ความเปนเลิศดานการจัดการทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management<br />

Excellence) 2) ความเปนเลิศดานนวัตกรรมและการสรางสรรคสิ่งใหม ๆ (Innovation Excellence)<br />

3) ความเปนเลิศดานสินคาและการบริการ (Product/Service Excellence) และ 4) ความเปนเลิศดาน<br />

ความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility Excellence)<br />

ดังนั้นจะเห็นวาขอบขายของจริยธรรมทางธุรกิจจะครอบคลุมทั้งดานบุคคล โดยเฉพาะ<br />

ผูนําองคกรหรือนักธุรกิจตองเปนคนดี มีแนวคิดมีหลักการและวิธีการปฏิบัติที่ประกอบไปดวย


13<br />

มโนธรรมสํานึกทางจริยธรรม ยอมจะทําใหเปนองคกรนั้นเปนองคกรธุรกิจที่ดีในที่สุด สรุปโดยยอ<br />

ขอบขายจริยธรรมทางธุรกิจจะตองประกอบดวย คนดี วิธีการดีและองคกรดี<br />

ความสําคัญของจริยธรรมทางธุรกิจ<br />

จริยธรรมทางธุรกิจเปนขอปฏิบัติที่ธุรกิจควรจะตองคํานึงถึง ไมควรหลีกเลี่ยง ละเลยหรือ<br />

มองขามไป แตควรดําเนินธุรกิจดวยคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบตอผูที่เกี่ยวของ ซึ่งการ<br />

ดําเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรมมีความสําคัญไมเพียงสงผลกระทบตอผูถูกกระทําเทานั้น แมผูกระทําก็<br />

ยอมไดรับผลลัพธนั้นดวย<br />

สมคิด บางโม (2549 : 16) ความสําคัญของจริยธรรมทางธุรกิจ ไวดังนี้<br />

1. จริยธรรมเปนหลักในการประพฤติปฏิบัติใหแกบุคลากรขององคกรธุรกิจ ไดแก<br />

ผูบริหารและพนักงานทําใหเกิดความมั่นใจวาไดปฏิบัติถูกตอง ไมขัดตอศีลธรรมและคุณธรรมเกิด<br />

ความสบายใจและมีความสุขในการทํางาน<br />

2. จริยธรรมทําใหมีหลักการที่ดีในการประกอบธุรกิจ ไดแก สรางกําไรบนพื้นฐานแหง<br />

คุณธรรมและความถูกตองชอบธรรม ไมเอารัดเอาเปรียบ หรือคากําไรเกินควร ใหความมั่นใจใน<br />

การประกอบธุรกิจ ผูปฏิบัติงานยอมสบายใจไมอึดอัดใจ คับของใจ<br />

3. จริยธรรมนําความสุขความเจริญมาสูบุคลากรขององคกรธุรกิจ ประกอบธุรกิจดวย<br />

ความสุข ตั้งใจทํางานดวยความขยันหมั่นเพียร ไมกังวลตอการติเตียนวารายและคําสาปแชงจาก<br />

ผูเอารัดเอาเปรียบหรือผูสูญเสียประโยชน ทําใหประสบความสําเร็จในหนาที่การงานและชีวิตการ<br />

ทํางานในองคกรมีประสิทธิภาพ<br />

4. จริยธรรมทําใหธุรกิจมีคุณคาชวยพัฒนาบานเมืองและสังคม สิ่งแวดลอมไมถูกทําลาย<br />

ประชาชนไมถูกเอาเปรียบ มีเครื่องอุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพ ราคายุติธรรม ดํารงชีวิตอยางสงบสุข<br />

ประชาชนมีงานทํา มีรายได เศรษฐกิจดี สังคมมีความสงบสุข<br />

5. จริยธรรมสรางความยั่งยืน ถาวร ศรัทธาและความเชื่อมั่นตอธุรกิจ องคกรธุรกิจที่มี<br />

จริยธรรมยอมเปนที่เชื่อถือศรัทธาและความเชื่อมั่นของลูกคา<br />

ประโยชนของจริยธรรมทางธุรกิจ<br />

ธุรกิจที่ดําเนินงานมาดวยหลักแหงคุณธรรมจริยธรรมยอมจะกอใหเกิดประโยชน ซึ่งเปน<br />

สิ่งที่เปนผลดีหรือเปนคุณตอธุรกิจตามที่ธุรกิจไดตั้งความมุงหมายไว เสมือนเปนผลตอบแทนจาก<br />

การทําความดีนั่นเอง


14<br />

สมคิด บางโม (2549 : 16-17) กลาวถึงประโยชนของจริยธรรมทางธุรกิจที่ไดรับ ดังนี้<br />

1. ทําใหบุคลากรในองคการธุรกิจ อยูรวมกันอยางมีความสุข ปฏิบัติงานดวยความ<br />

สบายใจ ไมเบียดเบียนกัน มีความรักสามัคคี ไมมีขอพิพาทแรงงานหรือกลั่นแกลงกัน<br />

2. ทําใหบุคลากรในองคการธุรกิจเจริญกาวหนา มีอาชีพและรายไดที่มั่นคง ดํารงชีวิต<br />

อยางมีความสุข มีศักดิ์ศรี มีความหวังและมีโอกาสกาวหนาในอาชีพและรายไดที่มั่นคง<br />

3. องคการธุรกิจเจริญรุงเรือง ยั่งยืนถาวรตลอดไป ไมลมสลาย ตัวอยางเชน บริษัท<br />

ปูนซิเมนตไทย ที่ไดกลาวผานมาแลวขางตน ในทางตรงกันขามแมเปนบริษัทใหญระดับประเทศ<br />

หรือระดับโลกสามารถลมสลายไดถาขาดจริยธรรม ตัวอยางเชน ธนาคารกรุงเทพฯพาณิชยการของ<br />

ไทยที่ลมละลายไปเมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจทางการเงินในปพ.ศ. 2540 หรือที่เรียกวา วิกฤตตมยํากุง<br />

หรือบริษัทเอนรอน (Enron) บริษัทเวิลดคอม (WorldCom) และในปพ.ศ. 2551 บริษัทเลหแมน<br />

บารเธอรส จํากัด (Lehman Brothers) ซึ่งเปนบริษัทวาณิชธนกิจระดับยักษใหญของสหรัฐอเมริกา<br />

ไดประกาศขอลมละลาย ซึ่งเปนพฤติกรรมหนึ่งที่แสดงถึงสัญลักษณการลมสลายของระบบ<br />

เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ที่เรียกวา วิกฤตแฮมเบอรเกอร (Hamburger Crisis) สวนสาเหตุของ<br />

ปญหามาจากปญหาหนี้เสียของการปลอยกูแกลูกคาที่ไมมีความนาเชื่อถือ (Sub-Prime Lending)<br />

โดยจะขอกลาวในรายละเอียดเปนประเด็นกรณีศึกษาในหัวขออื่นตอไป<br />

4. ทําใหประเทศชาติเจริญรุงเรือง พัฒนาทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคง ธุรกิจ<br />

เจริญรุงเรือง คนมีรายไดไมวางงาน สังคมสงบสุข ประชาชนไมลุมหลงอบายมุข ไมมีการคดโกง<br />

กัน อาชญากรรมก็ไมเกิด<br />

ดังนั้นจะเห็นไดวาประโยชนของการดําเนินงานทางธุรกิจอยางมีจริยธรรมจะเปนคุณให<br />

เกิดขึ้นแกทุกฝายในวงกวาง ทั้งระดับประเทศและระดับโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งถาธุรกิจนั้นเปน<br />

ธุรกิจขนาดยักษใหญที่มีเครือขายในหลายประเทศ ดังตัวอยางธุรกิจกลุมสถาบันทางการเงินของ<br />

บริษัทเลหแมน บราเธอรส จํากัด ที่ลมละลายและสงผลกระทบใหเกิดความเสียหายในระดับ<br />

เศรษฐกิจของประเทศและทั่วโลกไปดวย<br />

คุณลักษณะจริยธรรมในสังคมไทย<br />

กอนจะกลาวถึงคุณลักษณะของจริยธรรมในสังคมไทย เรามาพิจารณาเกี่ยวกับลักษณะ<br />

นิสัยและพฤติกรรมของคนไทยอันเปนรากเหงาของความเจริญและปญหาทั้งมวลที่ทุกคนไดพบ<br />

และมีประสบการณรวมกันมา อยางเห็นไดชัดเจนจนถึงปจจุบัน<br />

คุณลักษณะนิสัยของคนไทยที่จะกลาวตอไปนี้เปนบทวิเคราะห ของรองศาสตราจารย<br />

ดร.จุรี วิจิตรวาทการ (2553. ออนไลน) ไดศึกษางานของ รูทส เบเนดิคท (Ruth Benedict) ที่ศึกษา


15<br />

วัฒนธรรมและพฤติกรรมคนไทย (Thai Culture and Behavior) และกลุม Cornell Thailand Project<br />

โดย Herbert Phillips ศึกษาพฤติกรรมของคนที่หมูบานบางชัน มีนบุรี กรุงเทพ ไดขอสรุปจาก<br />

การศึกษาวา คนไทยมีวัฒนธรรมแบบกลาง ๆ พอมีพอกิน สบาย ๆ มีความสุขตามอัตภาพ บุคลิกคน<br />

ไทยจึงเปนแบบเฉื่อย ๆ เนือย ๆ เนนพอมีพอกิน รักสงบ เดินสายกลาง ใจเย็น มีดุลยภาพ จิตใจสงบ<br />

ไมกระตือรือรน สังคมนาอยู ซึ่งในขณะที่ศึกษาเรื่องนี้สังคมไทยยังมีทรัพยากรสิ่งแวดลอมที่อุดม<br />

สมบูรณ ไมไดเขาสูวัฒนธรรมบริโภคนิยมมากเทาปจจุบัน ผูชายไทยมีสถานภาพเหนือกวาผูหญิง<br />

แตจะไมกดขี่ผูหญิง ผูชายเปนความหวังของครอบครัว แตพอแมจะรักลูกสาว เห็นวาลูกสาวมีคา<br />

และจะใหของมีคามากกวาลูกชาย จากวัฒนธรรมดังกลาวไดสงผลตอบุคลิกภาพของคนไทย (Thai<br />

Person Personality) พอสรุปโดยรวมได ดังนี้<br />

1. คนไทยมีบุคลิกเกรงใจผูอื่น มีความอดทนสูง ไมชอบการเผชิญหนา ไมชอบโตแยง<br />

ไมแสดงความรูสึกลึก ๆ ตอกัน จะยิ้มใหตลอดแตบอกไมไดวาคิดอะไร เปนคนมีปฏิสัมพันธดี ชอบ<br />

ความราบรื่นกลมกลืนทางสังคม ดวยบุคลิกลักษณะดังกลาวนี้คนไทยจะทํางานรวมกันได แต<br />

ทํางานเปนทีมไมคอยไดผลดี เพราะเมื่อมีการประชุมไมแสดงความคิดเห็นโตแยง แตในทางปฏิบัติ<br />

ก็มักไมทําตามมติที่ประชุมและสรางปญหาใหเกิดขึ้นบอย ๆ<br />

2. คนไทยมีบุคลิกรักสนุก มีความยืดหยุนสูง ไมชอบการผูกมัด จะทําสิ่งใดจึงมักไมมี<br />

การวางแผนลวงหนา ไมชอบวางแผนระยะยาว เปลี่ยนแปลงอะไรไดงาย ทําอะไรเฉพาะหนา<br />

แกปญหาเกง ปรับตัวไดงาย เราจึงมักพบเหตุการณ “วัวหาย ลอมคอก” ในสังคมไทยเสมอ ๆ<br />

3. คนไทยมีบุคลิกความเปนปจเจกชนสูง ตัวใครตัวมัน ไมชอบถูกบังคับ ไมมีวินัย<br />

ดังนั้นเราจึงมักเห็นคนไทยชอบทําอะไรตามใจตัวเอง แมวาจะเขาใจกฎระเบียบและกติกาทางสังคม<br />

เปนอยางดีแตก็ละเมิด ไมปฏิบัติใหถูกตอง สาเหตุเปนเพราะการอบรมเลี้ยงดูมาของครอบครัว<br />

รวมทั้งกระบวนการทางสังคมไมมีการลงโทษที่เอาจริงเอาจัง มักเปนลักษณะลูบหนาปะจมูก คือ<br />

เมื่อจะลงโทษจริงจังก็เกรงวาจะไปกระทบพวกพอง ผูหลักผูใหญ ลูกทานหลานเธอ ดวยความที่<br />

สังคมไทยเปนสังคมระบบอุปถัมภ มีความสัมพันธแบบเปนสวนตัวมากกวาสวนรวมทําใหขาดจิต<br />

วิญญาณสาธารณะ เรื่องของสวนรวมจึงมักถูกเพิกเฉยธุระไมใช แตถาใครมีบุญคุณตอตนเองก็จะ<br />

ไมลืม<br />

จากคุณลักษณะนิสัยของคนไทยจะเห็นวามีทั้งขอดีและขอเสียที่เปนทั้งเสนหและสิ่งที่นา<br />

เบื่อหนายรําคาญทั้งแกคนไทยเองและคนตางชาติที่ไดมาสัมผัสความเปนคนไทย สําหรับ<br />

คุณลักษณะทางจริยธรรมดั้งเดิมของไทยไดผูกติดกับความเชื่อทางศาสนา (สุลักษณ ศิวรักษ. 2550 :<br />

212-216) ซึ่งเปนที่ยอมรับจนกลายเปนวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมของสังคมไทย โดยคนไทยมีพุทธ<br />

ศาสนาเปนตัวกําหนดคุณคาทางจริยธรรม เนนการไมเอาเปรียบตนเองและไมเอาเปรียบผูอื่น ให


16<br />

คุณคาของการใหมากกวาการรับ การถือสัจจวาจามีคา รวมมือรวมใจมีคากวาการแกงแยงแขงขัน<br />

ความออนนอมถอมตน กตัญูกตเวที เคารพผูสูงอายุและมีศีลธรรม การหลีกเลี่ยงการ<br />

กระทบกระทั่ง การปดทองหลังพระ สิ่งตาง ๆ เหลานี้จะไดรับการยกยองสรรเสริญยิ่งกวาการเปนผู<br />

มียศ มีอํานาจและมีเงิน นอกจากนี้วัฒนธรรม ประเพณีและพิธีกรรมทางศาสนายังเปนตัวกําหนดให<br />

ทุกคนไดมีโอกาสรวมกันในการเจริญงอกงามในคุณความดีดวยกันอีกดวย ดังนั้นจึงสรุปไดวา<br />

คุณลักษณะจริยธรรมในสังคมไทย ประกอบดวย<br />

1. มีวาจาสัตย<br />

2. มีความอดทน<br />

3. มีความซื่อสัตย<br />

4. รูจักการใหเกียรติผูอื่น<br />

5. รักสันติ รักความสงบ<br />

6. มีน้ําใจ เอื้ออาทร แบงปน<br />

7. ใหความเคารพผูอาวุโส<br />

8. มีความกตัญูกตเวที<br />

9. มีความออนนอมถอมตน<br />

ดังนั้นเราจะเห็นไดวาสังคมไทย แมวาจะมีความแตกตางกันทั้งชาติพันธ ศาสนา ชนชั้น<br />

แตก็สามารถอยูรวมกันไดอยางปกติ ไมมีปญหาทางสังคม ซึ่งทําใหประเทศไทยอยูรอดมาไดจนถึง<br />

ปจจุบันที่นับวันสังคมจะมีปญหาและความซับซอนเพิ่มมากขึ้น<br />

สภาพปญหาจริยธรรมในสังคมไทย<br />

ปจจุบันสังคมไทยไดรับเอากระแสวัฒนธรรมตะวันตกแบบบริโภคนิยมเขามาในวิถีชีวิต<br />

มากขึ้น ทําใหจริยธรรมดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไปอยางนาวิตกอยูไมนอยทีเดียว คนไทยที่เคยมีชีวิตที่<br />

เรียบงาย กินอยูอยางพอเพียง กลายเปนคนที่ตองการเสพมากขึ้น มีความทะยานอยากในวัตถุตาง ๆ<br />

มากขึ้น ซึ่งเปนการกระตุนกิเลสความโลภเห็นแกเงินเปนสําคัญ ดังนั้นความร่ํารวย จึงเปนเปาหมาย<br />

สูงสุดในชีวิต<br />

เมื่อทัศนคติของสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปเชนนี้ ยอมสงผลกระทบทุกสวนของสังคม<br />

โดยเฉพาะหนวยที่มีความเปราะบาง คือ กลุมเด็ก วัยรุน คนหนุมสาว ที่มีพฤติกรรมฝกใฝความสุข<br />

ดวยการเปนผูเสพมากกวาผูผลิต มีพฤติกรรมชอบโออวด ชอบความหรูหรา ฟุงเฟอ ชอบสิ่ง<br />

สําเร็จรูปที่ไดมาเร็วและงาย ๆ ไมชอบทํางาน ไมสูงานหนัก แตอยากไดเงินงาย ๆ และมาก ๆ มี


17<br />

จิตใจหมกมุนกับวัตถุสิ่งของที่มีแบรนดและเปนสินคาจากตางประเทศ ดวยพฤติกรรมที่หลงใหล<br />

ดานวัตถุนี้ วัยรุนจึงแสดงออกดานแฟชั่นดวยการแตงตัวใหสะดุดตา ใสรองเทาเบอรใหญกวาเทา<br />

สนหนา ๆ สูง ๆ ใสเสื้อผารัดรูป ทั้งผา ทั้งแหวก โชวเตา โชวสะดือ คลั่งไคลดารานักรอง เที่ยวผับ<br />

เที่ยวบาร ดื่มกินแอลกอฮอล เปลี่ยนคูชูชื่นเปนเรื่องธรรมดา ทั้งนี้เพื่อแสดงวาเปนคนทันสมัยและ<br />

ไดรับการยอมรับในกลุมของตน อยางไรก็ตามเราคงจะไมโทษวาเปนความผิดของคนเหลานั้น<br />

หรือยกความผิดใหกับฝายใดฝายหนึ่งเปนผูรับผิดชอบเพียงฝายเดียว แตความเสื่อมทางจริยธรรมใน<br />

สังคมไทยควรจะตองไดรับการรวมมือกันในการหาหนทางแกไข ซึ่งควรเริ่มจากการเขาใจถึง<br />

ประเด็นที่เปนสาเหตุของความเสื่อมทางจริยธรรมในปจจุบันของสังคมไทยกอนเปนอันดับแรก<br />

พระไพศาล วิสาโล (2554 : ออนไลน) ไดนําเสนอบทความเรื่อง “สรางสังคมไทยใหเปน<br />

มิตรกับความดี” โดยอธิบายถึงปจจัยที่เปนสาเหตุแหงความเสื่อมทางจริยธรรมในปจจุบัน ไวดังนี้<br />

1. การครอบงําของวัตถุนิยมและอํานาจนิยม เนื่องจากการขยายตัวของทุนนิยมที่ไหลเขา<br />

สูสังคมไทยอยางไมจํากัด ทําใหเงินเขามามีบทบาทในชีวิตคนและความร่ํารวยกลายเปนเปาหมาย<br />

ของชีวิต แมแตการวัดคุณคาความรักความสัมพันธระหวางกันยังตองอาศัยเงินและวัตถุ ซึ่งตางไป<br />

จากอดีตที่ใชน้ําใจ เชน การแสดงความรักของพอแม หรือคูรัก ความสัมพันธระหวางครูกับศิษย<br />

หมอกับคนไขก็อาศัยเงินและสิ่งของเปนตัวเชื่อมทั้งสิ้น เมื่อสังคมยอมใหเงินเปนใหญจึงทําใหเกิด<br />

ธุรกิจอบายมุขมากมาย ตลอดจนทุกระดับและทุกสถาบันในสังคมไทยนิยมใชอํานาจในการ<br />

แกปญหา รวมถึงบทบาทสื่อมวลชนที่มักสงเสริมคานิยมที่สวนทางกับศีลธรรม<br />

2. ความลมเหลวของสถาบันทางศีลธรรม เมื่อเงินเขามามีบทบาทมากขึ้นทําใหสถาบัน<br />

ทางสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน วัดและโรงเรียน ซึ่งเคยมีบทบาทในการกลอมเกลาสํานึกทาง<br />

ศีลธรรมแกผูคนออนแอลงและไมสามารถทําหนาที่ไดอยางเขมแข็งอีกตอไป ดังจะเห็นจากสถิติ<br />

ของการหยาราง การแตกแยกของครอบครัวเพิ่มสูงขึ้น ทําใหเกิดความหางเหิน พอแมไมสามารถ<br />

เปนแบบอยางในการใหการศึกษาแกลูก ขณะที่โรงเรียนและสื่อมวลชนที่เขามามีบทบาทแทนก็ไมมี<br />

ความเขมแข็งทางศีลธรรม แมแตชุมชนที่เคยมีบทบาทในการควบคุมและเสริมสรางจริยธรรมของ<br />

สมาชิกก็มีบทบาทลดลงเพราะวิถีชีวิตที่ตองอยูแบบตัวใครตัวมันมากขึ้น ตางหันไปพึ่งพาหนวยงาน<br />

รัฐมากขึ้นแทนการพึ่งพากันเอง ทําใหขาดพลังทางสังคม สวนวัดซึ่งเปนอีกหนึ่งสถาบันที่ถูก<br />

อิทธิพลของเงินทําใหออนแอและยอหยอนในวัตรปฏิบัติไมสามารถเปนแบบอยางทางศีลธรรม แต<br />

กลายเปนตลาดคาบุญ หรือไสยพาณิชย<br />

3. การเมืองที่ไมโปรงใส กลายเปนระบบการเมืองที่เปดชองโหวใหเกิดปญหาจริยธรรม<br />

เชน เปดโอกาสใหมีการคอรัปชั่น เปดโอกาสใหผูมีอิทธิพลใชเงินสรางฐานอํานาจจนสามารถเขามา<br />

เปนรัฐบาลได แลวใชอํานาจแสวงหาประโยชนสวนตัว ผลประโยชนพวกพอง ดังที่มีใหเห็น


18<br />

เกี่ยวกับการตัดไมทําลายปา การใหสัมปทานแกพวกพอง การอนุมัติโครงการใหญ ๆ ที่ให<br />

ผลประโยชนตอบแทนหรือคาคอมมิชชั่น ไปจนกระทั่งการลอบสังหารคนที่ขัดผลประโยชนของ<br />

ตน ยิ่งถาฝายบริหารมีอํานาจมากและสามารถผูกขาดอํานาจได ก็ทําใหการตรวจสอบถวงดุลจาก<br />

ฝายคานทําไดยาก จึงเกิดความลําพองไมกลัวที่จะทําผิดจนกลายเปนคานิยมที่เลียนแบบกันในสังคม<br />

4. ระเบียบสังคมที่ใหรางวัล สงเสริมหรือบีบคั้นใหคนเห็นแกตัว อันเกิดจากสังคมไม<br />

เครงครัดในการบังคับใชกฎระเบียบจึงเกิดพฤติกรรมที่คนทําผิดไมถูกลงโทษ แตกลับไดรับผลดี<br />

เชน ระบบยุติธรรมที่ไมโปรงใสและอยูใตอํานาจเงิน ทําใหคนมีเงินสามารถเอาเงินอุดได จึงไม<br />

สนใจที่จะทําตามกฎหมาย หรือคนที่แซงคิวสามารถไดตั๋วรถหรือตั๋วหนังกอนใคร ๆ หรือคนที่<br />

ทุจริตซื้อตําแหนงสามารถเลื่อนชั้นกอนใคร ๆ หรือคนที่ขายยาบาคาผูหญิง นอกจากจะไมถูกจับ<br />

เพราะมีเสนสายหรือใหสินบนเจาหนาที่แลว ยังร่ํารวยขึ้นอยางรวดเร็ว ระบบเหลานี้จึงมีแตทําให<br />

คนเห็นแกตัวและเอาเปรียบกันมากขึ้น<br />

จากสาเหตุของความเสื่อมทางจริยธรรมของสังคมไทยซึ่งเคยเปนสังคมที่มีน้ําใจ มี<br />

สถาบันทางสังคมที่คอยขัดเกลาสงเสริมคุณคาทางจริยธรรมดวยอาศัยความรัก ความสัมพันธ การ<br />

ใหความเคารพซึ่งกันและกัน แตตองเสื่อมลงไปจนไมสามารถทําบทบาทของตนเองอยางเขมแข็ง<br />

ไดอีกตอไปเปนเพียงเพราะถูกครอบงํา หลงใหลในความสุขจากการเสพทางวัตถุสิ่งของตาง ๆ ซึ่ง<br />

จะตองแสวงมาดวยการมีเงินเยอะ ๆ ตามระบบทุนบริโภคนิยม นับวาเปนสถานการณที่ทาทาย<br />

สังคมไทยใหหันมาตระหนักถึงการแกปญหาทางจริยธรรมของสังคมที่จะกําหนดอนาคตของ<br />

ประเทศชาติวาจะใหดําเนินตอไปในทิศทางใด โดยพระไพศาล วิสาโล ไดแนะนําใหทําสังคมไทย<br />

เปนมิตรกับความดี คือ นอกจากใชหลักการพื้นฐานทางศาสนาแลวยังตองสรางปจจัยทางสังคม<br />

เศรษฐกิจ การเมืองใหเกื้อกูลศีลธรรมใหมากขึ้น ดวยการสงเสริมคนดี กระตุนใหคนอยากทําความดี<br />

โดยใชมาตรการดังนี้<br />

1. สรางสายสัมพันธภายในครอบครัวและสรางเครือขายครอบครัว โดยใหสมาชิกทุกคน<br />

มีเวลาอยูรวมกันใหมาก พอแมเปนแบบอยางในการฝกฝนกลอมเกลาลูกใหรูจักคิด ใฝรูและมี<br />

จิตสํานึกที่ดีงาม จัดตั้งเครือขายครอบครัวชวยเหลือเกื้อกูลกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู ชวยดูแลลูกใหแก<br />

กันในบางโอกาส สรางกิจกรรมและพื้นที่สําหรับการเรียนรูของครอบครัว เชน พิพิธภัณฑเด็ก ชอง<br />

รายการโทรทัศนสําหรับครอบครัว ฯลฯ<br />

2. ฟนฟูชุมชนใหเขมแข็ง โดยใหชุมชนหันกลับมารวมมือกันและพึ่งพากันเอง ไมหวัง<br />

แตการพึ่งพาจากหนวยงานรัฐและหนวยงานภายนอกอื่น ๆ โดยการสรางกระบวนการมีสวนรวม<br />

ของกลุม ในการจัดทําโครงการตาง ๆ เพื่อเสริมสรางความเขมแข็ง เชน การทําโครงการสัจจะออม<br />

ทรัพย การทําแผนแมบทชุมชน การอนุรักษปาชุมชน ฯลฯ


19<br />

3. ฟนฟูชุมชนใหบทบาทของวัดและคณะสงฆ โดยการสงเสริมพระดี ปฏิรูปการ<br />

ปกครองและการศึกษาของคณะสงฆใหเปยมดวยพลังทางปญญา ศีลธรรมและศาสนธรรม โดยให<br />

การศึกษาแกพระสงฆทั้งทางธรรมและทางโลกอยางสมสมัย เพื่อรูจักคิดและประยุกตธรรมในการ<br />

เทศนสั่งสอนและมีประพฤติเปนแบบอยาง เมื่อพระสงฆและคณะสงฆดีพรอมแลว ทําการฟนฟู<br />

ความสัมพันธระหวางวัดกับชุมชน สงเสริมใหชุมชนเขามามีสวนรวมในกิจการของวัดมากขึ้น ตาม<br />

คติโบราณที่วา วัดเปนของชุมชน ตางพึ่งพาอาศัยกัน เชน มีสวนรวมสงเสริมการศึกษาและ<br />

สนับสนุนวัตรปฏิบัติของพระสงฆ สามเณร รวมทั้งรวมปฏิบัติธรรมที่วัดจัดขึ้นและอีกดานหนึ่ง<br />

พระสงฆก็เขามีสวนรวมในกิจการของชุมชนมากขึ้น เชน รวมแกปญหาอบายมุข ปญหาวัยรุน การ<br />

อนุรักษสภาพแวดลอม สงเสริมการออมทรัพยเพื่อแกปญหาหนี้สิน<br />

4. ปฏิรูปการศึกษา ทั้งดานการผลิตครูและดานกระบวนการเรียนรู โดยสรางบรรยากาศ<br />

และกระบวนการเรียนรู ที่มีวิธีคิดที่ถูกตอง มีเหตุผลและมีแบบอยางที่ดี ที่สําคัญครูตองรูจักคิด มี<br />

จิตใจกวาง ใชอํานาจกับเด็กนอยลงและพรอมจะเรียนรูไปกับเด็ก ที่สําคัญคือ มีเวลาใหแกเด็กมาก<br />

ขึ้น การปฏิรูปดังกลาวจะทําใหการสรางเสริมศีลธรรมและสติปญญาของเด็กเปนไปอยางสอดคลอง<br />

5. เสริมสรางองคกรประชาสังคม องคกรประชาสังคม คือ องคกรที่ประชาชนอาสา<br />

สมัครมารวมกันทําสาธารณประโยชน หรือการชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยกิจกรรมที่ทํา<br />

อาจเปนการสงเสริมสุขภาพ อนุรักษวัฒนธรรม ดูแลสิ่งแวดลอม สงเสริมกีฬา พัฒนาการศึกษา<br />

ชวยเหลือผูทุกขยาก เชน เด็กกําพรา คนยากจน ผูติดเชื้อเอดส หญิงที่ถูกทําราย เปนตน ซึ่งทําให<br />

ชุมชนกลายเปนชุมชนทางศีลธรรมได เพราะไดสรางการเสียสละแกสวนรวม ลดการเห็นแกตัว<br />

เปนการสรางความสัมพันธ ความรัก ความเคารพกันใหกลับคืนมา ฉะนั้นนอกจากประโยชนที่<br />

เกิดขึ้นแลว ยังสงเสริมสนับสนุนใหแตละคนมีพฤติกรรมที่ดีงาม งดเวนสิ่งที่เปนโทษ มีการแนะนํา<br />

ตักเตือนกันในสิ่งที่เปนประโยชน รวมทั้งชวยเหลือกันในยามที่ชีวิตประสบปญหา<br />

6. ปฏิรูปสื่อเพื่อมวลชน ปจจุบันสื่อถูกใชเปนเครื่องมือทางธุรกิจในการกระตุนความ<br />

อยากในการบริโภคใหเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึงควรมีการควบคุมธุรกิจที่เปนอบายมุขมิใหใชสื่ออยาง<br />

เสรี เชน ธุรกิจเหลา บุหรี่ ในอีกดานหนึ่งควรมีการพัฒนาสื่อที่สงเสริมศีลธรรมที่สามารถเขาถึงคน<br />

รุนใหม โดยใหการพัฒนาศักยภาพของผูผลิตสื่อ มีการตั้งศูนยอบรมเกี่ยวของกับการผลิตสื่อในทุก<br />

กระบวนการ เปดโอกาสใหคนจากชุมชนไดเขามามีสวนเรียนรู เพื่อนําไปผลิตสื่อใหกับทองถิ่นของ<br />

ตน ดังนั้นจะตองมีการสงเสริมวิทยุหรือโทรทัศนชุมชนอยางจริงจัง อีกประการหนึ่ง คือ การทําให<br />

สถานีวิทยุโทรทัศนกระแสหลักในปจจุบันมีเนื้อหาที่สงเสริมศีลธรรมและสติปญญามากขึ้น มิใชมุง<br />

แตความบันเทิงและสงเสริมบริโภคนิยมเปนหลัก


20<br />

7. ลดอิทธิพลของบริโภคนิยมและอํานาจนิยม โดยจัดการกับระบบการเมืองไมใหมีการ<br />

ผูกขาดอํานาจไวเพียงกลุมใดกลุมหนึ่ง มีระบบการตรวจสอบความโปรงใสที่มีประสิทธิภาพ<br />

สามารถกํากับและถวงดุลการใชอํานาจของรัฐ จัดระบบการศึกษาใหมีการเรียนรูและฝกฝนตนทั้ง<br />

กาย ใจและปญญา สามารถแกปญหาตนเองได ไมหลงติดหรือถูกครอบงําดวยระบบทุนบริโภคนิยม<br />

จัดระบบสื่อมวลชนไมใหถูกครอบงําดวยอํานาจทุนและกลุมผลประโยชน พรอมทําหนาที่เปน<br />

สื่อกลางที่สงเสริมใหเกิดการบริโภคที่ถูกตอง สงเสริมใหผูคนยอมรับความหลากหลายทาง<br />

วัฒนธรรม รวมทั้งเคารพในความแตกตางทางความคิดและอัตลักษณ<br />

ดังนั้นพอสรุปไดวา มาตรการในการแกปญหาทางจริยธรรมของสังคมไทย ที่สําคัญคือ<br />

ตองลดการถูกครอบงําดวยทุนบริโภคนิยมและอํานาจนิยมและสรางความเขมแข็งใหกับสถาบันทาง<br />

สังคมตั้งแตครอบครัว วัด โรงเรียนและชุมชน โดยการปฏิรูปทั้งระบบการเมือง ระบบการศึกษา<br />

และระบบสื่อสารมวลชน ไมใหตกอยูภายใตการครอบงําของอํานาจทุนและกลุมผลประโยชน<br />

พรอมกันนั้นตองเสริมสรางทัศนคติที่สอดคลองกับหลักทางศีลธรรมใหแกบุคคลทุกคนในทุก<br />

องคกรที่มีสวนเกี่ยวของ เพราะเปนผูมีสวนไดสวนเสียที่จะกอใหเกิดทั้งความเจริญงอกงามและ<br />

ความเสื่อมทรามทางจริยธรรมในสังคมไทยทั้งสิ้น<br />

สรุป<br />

ในบทสรุปนี้ เปนการกลาวถึงความหมายของจริยธรรมที่เปนขอควรประพฤติปฏิบัติ โดย<br />

มีการวิเคราะหแยกแยะความถูกผิด ดีชั่ว อยางมีเหตุมีผลและมีมโนธรรมกํากับในการเลือกตัดสินใจ<br />

กระทําสิ่งที่ดี สิ่งที่ถูกตอง สิ่งที่เหมาะสมและงดเวนสิ่งที่ไมดี ไมเหมาะสม ความเปนมาของ<br />

จริยธรรมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามปจจัยและใชเปนหลักยึดเหนี่ยวของจริยธรรมที่เริ่มจากประเพณี<br />

กฎหมาย ศาสนา ปรัชญาและการใชวิจารณญาณ ซึ่งเมื่อปจจัยหนึ่งใมสามารถควบคุมใหเกิดความ<br />

เปนระเบียบ เรียบรอยและความสันติสุขของสังคมได จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงไปใชปจจัยตัวอื่นเปน<br />

หลักแทน การแสดงของพฤติกรรมดานจริยธรรมประกอบดวยความรูดานเหตุผล อารมณและ<br />

พฤติกรรม ผูที่ประพฤติมีจริยธรรมยอมจะไดรับคุณคาที่เปนประโยชนทั้งตอตนเอง ตองาน ตอ<br />

สวนรวมและผูที่เกี่ยวของดวย ขอบขายของการเปนองคกรธุรกิจที่ดีมีความรับผิดชอบ<br />

ประกอบดวย การเปนนักธุรกิจที่ดี มีวิธีการดีและเปนองคกรที่ดี ดังนั้นธุรกิจที่มีจริยธรรมยอมจะ<br />

กอใหเกิดประโยชนทั้งผูที่เกี่ยวของตลอดจนธุรกิจเองจะไดรับการยอมรับและดํารงอยูไดอยางยั่งยืน<br />

และไดกลาวถึงคุณลักษณะจริยธรรมในสังคมไทยที่มีผลจากคุณลักษณะของคนไทย ตลอดจน<br />

สภาพปญหาจริยธรรมในสังคมไทยที่ถูกครอบงําจากกระแสโลกาภิวัตน


21<br />

กรณีศึกษา<br />

นักศึกษาเคยไดยินวาทะบริโภคนิยมนี้ไหมและมีความคิดเห็นอยางไร<br />

1. การแสดงตัวตนเพื่อบอกตําแหนง บอกบุคลิก บอกความคิดของตนแกคนอื่นนั้นเปน<br />

สวนหนึ่งของการที่คนเราจะจัดความสัมพันธกับสิ่งอื่นและคนอื่นรอบตัวอยางไร ฉะนั้นจึงเปน<br />

ธรรมชาติ คนที่ไหน ๆ และสมัยไหน ๆ ก็ทําอยางนี้กันทั้งนั้น<br />

2. สายเดี่ยวก็ไมแตกตางอะไรไปจากรถยุโรป หรือสูทที่นักการเมืองสวมใส หรือการ<br />

กินไอติมและการกินอาหารแดกดวนฝรั่ง หรือมีบานปกไมริมน้ําฯ สินคาเหลานี้ทําหนาที่ไปพรอม<br />

กันสองอยางคือ รับใชความจําเปนของชีวิตดานอาหาร พาหนะเดินทาง เครื่องนุงหมและเปน<br />

เครื่องมือใหผูบริโภคไดแสดงตัวตน ตามที่เขาจิตนาการวา เขาคือใครและควรสัมพันธเชื่อมโยงกับ<br />

โลกขางนอกอยางไร<br />

คําถาม 1.1 นักศึกษาคิดวาจําเปนหรือไม ที่จะตองแสดงตัวตนใหผูอื่นรับรู เพราะเหตุใด<br />

1.2 การแสดงตัวตนของนักศึกษาไดเลือกใชวิธีใด อยางไรและใครเปนผูมี<br />

อิทธิพลตอวิธีคิด วิธีการแสดงออกซึ่งตัวตนของนักศึกษา<br />

1.3 นักศึกษาคิดวาตนเองเปนผูหนึ่งที่คลั่งไคล หลงใหลในระบบบริโภคนิยมนี้<br />

หรือไม อยางไร<br />

1.4 นักศึกษาคิดวาระบบบริโภคนิยมเหมาะสมกับสังคมไทยหรือไม อยางไร


22<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 1<br />

กระทรวงวัฒนธรรม. (2554). คุณธรรม 8 ประการ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.mculture.go.th/detail_page.php?sub_id=1059.<br />

กีรติ บุญเจือ. (2551). คูมือจริยศาสตรตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมและ<br />

พัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม.<br />

จุรี วิจิตรวาทการ. (2553). บทวิเคราะหลักษณะนิสัยของคนไทย : รากเหงาของความเจริญและ<br />

ปญหาทั้งมวลของประเทศไทย. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.bloggang.com<br />

เนตรพัณณา ยาวิราช. (2551). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ทิปเพิ้ล กรุป.<br />

ปติ ศรีแสงนาม. (2551). เลหแมน บราเธอรส (Lehman Brothers) คือใคร..ทําไมถึงลมละลาย.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=offway<br />

&month=17-09-2008&group=13&gblog=29.<br />

ผูจัดการ. (2554). ปูนซิเมนตไทยควา 3 รางวัลใหญองคกรดีเดน Thailand Coporate Excellence.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2920.<br />

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. (2554). จริยศาสตร. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-6-search.asp<br />

พระไพศาล วิสาโล. (2553). สรางสังคมไทยใหเปนมิตรกับความดี. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.visalo.org/article/budtumKwamdee999.htm.<br />

พระราชชัยกวี (ภิกขุพุทธทาส อินทปญโญ). (2511). การสรางเสริมจริยธรรมแกเด็กวัยรุน.<br />

นครราชสีมา : โรงเรียนนฤมิตรวิทยา.<br />

พิภพ วชังเงิน. (2546). จริยธรรมวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : รวมสาสน.<br />

แมกซ เวเบอร. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

ลัดดา พินตา. (2552). จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.gotoknow.org/ask/lemon_2910/11978.<br />

วริยา ชินวรรโณ. (2546). จริยธรรมในวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชวนพิมพ.<br />

วอรเรน บัฟเฟตต. (2552). รายการสัมภาษณของสถานีโทรทัศน CNBC. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://news.bn.gs/images/articles/20080306065406686_1.jpg<br />

วิทย วิศทเวทย. (2526). จริยศาสตรเบื้องตน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา.<br />

สมคิด บางโม. (2549). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพัฒนาวิทยการพิมพ.


23<br />

สารานุกรม. (2554). Ethics. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.encyclopedia2.<br />

thefreedictionary.com/ethics.<br />

สุรพศ ทวีศักดิ์. (2545). จริยธรรมเปนปญหาหลักของสังคมปจจุบัน. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.songpak16.com/prb_jariyatham.html.<br />

สุลักษณ ศิวรักษ. (2550). คันฉองสองจริยศาสตร. กรุงเทพฯ : ศึกษิตสยาม.<br />

อานันท ปนยารชุน. (2554). จริยธรรมทางธุรกิจ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

elearning.siam.edu/mod/resource/view.php?id=2884<br />

Marketeer. (2553). SCG ควา 4 รางวัลใหญประกาศผล 8 องคกรดีเดนควารางวัลพระราชทาน.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.marketeer.co.th/marketeertoday_detail.php?<br />

marketeertoday_id=2773.<br />

Chris Macdonald. (2011). Business Ethics. [On-line]. Available : http://www.businessethics.<br />

ca/definitions/business-ethics.html.


บทที่ 2<br />

แนวคิดและทฤษฎีจริยธรรม<br />

แนวคิดและหลักการปฏิบัติทางจริยธรรมของแตละบุคลากรในแตละองคกร ลวนมีวิธีคิด<br />

และมุมมองที่แตกตางกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการใหคุณคาตอประเด็นการตัดสินใจสิ่งนั้น ๆ อยางไร<br />

โดยที่การตัดสินใจนั้นจะคํานึงถึงแนวโนมของสิ่งที่จะเกิดขึ้นเปนประโยชนสูงสุด เปนสิ่งที่ถูกตอง<br />

และเปนสิ่งที่ดีที่สุด จริยธรรมมีความเกี่ยวของสัมพันธกับกฎหมาย ปรัชญาทางศีลธรรม คุณธรรม<br />

แนวคิดตามหลักศาสนา ที่จะนํามาเปนแนวทาง เปนหลักการเพื่อนําไปประยุกตใชกับวิชาชีพตาง ๆ<br />

ใหเกิดคุณคาและศักดิ์ศรีตอสถาบันวิชาชีพนั้น ๆ<br />

จริยธรรมกับกฎหมาย<br />

จริยธรรมเปนขอควรประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ถูกตอง เหมาะสม ดีงาม โดยมีมโนธรรม<br />

กํากับการตัดสินใจตอการกระทําสิ่งใด ๆ สวนกฎหมายเปนกฎ ระเบียบ ขอบังคับใหทุกคนตอง<br />

ปฏิบัติตาม ถาหากละเมิดไมทําตามขอกําหนดของกฎหมายก็จะถูกลงโทษตามที่กฎหมายไดบัญญัติ<br />

โทษไว แมวาจริยธรรมกับกฎหมายจะมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตก็มีลักษณะที่แตกตางกัน<br />

ความแตกตางระหวางจริยธรรมและกฎหมาย<br />

จริยธรรม<br />

กฎหมาย<br />

1. เปนการควบคุมการกระทําจากภายในจิตใจ<br />

ของบุคคล ดวยสํานึกทางคุณธรรม<br />

ความรูสึกผิดชอบชั่วดี<br />

2. การลงโทษผูทําผิดดวยมาตรการทางสังคม<br />

เชน การตําหนิ การไมคบหา การไมใหความ<br />

รวมมือ หรือไมใหความชวยเหลือ<br />

3. ไมมีการกําหนดเปนลายลักษณอักษร เพราะ<br />

ถือวาการประพฤติปฏิบัติหรือไมขึ้นอยูกับความ<br />

สมัครใจ<br />

.<br />

1. เปนการควบคุมการกระทําจากภายนอกของ<br />

บุคคลที่จะทําการละเมิด หรือไมละเมิดผูอื่น<br />

โดยมีบทลงโทษบัญญัติไวในมาตราตาง ๆ<br />

2. การลงโทษโดยหนวยงานของรัฐบาล เชน<br />

ถูกตํารวจจับ ถูกฟองรอง ถูกพิพากษาลงโทษ<br />

ตามตัวบทกฎหมาย<br />

3. มีการกําหนดเปนลายลักษณอักษร แมไม<br />

สมัครใจที่จะปฏิบัติก็ตองควบคุมความ<br />

ประพฤติของตนเองใหอยูในกฎระเบียบนั้น


25<br />

ความแตกตางระหวางจริยธรรมและกฎหมาย<br />

จริยธรรม<br />

กฎหมาย<br />

4. จัดเปนเครื่องมือระดับสูงของมนุษยในการ<br />

ควบคุมพฤติกรรม ดวยมีจิตใจสูง มีมโนธรรม<br />

กํากับการกระทําดี<br />

5. การมีจริยธรรมขึ้นอยูกับความสมัครใจของ<br />

บุคคล<br />

4. จัดเปนเครื่องมือระดับต่ําของมนุษย ในการ<br />

ควบคุมพฤติกรรม การทําดีทําถูกเพราะกลัวโดน<br />

ลงโทษ<br />

5. การทําดีของบุคคล มีผลจากขอบังคับของ<br />

กฎหมาย<br />

6. การกระทําที่ผิดกฎหมายจะผิดจริยธรรมดวย 6. การกระทําที่ถูกกฎหมาย อาจผิดจริยธรรมได<br />

นอกจากนี้จะเห็นวากฎหมายไมสามารถควบคุมพฤติกรรมทั้งหมดของคนเราได จึงตอง<br />

อาศัยคุณธรรมในจิตใจของมนุษยที่จะเลือกทําสิ่งที่ดีใหมากกวาสิ่งที่ไมดี แตอยางไรก็ตามกฎหมาย<br />

ที่เกิดขึ้นมาภายหลังจริยธรรม ซึ่งมีความเปนนามธรรมและมีขอโตแยงในประเด็นที่มีความเห็นไม<br />

ตรงกัน จึงจําเปนที่จะตองมีตัวบทกฎหมายเขามากํากับในพฤติกรรมบางอยาง เพื่อใหมีความชัดเจน<br />

เปนรูปธรรมยิ่งขึ้นในการระบุความถูกตอง หรือความผิดของการกระทํานั้น ๆ ดังนั้นจะเห็นวา<br />

เครื่องมือในการควบคุมความประพฤติทั้ง 2 ชนิดนี้ แมจะมีความแตกตางกันแตก็มีความเกี่ยวของ<br />

สัมพันธกัน ซึ่งจะไดยกตัวอยางกฎหมายที่เกี่ยวของกับจริยธรรม (กฎหมายคุมครองทรัพยสินทาง<br />

ปญญา. 2554. ออนไลน). ดังนี้<br />

1. กฎหมายคุมครองทรัพยสินทางปญญา<br />

1.1 ทรัพยสินทางปญญา (Intellectual property rights) หมายถึง สิทธิทางกฎหมายที่<br />

ใหเจาของสิทธิ หรือ ผูทรงสิทธิ มีอยูเหนือสิ่งที่เกิดจากความคิดสรางสรรคทางปญญาของมนุษย<br />

โดยอาจแบงทรัพยสินทางปญญาออกได 2 ประเภทหลัก คือ ทรัพยสินทางอุตสาหกรรมและ<br />

ลิขสิทธิ์ โดยทรัพยสินทางอุตสาหกรรม แบงออกได 5 ประเภท ไดแก สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา<br />

แบบผังภูมิของวงจรรวม ความลับทางการคาและสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร<br />

สําหรับประเทศไทยไดเขารวมเปนเปนภาคีอนุสัญญา วาดวยการคุมครองทรัพยสินทาง<br />

ปญญา เชน อนุสัญญากรุงเบิรน (Berne Convention) องคการการคาโลก (WTO : World Trade<br />

Organization) ทําหนาที่ดูแลขอตกลงยอย 3 ขอ คือ ความตกลงทั่วไปวาดวยการคาและภาษีศุลกากร<br />

(General Agreement on Tariff and Trade : GATT) ความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่<br />

เกี่ยวกับการคา (TRIPS : Agreement on Trade - Related Aspects of Intellectual Property Rights)<br />

และความตกลงทั่วไปวาดวยการคาบริการ (General Agreement on Trade in Services : GATS)


26<br />

สวนในประเทศไทยเองไดมีกฎหมายคุมครองทรัพยสินทางปญญา เชน พระราชบัญญัติสิทธิบัตร<br />

พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ. 2534 แกไข<br />

เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 และพระราชบัญญัติคุมครองแบบ<br />

ผังภูมิของวงจรรวม พ.ศ. 2543 เปนตน ยกตัวอยาง เครื่องหมายการคา หรือเรียกทั่วไปวา ยี่หอ หรือ<br />

แบรนด หมายถึง ตราสินคา หรือสวนหนึ่งของตราสินคา เปนสวนที่แสดงถึงสิทธิของผูเปนเจาของ<br />

ตามกฎหมาย คนอื่นไมสามารถที่จะนําเครื่องหมายการคานั้นไปใชไดตามอําเภอใจ มิฉะนั้นถือวา<br />

ไดละเมิดทําผิดกฎหมาย หรือในแงจริยธรรมถือเปนการกระทําที่ไมถูกตองและไมสมควรอยางยิ่ง<br />

ที่จะนําของ ๆ ผูอื่นมาใช โดยไมไดรับอนุญาต หรือมีการลอกเลียนแบบ ทําใหผูอื่นเกิดความเขาใจ<br />

ผิดในสินคาคิดวาเปนสินคายี่หอเดียวกัน หรือเปนสินคาของเจาของเดียวกัน กรณีเชนนี้จึงถือวา ทํา<br />

ผิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ยกเวนแตจะมีสัญญาและขอตกลงตอกัน เชน การควบกิจการ<br />

ลักษณะของเครื่องหมายการคาอาจเปนสัญลักษณ ซึ่งประกอบดวย ชื่อ ขอความ วลี<br />

สัญลักษณ ภาพ งานออกแบบ หรือหลายสวนรวมกัน โดยมีความหมายทางดานทรัพยสินทาง<br />

ปญญาเปนเครื่องหมายแสดงถึงชื่อสินคาเฉพาะอยาง หรือทุกประเภทเพื่อแสดงถึง หรือใหความ<br />

หมายถึงสิ่งใด ๆ ที่มีความเกี่ยวของกัน เครื่องหมายการคาอาจมีการกํากับดวย หมายถึง<br />

เครื่องหมายการคาที่มิไดจดทะเบียน หรือ ® หมายถึง เครื่องหมายการคาจดทะเบียน เปนสัญลักษณ<br />

สากล ดังภาพที่แสดงตอไปนี้<br />

ภาพที่ 1 เครื่องหมายการคา<br />

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/109363<br />

เครื่องหมายการคา มี 4 ประเภท ดังนี้<br />

1) เครื่องหมายการคา (Trademark) เปนเครื่องหมายที่ใชกํากับสินคา เพื่อแสดง<br />

ความแตกตางของสินคา ที่แตละบริษัทเลือกใชเปนของตนเอง เชน ตราสินคาของบริษัทโทรศัพท<br />

3 คายใหญในประเทศไทย ไดแก เปนตน


27<br />

2) เครื่องหมายบริการ (Service Mark) เปนเครื่องหมายที่ใชกับธุรกิจบริการ<br />

เพื่อแสดงถึงธุรกิจบริการของแตละบริษัท ซึ่งผูใชบริการสามารถรับรูถึงความแตกตางของธุรกิจ<br />

และเลือกใชบริการของธุรกิจนั้น ดังภาพบริษัทสายการบิน เปนตน<br />

ภาพที่ 2 สายการบินไทยรูปดอกจําปและสายการบินญี่ปุน<br />

ที่มา : http://www.trekkingthai.com<br />

3) เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) เปนเครื่องหมายใชรับรองคุณภาพ<br />

ในสินคา หรือบริการของธุรกิจนั้น เชน ฉลากสิ่งแวดลอม (Environmental labels) เปนระบบการ<br />

เปดเผยและการรับรองขอมูลดานสมรรถนะสิ่งแวดลอมของสินคาและบริการ โดยแสดงไวดวยการ<br />

ติดฉลากบนผลิตภัณฑ เพื่อแสดงใหผูบริโภคทราบวา ผลิตภัณฑเนนคุณคาทางสิ่งแวดลอมและเปน<br />

ผลิตภัณฑคุณภาพที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวาผลิตภัณฑที่ทําหนาที่อยางเดียวกัน เชน<br />

ฉลากแสดงการลดคารบอน ฉลากเขียวเพื่อสิ่งแวดลอม อาคารอนุรักษพลังงาน เปนตน<br />

ภาพที่ 3 เครื่องหมายแสดงถึงการอนุรักษสิ่งแวดลอม<br />

ที่มา : http://www.greenbizthai.com<br />

4) เครื่องหมายรวม (Collective Mark) เปนเครื่องหมายการคา หรือบริการที่ใช<br />

โดยบริษัท สมาคม สหกรณ สหภาพ สมาพันธ หรือรัฐวิสาหกิจ องคกรในกลุมเดียวกัน ดังภาพ<br />

ประเทศในกลุมอาเซียนและสมาคมแฟรนไชสและไลเซนส เปนตน


28<br />

ภาพที่ 4 เครื่องหมายรวมกลุมประเทศอาเซียนและสมาคมการคา<br />

ที่มา : http://www.google.co.th<br />

1.2 ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิความเปนเจาของ ของผูสรางสรรคผลงานที่เกิดจากการใช<br />

สติปญญา ความรูความสามารถ ความวิริยะอุตสาหะของตน จึงถือเปนสิทธิทางปญญาที่มีมูลคาใน<br />

ลักษณะที่เปนทรัพยสินของบุคคลนั้น ฉะนั้นผูสรางสรรคงานในฐานะเจาของจึงควรไดรับการ<br />

คุมครองตามกฎหมาย ที่จะสามารถดําเนินการใด ๆ กับงานของตนเองได เชน ซื้อ ขาย โอน หรือ<br />

เปนมรดก โดยการโอนควรทําเปนลายลักษณอักษร เปนสัญญาที่ชัดเจนวาจะโอนสิทธิ์ทั้งหมดหรือ<br />

บางสวน ประเภทงานที่มีลิขสิทธิ์แบงได 9 ประเภท ดังนี้<br />

1) งานวรรณกรรม เชน หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ ปาฐกถา โปรแกรม<br />

คอมพิวเตอร เปนตน<br />

2) งานนาฏกรรม ไดแก งานเกี่ยวกับการรํา การเตน การทําทา หรือการแสดงที่<br />

ประกอบขึ้นเปนเรื่องราว การแสดงโดยวิธีใบ<br />

3) งานศิลปกรรม ไดแก งานจิตรกรรม งานประติมากรรม งานภาพพิมพ งาน<br />

สถาปตยกรรม งานภาพถาย ภาพประกอบ แผนที่โครงสราง งานศิลปะประยุกต<br />

4) งานดนตรีกรรม หมายถึง งานที่เกี่ยวกับเพลง ทํานองและเนื้อรอง หรือ<br />

ทํานองอยางเดียว รวมถึงโนตเพลงที่ไดแยกและเรียบเรียงเสียงประสานแลว<br />

5) งานโสตทัศนวัสดุ เชน วิดีโอเทป แผนเลเซอรดิสก<br />

6) งานภาพยนตร<br />

7) งานบันทึกเสียง เชน เทปเพลง แผนคอมแพ็คดิสก<br />

8) งานแพรเสียงและภาพ เชน งานที่นําออกเผยแพรทางวิทยุกระจายเสียง หรือ<br />

โทรทัศน<br />

9) งานอื่นใดอันเปนงานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร หรือแผนกศิลปะ


29<br />

สวนผลงานที่ไมถือวามีลิขสิทธิ์ ไดแก ขาวประจําวัน หรือขาวสารอันมิใชงานในแผนก<br />

วรรณคดี วิทยาศาสตรและศิลปะ รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง คําชี้แจง<br />

หนังสือโตตอบของกระทรวง ทบวง กรมหนวยงานของรัฐและทองถิ่น คําพิพากษา คําสั่ง<br />

คําวินิจฉัยและรายงานของทางราชการ คําแปลและการรวบรวมรายการทั้งหมดตามที่กลาวมาแลว<br />

ขางตน ซึ่งทางราชการจัดทําขึ้นเหลานี้ไมถือเปนลิขสิทธิ์<br />

ดังนั้นจะเห็นวากฎหมายและจริยธรรมมีความเกี่ยวของกัน สามารถจะนํามาสนับสนุน<br />

สงเสริมกัน เพื่อประพฤติปฏิบัติอยางถูกตอง ดวยการพิจารณาไตรตรองอยางรอบคอบในการ<br />

ตัดสินใจกระทําวาสิ่งนั้นผิดกฎหมายหรือไม เมื่อไมผิดกฎหมายแลว ควรพิจารณาตอวาผิดตอ<br />

มโนธรรมหรือไม เชน การประกอบธุรกิจของมึนเมา เหลาเบียร ซึ่งเปนธุรกิจที่ไมผิดกฎหมาย<br />

แตมีประเด็นที่ตองถกเถียงในแงของจริยธรรม<br />

กรณีตัวอยางที่ไดเปดเผยของ ศ.นพ.วิจารณ พานิช นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดลตอขอ<br />

เรียกรองของภาคประชาชน เชน แพทย เภสัช ทันตแพทย ทนายความ นักวิชาการ นักกฎหมาย<br />

นักวิจัย ผูนําศาสนา แกนนําชุมชนและนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ จํานวน 436 รายชื่อ เขายื่น<br />

ขอเรียกรองใหงดเผยแพรโปสเตอรงานรําลึกวันมหิดล ที่มีตราสัญลักษณของบริษัทไทยเบฟเวอเรจ<br />

จํากัด (มหาชน) หรือบริษัทผูผลิตเบียรชางและงดรับทุนสนับสนุนจากบริษัทเหลานี้ ซึ่ง<br />

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยฯ มีมติเห็นดวยในประเด็นแรก แตประเด็นการงดรับสปอนเซอรยัง<br />

เปนเรื่องยาก เพราะโรงพยาบาลมีงบประมาณไมเพียงพอจําเปนตองไดรับบริจาค “ผมตองขอโทษ<br />

สังคมไทยตอเหตุการณที่เกิดขึ้น” ศ.นพ.วิจารณ พานิช กลาว<br />

ประเด็นที่กลาวขางตน หากมองโดยไมไตรตรองใหถี่ถวนจะเห็นวา เปนเพียงการใหและ<br />

รับบริจาคเงินชวยเหลือที่จะไดนําไปใชประโยชนของโรงพยาบาลตอการดูแลรักษาประชาชน แต<br />

สิ่งที่ตองพิจารณาใหลึกซึ้งถึงความขัดแยงที่เกิดขึ้นระหวางโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาล<br />

รามาธิบดี ซึ่งถือเปนสัญลักษณในเรื่องของสุขภาพและเปนที่รูจักระดับประเทศ การบริจาคของ<br />

ธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล อาจถือเอาประโยชนในการสรางภาพลักษณของธุรกิจตนเอง ดังนั้น<br />

ผูเรียกรองจึงไดมีการทวงติงและขอใหแสดงความกลาหาญที่จะไมรับเงินบริจาคดังกลาว รวมทั้ง<br />

ไดตั้งคําถามตอระบบการแพทยและสาธารณสุขของประเทศและตั้งคําถามตอคณะแพทยศาสตร<br />

ศิริราชพยาบาลถึงพันธกิจที่ไดระบุวา “ชี้นําสังคมไทยในดานสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิต” ซึ่ง<br />

มีความขัดแยงกันเองกับการกระทําของหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนั้นจะเห็นวาในสังคมไทย มีหลาย<br />

เรื่องราวที่ถูกตองตามกฎหมาย แตอาจมีขอโตแยงในดานจริยธรรมอีกมากมาย จึงควรมีการกําหนด<br />

กรอบดานจริยธรรมในเรื่องนั้น ๆ ใหเปนรูปธรรมที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในสังคม


30<br />

แนวคิดทฤษฎีจริยธรรม<br />

การดําเนินชีวิตของมนุษยตั้งแตเริ่มตนมาในแตละยุคแตละสมัย ตางประสบปญหา<br />

การดํารงชีวิตภายใตเงื่อนไขของการมีทรัพยากรที่สามารถสนองความตองการได มนุษยจึงเรียนรูที่<br />

จะอยูรวมกันตามคุณลักษณะของสัตวสังคมที่จะตองมีปฏิสัมพันธตอกัน ชวยเหลือ เกื้อกูล แบงปน<br />

ใหแกกันและกัน จึงไดมีการกําหนดมาตรการของการปฏิบัติที่ยอมรับซึ่งกันและกันได แนวคิดทาง<br />

จริยธรรมในยุคตนของกรีกโบราณประมาณ 600 ปกอนคริสตกาลมีลักษณะเปนอภิปรัชญา<br />

(Metaphysics) เปนศาสตรที่วาดวย ความแทจริง หรือสรุปไดวาอภิปรัชญา หมายถึง สภาวะความรู<br />

อันสูงสุด ซึ่งเปนความรูที่เกี่ยวกับสิ่งที่อยูนอกเหนือการเห็นทั่วไป แตสามารถรูและเขาใจดวย<br />

เหตุผล ดังนั้นในแตละพื้นที่จึงมีแนวคิดทฤษฎีจริยธรรมที่นาศึกษาแตกตางกันไป ดังจะไดกลาวถึง<br />

ตอไป<br />

จริยธรรมตามแนวคิดตะวันตก<br />

1. ยุคกรีกโบราณเปนยุคแรกของปรัชญามีลักษณะเปนอภิปรัชญา โดยตั้งคําถามเพื่อหา<br />

หลักเกณฑมาอธิบายกฎธรรมชาติตาง ๆ ตามที่สงสัย เพื่อคนหาความจริงดวยวิธีการโตแยง เชน<br />

โลกเกิดจากอะไร สรรพสิ่งเกิดจากอะไร เปนตน อยางไรก็ตามมีกลุมนักปราชญที่เรียกตัวเองวา<br />

โซฟสต (Sophists) จัดเปนกลุมแรกที่ตั้งปญหาทาง จริยศาสตรวา ชีวิตที่ดีเปนอยางไร (What is<br />

good life) เราควรดํารงอยูอยางไรจึงจะมีความสุข (How should man live)<br />

แตโซฟสตมองคุณธรรมเปนเหตุผลของแตละบุคคลที่จะบอกวาอะไรดีอะไรชั่ว ใน<br />

มุมมองที่บุคคลนั้นไดเห็น ไดยิน ไดสัมผัสและรับรูสิ่งใด ๆ มา วาเปนจริงก็จริงของคน ๆ นั้น ซึ่ง<br />

ความจริงในแงมุมนี้ยอมจะทําใหเกิดความไมลงรอยและขาดสิ่งที่ยึดถือรวมกัน (จริยศาสตร<br />

ตะวันตกสมัยโบราณ. ออนไลน. 2554) ตัวอยางที่เห็นชัดเจนในสังคมไทย คือ การยอมรับวาเรื่อง<br />

นี้เปนความจริงตามที่ตนยอมรับฟงและปฏิเสธวาสิ่งนั้นเปนเท็จตามที่ตนไมยอมรับรู รับฟง จึง<br />

ปรากฏปญหาของการโตแยง ความขัดแยง แบงพรรค แบงพวก ทั้งนี้เพราะขาดหลักที่เปนแกนกลาง<br />

ของความจริงรวมกัน คือ การยอมรับฟงและรับรูอยางแทจริง ดังนั้นแนวคิดของโซฟสต จึงแสดง<br />

ถึงจุดดอย ที่ไมมีคุณธรรมกลางใหคนสวนรวมยึดถือ ในครั้งนั้นของนครเอเธนส ซึ่งเจริญรุงเรือง<br />

ทั้งทางศิลปวิทยา เศรษฐกิจและการปกครองแบบประชาธิปไตยทําใหเกิดการชิงดีชิงเดน การรักษา<br />

ความซื่อสัตยและรักษาธรรมจึงไมใชชีวิตที่ประเสริฐ แตชีวิตที่ประสบความสําเร็จจะตองเปนชีวิต<br />

ของผูที่รูจักฉกฉวยโอกาสและใชความรูทางดานกฎหมาย การเปนคนพูดเกงทําใหคนอื่นเชื่อตาม<br />

เพื่อทําใหตนเองไดมาซึ่งเกียรติยศ อํานาจและความมั่งคั่ง ตรงขามกับนักปรัชญาในยุคทองของ


31<br />

กรีก คือ โสเครตีส (Socrates) ซึ่งเชื่อวาตองมีหลักการพื้นฐานของความผิดและความถูกเปน<br />

เครื่องมือวัดความดี ดังนั้นจึงตองรูกอนวาอะไรคือความดีและใชอะไรมาวัดความดีนั้น คําตอบที่<br />

โสเครตีสใหคือ ความรูเปนความดีสูงสุด โดยอธิบายวาคนเราถารูวาอะไรถูกก็จะทําสิ่งนั้นและไม<br />

สมัครใจที ่จะทําผิด หรือทําชั่ว<br />

1.1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณธรรมของโสเครตีส<br />

1) คุณธรรมคือ ความรู (virtue is knowledge) ถาบุคคลรูและเขาใจถึง<br />

ธรรมชาติของความดีจริง ๆ ผูนั้นจะไมพลาดจากการกระทําความดี แตถาไมรูจะเปนสาเหตุของการ<br />

ทําความชั่ว ความเปนคนพอประมาณที่ไมรูวาอะไรคือความพอดี พอประมาณก็จะกลายเปนตรง<br />

ขามความพอดี เชนเดียวกันความเปนผูกลาหาญ ถาไมรูวาความกลาหาญคืออะไร ก็จะเปนความ<br />

ขลาดอยางหนึ่ง<br />

2) คุณธรรมเปนพันธุกรรม แตสามารถเปลี่ยนแปลงไดบางเมื่อไดรับการศึกษา<br />

ฝกอบรมและปฏิบัติ ดังนั้นคุณธรรมจึงเปนเรื่องที่สอนกันได<br />

3) คุณธรรมเปนหนึ่ง คือ มีรากฐานมาจากความรู เชน คนที่ทําความดี มีความ<br />

เอื้อเฟอเผื่อแผ เมตตากรุณา ฯลฯ เปนตน<br />

เพลโต (Plato) นักปรัชญาในยุคกรีกที่มีชื่อเสียงอีกผูหนึ่ง (จริยศาสตรของเพลโต.<br />

ออนไลน. 2554) มีความเชื่อวา มนุษยจะรูจักโลกที่แทจริงไดดวยเหตุผล ดังนั้นเหตุผลจึงเปนความ<br />

ดีสูงสุดของมนุษย เพลโตแบงคําสอนดานจริยศาสตรออกเปน 2 ประเภท คือ 1) จริยศาสตรของ<br />

ปจเจกชน หมายถึง การที่ประชาชนจะตองปฏิบัติตามและเชื่อฟงกฎหมายของรัฐ 2) จริยศาสตร<br />

ของรัฐ คือ การที่รัฐมีวัตถุประสงคจะฝกใหพลเมืองมีความซื่อสัตยสุจริต มีคุณธรรมความดีงาม มี<br />

การอยูดีกินดี ซึ่งเพลโตไดกําหนดองคประกอบของรัฐ ประกอบดวย ชนชั้นปกครอง จะตองมีความ<br />

ซื่อสัตยและความฉลาด ทหาร จะตองมีความกลาหาญ เพราะมีหนาที่ปองกันและรักษาความ<br />

ปลอดภัยประเทศชาติและชนชั้นกรรมาชีพ จะตองมีความขยันหมั่นเพียรในการทํางานและมี<br />

ระเบียบวินัยในตัวเอง<br />

1.2 เพลโต แบงหลักคุณธรรมสําคัญ 4 ประการ ที่จะทําใหรัฐมีความสมบูรณ ไดแก<br />

1) ความฉลาดหรือความมีปญญา (Wisdom) คุณธรรมขอนี้มีความสําคัญสําหรับ<br />

ผูปกครองตองเปนผูมีปญญาในการใชเหตุผล เพื่อการดําเนินนโยบายในการบริหารจัดการบานเมือง<br />

2) ความยุติธรรม (Justice) เปนคุณธรรมสูงสุด ที่รวมเอาการใชเหตุผลอยางมี<br />

หลักการเพื่อใหเกิดความเที่ยงธรรม หรือแปลตามตัววาการใชธรรมเพื่อใหเกิดขอยุติ (John Rawls :<br />

ออนไลน) กลาววา Justice is Conditions of Fair Equality of Opportunity ซึ่งสะทอนแนวคิดถึง<br />

ความยุติธรรมเกิดไดภายใตเงื่อนไขของการไดรับโอกาสที่เสมอภาคกัน เชน ระหวางโจทยกับจําเลย


32<br />

ควรไดรับโอกาสในการตอสูคดีความของตน ไมวาจะเปนเรื่องของเวลา หลักฐานและเงื่อนไขใดที่<br />

เปน ไปตามกฎหมายเพื่อใหทั้งสองฝายไดมีโอกาสนําเสนอขอมูลฝายตนอยางเสมอภาค<br />

3) ความกลาหาญ (Courage) เปนคุณธรรมที่ควบคูไปกับความอดทน อดกลั้น<br />

ตอความยากลําบากและการยั่วยวนของกิเลสทั้งหลาย การจะเห็นวาบุคคลใดมีความกลาหาญ<br />

เพียงใด ใหสังเกตเมื่อยามภัยมาถึงตัว<br />

4) ความรู จักประมาณ (Temperance) เปนคุณธรรมที่ทําใหไมเกิดความหลงมัว<br />

เมา เพราะมีความรูจักประมาณตน รูจักพอดีสําหรับตน<br />

หลักคุณธรรม 4 ประการที่เพลโตกําหนดไวเปนจริยธรรมระดับปจเจกบุคคลและระดับ<br />

รัฐยังคงเปนหลักการที่มีเหตุผลที่สามารถใชไดถึงปจจุบัน แมวาสังคมทุกวันนี้จะมีเงื่อนไขที่<br />

ซับซอนมากขึ้น ก็จะตองมีหลักการมารองรับมากขึ้นใหสอดคลองกับยุคสมัยตอไป<br />

นอกจากโสเครตีสและเพลโตแลว ยังมีนักปรัชญาการเมืองที่มีชื่อเสียง ซึ่งเปนศิษยเอก<br />

ของเพลโต คือ อริสโตเติล (Aristotle) ไดกําหนดแนวคิดคุณธรรม 4 ประการ (จริยศาสตรของ<br />

อริสโตเติล. ออนไลน. 2554) ดังนี้<br />

1.3 แนวคิดคุณธรรม 4 ประการของอริสโตเติล ไดแก<br />

1) รูจักประมาณ หมายถึง ความพอเหมาะพอดีในการแสวงหาความเพลิดเพลิน<br />

ของผูที่รูจักประมาณคือ ผูที่สามารถอยูเหนือความปรารถนา<br />

2) ความกลาหาญ จะเห็นชัดเจนในภาวะคับขันที่สามารถแสดงใหเห็นถึงภาวะ<br />

ผูนําที่กลาเผชิญปญหาตาง ๆ ดวยความอดทน อดกลั้นตอการแกปญหา หากใชสุภาษิต “รูรักษา<br />

ตัวรอดเปนยอดดี” ในภาวะวิกฤต เชน วิกฤตน้ําทวมในประเทศไทย ถาหากผูปกครองแตละฝายที่<br />

เกี่ยวของเอาตัวรอดไมเหลียวแลประชาชนในพื้นที่ของตน ดังนั้นในภาวะวิกฤตจึงตองการคุณธรรม<br />

ในขอนี้เปนสําคัญ<br />

3) ความยุติธรรม อาจไดมาทางกฎหมายและจากผูปกครอง ความยุติธรรมถือ<br />

เปนความดีของผูปกครองที่ใชทั้งในครอบครัวและประชาชนใหทุกคนไดรับความเทาเทียม<br />

4) มิตรภาพ อริสโตเติลไดแบงมิตรภาพ (Friendship) ที่เกิดจากความมี<br />

ประโยชนเกิดจากความเพลิดเพลิน เกิดจากความดี ดังนั้นมิตรภาพที่แทจริงที่จะเกิดขึ้นระหวาง<br />

บุคคลได บุคคลนั้นจะตองมีคุณลักษณะอยางเดียวกัน<br />

แนวคิดปรัชญาตะวันตกสมัยกรีกโบราณ ถือเปนพื้นฐานแนวคิดนํามาสูการเปลี่ยนแปลง<br />

แนวคิดจริยธรรมตะวันตกในชวงตอมาของจริยธรรมยุคตะวันตกสมัยใหม ยุคนี้ประชาชนเริ่มสนใจ<br />

แนวคิดของศาสนาอื่น ๆ เพิ่มขึ้น เปนยุคเริ่มตนของวิทยาศาสตรและปรัชญาทางการเมืองเดนชัด<br />

เปนยุคที่กฎหมายเฟองฟู สํานักปรัชญาที่สําคัญ คือ อิมมานูเอล คานท (Immanual Kant) และสํานัก


33<br />

ประโยชนนิยม (Utilitarianism) มีนักคิดที่สําคัญคือ เจเรมี เบนแธม (Jeremy Bentham) จอหน<br />

สจวต มิลล (John Stuart Mill)<br />

2. แนวคิดจริยธรรมตะวันตกหลังยุคกรีกโบราณ ใหความสนใจกับเหตุผลนิยมกับสุข<br />

นิยม หรือประโยชนนิยม ซึ่งมีความแตกตางกันดังนี้<br />

ประเด็นจริยธรรม<br />

เปรียบเทียบความแตกตาง<br />

เหตุผลนิยม (rationalism) สุขนิยม (hedonism)<br />

1. ธรรมชาติของมนุษย 1. มนุษยเปนสัตวเจาปญญาและมี<br />

เหตุผล<br />

1. มนุษยเปนสัตวเจาอารมณโดย<br />

พื้นฐาน<br />

2. อุดมคติของชีวิต 2. การปฏิบัติหนาที่ใหสมบูรณ โดย<br />

มีเหตุผลเปนเครื่องนําทาง คือ การ<br />

ทําหนาที่ใหบรรลุจุดมุงหมาย ไมทํา<br />

หนาที่เพื่อเกียรติยศชื่อเสียง แตสิ่ง<br />

เหลานั้น เปนเพียงผลพลอยไดจาก<br />

การทําหนาที่เทานั้น<br />

2. การไดรับความเพลิดเพลินอัน<br />

เกิดจากประสาทสัมผัสและ<br />

มนุษยมีศีลธรรมตามธรรมชาติ<br />

3. ความคิดทางศีลธรรม 3. ถือวาคุณธรรม คือ การปฏิบัติ<br />

หนาที่ตามกฎ เชน การเคารพตอ<br />

กฎเกณฑตาง ๆ<br />

3. เอาความสุข ความเพลิดเพลิน<br />

เปนเครื่องกําหนดความถูกผิด<br />

ความดีชั่ว<br />

2.1 แนวคิดของคานท มีความเชื่อมั่นตอเหตุผลนิยม (Rigorism) หมายถึง ความ<br />

เชื่อมั่นในคุณธรรม หรือเหตุผลอยางเครงครัด โดยคานทศึกษาคนหาความหมายของเจตจํานง กฎ<br />

ศีลธรรม คุณธรรมความดี การกระทําที่ถูกตองและความหมายของหนาที่ ทั้งหมดนั้นเปนมูลฐาน<br />

ของปญหาทางจริยธรรมของคานท ซึ่งอธิบายไววา<br />

สวนที่ 1 เจตจํานงดีเปนความดีอยางแทจริง ไมเกี่ยวของกับการกระทําภายนอก<br />

และเจตจํานงตองมีเหตุผลเปนพื้นฐานสากลในธรรมชาติของมนุษย ทุกคนปฏิบัติไปตามกฎแหง<br />

เหตุผล ซึ่งแตกตางไปจากความมั่งคั่งและสติปญญาที่สามารถบิดเบือนไดดวยเจตนา ถาคนชั่วมี<br />

เจตนาชั่ว ยอมใชสติปญญาและความมั่งคั่งไปในทางชั่ว ในประเด็นนี้จะเห็นวาคํากลาวที่วา<br />

“รวยแลวไมโกง” ยอมไมมีเหตุผลเพียงพอตามเจตจํานงของคานท ซึ่งราชบัณฑิตไดใหความหมาย<br />

ของเจตจํานงหมายถึง ความตั้งใจมุงหมาย ความจงใจ ในทางปรัชญา เจตจํานง (Will) มีความหมาย<br />

วา 1) ความจงใจ 2) แรงปรารถนา ซึ่งเปนพลังอยางหนึ่งที่ผลักดันใหมนุษยกระทําการตาง ๆ


34<br />

สวนที่ 2 กฎศีลธรรมเปนขอบังคับอยางเด็ดขาด เพราะถือเปนหนาที่ที่ตองทํา<br />

และเปนมาตรฐาน หรือเกณฑการตัดสินความถูกผิดที่เปนสากล<br />

สวนที่ 3 คุณธรรมเปนความดีสูงสุด เพราะเปนไปตามเจตจํานงที่ดีทางศีลธรรม<br />

ดังนั้นคนดีจะแสวงหาความดีเพื่อความดี ไมใชเพื่อแสวงหาความสุข เชนเดียวกันการทําหนาที่<br />

เพื่อหนาที่ ไมใชเพื่อชื่อเสียง อํานาจและความมั่งคั่ง<br />

สวนที่ 4 การกระทําที่ถูกตอง ตามทัศนะของคานท ตองกอใหเกิดผล 2 ประการ<br />

คือ ถูกตองตามหลักศีลธรรมที่มีเหตุผลและตองทําดวยความบริสุทธิ์ใจ<br />

สวนที่ 5 หนาที่ หมายถึง กิจกรรมที่ตองทําดวยความรูสึกสํานึกวาเรามีความ<br />

ผูกพัน หรือความรับผิดชอบตอสิ่งนั้น เชน หนาที่พอแม หนาที่ครู ฯลฯ มนุษยที่ดีที่สุดคือ ผูทํา<br />

หนาที่ดีที่สุด ถูกตองครบถวนที่สุด ถือวาไดทําหนาที่ของตนอยางสมบูรณแลว แตไมไดหมายถึง<br />

ผลลัพธของงานนั้น<br />

2.2 แนวคิดของสํานักประโยชนนิยม (Utilitarianism) เปนแนวคิดที่เชื่อวาประโยชน<br />

ของคนสวนใหญเปนความดีสูงสุด เรียกวา มหสุข(The Greatest Happiness Principle) คือ ความสุข<br />

มากที่สุดของคนจํานวนมากที่สุด (Greatest Happiness of the Greatest Number) และใชความสุข<br />

เปนการตัดสินความถูกผิด การใชหลักประโยชนนิยมจะทําการเปรียบเทียบระหวางคาใชจาย<br />

ตนทุนกับผลประโยชน หรือผลลัพธ นั่นคือ การวิเคราะห Cost-Benefit Analysis เพื่อเลือกสิ่งที่จะ<br />

เกิดประโยชนมากที่สุด โดยแยกแนวคิดประโยชนนิยมเปน 2 กลุมคือ<br />

1) กลุมทฤษฎีประโยชนนิยมเชิงการกระทํา (Act Utilitarianism) จะถูกตัดสิน<br />

การกระทําสิ่งนั้น โดยไมคํานึงถึงกฎวาเปนอยางไร แตจะพิจารณาที่ประโยชนสูงสุดที่คนจํานวน<br />

มากไดรับมากที่สุดเปนสิ่งที่ถูกตอง<br />

2) กลุมทฤษฎีประโยชนนิยมเชิงกฎ (Rule Utilitarianism) จะพิจารณาเลือกทํา<br />

ตามกฎเปนสิ่งที่ถูกตอง ถาประโยชนสูงสุดขัดกับกฎก็ไมเลือกที่จะกระทําสิ่งนั้น มิฉะนั้นก็จะ<br />

กลายเปนประโยชนเชิงการกระทํา<br />

ตัวอยางของการตัดสินใจตามแนวคิดของประโยชนนิยม จากนโยบายรถยนต<br />

คันแรกของรัฐบาล โดยจะคืนเงินภาษีเทากับที่จายจริง ในการซื้อรถยนตคันแรก แตจะคืนไดไมเกิน<br />

100,000 บาทและมีเงื่อนไขตาง ๆ ในการคืนภาษีรถยนตคันแรก คือ ผูซื้อตองอายุ 21 ปขึ้นไป ราคา<br />

รถยนตตองไมเกิน 1,000,000 บาท เครื่องยนตไมเกิน 1,500 ซีซี (สําหรับรถกระบะจะไมจํากัด ซีซี)<br />

เปนรถยนตที่ผลิตในประเทศไทยเทานั้น ตองครอบครองไมนอยกวา 5 ป เปนรถใหมปายแดง<br />

เทานั้น การคืนเงินภาษีรถคันแรก ภาครัฐจะคืนภาษีไดเมื่อครอบครองรถยนตไปแลวเปนเวลา 1 ป<br />

(สรุปนโยบายลดภาษีรถคันแรก. ออนไลน. 2554) จากนโยบายดังกลาวขางตนเปนที่ฮือฮาและเปน


35<br />

ความหวังของคนที่อยากไดรถยนตคันแรกและไดสิทธิประโยชนทางภาษี ซึ่งรัฐบาลกําหนดไวที่เปา<br />

500,000 คันและมองถึงความเติบโตของตลาดจะเพิ่มขึ้น 12 % นอกจากนี้รถใหมยอมจะลดมลภาวะ<br />

และกําลังซีซีนอยจะทําใหประหยัดพลังงาน<br />

ขณะที่ไดเกิดมีขอโตแยงขึ้น เชน บริษัทรถยนตตางประเทศบางรายแสดงความไมเห็น<br />

ดวย โดยกลาววา เปนการกีดกันการคาไมเปนไปตามความตกลงทั่วไป ที่เกี่ยวกับภาษีศุลกากรและ<br />

การคา (GATT) การคาบริการ (GATS) และความตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสินทางปญญาที่<br />

เกี่ยวกับการคา (TRIPS) ซึ่งจะสงผลใหเกิดการเจรจาระดับทูตการคาระหวางประเทศขึ้น<br />

ขณะเดียวกันการเปดเฉพาะรถขนาดเล็กทําใหผูใชไมไดรับเทคโนโลยีใหมที่ทันสมัย ซึ่งประหยัด<br />

น้ํามันและลดมลภาวะเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากกวา รวมถึงขอโตแยงภายในประเทศ เชน เปน<br />

การเพิ่มภาระหนี้ใหประชาชนในการกูเงินมาซื้อรถเพราะเห็นวาราคาถูก ในเมืองใหญการจราจร<br />

ติดขัดเพิ่มมากขึ้น กระทบตอตลาดรถมือสอง ตองใชเงินงบประมาณที่มาจากภาษีประชาชนเพื่อ<br />

โครงการนี้ที่ตั้งไว 30,000 ลานบาทเหมือนเปนการเพิ่มหนี้ใหกับประเทศ<br />

ดังนั้นถารัฐบาลมองวานโยบายนี้เปนที่ตองการของประชาชน ที่เฝารอจะไดเปนเจาของ<br />

รถยนตคันแรกปายแดงอยางมีความสุข ประโยชนการเติบโตของตลาดขยายตัวเปนการกระตุน<br />

เศรษฐกิจของประเทศ เมื่อพิจารณาเห็นประโยชนสูงสุดวาประชาชนนิยม ดังนั้นรัฐบาลก็ตัดสินใจ<br />

กระทําตามแนวคิดประโยชนนิยมเชิงการกระทํา เพราะเปนความสุขของคนในประเทศและ<br />

เศรษฐกิจจะดีขึ้น การกระทําของรัฐบาลก็จะถือวาถูกตอง แตถารัฐบาลมองวาประโยชนที่เกิดขึ้นจะ<br />

ตามมาดวยปญหาความขัดแยงทางการคาตามกฎการคาเสรี จนเกิดปญหาขาดความนาเชื่อถือตอการ<br />

ลงทุนของนักลงทุนและผลเสียอื่น ๆ ตามมา แมจะเห็นถึงประโยชนสูงสุด รัฐบาลก็ตองพิจารณา<br />

ตัดสินใจทําตามกฎขอตกลงทั่วไปฯ โดยใชแนวคิดประโยชนนิยมเชิงกฎ ถือวาเปนการกระทําที่<br />

ถูกตอง<br />

จริยธรรมตามแนวคิดตะวันออก<br />

การศึกษาปรัชญาแนวคิดจริยธรรมตะวันออก สําหรับประเทศที่มีอารยธรรมมายาวนาน<br />

คือ มีความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรม ความซับซอนของระบบสังคม ที่กอใหเกิดความสงบสุข<br />

จะตองตั้งอยูบนรากฐานแหงศีลธรรมและกฎหมาย โดยจะกลาวถึงประเทศจีนและประเทศอินเดีย<br />

ซึ่งมีวัฒนธรรมที่ปลูกฝงความเชื่อ ความคิดและปญญาของผูคนมากมาย ปรัชญาของจีนจะเนนที่<br />

ความคิด มโนธรรม สูการปฏิบัติในชีวิตประจําวันและสังคม สวนปรัชญาของอินเดียจะเนนเรื่อง<br />

ความศรัทธา ความเชื่อที่เชื่อมกับศาสนาสูการปฏิบัติตามหลักศีลธรรมและจริยธรรม


36<br />

จริยธรรมตามปรัชญาตะวันออก (จริยศาสตรของขงจื๊อและจริยศาสตรของมหาตม<br />

คานธี. ออนไลน. 2554) ซึ่งในบทนี้จะไดศึกษา 2 ประเทศมหาอํานาจในเอเชีย เชน ประเทศจีน<br />

และอินเดีย แนวคิดจริยธรรมมีความเกี่ยวของกับการปกครองและจริยธรรมของนักการเมือง มี<br />

แนวคิดที่สําคัญหลายแนวคิด แตจะกลาวถึงเฉพาะแนวคิดปรัชญาขงจื้อและแนวคิดจริยธรรมของ<br />

มหาตมคานธี ดังนี้<br />

1. จริยธรรมตามปรัชญาขงจื้อ<br />

ปรัชญาขงจื้อเปนหลักคําสอนที่เกิดขึ้นในชวงเวลาของความแตกแยกภายในของชนเผา<br />

ตาง ๆ ในประเทศจีน เกิดการสูรบระหวางแควนและความเสื่อมถอยทางศีลธรรมของจีนในยุคนั้น<br />

ปราชญขงจื้อไดตอบปญหาถึงสาเหตุ เปนเพราะคนไมประพฤติปฏิบัติตนที่เหมาะสม ตามหลักการ<br />

ที่เรียกวา “ลี” หมายถึง ความสูงสุดในการจัดระเบียบและวางกฎเกณฑเกี่ยวกับความสัมพันธ<br />

ระหวางมนุษย ไดแก 1) ความสัมพันธระหวางผูปกครองกับประชาชน 2) บิดากับบุตร 3) สามีกับ<br />

ภรรยา 4) เพื่อนกับเพื่อน 5) ผูใหญกับผูนอย ดังจะเห็นการปฏิบัติตอความสัมพันธอยางถูกตองจะ<br />

เปนรากฐานแหงความเปนระเบียบในสังคม นอกจากนี้ยังตองยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบ<br />

ตอกันมา ซึ่งจะทําใหคนมีความสนิทสนมกลมเกลียว ชวยเหลือเกื้อกูลและแบงปนกัน จนสามารถ<br />

กลาวไดวา คนจะเปนคนที่สมบูรณไดตองยึดถือประเพณีและการศึกษา จึงจะทําใหเกิดความคิดที่<br />

ถูกตอง รูจักชีวิต รูจักโลก ตลอดจนการมีมิตรภาพและการใหความเคารพตอผูอาวุโส ซึ่งถือวาเปน<br />

สิ่งสําคัญในชีวิตอีกอยางหนึ่ง<br />

หลักจริยธรรม ที่ขงจื้อไดถายทอดและเปนสิ่งที่ตนเองยึดถือปฏิบัติในชีวิต 4 ประการ คือ<br />

1) ปฏิบัติตอบิดาดังที่ตองการใหบุตรปฏิบัติตอตน 2) รับใชเจานายอยางที่ตองการใหผูใตบังคับ<br />

บัญชาปฏิบัติตอตน 3) รับใชพี่ชายเหมือนที่ตองการใหนองชายปฏิบัติตอตน 4) ปฏิบัติตอเพื่อน<br />

ดังที่ตองการใหเพื่อนปฏิบัติตอตน จะเห็นวา ขงจื้อไดปฏิบัติตามหลักคําสอนของตนเองไวเปน<br />

เยี่ยงอยาง ซึ่งแสดงใหเห็นความสัมพันธที่ใหความเคารพ สุภาพนอบนอม ใหเกียรติกัน<br />

นอกจากนี้ยังไดกําหนดคุณลักษณะของคนดีที่โลกตองการจะตองเปนคนที่มีเกียรติ ซึ่ง<br />

คนที่ถือวาเปนผูมีเกียรติจะตองมีลักษณะดังนี้ คือ ไมยอมเปนเครื่องมือของใคร เปนผูที่เชื่อถือได<br />

ทุมเทพากเพียรในการศึกษาหาความรู ยึดมั่นในความดีจนชีวิตหาไม เปนคนกลาเสมอ ผูมีเกียรติ<br />

ยอมเยอหยิ่งแตไมอวดดี สิ่งที่นาอับอายของผูมีเกียรติคือทําไมไดอยางที่พูด เมื่อตองการอะไรจะ<br />

เอาจากตัวเองไมเบียดเบียนผูอื่น สิ่งสําคัญที่ขงจื้อพูดถึงการมีชีวิตวา ชีวิต คือ ความซื่อสัตย คนที่ไม<br />

ซื่อสัตยเหมือนคนที่ตายแลว ชีวิตที่ไมซื่อสัตยก็เหมือนไมมีชีวิต เกิดมาไมซื่อสัตยก็เหมือนไมได<br />

เกิด นอกจากนี้ไดสอนผูปกครองตองใหการศึกษาแกประชาชน ตองไมทุจริตคดโกงและแสดง


37<br />

คุณธรรมนักปกครองไว 4 ขอ คือ 1) มีความเที่ยงธรรมไมเอนเอียง 2) ไมทําการตัดสินอะไรเอาแต<br />

ใจตนเอง 3) เปนผูถือเหตุผลเปนสําคัญกวาทิฐิ 4) เปนผูเห็นแกประโยชนสวนรวม<br />

เมื่อพิจารณาเหตุการณความสับสน วุนวายของบานเมืองตาง ๆ ในสังคมไทยและสังคม<br />

โลกทุกวันนี้ จะเห็นวามีหลายสิ่งหลายอยางที่ไมแตกตางจากเหตุการณในสมัยขงจื้อ ที่ศีลธรรม<br />

เสื่อมถอย ความสัมพันธที่ขาดความเคารพ นอบนอมและการใหเกียรติกัน ไมเรียนรูและไมเขาใจ<br />

ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอันเปนรากเหงาในชาติของตน มีเหตุขัดของขัดเคืองใจก็<br />

สามารถที่จะถูกชักจูงใหเชื่อไดงาย ๆ ทั้งพฤติกรรมการดาทอ ใสรายปายสี สาดโคลน บิดเบือนและ<br />

ไมยอมรับฟงขอเท็จจริงใด ๆ จึงทําใหสังคมขาดระเบียบและความรูสึกที่ปลอดภัย<br />

2. จริยธรรมของมหาตม คานธี<br />

มหาตม คานธี ชื่อเต็มวา โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (Mohandas Karamchand Gandhi)<br />

เปนรัฐบุรุษเอกคนหนึ่งของโลก โดยมีศาสนาเปนเครื่องมือบริหารบานเมือง จนไดรับการขนาน<br />

นามและยกยองใหเปนมหาบุรุษ "บิดาแหงประชาชาติ" ของอินเดีย ตลอดชีวิตไดอุทิศตนเพื่อตอสู<br />

เพื่อปลดปลอยประชาชนชาวอินเดียใหพนจากการถูกกดขี่ขมเหง ตามวิถีทางแหงอหิงสา และหลัก<br />

สัตยาเคราะห<br />

ภาพที่ 5 มหาตมคานธีและการตอสูตามวิถีแหงอหิงสา<br />

ที่มา : http://www.oknation.net/blog/kwant/2010/10/02/entry-1<br />

แนวคิดแบบอหิงสา (Ahimsa) ของคานธี เกี่ยวของกับความคิดพื้นฐานของการรักษา<br />

สัจจะ หรือสัตยะ (Sataya) และสัตยาเคราะห(Satyagraha) ซึ่งจะอธิบายความหมายพอสังเขป ดังนี้<br />

2.1 สัตยะ หรือสัจจะ เปนคุณธรรมสูงสุด หมายถึง ความเจริญอันสูงสุดที่แสดงถึง<br />

เอกภาพของชีวิตทั้งมวล หัวใจของศีลธรรมคือ สัตยะ ที่แสดงออกดวยความรักและการรับใชสรรพ<br />

สัตว


38<br />

สําหรับ คานธี การถือสัจจะอยางเครงครัด เปนสิ่งสําคัญที่ไดรับอิทธิพลจากบิดา ซึ่ง<br />

เปน ผูถือความซื่อสัตยและรักความเปนธรรม มารดาก็เปนผูที่เครงครัดในศาสนา<br />

2.2 อหิงสา กอนจะเขาใจความหมายของอหิงสา ควรทําความเขาใจคําวา หิงสา<br />

หรือ หิงสกรรม คือ การทรมานและหลูเกียรติเพื่อนมนุษยดวยกัน รวมทั้งการเบียดเบียนทรมานสัตว<br />

เชน การใชวาจาหยาบคาย การมองคนในแงผิด ๆ ความโกรธ การเหยียดหยามและทารุณกรรม<br />

ตลอดจนการเมินเฉยตอความทุกขทรมานของเพื่อนมนุษยดวยกันรวมถึงสัตวดวย เหลานี้ลวนเปน<br />

การทําหิงสกรรมทั้งสิ้น แตในขณะเดียวกัน คานธี เห็นวาถามีลูกวัวปวยไดรับความทรมานมาก แม<br />

จะพยายามรักษาอยางดีแลวก็ไมหาย ก็ควรทําลายชีวิตลูกวัวนั้น เพื่อยุติความเจ็บปวดทรมาน เชนนี้<br />

ไมถือวาเปน หิงสกรรม<br />

อหิงสา หมายถึง การไมใชความรุนแรงไมเพียงแคการฆาสัตวตัดชีวิตอยางเดียว<br />

หากแตตองใครครวญในการปฏิบัติเฉพาะกรณี ๆ ไป คานธีกลาววา อหิงสา คือ หนทางที่จะไปสู<br />

พระเจา หรือสัจจะ ซึ่งถาโลกนี้ปราศจากอหิงสาแลว มนุษยชาติจะทําลายลางกันเอง เงื่อนไขของ<br />

อหิงสาจะตองการไมใชความรุนแรงคือ สรางความเปนธรรมใหชีวิตทุกชนิดและทุกระดับ ผูที่<br />

ยึดถือหลักของอหิงสาจะตองฝกฝนทางจิตวิญญาณ เชน ฝกใหรักคนที่เกลียดเรา ซึ่งเปนเรื่องยาก<br />

ที่สุดและจําเปนตองเรียนรูศิลปะการตาย เพราะผูที่ฝกอหิงสาจําเปนตองฝกฝนตนเองใหมีความ<br />

เสียสละอยางสูง เพื่อไมใหเกิดความกลัวที่จะสูญเสีย สิ่งที่พึงกลัวมีอยางเดียวคือ พระเจา<br />

คานธี มองวาอหิงสาเปนคุณธรรมและเปนพัฒนาการทางประวัติศาสตรของมนุษยที่มีอยู จึงทําให<br />

โลกมนุษยยังดํารงเผาพันธุมาได<br />

2.3 สัตยาเคราะห เปนภาษาสันสกฤต มี 2 คําแปล คือ ความจริงและการตามหา มี<br />

ความหมายวา พลังแหงสัจจะ ถือเปนอาวุธสันติสําหรับการตอสูที่ไมใชความรุนแรง โดยผูตอสู<br />

ตองถือหลักของสัจจะและอหิงสา ตลอดจนตอสูดวยความบริสุทธิ์ใจและความถูกตอง คานธี เรียก<br />

วิธีการของสัตยาเคราะหอีกอยางหนึ่งวา "การดื้อแพง" การตอสูกับฝายปรปกษ ผูตอสูจะตองมี<br />

ความอดทนและเห็นใจฝายตรงขาม ความอดทนคือ การยอมรับทุกขดวยตนเอง ไมใชการทําให<br />

ผูอื่นไดรับทุกข<br />

หัวใจของสัตยาเคราะห คือ การอุทิศชีวิตใหกับสิ่งที่ตนเชื่อวาถูกตอง ความสําเร็จของ<br />

สัตยาเคราะหจะมีไดดวยเงื่อนไข 4 ประการ คือ<br />

1) ผูปฏิบัติสัตยาเคราะหจะตองไมเกลียดชังฝายตรงขาม<br />

2) ประเด็นในการตอสูจะตองเปนเรื่องที่มีเนื้อหาจริงจัง เปนเรื่องถูกตองทํานอง<br />

คลองธรรม


39<br />

3) ผูปฏิบัติสัตยาเคราะหตองพรอมที่จะยอมทนทุกขทรมานจนถึงที่สุด<br />

4) การสวดภาวนาเปนปจจัยที่สูงสงสําหรับสัตยาเคราะห เพราะศรัทธาใน<br />

พระเจาเปนสิ่งจําเปน<br />

แมวาการปฏิบัติสัตยาเคราะหไมใชเรื่องที่กระทําไดงาย แต คานธี ไดอุทิศชีวิต<br />

ปฏิบัติดวยตนเองในการตอสูเพื่อความยุติธรรมของสังคมในระดับตาง ๆ ที่พบวา มีการกดขี่ขมเหง<br />

ทางวรรณะ<br />

นอกจากนี้ คานธี ยังไดแสดงถึงทัศนะของการกระทําบาป 7 ประการ ซึ่ง กรุณา-เรืองอุไร<br />

กุศลาสัย. (2553 : 751) ไดถอดบทความเกี่ยวกับบาป 7 ประการในทัศนะคานธี ไวดังนี้<br />

1. เลนการเมืองโดยไมมีหลักการ (Politics without pinciples)<br />

2. หาความสุขสําราญโดยไมยั้งคิด (Pleasure without conscience)<br />

3. ร่ํารวยเปนอกนิษฐโดยไมตองทํางาน (Wealth without work)<br />

4. มีความรูมหาศาลแตความประพฤติไมดี (Knowledge without character)<br />

5. คาขายโดยไมมีหลักศีลหลักธรรม (Commerce without morality)<br />

6. วิทยาศาสตรเลิศล้ําแตไมมีธรรมแหงมนุษย (Science without humanity)<br />

7. บูชาสูงสุดแตไมมีความเสียสละ (Worship without sacrifice)<br />

จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา<br />

จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนาแบงได 3 ระดับ คือ ระดับตน ระดับกลางและระดับสูง<br />

(จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา. ออนไลน. 2554) ดังนี้<br />

1. ระดับตน ไดแก เบญจศีล เบญจธรรม<br />

1.1 เบญจศีล แปลวา ศีล 5 ขอ เบญจธรรม แปลวา ธรรม 5 ประการ หรือเรียกอีก<br />

อยางหนึ่งวา กัลยาณธรรม หมายถึง ธรรมเปนเครื่องบํารุงจิตใหงดงาม ในทางปฏิบัติจะใชศีลและ<br />

ธรรมควบคูกัน คือ<br />

1) เวนจากการฆาสัตว - มีเมตตากรุณา ตอมนุษยและสัตว<br />

2) เวนจากการลักทรัพย - มีสัมมาอาชีวะ หรือประกอบอาชีพที่สุจริต<br />

3) เวนจากการประพฤติผิดในกาม - สํารวมในกาม มีความยินดีในคูครองตน<br />

4) เวนจากการพูดเท็จ – มีสัจจะ รักษาคําพูด<br />

5) เวนจากการดื่มสุราและของเมาทุกชนิด - มีสติสัมปชัญญะ ไมขาดสติ<br />

ประมาทมัวเมา


40<br />

1.2 หลักการพิจารณา ศีล 5<br />

ขอ 1 ปาณาติปาตา เวระมะณี มีหลักการพิจารณาเขาเกณฑการฆา คือ สัตวมีชีวิต รู<br />

วาสัตวนั้นมีชีวิต มีจิตคิดจะฆา พยายามเพื่อจะฆา สัตวตายดวยความเพียรนั้น<br />

ขอ 2 อทินนาทานา เวระมะณี มีหลักการพิจารณา คือ ของนั้นมีเจาของหวงแหน<br />

รูอยูวาของนั้นมีเจาของหวงแหน มีจิตคิดจะลักขโมย พยายามเพื่อจะลักขโมย ลักขโมยของไดมา<br />

ดวยความเพียรนั้น<br />

ขอ 3 กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี มีหลักการพิจารณา คือ วัตถุที่ไมควรถึงไมควร<br />

เสพ จิตคิดจะเสพในอคมนียวัตถุนั้น เพียรเพื่อจะเสพ ยังมัคใหถึงพรอมดวยมัค(คือองคกําเนิดเขา<br />

ในชองสังวาส)<br />

ขอ 4 มุสาวาทา เวระมะณี มีหลักการพิจารณา คือ เรื่องไมจริง จิตคิดจะกลาวใหผิด<br />

จากความจริง พยายามกลาวใหผิดตามจิตคิดนั้น ผูอื่นฟงรูความที่กลาวนั้น<br />

ขอ 5 สุราเมรยมชฺชปมาทฏฐานา เวระมะณี มีหลักการพิจารณา คือ น้ํานั้นเปนน้ําเมา<br />

จิตคิดที่จะดื่มน้ําเมานั้น พยายามที่จะดื่มตามจิตนั้น ดื่มใหลวงลําคอลงไป<br />

2. ระดับกลาง ไดแก กุศลกรรมบถ 10 เปนทางแหงความดีเมื่อไดปฏิบัติแลว<br />

กายกรรม 3 (ศีล 5 ขอ1-3) วจีกรรม 4 (ศีล 5 ขอ 4) มโนกรรม 3<br />

1. เวนจากการฆาสัตว 4. เวนจากการพูดเท็จ 8. ไมอยากไดของคนอื่น<br />

2. เวนจากการลักทรัพย 5. เวนจากการพูดคําหยาบ 9. ไมอาฆาตพยาบาทคนอื่น<br />

3. เวนจากการประพฤติผิดใน<br />

กาม<br />

6. เวนจากการพูดสอเสียด 10. เห็นชอบตามทํานองคลอง<br />

ธรรม<br />

7. เวนจากการพูดเพอเจอ<br />

เหลวไหล<br />

3. ระดับสูง ไดแก มรรค 8 เปนจริยธรรมชั้นสูง เพื่อปฏิบัติใหถึงความดับทุกข เรียกวา<br />

อริยมรรค หรือมรรคมีองค 8 ไดแก<br />

3.1 สัมมาทิฏฐิ หมายถึง ปญญาอันเห็นชอบ ไดแก ปญญาอันเห็นชอบในอริยสัจ 4<br />

คือ รูวาชีวิตนี้มีแตความทุกข รูวาความทุกขนั้นเกิดจากเหตุคือ ตัณหา รูวาทุกขนั้นสามารถดับได<br />

ดวยวิธีที่ถูกตองและรูจักวิธีปฏิบัติเพื่อใหพนทุกข<br />

3.2 สัมมาสังกัปปะ หมายถึง ความดําริชอบ หรือถูกตอง ไดแก ดําริในการออกจาก<br />

กาม ดําริในการไมพยาบาทปองรายผูอื่น ดําริในการไมเบียดเบียนผูอื่น


41<br />

3.3 สัมมาวาจา หมายถึง เจรจาชอบ ไดแก เวนจากการพูดเท็จ เวนจากการพูด<br />

สอเสียด เวนจากการพูดคําหยาบ เวนจากการพูดเพอเจอ เหลวไหล<br />

3.4 สัมมากัมมันตะ หมายถึง ประพฤติในสิ่งที่ถูกตอง หรือประพฤติสุจริตทางกาย<br />

ไดแก เวนจากการฆาสัตว เวนจากการลักทรัพย เวนจากการประพฤติผิดในกาม<br />

3.5 สัมมาอาชีวะ หมายถึง เลี้ยงชีพชอบ ประกอบอาชีพสุจริต ละมิจฉาชีพทั้งปวง<br />

3.6 สัมมาวายามะ หมายถึง เพียรชอบ หรือเพียรพยายามในสิ่งที่ถูกตอง ไดแก<br />

สังวรปธาน เพียรระวังไมใหความชั่วเกิดขึ้น ปหานปธาน เพียรละความชั่วที่เกิดขึ้นแลว<br />

ภาวนาปธาน เพียรทําความดีใหเกิดขึ้น อนุรักขนาปธาน เพียรรักษาความดีที่เกิดขึ้นแลวไมให<br />

เสื่อม<br />

3.7 สัมมาสติ หมายถึง ระลึกชอบ หรือระลึกในสิ่งที่ถูกตอง กลาวคือ มีสติ<br />

พิจารณากายและอิริยาบถของกาย (กาย) มีสติรูวา สบาย ไมสบาย หรือเฉยๆ (เวทนา) มีสติรูอยูวา<br />

จิตกําลังเศราหมอง หรือผองใส มีกิเลส หรือไมมีกิเลส (จิต) มีสติรูวา มีอารมณอะไรผานเขามาใน<br />

ใจจิต (ธรรม)<br />

3.8 สัมมาสมาธิ หมายถึง สมาธิชอบ มีสมาธิตั้งมั่น มีจิตมั่นคง ไมฟุงซาน<br />

คุณคาทางจริยธรรมของหลักกรรม (พระพรหมคุณาภรณ ป.อ.ปยุตโต. 2552 : 213-214)<br />

1. ใหเปนผูหนักแนนในเหตุผล และมองเห็นการกระทําและผลการกระทําตามแนวของ<br />

เหตุปจจัย ไมเชื่องมงาย ตื่นขาว<br />

2. ใหเห็นวา ผลสําเร็จที่ตนตองการ จุดหมายที่ปรารถนา จะเขาถึงหรือสําเร็จไดดวยการ<br />

ลงมือทํา จึงตองพึ่งตนเอง และทําความเพียรพยายาม ไมมัวคอยโชคชะตา ไมหวังผลบันดาลหรือ<br />

รอผลของการเซนสรวงออนวอน<br />

3. ใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง ที่จะงดเวนจากกรรมชั่วและรับผิดชอบตอผูอื่น ดวย<br />

การชวยเหลือเกื้อกูลทําความดีตอเขา<br />

4. ใหถือวาบุคคลมีสิทธิและหนาที่โดยธรรมชาติ ที่จะกระทําการตาง ๆ เพื่อแกไข<br />

ปรับปรุงสรางเสริมตนเองใหดีขึ้นไปโดยเทาเทียมกัน สามารถทําตนใหเลวลงหรือดีขึ้น ให<br />

ประเสริฐจนถึงยิ่งกวาเทวดาและพรหมไดทุก ๆ คน<br />

5. ใหถือวาคุณธรรม ความสามารถ ความดีความชั่วที่ทํา ความประพฤติปฏิบัติ เปน<br />

เครื่องมือวัดความทราม หรือความประเสริฐของมนุษย ไมใหมีการแบงแยกโดยชาติชั้นวรรณะ


42<br />

6. ในแงกรรมเกา ใหถือเปนบทเรียนและใหรูจักพิจารณาเขาใจตนเองตามเหตุผล ไม<br />

คอยเพงโทษแตผูอื่น มองเห็นพื้นฐานทุนเดิมของตนที่มีในปจจุบัน เพื่อรูจักที่จะแกไขปรับปรุงและ<br />

วางแผนสรางเสริมความเจริญกาวหนาตอไปใหถูกตอง<br />

7. ใหความหวังในอนาคตสําหรับสามัญชนทั่วไป<br />

อริยสัจ 4 ประกอบดวย<br />

1. ทุกข ไดแก ขันธ 5 เปนตัวทุกข กิจในทุกข-ปริญญา คือ การกําหนดรู หมายถึง<br />

การทําความเขาใจทุกข เขาใจปญหา และกําหนดรูขอบเขตของปญหาในทุกขนั้น<br />

2. สมุทัย (เหตุเกิดแหงทุกข) ไดแก ตัณหา คือ ความอยาก ความเพลิดเพลินและความติด<br />

ใจ คอยใฝหาความยินดีใหม ๆ เรื่อยไป กิจในสมุทัย-ปหานะ คือ การละ หมายถึง การกําจัดแกไข<br />

ตนตอ หรือสาเหตุของทุกข หรือปญหา<br />

3. นิโรธ (ความดับทุกข) ไดแก การดับตัณหา สละเสีย สลัดออก ไมพัวพัน กิจใน<br />

นิโรธ- สัจฉิกิริยา คือ การทําใหแจง หมายถึง การเขาถึงภาวะที่ปราศจากทุกข หมดปญหา หรือ<br />

บรรลุจุดหมาย<br />

4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา หรือมรรค เปนปฏิปทาที่นําไปสู ความดับแหงทุกข ไดแก<br />

ทางประเสริฐมีองคประกอบ 8 คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ<br />

สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ กิจในมรรค-ภาวนา คือ การเจริญ หมายถึง<br />

การฝกอบรม ดําเนินการลงมือปฏิบัติตามวิธีการที่จะนําไปสูจุดหมาย<br />

จริยธรรมตามแนวคริสตศาสนา<br />

ศาสนาคริสต เปนศาสนาที่เนนการมอบความรักที่บริสุทธิ์ใหแกกัน โดยมีหลักการที่ถือ<br />

วา มนุษยทุกคนเปนบุตรของพระเจา นับถือพระเจาองคเดียว(Monotheism) คือ พระยะโฮวา หรือ<br />

พระยาเวห ในพระเจาองคเดียว แบงออกเปน 3 ภาค เรียกวา หลักตรีเอกานุภาพ (ศาสนาคริสต.<br />

ออนไลน. 2554) ดังนี้<br />

1. หลักตรีเอกานุภาพ คือ พระเจาองคเดียวแบงเปน 3 ภาค ไดแก<br />

1.1 พระบิดา คือ พระยะโฮวา เปนพระเจาสรางโลก สรางทุกสิ่งและทรงเปน<br />

นิรันดร<br />

1.2 พระบุตร คือ พระเยซู เกิดมาเปนมนุษย เพื่อชวยใหมนุษยไดรับฟงคําสั่งสอน<br />

ของพระเจา อยางใกลชิด<br />

1.3 พระจิต คือ วิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ของพระเจาที่ปรากฏ เพื่อเกื้อหนุนใหมนุษย<br />

ประกอบกรรมดี


43<br />

2. หลักความรัก เปนบทบัญญัติสําคัญของศาสนาคริสต ดังที่พระเยซู ตรัสวา<br />

"จงรักพระเจาอยางสุดใจ สุดความคิดและสุดกําลัง จงรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง" ความรักนี้<br />

ไมใชความรักของหนุมสาว แตเปนความรักตอเพื่อนมนุษย ศาสนาคริสตถือวา ทุกคนเปนบุตรของ<br />

พระเจา จึงควรรักกันเหมือนพี่นองและแบงความรักเปน 2 ประเภท ไดแก ความรักระหวางมนุษย<br />

กับพระเจาและความรักระหวางมนุษยกับมนุษย ตามพระคริสตธรรมเกาบันทึกไววา<br />

จงอยาเกลียดชังพี่นองของเจาอยูในใจ แตเจาจงตักเตือนเพื่อนบานของเจา เพื่อจะไมตอง<br />

รับโทษเพราะเขา เจาอยาแคน หรือผูกพยาบาทลูกหลานญาติพี่นองของเจา แตจงรักเพื่อนบาน<br />

เหมือนรักตนเอง<br />

เพื่อนบาน หมายถึง มนุษยทั่วไป ใหเผื่อแผความรักไปรอบดาน ไมเลือกที่รักมักที่ชัง เปน<br />

หลักคําสอนความรักระหวางมนุษยกับมนุษย แสดงออกดวยความเมตตากรุณาและความเสียสละ<br />

สวนความรักที่มนุษยมีตอพระเจาแสดงออกโดยความศรัทธา สรุปได 5 ประการ คือ<br />

2.1 ศรัทธาวา พระเจาคือ พระเยโฮวาหเปนพระเจาสูงสุดเพียงองคเดียว<br />

2.2 ศรัทธาวา พระเจาทรงรักมนุษยอยางเทาเทียมกัน<br />

2.3 ศรัทธาวา พระเยซูเปนพระบุตรของพระเจา<br />

2.4 ศรัทธาวา พระเยซูเปนพระผูชวยใหรอด<br />

2.5 ศรัทธาในแผนดินสวรรค หรืออาณาจักรของพระเจาที่กําลังจะมาถึง<br />

หลักความรักและหลักอาณาจักรของพระเจามีความสัมพันธกัน กลาวคือ มนุษยจะ<br />

สามารถเขาถึงอาณาจักรของพระเจาได โดยอาศัยความรักเปนคุณธรรมนําทางและอาณาจักรของ<br />

พระเจาก็เปนอาณาจักรที่บริบูรณดวยรัก ดังนี้<br />

3. อาณาจักรพระเจา หมายถึง หลักการดําเนินชีวิตที่ซึมซาบเขาถึงจิตใจและชวยยกระดับ<br />

จิตของผูศรัทธาที่ยอมรับคําสอนและปฏิบัติตามใหสูงขึ้น ผูปฏิบัติตามคําสอนเหลานี้จะเปนผูเผยแผ<br />

คําสอนใหกวางขวางยิ่งขึ้นในหมูชนที่ใกลชิด<br />

คําสอนเกี่ยวกับอาณาจักรพระเจา มี 2 ความหมาย ไดแก อาณาจักรพระเจาในโลกนี้และ<br />

อาณาจักรพระเจาในโลกหนา ซึ่งอธิบายไววา อาณาจักรพระเจาในโลกนี้ คือ แผนดินพระเจาที่<br />

มนุษยเขาถึงไดในชีวิตนี้แตยังไมสมบูรณ การจะเขาถึงอาณาจักรพระเจาอยางสมบูรณไดจะตอง<br />

เขาถึงในชีวิตหนา คือ หลังจากตายแลวเทานั้น ดังนั้นการมีชีวิตในปจจุบันจึงเปนโอกาสของมนุษย<br />

ที่เลือกตัดสินใจทําดี หรือทําชั่วตามหลักแหงความดี จนถึงวันสุดทายของชีวิตก็จะไดรับคําพิพากษา<br />

และถูกแยกไปตามกรรมดีชั่วของตน ในการเขาถึงอาณาจักรพระเจา


44<br />

4. จริยธรรมตามแนวคําสอน (สมคิด บางโม. 2549 : 26) ในคริสตศาสนา<br />

4.1 จงศรัทธาและเชื่อในพระเจา<br />

4.2 จงรักพระเจา รักครอบครัว รักเพื่อนบานและรักเพื่อนมนุษย แลวจะไดรับความ<br />

รักจากโลกเปนสิ่งตอบแทน<br />

4.3 ทานทั้งหลายปรารถนาจะใหเขาทําแกทานอยางไร ทานทั้งหลายจงกระทําอยาง<br />

นั้นแกเขาเหมือนกัน<br />

4.4 จงรักศัตรูและอวยพรแกผูที่แชงดาทาน<br />

4.5 จงทําคุณแกผูที่เกลียดชังทานและจงอวยพรใหแกผูที่ประทุษรายเคี่ยวเข็ญทาน<br />

4.6 อยากลาวโทษเขา เพื่อเขาจะไมกลาวโทษทาน เพราะวาทานทั้งหลายจะ<br />

กลาวโทษ<br />

จริยธรรมตามแนวศาสนาอิสลาม<br />

ศาสนาอิสลาม (2554. ออนไลน) เปนศาสนาสําคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีคนนับถือมาก<br />

เปนอันดับสองในโลก คือ เปนประเทศมุสลิมกวา 67 ประเทศจากกวา 200 ประเทศในโลก สําหรับ<br />

ประเทศไทยศาสนาอิสลามเขามาตั้งแตสมัยสุโขทัย ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ มุฮัมหมัด ใน<br />

ฐานะเปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ<br />

ศาสนาอิสลามในความหมายของ อัล-กุรอาน หมายถึง "แนวทางในการดําเนินชีวิต ที่<br />

มนุษยจะปราศจากมันไมได" ศาสนาเปนสิ่งที่ถูกประทานมาจากพระเจา สวนกฎของสังคมถูก<br />

กําหนดจากความคิดของมนุษย ดังนั้นผูศรัทธาในพระเจาอยางแทจริงคือ ผูที่เชื่อฟงปฏิบัติตาม<br />

คําบัญชาดวยความเคารพตออัลลอฮฺ<br />

1. หลักคําสอนของศาสนาอิสลามแบงไว 3 หมวด ดังนี้<br />

1.1 หลักการศรัทธา มีความเชื่อวา พระเจาเปนพระผูสรางทุกสรรพสิ่งทั้งจักรวาล<br />

ซึ่งไมไดอุบัติขึ้นไดดวยตัวเองและประทานคําสอน กฎการปฏิบัติผานศาสดาใหมาสั่งสอน แนะนํา<br />

มนุษยสําหรับการดําเนินชีวิต สําหรับโลกมนุษยเปนเพียงโลกแหงการทดสอบการกระทําดีและชั่ว<br />

และอีกสถานที่หนึ่งเปนสถานที่ตรวจสอบการกระทํา เพื่อรับผลตอบแทนจากการทําความดีและถูก<br />

ลงโทษไปตามผลกรรมชั่วของผูกระทํานั้น ๆ<br />

หลักศรัทธา 6 ประการ (หลักศรัทธาของมุสลิม. ออนไลน. 2554) ไดแก<br />

1) ศรัทธาตออัลลอฮฺ<br />

2) ศรัทธาตอบรรดา มลาอิกะฮฺของพระองค มลาอิกะฮฺ(เทวทูต) คือ บริวาร หรือ<br />

บาวผูรับใชอัลลอฮฺ


45<br />

3) ศรัทธาตอบรรดาคัมภีรของพระองค<br />

4) ศรัทธาตอบรรดารอซูลของพระองค รอซูล คือ ศาสนทูตของอัลลอฮฺ<br />

ซึ่งมีคุณสมบัติสําคัญ 4 ประการ คือ เปนผูมีสัจจะ ซื่อสัตยสุจริต เปนผูนําศาสนาออกเผยแพรแก<br />

ประชาชาติและเปนผูมีความเฉลียวฉลาด รอบคอบในการที่จะโตแยง หรืออื่น ๆ<br />

5) ศรัทธาตอวันสุดทาย หมายถึง การเชื่อถึงการฟนคืนชีพในโลกหนา<br />

เหตุการณ หรือสัญญาณในวันกิยามะห ที่ชี้ถึงการศรัทธาตอสิ่งที่เรนลับที่สติปญญามิอาจจะเขาถึง<br />

ไดและไมสามารถจะลวงรูได นอกจากไดรับการบอกกลาวจาก อัลลอฮฺ<br />

6) ศรัทธาตอสภาวการณที่ดีและเลวราย ทั้งหมดมาจาก อัลลอฮฺ ทั้งสิ้น<br />

1.2 หลักการปฏิบัติ ศาสนาสอนวา กิจการงานที่จะทําตองมีความเหมาะสมกับ<br />

ตนเองและสังคม ขณะเดียวกันตองเวนหางจากการงานที่ไมดี ที่สรางความเสื่อมเสียอยางสิ้นเชิง<br />

การประกอบคุณงามความดีอื่น ๆ เชน การถือศีลอด การนมาซและสิ่งที่คลายคลึงกับสิ่งเหลานี้ เปน<br />

การแสดงใหเห็นถึงศรัทธาที่เขมแข็งตอพระเจา ดั่งบาวที่จงรักภักดีและปฏิบัติตามบัญชาของ<br />

พระองค กฎเกณฑและคําสอนของศาสนา ทําหนาที่คอยควบคุมความประพฤติของมนุษย ทั้งที่เปน<br />

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติและจริยธรรม<br />

หลักปฏิบัติ 5 ประการ เมื่อมีศรัทธาตอพระเจาแลว ตองนําไปสูการปฏิบัติใหเกิดผล<br />

(บรรจง บินกาซันและวิทยา วิเศษรัตน. 2554. ออนไลน) โดยมีหลักปฏิบัติดังนี้<br />

1) การกลาวปฏิญาณตน สําหรับผูที่ยอมรับอิสลามทุกคนตองกลาว เพื่อเปน<br />

การยืนยันดวยวาจาวา ตนเองมีศรัทธาและพรอมจะปฏิบัติตามบทบัญญัติและเงื่อนไขตาง ๆ ที่<br />

อัลลอฮฺ ไดทรงกําหนดไวในคัมภีรอัลกุรอานและคําสอนของศาสดา นบีมุหัมมัด<br />

2) การนมาซ หรือละหมาด เปนการแสดงความเคารพสักการะและแสดงความ<br />

ขอบคุณตออัลลอฮฺในแตละวัน ๆ ละ 5 เวลา คือ รุงอรุณ ตอนบาย ตอนตะวันคลอย หลังดวง<br />

อาทิตยตกดินและในยามค่ําคืน โดยถือเปนหนาที่ของมุสลิมทุกคนที่บรรลุศาสนภาวะ คือ ผูชายเริ่ม<br />

มีความรูสึกทางเพศและผูหญิงเริ่มมีประจําเดือน ผูละหมาดไดครบ 5 เวลาตอวัน จะตองเปนคนที่มี<br />

ความผูกพันตออัลลอฮฺและรําลึกถึงพระคุณของพระองคอยูตลอดเวลา ยอมจะไมเปนผูประพฤติชั่ว<br />

เพราะอยูในสายตาของพระองคตลอดเวลา<br />

3) การถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน เปนการงดเวนการกิน ดื่ม มีเพศสัมพันธ<br />

ตลอดจนการอดกลั้นอารมณใฝต่ําทั้งหลาย ตั้งแตดวงอาทิตยขึ้น จนถึงดวงอาทิตยตกดิน เปนเวลา<br />

29-30 วันของเดือนเกาตามปฏิทินอิสลาม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อฝกมุสลิมใหเกิดความยําเกรงตอ<br />

พระเจาและฝกใหมีความซื่อสัตยตอตนเอง ยังแสดงถึงความเสมอภาคระหวางคนรวยและคนจน<br />

การถือศีลอดเปนเพียงการย้ําเตือนจิตสํานึกของผูถือศีลอดใหระลึกถึงพระเจาและลดความตองการ


46<br />

ทางอารมณใหต่ําลง ถายังคลอยตามอารมณใฝต่ําทําความชั่วอยู สิ่งที่ไดรับจากการถือศีลอดก็คือ<br />

ความหิวกระหายธรรมดาตลอดทั้งวัน ซึ่งไมมีผลตอการฝกฝน หรือการขัดเกลาทางดานจิตวิญญาณ<br />

แตประการใด ขอยกเวนในการถือศีลอดสําหรับคนชราที่รางกายออนแอ ผูปวย ที่แพทยวินิจฉัย<br />

แลว กรรมกรที่ทํางานหนักในเหมืองแร หญิงมีครรภแก เหลานี้จะไดรับการยกเวนมิตองชดใช แต<br />

มีเงื่อนไขวาผูที่ไดรับการยกเวนจะตองบริจาคอาหารที่ตัวเองกินเปนประจําหนึ่งมื้อใหแกคนยากจน<br />

เปนการทดแทนในวันที่มิไดถือศีลอดในระหวางเดือนถือศีลอดนั้น นอกจากนี้สามารถกลืนน้ําลาย<br />

ได ถาน้ําลายสะอาดและไมมีเศษอาหารติดอยู<br />

4) การจายซะกาด คือ การจายทรัพยสินในอัตราที่ศาสนากําหนดไวจาก<br />

ทรัพยสินที่สะสมไว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยืนยันถึงความศรัทธา เปนการฟอกทรัพยสินและจิตใจ<br />

ของผูจายใหสะอาดบริสุทธิ์ อีกทั้งยังเปนการชวยเหลือแบงปนแกสังคม สําหรับผูรับซะกาด 8<br />

จําพวก ไดแก คนยากจน คนที่อัตคัดขัดสน คนที่มีหัวใจโนมมาสูอิสลาม ไถทาส ผูมีหนี้สินลน<br />

พนตัว คนพลัดถิ่นหลงทาง ใชในหนทางของอัลลอฮฺ ผูบริหารการจัดเก็บและจายซากาต<br />

5) การทําฮัจย คือ การเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจ ที่นครมักกะฮฺ ในเดือน<br />

ซุลฮิจญะฮฺ เปนเดือนสุดทายตามปฏิทินอิสลามและสถานที่ที่ถูกกําหนดไว การทําฮัจย ถือเปน<br />

หนาที่ของชายและหญิงทุกคนที่มีความสามารถดานรางกาย ทรัพยสินและเสนทางการเดินทางที่มี<br />

ความปลอดภัย<br />

1.3 หลักจริยธรรม ศาสนาอิสลามสอนวา การดําเนินชีวิตจงเลือกสรรเฉพาะสิ่งที่ดี<br />

อันเปนที่ยอมรับของสังคม จงทําตนเปนผูดํารงอยูในศีลธรรม พัฒนาตนเองไปสูการมีบุคลิกภาพที่<br />

ดี เปนคนรูจักหนาที่ มีความหวงใย มีเมตตา มีความรัก ซื่อสัตยตอผูอื่น รูจักปกปองสิทธิของตน ไม<br />

ละเมิดสิทธิของผูอื่น เปนผูมีความเสียสละไมเห็นแกตัวและหมั่นใฝหาความรู ทั้งหมดที่กลาวมา<br />

เปนคุณสมบัติของผูมีจริยธรรม ซึ่งความสมบูรณทั้งหมดอยูที่ความยุติธรรม<br />

จากแนวคิดจริยธรรมตามหลักศาสนาอิสลามที่กลาวมาทั้งหมดขางตน หลักอิสลามใช<br />

ความศรัทธาตอพระเจาเปนตัวขับเคลื่อนการประพฤติปฏิบัติไปตามหลักคําสอน ซึ่งยังมีรายละเอียด<br />

อีกมากมายสําหรับศาสนิกที่จะตองศึกษาทําความเขาใจศาสนาของตนเองอยางถองแท เพื่อนําไปสู<br />

การประพฤติปฏิบัติที่ถูกตอง แมวาแตละความเชื่อของมนุษยจะมีความแตกตางกันก็ไมควรที่จะ<br />

เปนการนําไปสูการหักลางทําลาย แตควรเปนการพูดคุยทําความเขาใจดวยหลักเหตุผลของการอยู<br />

รวมกันอยางสันติ เชนเดียวกับขอโตแยงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับบทวิจารณอิสลามในมุมมองของอิสลาม<br />

ที่นาสนใจ ในการรับฟงเหตุผลดวยใจเปดกวางก็จะทําใหเขาใจถึงความเปนมาเปนไปในศาสนา<br />

ของศาสนิกอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น


47<br />

2. ขอโตแยงที่เกี่ยวกับบทวิจารณอิสลาม ในมุมมองของอิสลาม<br />

อิสลามกับการกอการราย พื้นที่ที่มีชาวมุสลิมสวนใหญจะมีปญหาขัดแยง มีสงคราม<br />

เกิดขึ้นบอยครั้ง เปนเพราะศาสนาสอนใหใชความรุนแรง จากการคลั่งศาสนาของบางกลุม แตหาก<br />

พิจารณาอยางถวนถี่แลว เบื้องหลังปญหาสวนใหญเกิดขึ้นจากการเมือง ซึ่งในศาสนาอิสลามไมได<br />

แยกศาสนาออกจากการเมือง หลายประเทศมีกฎหมายศาสนา ปจจัยเสริมที่ทําใหเกิดการกอการราย<br />

คือ การลาอาณานิคมในรูปแบบตาง ๆ ของตะวันตก การแยงชิงทรัพยากรโดยเฉพาะน้ํามัน การ<br />

ตองการแบงแยกดินแดนจากการกดขี่ เปนตน ก็มักเปนกลุมคนที่ตองการที่จะใหกฎหมายศาสนาใน<br />

การปกครอง ทั้งมุสลิมที่รับผลประโยชนตางตอบแทนเองและคูกรณี โดยอางวา มุสลิมกลุมนั้น<br />

กลุมนี้เปนผูกระทําและในสวนของมุสลิมบางกลุมก็ไดอางเหตุกอความรุนแรงวามาจากคําสอนของ<br />

อิสลาม<br />

ดานสิทธิมนุษยชน อิสลามถูกมองวาไมยุติธรรมในเรื่องสถานภาพของผูหญิง เชน การ<br />

จัดการมรดก การลงโทษผูหญิงที่ผิดประเวณีอยางรุนแรงดวยการเฆี่ยนตี ประหารชีวิต เปนตน แม<br />

อิสลามไมไดใหอํานาจผูหญิงมีการตัดสินใจในเรื่องตางๆไดเทาผูชายในบางเรื่องและการแบงแยก<br />

หญิงชายในแตละสถานที่อยางเปนสัดเปนสวน แตการลงโทษทัณฑในอิสลามไมไดแยกในเรื่อง<br />

เพศ หมายความวา ผูชายที่ผิดประเวณีก็จะตองถูกเฆี่ยนตีเชนกัน อิสลามสงเสริมใหผูชายทําหนาที่<br />

หลักในการหาเลี้ยงครอบครัว ผูหญิงทําหนาที่หลักในการเลี้ยงดูบุตรและดูแลบาน ในเรื่อง<br />

การศึกษาอิสลามไมไดหามไมใหผูหญิงศึกษา แตอิสลามกลับสงเสริมใหทุกคนศึกษาหาความรู<br />

ตั้งแตในเปลจนถึงหลุมฝงศพในทุกสาขาวิชาที่เปนประโยชน โดยเฉพาะความรูดานศาสนาที่จําเปน<br />

ที่จะตองศึกษาใหรูและเขาใจในทุกดาน การลงโทษประหารชีวิตพวกรักรวมเพศและผูที่ทําประเวณี<br />

นอกสมรสสําหรับผูที่ผานการแตงงานมาแลวนั้น อิสลามถือเปนการกระทําที่ชั่วชาอยางยิ่ง เพราะ<br />

อิสลามเปนศาสนาที่ใหมนุษยดํารงไวซึ่งความเปนมนุษย อิสลามจึงมีมาตรการที่เห็นผลในการหยุด<br />

พฤติกรรมที่สรางความเสื่อมเสียแกมนุษยในวงกวาง พฤติกรรมที่สรางคานิยมเลียนแบบไดงาย และ<br />

การสําสอน ทั้งที่อิสลามเปดกวางเรื่องการแตงงานหลายคนอยางมีเงื่อนไขแตตองไมเกิน 4 คน และ<br />

ตองสามารถใหความยุติธรรม ความเทาเทียมกันได ซึ่งหาไดยากยิ่งที่จะมีระบอบที่ยกระดับผูหญิง<br />

ใหมีสถานะสูงขึ้นมาไดเปนการแกปญหาการกดขี่ทางเพศ เปนคานิยมที่สอดรับกับขอเท็จจริงทาง<br />

เพศและความเปนจริงในปจจุบันที่สัดสวนทางเพศประชากรเปลี่ยนแปลงไป


48<br />

สรุป<br />

บทสรุปนี้กลาวถึงความแตกตางระหวางกฎหมายกับจริยธรรม ถือวากฎหมายเปน<br />

เครื่องมือระดับต่ําในการควบคุมพฤติกรรมของมนุษย เนื่องจากการกระทําความดีอาจเปนเพราะ<br />

กลัวโดนลงโทษ ซึ่งแตกตางจากจริยธรรมที่เปนการกระทําโดยสมัคร เพราะแยกแยะแลววา สิ่งไหน<br />

ดีก็เลือกทําสิ่งนั้น แนวคิดทฤษฎีจริยธรรมในแตละยุคสมัยของโลกเปนไปตามเงื ่อนไขของ<br />

ทรัพยากรและความตองการของมนุษย ทําใหมีทั้งแนวคิดตะวันตก แนวคิดตะวันออก แนวคิดทาง<br />

ศาสนา เชน ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสตและศาสนาอิสลาม โดยที่แนวคิดจริยธรรมตะวันตกตั้งแตยุค<br />

กรีกโบราณที่มีนักปรัชญาที่มีชื่อเสียงหลายทานมีแงมุมความคิดเกี่ยวกับคุณธรรมไปตามบทบาท<br />

หนาที่ของคน เชน โสเครติสใหความสําคัญกับความรู เพราะถามีความรูก็จะทําในสิ่งที่ถูกตอง<br />

เพลโตใหหลักคุณธรรม 4 ขอ คือ ปญญา ยุติธรรม กลาหาญและรูจักประมาณ สวนอริสโตเติล<br />

กําหนดคุณธรรมที่เพิ่มในสวนของมิตรภาพ ตอมาแนวคิดทางตะวันตกหลังยุคกรีกสนใจเหตุผล<br />

นิยมกับประโยชนนิยม จริยธรรมตามแนวคิดตะวันออกจะเนนที่หลักคําสอนของนักปราชญ เชน<br />

ขงจื้อ ถือคุณธรรมความสัมพันธของมนุษยใหความเคารพตอผูอาวุโส ทานมหาตม คานธี ยึด<br />

หลักการแกปญหาที่ไมใชความรุนแรงที่เรียกวา หลักอหิงสา สวนจริยธรรมตามแนวคิดทางศาสนา<br />

ของศาสนาคริสตและอิสลามใหมีความศรัทธาตอพระเจาองคเดียวเทานั้น แลวจึงนําไปปฏิบัติให<br />

เกิดผลจริง สําหรับพุทธศาสนาใหยึดตามหลักคําสอนในพระธรรมซึ่งแบงเปนระดับตน<br />

ระดับกลางและระดับสูง เชน ฆราวาส ถือปฏิบัติระดับตน คือ เบญจศีล เบญจธรรม เปนตน<br />

กรณีศึกษา<br />

นายตัน ภาสกรนที เปดใจถึงสถานการณน้ําทวมโรงงาน ที่นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ<br />

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในรายการเจาะขาวเดน โดยคุณสรยุทธ สุทัศนจินดา<br />

โดยโรงงานผลิตน้ําชาเขียวอิชิตัน ที่ตั้งอยู เฟส 3 ของนิคมอุตสาหกรรมโรจนะนั้น กอนที่<br />

น้ําจะไหลเขาทวม ทางโรงงานกําลังเรงผลิตน้ําเปลา เพื่อแจกจายใหกับประชาชนที่ประสบภัยน้ํา<br />

ทวมอยู ซึ่งขณะนี้น้ําไดไหลทะลักทวมพื้นที่ทั้งหมดของโรงงาน 48,000 ตารางเมตรแลวมีมูลคา<br />

3,500 ลานบาท<br />

ตัน ภาสกรนที เผย โรงงานอิชิตันที่อยุธยาน้ําทวมหนัก คืนนี้นอนโรงงานรอสงพนักงาน<br />

ที่เหลือ สวนตนจะออกเปนคนสุดทาย<br />

นายตัน เปดเผยวา ไดทําแนวกั้นน้ําลอมทั้งโรงงาน แตก็ตานแรงน้ําไมอยู ยอมรับวาน้ํามา<br />

แรงมาก แตน้ํามาก็ตองมีทางไป เห็นสภาพโรงงานถูกน้ําทวมแลวพูดไมออกเลย ทําไดแคให<br />

กําลังใจพนักงาน ที่รวมกันอยูเพื่อดูแลโรงงานมาหลายวันกอนน้ําทวม ตอนนี้มีพนักงานที่เหลืออีก


49<br />

5 คนสุดทาย คืนนี้จะนอนดวยกันในโรงงาน จะรอสงพนักงานที่เหลือออกไปกอนและตนเองจะ<br />

ออกจากโรงงานเปนคนสุดทาย กัปตันเรือ ยอมทิ้งเรือไมได จะอยูใหถึงที่สุด ตองอยูใหสมกับที่<br />

ลงทุนไป<br />

"น้ําทวมครั้งนี้ ธรรมชาติเอาคืนเรา เปนบทเรียนใหเราคิดวา จะอยูกับธรรมชาติอยางไร<br />

อยาโทษใคร ใหโทษตัวเอง โทษทุกคน รวมทั้งผมดวย แมโรงงานจะเสียหายแตเชื่อวามีกําลังใจ จะ<br />

ทํามันใหมได ตราบใดที่ มีชีวิต มีกําลังใจ ก็ตองอยูได อุปกรณที่เหลือก็ยังพอทํางานถู ๆ ไถ ๆ ไปได<br />

สวนเรื่องที่กอนหนานี้เปนผูบริจาคชวยน้ําทวมรายใหญ นายตัน บอกวา สิ่งสําคัญคือ กําลังใจ ไมใช<br />

เงินมากเงินนอย ขอเปนกําลังใหทุกคน" นายตัน กลาว<br />

ทั้งนี้ ระหวางการใหสัมภาษณนายตันพูดดวยเสียงสั่นเครือ และเมื่อจบการสัมภาษณก็<br />

กลั้นน้ําตาไวไมอยู ตองรองไหออกมาในที่สุด<br />

น้ําทวมประเทศไทยในป 2554 เปนปที่คุณตัน เปนผูบริจาครายใหญที่สุดรวม 100 ลาน<br />

บาทและจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อผูประสบภัยอยางตอเนื่อง วันนี้ตองประสบภัยเอง สูญเสียไมนอย<br />

35,000 ลานบาท แตก็ยังเตือนสติและใหกําลังผูอื่นไดอีก<br />

คําถาม 1. ในฐานะของเจาของกิจการหลายพันลานคุณตันไดแสดงถึงภาวะผูนําที่<br />

สอดคลองกับแนวคิดดานจริยธรรมของใครบาง อยางไร<br />

2. ถาหากทานตกอยูในสถานการณเชนเดียวกับคุณตัน ทานคิดวาจะสามารถ<br />

ปฏิบัติตนไดดีเทาคุณตัน หรือดีนอยกวา หรือดีมากกวาคุณตัน เพราะเหตุใด


50<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 2<br />

กฎหมายคุมครองทรัพยสินทางปญญา. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา. [ออน-ไลน]. (2544). แหลงที่มา:<br />

http://weluwan.org/website/index.php/getting-help/moralalife/125-buddhism-moral<br />

จริยศาสตรของขงจื๊อและจริยศาสตรของมหาตมคานธี. [ออนไลน]. (2554).<br />

แหลงที่มา: http://e-book.ram.edu/e-book/p/PY336/py336-11.pdf.<br />

จริยศาสตรของเพลโต. [ออนไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://e-book.ram.edu/<br />

e-book/p/PY336/py336-5.pdf.<br />

จริยศาสตรตะวันตกสมัยโบราณ. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://e-book.ram.edu/<br />

e-book/p/PY336/py336-4.pdf.<br />

บรรจง บินกาซันและวิทยา วิเศษรัตน. (2554). หลักปฏิบัติ 5 ประการ. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.islamthailand.com/thai521/introduce/intro-12.php<br />

บัญญัติ 10 ประการ. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.gotquestions.org/Thai/<br />

Thai-ten-commandments.html<br />

ศาสนาคริสต. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://allknowledges.tripod.com/christ.html<br />

. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://main.dou.us/view_content.php?s_id=182<br />

ศาสนาอิสลาม. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

สรุปนโยบายลดภาษีรถคันแรก. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.cars-tune.com<br />

หลักศรัทธาของมุสลิม. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

www.masjidsamin.com/main/content.php?page=sub...11


บทที่ 3<br />

จริยธรรมทางธุรกิจ<br />

เมื่อกลาวถึงคุณธรรมจริยธรรม คนสวนใหญมักจะนึกถึงการแสดงออกของพฤติกรรมที่<br />

ถูกตองเหมาะสมและมีคุณคา ทําใหเกิดความภูมิใจในตนเองและเปนที่ยอมรับของผูอื่น ดังนั้นใน<br />

การดําเนินธุรกิจซึ่งเปนอาชีพที่มีเปาหมายของกําไรและความมั่งคั่งสูงสุด การกระทําตาง ๆ ของ<br />

นักธุรกิจจะมีความเกี่ยวพันกับการดําเนินชีวิตของมนุษยทั้งในสังคมยอยและสังคมโลก จึงมีความ<br />

จําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําใหการดําเนินธุรกิจนั้นเปนประโยชนกับทุกฝายที่มีสวนไดสวนเสีย<br />

เพื่อใหเปนที่ยอมรับ ในธุรกิจนั้น จึงจะสามารถบรรลุเปาหมายและมีความยั่งยืนในการดําเนินธุรกิจ<br />

ไดอยางยาวนาน<br />

ความจําเปนที่ธุรกิจตองมีจริยธรรม<br />

การดําเนินธุรกิจเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของสัมพันธกับปากทองของผูคนจํานวนมากมาย<br />

เมื่อนักธุรกิจคนใดคิดดําเนินการทางธุรกิจใดผลที่เกิดตามมาจะสงผลกระทบตอผูคนทั้งภายในและ<br />

ภายนอกองคกร หากเกิดผลดีทุกคนก็จะไดรับความสุขรวมกัน ในทางตรงกันขามหากเกิดผล<br />

เสียหายทุกคนทุกฝายก็จะไดรับผลเปนวิบากกรรมรวมกันดวยเชนเดียวกัน ดวยเหตุนี้จึงมีความ<br />

จําเปนอยางยิ่งที่ธุรกิจจะตองมีการดําเนินงานที่อยูในกรอบของกฎหมาย กฎระเบียบและขอตกลง<br />

ในการถือปฏิบัติเพื่อใหการดําเนินงานทางธุรกิจเปนไปดวยความถูกตอง ยุติธรรม ไมเบียดเบียนกัน<br />

ดังที่เราจะไดเห็นถึงปญหาของการดําเนินธุรกิจ ที่ไมคํานึงถึงจริยธรรมแลวทําใหเกิดปญหาหลาย<br />

ประการตามมา<br />

การดําเนินธุรกิจที่ทําใหเกิดปญหาทางจริยธรรม มีสาเหตุหลายประการดวยกัน คือ<br />

1. เปาหมายทางธุรกิจ การดําเนินธุรกิจเพื่อเปาหมายหลักสําคัญ คือ กําไรสูงสุด จะทําให<br />

ธุรกิจตาง ๆ มุงแสวงหากําไรใหไดมากที่สุดและทัศนคติเกี่ยวกับกําไรเชนนี้ ธุรกิจก็จะดําเนินงาน<br />

ใหไดตัวเลขที่เปนผลกําไรตามเปาหมายที่ตั้งไว เพื่อบงบอกวา การประกอบการของธุรกิจนั้น<br />

ประสบผลสําเร็จ โดยไมคํานึงถึงปจจัยที่จะสงผลกระทบตอสวนอื่น หรือไมแตอยางใด


52<br />

2. ทัศนคติของนักธุรกิจ ถานักธุรกิจซึ่งเปนผูบริหารสูงสุดในองคกร เปนผูมีอํานาจ<br />

ตัดสินใจในการกําหนดทิศทาง วิสัยทัศน เปาหมาย พันธกิจ กลยุทธขององคกร โดยนักธุรกิจนั้น<br />

ขาดทัศนคติที่ดีทางจริยธรรมยอมจะคํานึงถึงแตผลตอบแทน ผลประโยชนของธุรกิจเทานั้น โดยไม<br />

คํานึงถึงความรับผิดชอบที่ควรจะตองมีกับบุคคล ชุมชน สังคมและสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ดวย<br />

3. การลดตนทุนและคาใชจายของธุรกิจ เปนการบริหารจัดการธุรกิจที่ตองคํานึงถึงเพื่อ<br />

สนองตอบเปาหมายกําไรสูงสุดของธุรกิจ ผูบริหารจึงใชมาตรการในการลดตนทุนใหต่ําสุดและ<br />

ประหยัดคาใชจายตาง ๆ ของธุรกิจใหมากที่สุด แตอาจทําใหผลิตผลที่ไดมีคุณภาพต่ํา เกิดการเอา<br />

รัดเอาเปรียบผูบริโภค เอารัดเอาเปรียบพนักงาน การทําลายสิ่งแวดลอมและการหลีกเลี่ยงการเสีย<br />

ภาษีอยางถูกตอง<br />

4. การแขงขันทางธุรกิจ ปจจุบันธุรกิจมีการแขงขันกันอยางเสรี จึงทําใหเกิดธุรกิจใหม<br />

เขาสูตลาดและเกิดการแขงขันกันจํานวนมาก ธุรกิจใดที่มีความสามารถ หรือมีความไดเปรียบทั้ง<br />

ดานเงินทุน ศักยภาพของบุคลากร ทรัพยากรในการอํานวยความสะดวก ระบบการบริหารจัดการที่ดี<br />

ธุรกิจนั้นยอมไดเปรียบธุรกิจอื่น ดังนั้นเพื่อความอยูรอดของธุรกิจ หรือการครองตําแหนงทางธุรกิจ<br />

ก็อาจเปนสาเหตุใหเกิดการแขงขันกันอยางไมเปนธรรม เชน การฮั้ว การใหสินบนเจาหนาที่ที่<br />

เกี่ยวของ การสรางความสัมพันธกับนักการเมืองที่สามารถเอื้อประโยชนใหแกตนได หรือใชวิธีการ<br />

ใสรายปายสีคูแขงขันใหเกิดความเสื่อมเสีย เปนตน<br />

5. การไมคํานึงถึงมาตรฐาน หรือคุณคาของความถูกตองทางสังคม เปนการมุงทําธุรกิจ<br />

เพื่อหาผลประโยชนผลกําไรทางวัตถุเทานั้น โดยไมคํานึงถึงความถูกตองทั้งในแงของกฎหมาย<br />

จารีต ประเพณี ศีลธรรมและจริยธรรมใด ๆ เชน การลักลอบขนสินคาหนีภาษี ลักลอบคายาเสพติด<br />

ลักลอบคาสัตวปาสงวน ลักลอบคาขายทางเพศ ลักลอบคาแรงงานเด็กและแรงงานตางดาว เปนตน<br />

6. การขาดสํานึกของความรับผิดชอบตอสวนรวมและสิ่งแวดลอม เมื่อนักธุรกิจนั้นมุง<br />

แตกําไรและผลประโยชนเฉพาะธุรกิจ โดยไมคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดความเสียหาย เกิดมลภาวะ<br />

เปนพิษทางเสียง กลิ่นและควันตาง ๆ ตอสวนรวมและสิ่งแวดลอม เชน การลับลอบตัดไมทําธุรกิจ<br />

ไมเถื่อน การปลอยของเสียลงน้ํา ปลอยควันพิษ ทิ้งสารเคมีที่เปนอันตรายโดยไมมีการบําบัด หรือ<br />

ปองกันใหเกิดความปลอดภัยกอนนําไปทิ้ง<br />

จากสาเหตุที่กลาวขางตนจะเห็นวาการดําเนินธุรกิจ โดยคํานึงถึงแตกําไร หรือ<br />

ผลประโยชนเฉพาะตนของธุรกิจ ยอมกอใหเกิดปญหาตามมาอยางแนนอน ซึ่งปญหาที่เกิดขึ้นไมได<br />

สงผลกระทบใหเกิดความเสียหายแกฝายใดเพียงฝายเดียวเทานั้น แมแตธุรกิจเองที่มุงหวังกําไรก็ไม<br />

อาจจะบรรลุเปาหมายได เพราะอาจจะเกิดการตอตานจากบุคคล หนวยงาน หรือชุมชนที่ไดรับ


53<br />

ผลกระทบจากการดําเนินธุรกิจที่ขาดจริยธรรมนั้น ดังนั้นการดําเนินธุรกิจจึงจําเปนที่จะตองมีความ<br />

รับผิดชอบทางจริยธรรมตอบุคคล ชุมชนและสังคมสวนรวม<br />

ผลกระทบทางจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ<br />

การดําเนินธุรกิจทุกวันนี้มีการแขงขันกันสูง จนทําใหมาตรฐานทางจริยธรรมดูจะเสื่อม<br />

ถอยลงไปทุกที โดยนักธุรกิจเหลานั้นมักอางเหตุผลวา เปนความตองการของตลาด สิ่งที่ทําก็เพื่อ<br />

สนองตลาดและโตแยงวาผูบริโภคมีสติปญญาสามารถคิดและตัดสินใจเลือกสินคาที่ตองการ<br />

หรือไมตองการไดดวยตนเอง ขอโตแยงนี้สะทอนแนวคิดของผูพูดวา ตนเอง หรือธุรกิจไม<br />

จําเปนตองคํานึงถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบในฐานะของนักธุรกิจ ผูผลิตสินคา นักการตลาด<br />

นักโฆษณา หรือแมแตสื่อมวลชนและหนวยงานของรัฐบาลที่รับผิดชอบดูแลความเรียบรอยทาง<br />

สังคมแตอยางใด ดวยเหตุนี้เราจึงมักเห็นพฤติกรรมที่เรียกวา “วัวหาย ลอมคอก” ในสังคมไทยอยู<br />

บอย ๆ จะดีขึ้นมาหนอย คือ เมื่อทําผิดแลวยอมกลาวคําขอโทษ หรือชดใชเยียวยาคาเสียหาย แต<br />

หากเลวสุด ๆ คือ ไมยอมรับผิด ถาฝายเสียหายตองการความรับผิดชอบก็ไปฟองรองเรียกเอาเอง<br />

เหตุการณเหลานี้เรามักไดรับรูอยูเปนประจําและมีกระแสใหฮือฮา เปนขาวเปนขอถกเถียงกันอยูเปน<br />

พัก ๆ แลวก็จางหายไปเชนนี้เสมอ<br />

การดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะมีผลตอผูที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกองคกร เชน<br />

บุคลากรในระดับขององคกรที่มีบทบาทหนาที่ ตั้งแตเจาของกิจการ ผูถือหุน ผูบริหารและ<br />

ผูปฏิบัติงาน บุคคลและหนวยงานที่เกี่ยวของเชน ลูกคา คูคา เจาหนี้ ลูกหนี้ หนวยงานราชการที่ตอง<br />

เกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม ชุมชนที่กิจการไปตั้งอยูในพื้นที่นั้น ตลอดจนสังคม ประเทศชาติ<br />

ที่ไดรับผลกระทบทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นกิจกรรมใดที่ธุรกิจตัดสินใจกระทําไมวาจะ<br />

เปนการผลิตสินคาที่ไดมาตรฐาน การตั้งราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพ การใหบริการที่เสมอภาค<br />

เทาเทียมกัน การตกลงคาขายดวยความซื่อสัตยสุจริต การปฏิบัติตามเงื่อนไขการคาที่ไดตกลงกับ<br />

ฝายตาง ๆ ที่เกี่ยวของและปฏิบัติตามนั้น การใหความรวมมือในการจายภาษีใหกับรัฐบาลอยาง<br />

ถูกตองครบถวน การใชกลยุทธทางการตลาดที่ไมสรางทัศนคติ หรือคานิยมเชิงลบ ไมใชวิธีการ<br />

โฆษณาชวนเชื่อ ไมเปนตนตอของการทําลายสิ่งแวดลอม หรือวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชน มี<br />

ความเคารพและตระหนักถึงจารีต ขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามของสังคม ไมทําธุรกิจผิด<br />

กฎหมาย บริหารกิจการธุรกิจดวยความเปนธรรม ไมเอารัดเอาเปรียบพนักงานลูกจางและลูกคา ไม<br />

ตกแตงตัวเลขทางบัญชีโดยมีเจตนาทุจริต แขงขันอยางเสรี ไมใชวิธีการใสรายปายสี หรือวิธีการติด<br />

สินบนเพื่อประโยชนของธุรกิจตน


54<br />

ปจจุบันจะเห็นวาการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจมาถึงจุดของความเสื่อมถอยทางจริยธรรม<br />

ดังนั้นผูที่มีสวนไดสวนเสียทั้งภายในและภายนอกองคกรธุรกิจ ตั้งแตระดับบุคคลจนถึงระดับ<br />

องคกรตางไดรับผลกระทบรวมกัน รวมทั้งองคกรธุรกิจที่ขาดจริยธรรมนั้นดวย<br />

ผลกระทบตอธุรกิจที่ดําเนินงานขาดจริยธรรม<br />

1. ความเห็นแกตัวของคนภายในองคกร เมื่อองคกรธุรกิจดําเนินงานขาดจริยธรรม เชน<br />

ตั้งเปาหมายทางธุรกิจสูงเกิน ไมมีสวัสดิการที่เหมาะสมกับพนักงานลูกจาง หลบเลี่ยงภาษี มุงแต<br />

ผลงานที่เปนผลประโยชนของธุรกิจฝายเดียว ยอมเปนการสรางแรงกดดันหรือวัฒนธรรมการเอารัด<br />

เอาเปรียบเพื่อสรางผลงานของตนเอง จึงเกิดพฤติกรรมการเห็นแกตัวของคนในองคกรที่ตองมีการ<br />

แกงแยง ชิงดีชิงเดนกัน เปนตน<br />

2. ความขัดแยง ถาองคกรมีบุคลากรที่เห็นแกตัวโอกาสของความขัดแยงยอมสูง ตางฝาย<br />

ตางยึดประโยชนตน ประโยชนของฝาย หรือแผนกของตน ไมเกื้อกูลกัน ทํางานดวยความ<br />

หวาดระแวงกัน แทนที่จะประสานงานกันกลายเปนประสานงา สรางเรื ่องราววุนวาย เรื่องเล็ก<br />

กลายเปนเรื่องใหญ เรื่องใหญกลายเปนเรื่องเลวรายที่มาทําลายกัน<br />

3. ความไมไววางใจกัน เมื่อมีพฤติกรรมการทุจริต การไมทําตามเงื่อนไขขอตกลง<br />

ยอมจะทําใหผูที่ติดตอคาขายดวย เชน ลูกคา คูคา เจาหนี้ พนักงาน เกิดความไมไววางใจ ตลอดจน<br />

เกิดหวาดระแวง สงผลตอการขาดความนาเชื่อถือ ไมมั่นใจที่จะรวมกิจกรรมทางการคาดวยอีก<br />

ตอไป หรือสภาพจิตใจของคนทํางาน ไมมีความสุขสงผลตอประสิทธิภาพของงานในที่สุด<br />

4. ประสิทธิภาพของงาน การทํางานที่มีความขัดแยง ไมไววางใจกันและตางฝายตางเห็น<br />

แกประโยชนตนไมเพียงแตกระทบบุคคลยังกระทบตอประสิทธิภาพประสิทธิผลของการทํางาน<br />

อาจทําใหเกิดความเสียหายอยางที่ไมควรจะเปน เชน ทําใหเพิ่มตนทุนและคาใชจาย ทําใหสูญเสีย<br />

โอกาสในการแขงขันกับคูแขงขันและประสบผลขาดทุนจากการดําเนินงานไดในที่สุด<br />

5. ไมมีความสุขในการทํางาน องคกรที่บริหารงานอยางขาดจริยธรรมทําใหเกิดการ<br />

สรางวัฒนธรรมในองคกรที่เลวราย ทุกคนอยูแบบเอาตัวรอด ตัวใครตัวมัน เลนพรรคเลนพวก กลั่น<br />

แกลงผูที่ไมใชพวกตัวเอง เห็นแกตัว เอารัดเอาเปรียบ ดังนั้นบรรยากาศในที่ทํางานยอมมีแตความ<br />

รอนรุม พนักงานทํางานอยางไรความสุข การทํางานเปนไปแบบเอาตัวรอดไปวัน ๆ ขาดกําลังใจ<br />

เกิดความเบื่อหนาย ทอแท ออนลา ทําใหไมสามารถทุมเททํางานอยางเต็มกําลังความสามารถได<br />

6. สรางศัตรูทางการคา การแขงขันทางธุรกิจนับเปนเรื่องปกติในระบบการคาเสรี แต<br />

ตองเปนการแขงขันที่ยุติธรรมและมีกฎกติกา ไมใชวิธีการฉอฉล เชน การติดสินบน การฮั้ว การ


55<br />

ขโมยความคิดผูอื่น หรือการใสรายปายสี ดังนั้นการทําธุรกิจควรเปนการสรางพันธมิตรทางการคา<br />

ไมใชการสรางศัตรูมาห้ําหั่นกัน<br />

7. ถูกตอตานจากชุมชน หากธุรกิจมุงเอาแตผลประโยชนโดยไมคํานึงถึงความเสียหายที่<br />

จะเกิดกับชุมชน ไมวาจะเปนการทําลายทรัพยากร สิ่งแวดลอมของชุมชน การสรางมลภาวะเปนพิษ<br />

ใหเกิดขึ้นกับชุมชน ตลอดจนการทําลายวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน ประชาชนในชุมชนก็อาจ<br />

รวมตัวกันประทวงตอตานและขับไลธุรกิจนั้นไดในที่สุด<br />

8. ทําผิดกฎหมาย การดําเนินธุรกิจโดยไมคํานึงถึงจริยธรรม อันควรประพฤติใหถูกตอง<br />

ชอบธรรม โอกาสที่จะกลายเปนธุรกิจที่ทําผิดกฎหมายมีแนวโนมสูง ซึ่งการทําผิดกฎหมายก็จะตอง<br />

ไดรับโทษตามกฎหมายไมวาจะเปนคดีอาญา หรือคดีแพง<br />

9. ลมเลิกกิจการ ธุรกิจที่ขาดจริยธรรมยอมเสื่อมเสียชื่อเสียง ไมสามารถดํารงธุรกิจให<br />

เจริญกาวหนา หรือดํารงอยูตอไปไดอีก แมจะคิดสรางธุรกิจขึ้นมาใหมในภายหลัง หากเปนที่ทราบ<br />

วามีประวัติที่เสื่อมเสียมากอนก็ยากที่จะไดรับการเชื่อถือและการยอมรับในการติดตอคาขายดวย<br />

หรืออาจตองใชระยะเวลาและความพยายามอยางมากในการกูภาพลักษณและชื่อเสียงใหกลับคืนมา<br />

เพื่อคืนสูวงการธุรกิจอีกครั้งซึ่งไมใชเรื่องงายนัก<br />

ระดับมาตรฐานจริยธรรมทางธุรกิจ<br />

คําวา ระดับ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2554. ออนไลน) ไดให<br />

ความหมายวา เปนลักษณะของพื้นผิวตามแนวนอนระหวางจุด 2 จุดที่มีความสูงเสมอกัน เมื่อ<br />

นํามาใชกับมาตรฐาน มีความหมายวา สิ่งที่ถือเอาเปนเกณฑที่รับรองกันทั่วไป สําหรับเทียบทั้งดาน<br />

ปริมาณและคุณภาพ ดังนั้นระดับมาตรฐานทางจริยธรรม จึงสรุปไดวา เปนการเทียบเกณฑของ<br />

ความดีงามในการประพฤติปฏิบัติที่ไดรับการยอมรับทั่วไปวามีคุณธรรม ความดีงาม ความถูกตอง<br />

ความเหมาะสม หรือตามที่สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2554. ออนไลน)ไดให<br />

ความหมายมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมไว คือ สิ่งที่ถือเปนหลักสําหรับเทียบทางสภาพคุณงาม<br />

ความดี ทั้งที่อยูภายในจิตใจและที่แสดงออกที่ควรประพฤติในสังคมนั้น ไดยอมรับนับถือกันมาและ<br />

ประพฤติปฏิบัติรวมกันยอมรับวาอะไรควรทํา อะไรไมควรทํา<br />

นักปราชญมีความเชื่อวา ความประพฤติเปนบอเกิดแหงจริยธรรม แตนักปราชญในหลาย<br />

สํานักตางมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความประพฤติของคนเราแตกตางกันไป โดยไดมีการแบงออกเปน<br />

3 ทรรศนะ (กีรติ บุญเจือ. 2551 : 83-85) ดังนี้


56<br />

1. การกระทําของคนเราเปนไปอยางเสรีไมไดมีสิ่งใดมาจูงใจ หมายความวา การกระทํา<br />

ใดที่เกิดจากการเลือกและตัดสินใจดวยตนเอง ไมไดมีผลมาจากแรงจูงใจใด ๆ แตแรงจูงใจอาจ<br />

เกิดขึ้นในภายหลังจึงดูเหมือนวาถูกจูงใจดึงไปใหกระทําเชนนั้น ดังที่เรามักจะไดยินคํากลาวที่วา<br />

“ฉันไดตัดสินใจไวกอนแลว” ฉะนั้นถามีใครมาย้ําตรงกับความคิดความตองการที่ตรงกับใจ มันก็<br />

เหมือนมีแนวรวมเปนแรงสนับสนุนใหเกิดความมั่นใจในสิ่งที่ไดตัดสินใจยิ่งขึ้นนั้นเอง แนวคิดตาม<br />

ทรรศนะนี้เปนของ วิลเลียม เจมสและคานท เรียกวา ลัทธิอนิยตินิยม (Indeterminism)<br />

2. การกระทําของคนเราถูกกําหนดจากสาเหตุตายตัว ไมไดมีอิสระเสรี หมายความวา<br />

การกระทําใด ๆ ลวนมีสาเหตุ ซึ่งการกระทําบางอยางสามารถมองเห็นถึงสาเหตุไดชัดเจน แตการ<br />

กระทําบางอยางก็ไมสามารถบอกถึงสาเหตุไดชัดเจน ทรรศนะนี้มีความขัดแยงกับแนวคิดการ<br />

กระทําเสรีโดยสิ้นเชิง กลับมองวาทรรศนะดังกลาวนั้นเหลวไหล ผูที่ใหทรรศนะตามแนวคิดนี้คือ<br />

ฮอบและสเพโนวเสอ เรียกทรรศนะนี้วา ลัทธินิยตินิยม (Determinism)<br />

3. การทําของคนเรามีเสรีที่จะเลือกตัดสินใจได แตอาจถูกดึง หรือถูกผลักโดยสาเหตุอื่น<br />

ซึ่งทําใหการกระทําของคนเรานั้นไมเปนไปอยางเสรีเต็มที่ ทรรศนะนี้มีมุมมองในแนวทางสาย<br />

กลาง ตามหลักคําสอนทางศาสนาที่สอนใหคนเราตองมีการฝกฝนในพฤติกรรมของตน เพราะบาง<br />

สิ่งบางอยางแมจะรูวาผิด แตก็มีกิเลสชักจูงใหตัดสินใจผิดพลาดได อิทธิพลตอการตัดสินใจจึง<br />

ขึ้นอยูภายในจิตใจกับสิ่งแวดลอมภายนอก เรียกแนวคิดตามทรรศนะนี้วา ลัทธิมัธยคตินิยม<br />

นอกจากนี้การกระทําความดีความชั่วของคนเรา ยังแบงออกเปน 3 ทรรศนะ โดยกลุมแรก<br />

ไดแก แมนเนอคีเอิส (Manichaeus), ออเกิสทีน (Augstine), ลูเธอร (Luther), แคลวิน (Calvin),<br />

โทมัส ฮอบ (Thomas Hobbes) โดยมองวา เนื้อแทของคนเราเห็นแกตัวมาแตกําเนิด จึงมีความโนม<br />

เอียงที่จะทําชั่ว การที่คนเราทําความดีเปนเรื่องที่ฝนธรรมชาติของตน ดังนั้นทุกครั้งที่จะทําความดี<br />

ตองมีการควบคุม ระมัดระวังตนเองเสมอ จึงเปนการฝนธรรมชาติตลอดเวลา และยกคํากลาวอาง<br />

ของคนที่กระทําเชนนี้วา “ใครคิดจะอยูกับที่จะถอยหลังโดยปริยาย” สวนกลุมที่ 2 ไดแก รุสโซ<br />

(Rousseau) มีความคิดเห็นวาโดยธรรมชาติคนเรามีความโนมเอียงในการทําความดีแตสังคมทําให<br />

จิตใจคนเราต่ําทรามลง สังคมทําใหเกิดความจําเปนตองทําชั่วและเฮอรเบิรท สเพนเสอร(Harbert<br />

Spencer) กลาววา คนเรามีวิวัฒนาการไปสูสภาพที่ดีขึ้น มีจิตใจสูงขึ้น อยากทําความดีมากขึ้นเรื่อย ๆ<br />

การกระทําชั่วเปนเพราะรูเทาไมถึงการณ กลุมที่ 3 กลุมสุดทายไดแก ศาสดาของแตละศาสนา ซึ่ง<br />

สั่งสอนใหใชหลักสายกลางในการดําเนินชีวิต ใหทําความดีละความชั่ว แมวาในชีวิตของคนเราจะ<br />

มีความขัดแยงระหวางเปาหมายสูงสุดของชีวิต แตเปนหนาที่ตองปลูกฝงคุณธรรมของตนใหมั่นคง<br />

เพื่อความประพฤติที่ดียิ่งขึ้น ไมถูกครอบงําดวยกิเลสในการกระทําสิ่งไมดีงามทั้งหลาย


57<br />

ดังนั้นจะเห็นวาพฤติกรรมเปนตัวกําหนดจริยธรรม ซึ่งสามารถวัดระดับมาตรฐานทาง<br />

จริยธรรมที่เริ่มจากบุคคล โดยสามารถที่จะแบงได 2 ระดับตามที่ สุภาพร พิศาลบุตร (2549 : 8-9)<br />

ไดกลาววาคนเรามีจริยธรรมในตัวเอง 2 ระดับคือ จริยธรรมในชีวิตประจําวันและจริยธรรมในการ<br />

ทํางาน ดังนี้<br />

1. จริยธรรมในชีวิตประจําวัน แบงได 2 ระดับ คือ จริยธรรมระดับบุคคล โดยที่คนแตละ<br />

คนตางมีหลักในการยึดถือประจําใจและเปนแนวทางปฏิบัติของตน สวนจริยธรรมระดับสังคม เปน<br />

จริยธรรมของกลุมคนสวนรวม ทําใหบุคคลแตละคนมีจริยธรรมรวมกัน หรือไปในทิศทางที่คลอย<br />

ตามกัน<br />

2. จริยธรรมในการทํางาน เปนการประพฤติปฏิบัติของบุคคลที่มุงกระทําเพื่อที่จะเปน<br />

ผูประสบกับความสําเร็จในหนาที่การงานของตนเอง<br />

โดยแบงระดับจริยธรรมการทํางาน 3 ระดับ ดังนี้<br />

2.1 การทํางานที่ไมมีจริยธรรม แมรูวาสิ่งที่ทํานั้นไมถูกตอง แตเพื่อบรรลุเปาหมายก็<br />

จะทําในสิ่งนั้น พฤติกรรมเชนนี้กลาวไดวา เปนลักษณะของคนไมดี หรือคนเลว ถาทําเลวมาก ๆ ก็<br />

เรียกไดวา เปนคนชั่ว<br />

2.2 การทํางานที่มีจริยธรรม เปนการทํางานที่คํานึงถึงความถูกตอง ความเหมาะสม<br />

หากการกระทําใดที่ผิด หรือฝนมโนธรรม ก็จะละเวนเสีย แมวาจะทําใหไดรับผลกําไรนอยกวา<br />

เปาหมายที่ตั้งเอาไว พฤติกรรมนี้เรียกไดวา เปนพฤติกรรมของคนดี<br />

2.3 การทํางานที่ไมสนใจจริยธรรม เปนการทํางานที่ไมไดคํานึงในเรื่องความถูกตอง<br />

เหมาะสมหรือไม แตถาสิ่งที่ทํานั้นสามารถสนองความปรารถนาก็ดําเนินการไปตามน้ํา หากมีความ<br />

ผิดพลาด หรือความไมถูกตอง ก็กลาวอางไดวารูเทาไมถึงการณ เปนพฤติกรรมที่ไมสนใจ ไมเรียนรู<br />

และไมมีความสามารถในการแยกแยะสิ่งถูกผิด พฤติกรรมเชนนี้เรียกไดวา เปนพฤติกรรมของคน<br />

โงเขลา<br />

ฉะนั้นจะเห็นไดวา การตัดสินใจในเรื่องของจริยธรรมของแตละบุคคลจะมีความแตกตาง<br />

ตามความรู ความเชื่อ คานิยมและประสบการณ ทําใหเกิดมาตรฐานทางจริยธรรมที่แตกตางกันไป<br />

ซึ่งสามารถพิจารณาถึงมาตรฐานทางจริยธรรมไดดังนี้<br />

1. บางคนใชหนาที่เปนมาตรฐานจริยธรรม เชน ทําหนาที่ของตนดวยความรับผิดชอบ<br />

ตั้งใจ ไมละทิ้งหนาที่ ไมกาวกายหนาที่ของผูอื่น ไมเบียดเบียน เอารัดเอาเปรียบผูอื่น แมวาจะไมได<br />

รับผลตอบแทนที่พิเศษกวาปกติ เชน การไดรับพิจารณาความดีความชอบเปนพิเศษ ไดโบนัส หรือ


58<br />

เลื่อนตําแหนงที่สูงขึ้น ดังนั้นผูที่ใชหนาที่เปนมาตรฐานทางจริยธรรมคํานึงถึงเจตนาของการ<br />

กระทําที่ดี หรือไมดี โดยไมไดคํานึงถึงผลของการกระทํา<br />

2. บางคนใชความสุขเปนมาตรฐานจริยธรรม เชน ถาการกระทํานั้นไดรับผลตอบแทน<br />

ไมวาจะเปนผลประโยชน คาตอบแทน ตําแหนงหนาที่การงานที่สูงขึ้น สิทธิพิเศษ รางวัล คําชมเชย<br />

บุคคล หรือกลุมคนที่ไดรับก็จะถือเปนความดี แตหากการกระทํากอใหเกิดการสูญเสียผลประโยชน<br />

ตอตนเอง ตอพรรคพวกและคนอื่น ๆ ถือวาเปนความไมดี ดังนั้นจะเห็นวา การตัดสินมาตรฐานทาง<br />

จริยธรรมระหวางหนาที่กับความสุขจะเปนสิ่งตรงขามกัน<br />

3. บางคนใชความเชื่อที่วาความอยูรอดเปนมาตรฐานจริยธรรม เชน การคํานึงถึงความอยู<br />

รอด ทั้งตนเองและสังคมสวนรวมใหรอดพนจากเภทภัยตาง ๆ ดังนั้นแนวคิดของกลุมคนที่ตัดสิน<br />

มาตรฐานจริยธรรมดวยความอยูรอด จะคนหาแนวทางการปฏิบัติที่เปนทางรอด รูจักปรับตัวและ<br />

ดูแลรักษาตนเอง เพื่อนรวมงาน ตลอดจนองคกรใหรอดพนจากวิกฤตไดซึ่งจะถือวาเปนความดี แต<br />

ถาไมสามารถชวยเหลือใหรอดไดก็ถือวาเปนการกระทําที่ไมดี<br />

4. บางคนใชการพัฒนาตนเองเปนมาตรฐานจริยธรรม เชน การเปลี่ยนแปลงการกระทํา<br />

ในชีวิตของบุคคล หรือกลุมคน อยางมีทิศทางไปในแนวทางที่เจริญขึ้นตามที่ตนปรารถนา โดยทํา<br />

ชีวิตความเปนอยูใหมีความอยูดีกินดี ความสะดวกสบาย ความเจริญทางศิลปวัฒนธรรม จิตใจและ<br />

ความสงบสันติ<br />

การพัฒนาจริยธรรมทางธุรกิจ<br />

การประกอบธุรกิจขององคกรใด ๆ ยอมมีความเกี่ยวของกับบุคคลภายในและภายนอก<br />

องคกร หากเปนธุรกิจขนาดใหญยอมมีผลกระทบในวงกวางทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง<br />

เพื่อใหเกิดผลในทางที่ดีจึงตองเปนการกระทําดวยความมีจริยธรรม คุณธรรม ความดีงามในการ<br />

ประกอบธุรกิจนั้น ๆ ดังนั้นจึงตองมีการเสริมสรางและพัฒนาจริยธรรมใหเกิดขึ้นในธุรกิจ เพื่อให<br />

บุคคลทุกฝายไดรับการพัฒนาทางดานจริยธรรม สามารถที่จะแยกแยะความถูก-ผิด ความดี-ชั่วและ<br />

ความควร-ไมควร ฉะนั้นการพัฒนาดานจริยธรรมมีความสัมพันธกับลักษณะของจริยธรรม ซึ่งแบง<br />

ออกได 4 ดาน (Numthon Kotvong. 2554. ออนไลน) คือ<br />

1. ความรูเชิงจริยธรรม คือ ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการแยกแยะไดวาอะไรดี อะไรชั่ว<br />

แตสรุปไมไดวาเมื่อรูแลวจะเลือกตัดสินใจทําแตความดี เพราะอาจจะทําชั่วก็ได


59<br />

2. ทัศนคติเชิงจริยธรรม คือ ความรูสึก นึกคิด ความเชื่อจากการเรียนรูและประสบการณ<br />

ของบุคคลที่มีตอสิ่งถูกสิ่งผิดในสังคมวา ชอบหรือไมชอบ โดยทัศนคติมีผลตอการจูงใจใหคน<br />

กระทําตามทัศนคติคอนขางมาก<br />

3. เหตุผลเชิงจริยธรรม คือ การใชเหตุผลของบุคคลในการเลือกที่จะทํา หรือไมทําสิ่งใด<br />

สิ่งหนึ่ง เชน หมอยอมโกหกคนไขที่เปนมะเร็งระยะสุดทาย วาอีกไมกี่สัปดาหก็หายกลับบานได<br />

4. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม คือ การแสดงออกทางพฤติกรรมของคนตามที่สังคมนิยมหรือ<br />

ชื่นชอบ หรือการงดเวนพฤติกรรมที่ฝาฝนกฎเกณฑของสังคม<br />

นักวิชาการทั้งหลายเชื่อวา จริยธรรมเกิดไดจากการศึกษา อบรม ขัดเกลาและมีการสั่งสม<br />

มาตั้งแตในวัยเด็กไปจนเปนผูใหญตลอดชีวิต ดังทฤษฎีของโคลเบิรกและเปยเจท กลาวถึงการ<br />

พัฒนาทางดานจริยธรรม(Kohlberg’s stages of moral development) พอสรุปได (Crain. 1985.<br />

online) ดังนี้<br />

เปยเจทและโคลเบิรก เชื่อวา พัฒนาการทางจริยธรรมของคนเรามีรากฐานมาจากพัฒนา<br />

การทางสติปญญาและอารมณ ดังนั้นจริยธรรมของเด็กจะเจริญตามวัยที่มีพัฒนาการทางสติปญญา<br />

ที่เจริญขึ้น<br />

Jean Piaget<br />

ภาพที่ 6 เปยเจทและโคลเบิรก<br />

ที่มา: http://www.google.co.th<br />

Lawrence Kohlberg<br />

โคลเบิรก ทําการวิเคราะหเหตุผลเชิงจริยธรรม โดยทําการวิเคราะหคําตอบของเยาวชน<br />

อเมริกัน อายุ 10-16 ปและแบงประเภทเหตุผลเชิงจริยธรรมไว 3 ระดับ 6 ขั้น ไดแก<br />

ระดับที่ 1 ขั้นกอนกฎเกณฑ หรือกอนมีจริยธรรม (Pre-conventional Morality) เปนการ<br />

เลือกทําสิ่งที่เปน ประโยชนตอตนเอง โดยไมคํานึงถึงผลที่จะเกิดแกผูอื่น แบงไดเปน 2 ระยะคือ


60<br />

1.1 ขั้นการลงโทษและเชื่อฟง ในชวงอายุ 2-6 ป เปนจุดเริ่มตนของการเรียนรูดาน<br />

ศีลธรรมถาทําผิดจะถูกลงโทษ ทําความดีจะไดรับรางวัล เด็กจึงเรียนรูจากสิ่งเหลานี้วาทําอยางไรจึง<br />

จะสามารถหลีกเลี่ยงการโดนลงโทษ (How can I avoid punishment?) โดยยังไมเขาใจเหตุผล<br />

1.2 ขั้นคํานึงถึงความตองการและการแลกเปลี่ยน ในชวงอายุ 6-16 ป เริ่มรูจักคิด มี<br />

เหตุผลและกระทําสิ่งที่ตองการ หรือเปนการแลกเปลี่ยนตามที่ตนคาดหวังไว เชน การถามหาถึง<br />

ความตองการของตนเอง (What's in it for me?) และอาจมีการตกลงแลกเปลี่ยนเพื่อใหไดสิ่งที่<br />

ตองการ (Paying for a benefit)<br />

ระดับที่ 2 ขั้นตามกฎเกณฑ หรือจริยธรรมตามกฎเกณฑสังคม (Conventional Morality)<br />

เปนการทําตามกฎหมาย ศาสนาหรือกฎเกณฑของกลุมยอยของตน แบงไดเปน 2 ขั้นตอนยอยคือ<br />

2.1 ขั้นคํานึงถึงความคาดหวังซึ่งกันและกันกับบุคคลอื่นและการปฏิบัติตามสังคม<br />

อยูในชวงอายุ 16-24 ป เปนชวงวัยรุนถึงวัยทํางาน บุคคลวัยนี้จะคิดถึงคนอื่น สิ่งที่ดีตองเปนธรรม<br />

กับคนอื่นดวย การทําสิ่งถูก หรือผิด จึงไมใชเรื่องของตนเองเทานั้น แตเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับผูอื่น<br />

และสังคมดวย กลาวไดวา เปนทัศนคติที่ดีของคนในวัยนี้ ที่มีการคํานึงบรรทัดฐานทางสังคมดวย<br />

(The good attitude and social norms) แตอยางไรก็ตามบุคคลในวัยนี้ก็อาจถูกชักจูง หรือคลอยตาม<br />

เพื่อนไดงาย<br />

2.2 ขั้นการคํานึงถึงระบบสังคมและรักษาไวซึ่งความถูกตองของสังคมใหสังคมดํารง<br />

อยูได ชวงอายุ 24-30 ป เปนขั้นของการยอมรับกฎเกณฑของสังคมเพราะมีความรูในบทบาทหนาที่<br />

ของตนเองในฐานะเปนหนวยหนึ่งของสังคม จึงถือวาตนเองมีหนาที่ตามกฎเกณฑที่สังคมกําหนด<br />

หรือคาดหวัง เชน การปฏิบัติตนอยูในกรอบที่ถูกตองของกฎหมายบานเมืองและระเบียบทางสังคม<br />

ที่อยูรวมกันใหเกิดความสงบเรียบรอย (Law and order morality) ในฐานะของพลเมืองและสมาชิก<br />

ที่ดีของสังคมนั้น<br />

ระดับที่ 3 ขั้นเหนือกฎเกณฑ หรือจริยธรรมเหนือกฎเกณฑสังคม (Post-conventional<br />

Morality) จะมีการคิดตรึกตรอง มีการชั่งใจดวยตนเองวาสิ่งใดดีกวา หรือสําคัญกวา แลวจึง<br />

ตัดสินใจไปตามนั้น แบงได 2 ขั้นตอน<br />

3.1 ขั้นการคํานึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานและสัญญาประชาคม ชวงอายุ 30-40 ป เปนวัย<br />

กลางคนจะใหความสําคัญกับคนหมูมาก ไมทําตนใหขัดกับสิทธิอันพึงมีพึงไดของผูอื่น สามารถ<br />

ควบคุมจิตใจตนเองได


61<br />

3.2 ขั้นคํานึงถึงจริยธรรมสากล อายุ 40 ปขึ้นไป เปนผูใหญเต็มตัวหรือเริ่มเขาสูวัย<br />

ชราบุคคลรับรูเกี่ยวกับความดีและจริยธรรมเปนสิ่งสากล คนทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติที่ดี<br />

เชน การใหเกียรติ การชวยเหลือเกื้อกูลกันและจริยธรรมไมใชเรื่องของสังคมใดสังคมหนึ่งเทานั้น<br />

ดังนั้นจะเห็นวาการพัฒนาจริยธรรมของโคลเบิรกในระดับที่ 3 นั้นอยูเหนือกฎเกณฑ แต<br />

เปนสามัญสํานึก (Principled conscience) ของบุคคลที่ผานรอนผานหนาวมาถึงในชวงบั้นปลายของ<br />

ชีวิตและมองถึงสังคมสวนรวม<br />

สําหรับเปยเจท ไดแบงระดับอายุที่มีตอการพัฒนาดานจริยธรรมคลายกับโคลเบิรก ออก<br />

เปน 4 ขั้น โดยสรุปดังนี้<br />

1. ขั้นกอนจริยธรรม อายุแรกเกิดถึง 2 ขวบ ยังไมเกิดความรูสึกผิดชอบชั่วดี<br />

2. ขั้นเชื่อฟงคําสั่ง อายุ 3-8 ป จะเชื่อฟงผูใหญที่มีอํานาจทางกายภาพเหนือกวา เชน พอ<br />

แม ครู โดยไมคํานึงถึงเหตุผล<br />

3. ขั้นยึดตนเองเปนหลัก อายุ 8-15 ป มีความคิดเปนของตนเอง รูจักคิดวาอะไรดี<br />

หรือไมดี<br />

4. ขั้นยึดเหตุผล อายุ 15 ปขึ้นไป มีสติปญญาในการวิเคราะหแยกแยะดวยเหตุผลวา<br />

อะไรดีไมดี<br />

เมื่อพิจารณาถึงแนวคิดของเปยเจทและโคลเบิรก จะพบวาการพัฒนาทางสติปญญาเพื่อ<br />

สงเสริมดานจริยธรรมแกบุคคลสามารถที่จะเรียนรูและฝกฝนไดไปตามลําดับของอายุ โดยตองใช<br />

เวลาของการพัฒนาและการสะสมความรู ความเขาใจ ความเปนเหตุเปนผลในการแยกแยะจําแนก<br />

ความมีจริยธรรม ซึ่งเปนไปตลอดชั่วชีวิตของคน ๆ นั้น<br />

นักวิชาการตางเชื่อวา การพัฒนาดานจริยธรรมบุคคลสามารถพัฒนาได ดวยการขัดเกลา<br />

ของสถาบันพื้นฐานเชน ครอบครัว สถาบันการศึกษาและสังคม แตปจจุบันเราพบความเสื่อมถอย<br />

ของจริยธรรมเพิ่มมากขึ้นทั้งระดับบุคคล องคกรและสังคม ดังจะเห็นจากปญหาที่สงผลเสียหายที่<br />

กวางขวางและรุนแรง เชน ปญหายาเสพติด อาชญากรรม การลมละลายขององคกรธุรกิจขนาดใหญ<br />

ความแตกแยกทางความคิด การตอตานและการตอสูทางการเมืองทั้งในประเทศและตางประเทศ<br />

เหตุการณที่เปนปญหาดังกลาวมีรูปแบบที่ซับซอนมากขึ้น ฉะนั้นในแงของการพัฒนาจริยธรรมที่<br />

พูดถึงตอไป มีดวยกันหลากหลายวิธีแมวาแตละวิธีอาจตองใชความอดทนที่จะเห็นผลเกิดขึ้นใน<br />

ระยะยาวก็ตาม<br />

แนวทางการพัฒนาจริยธรรมที่นาสนใจที่จะนําไปสูความสําเร็จดวยความเขาใจถึงแกน<br />

แทของสาเหตุแหงปญหา โดยพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) (2551 : 1-102). ไดเทศนอบรมไว


62<br />

ในหัวขอจะพัฒนาบุคคลใหมีคุณธรรมและจริยธรรมไดอยางไร ซึ่งมีประเด็นที่นาคิดและนาสนใจ<br />

อยางยิ่ง ดังจะไดประมวลสรุป ดังตอไปนี้<br />

ภาพที่ 7 พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต)<br />

ที่มา : http://www.google.co.th<br />

การแกปญหาดานจริยธรรม หรือการสงเสริมใหมีจริยธรรมจะเกิดขึ้นไดตองมีความเขาใจ<br />

ในสาเหตุของปญหาใหลึกและแกไขใหครบวงจร คือ ตองเรียนรูและเขาใจถึงสิ่งที่ไมดี ใหรูวาอะไร<br />

เปนสิ่งที่ไมดี ที่เปนตัวกําหนดบทบาท เปนแรงจูงใจใหคนเรากระทํา หรือแสดงออกไป เพราะอะไร<br />

ทําไมถึงทําอยางนั้น ยกตัวอยางเชน ทําไมคนไทยจึงทํางานเปนทีมไมได ทานอธิบายวา ปญหาการ<br />

ทํางานเปนทีมไมไดของคนไทยมีความสัมพันธกับลักษณะนิสัยของคนไทย จากคําสอนในอดีตที่วา<br />

“ใหมีมานะอดทนร่ําเรียนใหสูง ตอไปจะไดเปนเจาคนนายคน” ซึ่งสะทอนถึงลักษณะนิสัยของคน<br />

ไทยเปนผูมี “มานะ” แปลวา ความถือตัว ถือตน ดังนั้นตัวที่จูงใจและบงการบทบาทใหคนเกิดความ<br />

อดทนพากเพียร คือ ตัวมานะเพื่อที่จะไดเปนเจาคนนายคน ในทางพุทธศาสนาถือวา มานะ เปนตัว<br />

กิเลสใหญ มีอยูดวยกัน 3 ตัว คือ ตัณหา มานะ ทิฐิ ซึ่งเปนตัวกิเลสที่กําหนดบทบาทของคน โดยให<br />

ความหมายของคําทั้ง 3 คําตอไปนี้<br />

1. ตัณหา คือ ความอยาก ความเห็นแกตัว ความอยากจะได อยากจะเอาเพื่อตัวเอง<br />

2. มานะ คือ ความตองการใหตัวเดน อยากยิ่งใหญ ความสําคัญตน หรือถือตนสําคัญ<br />

3. ทิฐิ คือ ความถือรั้นในความเห็นของตน ยึดติดในความเห็น เอาความเห็นเปนจริง<br />

ในสังคมไทยไดนําเอากิเลสฝายอกุศล หรือฝายชั่วนี้ มาใชใหเปนประโยชน ทั้งนี้จะตอง<br />

ใชใหเปน ใชใหถูกตองจึงจะมีประโยชน แตตองระมัดระวังผลขางเคียง เชน ถามีมานะในการรักษา<br />

ระเบียบวินัยของคนในสังคม ทําใหสังคมเจริญรุงเรืองแลวเกิดความลําพอง ยกตนขมทาน เพราะ<br />

สําคัญตนวา ดีกวา เหนือกวา ยิ่งใหญกวาคนอื่น แมเปนความสําเร็จแตไมไดเกิดจากเหตุผลที่เห็น


63<br />

ดวยปญญา แตเปนไปดวยแรงกิเลส จึงกลาวไดวา สิ่งที่ทํานั้นดี แตคนทํากลับไดชื่อวา เปนคนชั่ว<br />

ดังนั้นเมื่อเขาใจถึงสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นแลว ก็มาสรางเสริมจริยธรรมดวยการบูรณาการ<br />

วิธีการแกปญหาใหมีความสัมพันธกับปญหาอยางถูกตอง คือ จับใหถูกจุด หมายความวา จับ<br />

จริยธรรมตัวแกนหรือตัวนําของเรื่องนั้น ๆ แลวสงเสริมจริยธรรมนั้นอันเดียวจะสามารถโยงไป<br />

แกปญหาไดหลายอยาง เชน ถาจะทํางานตองฝกตนเองใหมีนิสัยรักงาน เมื่อจะทํางานใดก็จะรักงาน<br />

ที่ทํา แลวสิ่งที่ตามมา คือ ความขยันหมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย ความอดทน ความตรงตอเวลา มี<br />

สมาธิอยูกับการงาน ทําใหทํางานอยางมีความสุข<br />

เมื่อจะพัฒนาจริยธรรมจะตองมีการฝกฝนและปฏิบัติดานจริยธรรมอยางครบวงจร หรือ<br />

เรียกวา ทําอยางบูรณาการ เชน ตัวอยางการแสดงออกโดยเสรีในสังคมไทย ที่มักกลาวอางถึงความ<br />

เปนประชาธิปไตย จนเกิดการละเมิดทําใหเกิดความเดือดรอนและเขาขายดูหมิ่นผูอื่นใหไดรับความ<br />

เสียหายทั้งชื่อเสียงและทรัพยสิน ตามที่เปนขาวทางสื่อมวลชนตาง ๆ ไดมีการนําเสนอ พฤติกรรม<br />

ดังกลาวถือไดวาเปนการแสดงออกโดยเสรีอยางขาดจริยธรรม เพราะไมมีความรับผิดชอบตอการ<br />

กระทําของตนเองที่ทําใหผูอื่นไดรับความเดือดรอน หรือไดรับความเสียหาย<br />

การพัฒนาจริยธรรมในเรื่องนี้ตองใหการเรียนรูที่ถูกตองถึงเสรีภาพในการแสดงออก คือ<br />

ตองรูจุดมุงหมายของการแสดงออกเปนไปเพื่อที่ตองการแสวงหาความจริง ความถูกตอง อยางมี<br />

เหตุมีผล จึงตองรูจักรับฟงความคิดเห็นของคนอื่นดวย เปนการแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็นให<br />

ไปสูความรูจริง ไดสิ่งที่ถูกตองและบรรลุเปาหมายรวมกัน ดังนั้นถาคนในสังคมมีการแสดงออก<br />

อยางเสรีที่ถูกตอง ก็จะเปนสังคมที่มีระเบียบวินัย คนในสังคมจึงจะตองมีการฝกฝนตนใหมี<br />

ระเบียบวินัย อยูในกฎเกณฑกติกา ซึ่งจะเปนเครื่องควบคุมกํากับใหรูจักการยับยั้งชางใจในขอบเขต<br />

ของการแสดงออกที่พอดี นอกจากนี้สังคมที่มีการแสดงออกอยางเสรีทุกคนจะตองมีความ<br />

รับผิดชอบตอการกระทําของตนเองใหมากดวย มิฉะนั้นก็จะถูกฟองรองดําเนินคดีตามกฎหมาย<br />

บานเมือง เมื่อมีการกระทําที่ละเมิดตอผูอื่นหรือละเมิดตอสังคม<br />

องคกรธุรกิจที่ประกอบดวยเจาของกิจการ ผูถือหุน ประธานบริษัท คณะกรรมการบริษัท<br />

ผูเปนหุนสวน ผูบริหาร ตลอดจนผูปฏิบัติงานภายในองคกรธุรกิจทุกระดับ ไดมีความสัมพันธทั้ง<br />

เรื่องงานและเรื่องสวนตัว ที่มีความเปนมิตร มีความปรารถนาดีตอกัน ดังนั้นองคกรธุรกิจจึงตองมี<br />

การเสริมสรางและพัฒนาทางดานจริยธรรมองคกร เพื่อประโยชนสุขของทุกคนที่อยูรวมกัน การ<br />

พัฒนาจริยธรรมสามารถนําหลักการและแนวคิดทฤษฎีดังไดกลาวแลวขางตนมาพัฒนาใหเปนขอ<br />

ประพฤติปฏิบัติของบุคลากรในองคกร ดังนี้


64<br />

1. มีการจัดทําขอประพฤติปฏิบัติทางจริยธรรมของบุคลากรที่ดํารงตําแหนงในแตละ<br />

ระดับใหมีความเหมาะสม<br />

2. กําหนดเปนนโยบายและระเบียบขอบังคับในการประพฤติปฏิบัติของบุคลากรทุกคน<br />

3. จัดตั้งคณะกรรมการในการกํากับดูแล สงเสริมและควบคุมการประพฤติปฏิบัติของ<br />

บุคลากรทุกคนใหสอดคลองกับขอกําหนดทางจริยธรรมขององคกร<br />

4. จัดกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแกบุคลากรภายในองคกรอยาง<br />

สม่ําเสมอและตอเนื่องทุกป เชน จัดอบรม สัมมนาใหความรู แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน โดยใช<br />

หลักศาสนาเปนพื้นฐานและนําทาง<br />

5. มีการตรวจสอบความเหมาะสมของขอประพฤติปฏิบัติเปนระยะ ๆ ใหทันสมัย ทันตอ<br />

สถานการณและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความถูกตองดีงาม<br />

6. สรางบรรยากาศความมีจริยธรรมภายในองคกร โดยผูบริหารเปนแกนนําหลักให<br />

ความสําคัญอยางจริงจังและดํารงตนเปนแบบอยางที่ดีแกบุคลากร<br />

7. เชื่อมความสัมพันธกับองคกรภายนอก โดยรวมมือกันกําหนดและสรางบรรยากาศ<br />

การบริหารงานธุรกิจดวยคุณธรรมจริยธรรม เชน จัดประกวดองคกรธุรกิจที่มีคุณธรรมจริยธรรม<br />

เพื่อกระตุนและจูงใจใหนักธุรกิจ ผูบริหารองคกรธุรกิจไดตระหนักถึงการดําเนินธุรกิจอยางมี<br />

คุณธรรมจริยธรรม<br />

8. ฟนคานิยมดั้งเดิมของคนไทย “เคารพและยกยองคนดี” ลางคานิยมปจจุบัน “ยกยอง<br />

คนรวย คนมีอํานาจ”<br />

การตรวจสอบจริยธรรมในองคกรธุรกิจ<br />

เมื่อมีความพยายามที่จะสรางจริยธรรมใหมีขึ้นในองคกร และใหมีความตอเนื่อง<br />

สม่ําเสมอ จึงควรมีระบบของการตรวจสอบจริยธรรมในองคกรดวย เพื่อเปนการสรางแรงกระตุน<br />

ใหเกิดความตื่นตัวและเห็นถึงคุณคาความสําคัญของคุณธรรมจริยธรรมอยางยิ่งยวด ซึ่งจะไดเสนอ<br />

แนวคิดการตรวจสอบจริยธรรมในองคกร ดังนี้<br />

1. สรางมาตรฐานและเครื่องมือวัดจริยธรรม<br />

2. ดําเนินการประเมินมาตรฐานจริยธรรม<br />

3. จัดทําคูมือการวัด ตัวชี้วัดและเกณฑการใหคะแนน<br />

4. แตงตั้งคณะทํางานการตรวจสอบจริยธรรมในองคกร<br />

5. ดําเนินการตรวจสอบจริยธรรมภายในองคกรเปนระยะ เชน ปละ 2 ครั้ง


65<br />

6. ประกาศผลการประเมินจริยธรรมของพนักงานแตละฝายในองคกร<br />

7. ประกาศเกียรติคุณ หรือมอบรางวัลแกฝายและบุคคล ตั้งแตระดับผูบริหารถึงระดับ<br />

ปฏิบัติการ ที่ไดรับการประเมินจริยธรรมผานในแตละระดับ<br />

8. จัดอบรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูดานจริยธรรมรวมกันระหวางฝายตาง ๆ ภายใน<br />

องคกร<br />

9. มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเกณฑและคะแนนการชี้วัดดานจริยธรรมใหสอดคลองกับ<br />

ความเปนจริง ตามสถานการณและเหตุการณแวดลอมมีความทันสมัย<br />

10. มาตรฐานและเกณฑชี้วัด เพื่อการตรวจสอบจริยธรรมในองคกร ควรเปนเกณฑที่<br />

สนับสนุนสงเสริม ไมใชกดดันหรือบีบคั้นคนในองคกร<br />

11. การกระทําผิดจริยธรรมที่รายแรง เชน การลวงละเมิดทางเพศ การทุจริตและอื่น ๆ ที่<br />

สงผลตอความเสียหายที่รุนแรงตอองคกรทั้งดานภาพลักษณ ทรัพยสินและความสัมพันธระหวาง<br />

คนในองคกร ควรมีบทลงโทษเชนเดียวกับกฎหมาย<br />

บทบาทของภาครัฐในการเสริมสรางจริยธรรม<br />

ความเกี่ยวของสัมพันธระหวางภาครัฐกับภาคธุรกิจเอกชน เปนสิ่งที่คูกันและเชื่อมโยงถึง<br />

พฤติกรรมระหวางกันอีกดวย หากภาครัฐมีการดําเนินงานที่อยูภายใตกรอบกติกาของกฎเกณฑและ<br />

ความมีจริยธรรมก็เหมือนกับผูใหญที่แสดงตนเปนแบบอยางที่ดีกับเด็ก ซึ่งทําใหเด็กสามารถที่จะมี<br />

แบบอยางและเอาเยี่ยงอยางที่ดีนั้น แตหากผูใหญที่เปนฝายภาครัฐกระทําการฉอฉล ทุจริตคอรัปชั่น<br />

เรียกรองสินบน เงินใตโตะ ยอมจะกระทบตอพฤติกรรมที่ธุรกิจจะขาดความเชื่อมั่นในภาครัฐและ<br />

กอใหเกิดพฤติกรรมที่กระทําผิดจริยธรรมเลียนแบบกันไป จากการนําเสนอของสํานักขาวแหงชาติ<br />

วา สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ไดเปดเผยขอมูลการจัดอันดับจากองคกรความโปรงใส<br />

นานาชาติ ประเทศไทยอยูอันดับที่ 78 จาก 100 ประเทศทั่วโลกไดคะแนนเพียง 3.5 คะแนน สงผล<br />

กระทบตอความมั่นใจของนักลงทุนในประเทศไทย โดยในตลาดหลักทรัพยและรัฐวิสาหกิจที่มี<br />

ความเชื่อมโยงธุรกิจระหวางภาครัฐและภาคเอกชนจะพบวา มีการทุจริตมากที่สุด จากขอมูล<br />

ดังกลาวสงผลกระทบตอการลงทุนและภาคธุรกิจไทย เนื่องจากแหลงเงินทุนหลายประเทศ<br />

หลีกเลี่ยงการเขามาลงทุนในประเทศไทย ซึ่งจะสงผลตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ ขณะที่<br />

ประเทศสิงคโปร มีความโปรงใสเปนอันดับ 1 ได 9.5 คะแนน ขอมูลการทุจริตในครั้งนี้สะทอนถึง<br />

คุณธรรมจริยธรรมในระดับประเทศไทยตกต่ําและนากังวล จึงเปนภาระหนาที่สําคัญที่ภาครัฐ


66<br />

จะตองเขามามีบทบาทเปนเจาภาพหลัก ดวยการสรางความรวมมือทางจริยธรรมกับภาคสวนตาง ๆ<br />

ดังจะไดอธิบายขยายความเพิ่มเติมจาก (สมคิด บางโม. 2549 : 89) ดังนี้<br />

1. ออกกฎหมายบังคับธุรกิจตองปฏิบัติตามจริยธรรม เชน พ.ร.บ.คุมครองผูบริโภค<br />

พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ร.บ.วาดวยราคาสินคาและบริการ พ.ร.บ.ชั่งตวงวัด พ.ร.บ.ยาและ<br />

มารยาท หรือจรรยาบรรณของวิชาชีพตาง ๆ ไดแก แพทย ทนายความ นักบัญชี วิศวกร สถาปนิก<br />

เปนตน ซึ่งกฎหมายหลายฉบับไดออกมาบังคับใชแลว แตความศักดิ์สิทธิ์ในการใชกฎหมายอยาง<br />

เครงครัดของหนวยงานและผูดูแลรักษากฎหมายยังไมไดปฏิบัติหนาที่อยางจริงจัง ขาดการทําหนาที่<br />

ในเชิงรุกจะเปนเพียงรอรับเรื่องราวรองทุกขของผูที่เดือดรอน หรือรอใหเกิดเหตุและกลายเปน<br />

กระแสของสังคมที่สื่อมวลชนเอามาเลนขายขาวจึงจะมีการรับลูก หรือรับเรื่องราวไปดําเนินการ<br />

บางก็ทําในลักษณะลูบหนาปะจมูก พอกระแสสังคมหายไปเรื่องก็เงียบตามไปดวย<br />

2. หนวยงานที่เกี่ยวของในการกํากับดูแลดานการศึกษา ควรออกกฎเกณฑใหสถาบัน<br />

การศึกษาระดับอุดมศึกษาทุกแหงไดกําหนดหลักสูตรที่มีรายวิชาเกี่ยวกับจริยธรรมโดยตรง<br />

นอกเหนือจากการสอดแทรกไวในเปนหัวขอยอย ๆ ในบทเรียนของรายวิชา ทั้งนี้เพื่อใหการสอนมี<br />

การเนนย้ําและจัดการเรียนการสอนที่มีการขัดเกลาพฤติกรรมดานจริยธรรมแกนักศึกษา ทั้งดาน<br />

เนื้อหาและทักษะ ใหเกิดการตระหนักถึงจริยธรรมทางธุรกิจแกนักศึกษากอนที่จะสําเร็จเปนบัณฑิต<br />

ออกไปสูสังคมตอไป<br />

3. บทบาทองคกรวิชาชีพธุรกิจของรัฐ ตองทํางานเชิงรุกในการเขาหาทุกองคกรวิชาชีพ<br />

เพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานทางธุรกิจที่ตองมีจริยธรรมตอผูที่เกี่ยวของ ที่เปนผูมีสวน<br />

ไดสวนเสียกับการดําเนินธุรกิจ มีการกระตุนสรางแรงจูงใจใหธุรกิจเกิดความตื่นตัวและตระหนักรู<br />

ถีงจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจที่ตองมีการแขงขันกันอยางเสรี โดยอาจจัดประกวดและใหรางวัล<br />

นักธุรกิจดีเดนในแตละสาขา บริษัทดีเดน โดยเนนดานจริยธรรมเปนหลักสําคัญ<br />

4. ตั้งศูนยดูแล จัดอบรม โดยจัดหลักสูตรอบรมเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ การเผยแพร<br />

ความรูเรื่องเกี่ยวกับจริยธรรมผานสื่อตาง ๆ จัดกระบวนการเรียนรูใหเปนองคกรแหงการเรียนรูดาน<br />

จริยธรรมธุรกิจ<br />

5. องคกรภาครัฐและบุคลากรที่อยูภายใน ตั้งแตระดับรัฐมนตรีที่กํากับดูแลนโยบายไป<br />

จนถึงปลัดกระทรวง อธิบดีกรม ผูอํานวยการ ตลอดจนผูปฏิบัติงาน เจาหนาที่ที่รับผิดชอบควรมี<br />

แนวทางการปฏิบัติงานที่โปรงใส ตรวจสอบได เปนผูสรางแบบอยางและคานิยมที่ดี ไมทุจริต<br />

ไมเรียกรับสินบนคาน้ํารอนน้ําชา จนติดเปนนิสัย หากธุรกิจรายใดไมปฏิบัติตามก็จะไมไดรับความ<br />

สะดวก ถวงเวลาใหเนิ่นชาจนเกิดความเสียหายแกธุรกิจ ในที่สุดธุรกิจเหลานั้นจําเปนตองยอมทําไป


67<br />

ตามน้ํา เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอธุรกิจ สิ่งเหลานี้บุคคลที่มีหนาที่รับผิดชอบในองคกรภาครัฐจึง<br />

ตองเปนผูที่มีจริยธรรมในการกํากับ ดูแลและปฏิบัติหนาที่ใหเกิดคานิยมใหม คานิยมแหงคุณงาม<br />

ความดีที่จะทําใหเกิดแกธุรกิจและสังคม<br />

6. สงเสริมใหทุกธุรกิจและทุกวิชาชีพมีความเปนวิชาชีพ คือ มีการจัดตั้งองคกรที่ไดรับ<br />

การยอมรับตามกฎหมาย มีการจัดทําจรรยาบรรณวิชาชีพของตนอยางเปนลายลักษณอักษร เพื่อเปน<br />

คูมือ หรือแนวทางการปฏิบัติของบุคลากรภายในองคกร<br />

ฉะนั้นจึงตองพัฒนาจริยธรรมของคนในภาครัฐ หรือขาราชการที่รับผิดชอบในงานนั้น ๆ<br />

กอนเปนอันดับแรก ไดแก ผูนํารัฐบาล นักการเมืองที่รับผิดชอบ ผูบังคับบัญชา บุคลากร รวมทั้ง<br />

หนวยงานที่เกี่ยวของ ในการดําเนินการควรพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ 8 เรื่อง ซึ่งจะไดแสดง<br />

ตัวอยางของ การพัฒนาจริยธรรมขาราชการ (แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ. 2549.<br />

ออนไลน) ดังนี้<br />

1. สนับสนุนและสงเสริมใหบุคคล หรือหนวยงานภายนอกเขามามีสวนในการควบคุม<br />

ตรวจสอบจริยธรรมของขาราชการเพิ่มขึ้น สาเหตุสําคัญของการประพฤติมิชอบในวงราชการ มา<br />

จากขาราชการบางสวนขาดจริยธรรม ไรซึ่งจิตใจ ไรจิตสํานึก ไรจิตวิญญาณและอุดมการณก็ได<br />

เพราะจริยธรรมมีสวนสําคัญในการกําหนดพฤติกรรมการปฏิบัติหนาที่ราชการ รวมทั้งการกระทํา<br />

หรืองดเวนการกระทําการใด ๆ ตามอํานาจหนาที่ของขาราชการอันสงผลกระทบถึงประสิทธิภาพ<br />

ในการปฏิบัติหนาที่ราชการ เพื่อประโยชนของประเทศชาติและประชาชนโดยรวม ประกอบกับการ<br />

ควบคุมตรวจสอบภายในหนวยงานของรัฐไมอาจดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อาจเนื่องจาก<br />

การเปนพวกเดียวกัน สีเดียวกัน จึงชวยเหลือและเขาขางพวกเดียวกัน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตอง<br />

พัฒนาหรือสนับสนุนใหบุคคล หรือหนวยงานภายนอก เชน ประชาชน สถาบันการศึกษา องคการ<br />

เอกชนและสื่อมวลชน เขามามีสวนรวมในการตรวจสอบพฤติกรรมและจริยธรรมของขาราชการ<br />

เพิ่มมากขึ้น<br />

2. สนับสนุนใหดําเนินคดีและลงโทษขาราชการที่ประพฤติมิชอบ ตามบทบัญญัติของ<br />

กฎหมายอยางเครงครัดและรวดเร็ว โดยดําเนินการกับขาราชการทุกระดับ ซึ่งจะทําใหเกิดการ<br />

ปองกันมิใหขาราชการคิดและปฏิบัติราชการในทางมิชอบ เพราะกลัวเกรงวาจะตองถูกลงโทษ<br />

3. ตอตาน และหรือไมสนับสนุนคานิยมของขาราชการไทย ที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนา<br />

ประเทศ ไดแก 1) คานิยมของการใชอํานาจหนาที่ในทางมิชอบ 2) คานิยมที่ยึดถือระบบพวกพอง<br />

ในทางมิชอบ 3) คานิยมที่ตองการเปนเจาคนนายคน 4) คานิยมในการประจบสอพลอ 5) คานิยม<br />

ที่ชอบความสะดวกสบายและเกียจคราน 6) คานิยมแบบปจเจกชนนิยม และ7) คานิยมในความเปน


68<br />

อนุรักษนิยม ขณะเดียวกันใหดําเนินการคูขนานดวยการสงเสริมการสรางและปลูกฝงคานิยมที่<br />

สงเสริมการพัฒนาประเทศใหเผยแพร เชน 1) คานิยมความซื่อสัตยสุจริต 2) คานิยมในระบบ<br />

คุณธรรม 3) คานิยมในหลักประชาธิปไตย 4) คานิยมที่ยึดถือหลักการมากกวาตัวบุคคล 5) คานิยม<br />

ความประหยัดและขยัน 6) คานิยมการรวมกลุม และ7) คานิยมในระเบียบวินัย<br />

4. ผูบังคับบัญชาควรประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัติราชการ โดยใชวิชา<br />

ความรูและประสบการณในทิศทางที่เปนประโยชนตอสวนรวม คุณลักษณะการประพฤติตัวที่ถือ<br />

วาเปนแบบอยางที่ดีของผูบังคับบัญชา 10 ประการ คือ 1) เปนคนสุจริตไมเขาไปมีสวนเกี่ยวของกับ<br />

การทุจริตอยางเด็ดขาด โดยละความชั่ว บริหารจัดการงาน หรือปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตยสุจริต<br />

และพยายามแสดงออกใหเห็นอยางชัดเจนตอเนื่อง เชน ไมเรียกรองรับทรัพยสินเงินทอง รับสวย<br />

รับผลประโยชนตอบแทนในทางมิชอบและไมปกปองคุมครองชวยเหลือผูใตบังคับบัญชาที่ทุจริต<br />

2) เสียสละประโยชนและความสุขสวนตัวเพื่อสวนรวม 3) ดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาที่อยาง<br />

ภาคภูมิใจ มีเกียรติ มีศักดิ์ศรีและมีจรรยาบรรณ ใหคํานึงถึง เกียรติยศศักดิ์ศรีตองมากอน (Honor<br />

Comes First) เงิน หรือผลประโยชนในทางมิชอบ 4) มีไมตรีจิต (Courtesy) ซึ่งครอบคลุมถึงการมี<br />

มารยาท ความสุภาพ ความเอื้อเฟอ มีอัธยาศัยและมนุษยสัมพันธที่ดี 5) ทําตัวใหเปนที่ยอมรับ<br />

(Respect) ใหไดรับความศรัทธาจากประชาชน 6) เปนผูใหมากกวาผูรับและรูจักพอ 7) สนับสนุน<br />

และยกยองคนดี พรอมทั้งดําเนินการกับคนไมดี เชน ไมยกยองและประณาม 8) มีความเปน<br />

ผูเชี่ยวชาญและเปนแบบอยางที่ดีทั้งในเรื่องงานและเรื่องสวนตัว 9) ปฏิบัติราชการในลักษณะที่<br />

แสดงถึงความเปนมืออาชีพ (Professionalism) คือ รูจริง มีความสามารถ ความชํานาญ สามารถ<br />

ปฏิบัติงานเพื่อผลประโยชนของสวนรวมไดอยางมีประสิทธิภาพ 10) เปนผูนําและมีภาวะผูนําใน<br />

การบริหารงานดวย คือ ตองกลาคิด กลาตัดสินใจและรับผิดชอบตอผลของการกระทําดวยจึงจะ<br />

สอดคลองกับคํากลาวนี้ A leader without leadership is not leader<br />

5. สนับสนุนใหนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวทางในการปฏิบัติราชการ แมวา<br />

จะไดมีการกําหนดไวในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9-10 รวมทั้งแผนฉบับ<br />

ที่ 11 (2555-2559) อยางตอเนื่อง แตควรไดมีการนํามาปฏิบัติใหเกิดเปนรูปธรรมที่แทจริงดวย ดังจะ<br />

ไดสรุปสาระสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอสังเขปกอนที่จะไดกลาวอยางละเอียดในบท<br />

อื่นตอไป คือ 1) การดําเนินการทางสายกลางบนพื้นฐานความพอดี เนนการพึ่งพาตนเอง อยางกาว<br />

ทันโลกในยุคโลกาภิวัตน 2) ความพอเพียงที่เนนการผลิตและบริโภคบนความพอประมาณ มี<br />

เหตุผล 3) ความสมดุลและการพัฒนาที่ยั่งยืน เปนการพัฒนาอยางเปนองครวม มีสมดุลระหวาง<br />

กระแสการแขงขันของโลกและกระแสทองถิ่นนิยม มีความหลากหลายในโครงสรางการผลิต การ


69<br />

ใชทุนทางสังคมที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุด ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ภูมิปญญา ตลอดจนวิถีชีวิตที่ดีงาม 4) การมีภูมิคุนกันในตัวที่ดีพอสมควร<br />

เตรียมความพรอม รูเทาทันตอผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ มีความยืดหยุนในการ<br />

ปรับตัว มีการตัดสินใจอยางมีเหตุมีผล มีความเขมแข็ง มั่นคงและยั่งยืน 5) การเสริมสรางจิตใจคน<br />

และพัฒนาคนในชาติใหเปนคนดี มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต มีสติปญญา มีความ<br />

เพียร อดทนและรอบคอบ<br />

6. สงเสริมใหนําการบริหารราชการตามแนวทางการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี (Good<br />

Government) ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี<br />

พ.ศ. 2546 โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี 6 หลัก ไดแก หลักนิติธรรม (rule of law)<br />

หลักคุณธรรม (Ethics) หลักความโปรงใส (Transparency) หลักความมีสวนรวม (Participation)<br />

หลักความรับผิดชอบ (Accountability) และหลักความคุมคา (Value for Money) กลาวไดวา แมจะมี<br />

กระบวนการปฏิบัติราชการที่ประกอบดวยกี่ขั้นตอนก็ตาม ถาในแตละขั้นตอนไมยึดถือกฎระเบียบ<br />

หรือตัวบทกฎหมายขาดคุณธรรม ขาดความซื่อสัตยสุจริต ขาดความโปรงใส ไมเปดโอกาสใหมีการ<br />

ควบคุมตรวจสอบ ทั้งจากภายในและภายนอก ตลอดจนขาดการมีสวนรวมของประชาชน ขาดความ<br />

รับผิดชอบในการดําเนินงานและขาดความคุมคาในการดําเนินงานแลว กระบวนการปฏิบัติราชการ<br />

ก็จะไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร<br />

7. สนับสนุนใหผูบังคับบัญชา ผูบริหาร แกนนําในการปฏิบัติราชการ นําหลักปกครอง<br />

เชน ทศพิธราชธรรมมาปรับใช ทศพิธราชธรรมเปนหลักที่นักบริหารและสามัญชนสามารถนํามา<br />

ปรับใชได<br />

8. สนับสนุนใหหนวยงานทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน เขามามี<br />

สวนรวมในการควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติราชการของขาราชการดานจริยธรรมอยางตอเนื่อง โดย<br />

ดําเนินการในลักษณะเปนเครือขาย คือ หนวยงานและประชาชน มีการรวมตัวกันเปนกลุม เปน<br />

ชุมชนเพื่อดําเนินกิจกรรมรวมกัน เปนองคกรในพื้นที่ทุกระดับ โดยมีเปาหมายและกิจกรรม<br />

เชื่อมโยงกันและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจสังคม การเมือง สภาพแวดลอมของพื้นที่นั้น ทั้งนี้<br />

ตองเปนไปในทิศทางที่เอื้ออํานวยประโยชนตอประเทศชาติและประชาชนโดยรวมดวย<br />

จากตัวอยางแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของขาราชการทั้ง 8 ขอ ในทางปฏิบัติก็ไดมีการ<br />

ดําเนินการไปบางแลว แตยังไมสามารถที่จะกลาวไดวา ประสบความสําเร็จ ดังนั้นหนวยงานและ<br />

บุคลากรทุกฝายที่เกี่ยวของจะตองชวยกันสรางและพัฒนาคานิยมทางจริยธรรมที่ถูกตองดีงามให<br />

เกิดขึ้นอยางถาวร มีความตอเนื่องและสม่ําเสมอ ทั้งนี้เพื่อยกระดับความมีคุณธรรมจริยธรรมใน


70<br />

สังคมไทยใหเปนที่ยอมรับแกบุคคลและหนวยงาน ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งจะสงผลตอ<br />

ภาพลักษณที่นาเชื่อถือ เกิดการยอมรับ การไววางใจและความสัมพันธที่ดีระหวางกัน ทําใหเกิดผลดี<br />

ตอการคา การลงทุนแกประเทศชาติและจะสงผลที่ดีดานตาง ๆ ตามมาในที่สุด<br />

สรุป<br />

ธุรกิจจําเปนที่จะตองมีจริยธรรม แมวาในระยะแรกจะเปนความเขาใจผิดวาจริยธรรม<br />

ขัดแยงกับเปาหมายกําไรสูงสุดของธุรกิจ ซึ่งแทจริงแลวการมีจริยธรรมทางธุรกิจ แมวาจะสงผล<br />

กระทบตอการเพิ่มตนทุน หรือมองวาเสียเปรียบในการแขงขัน แตก็จะทําใหธุรกิจไดรับความ<br />

เชื่อถือ การยอมรับและความไววางใจในระยะยาว ทั้งจากลูกคา คูคา คูแขง หนวยงานราชการ<br />

รวมทั้งบุคลากรภายในของธุรกิจเองก็จะไดรับผลที่ดีดวย ธุรกิจจึงสามารถดําเนินงานและทํากําไร<br />

สูงสุดไดและดํารงอยูอยางยั่งยืน ตรงขามหากธุรกิจที่ขาดจริยธรรมจะไดรับผลกระทบไมวาจะเปน<br />

ความขัดแยงภายในองคกร ขาดประสิทธิภาพในการทํางาน การสรางศัตรูการคา การไมไดรับการ<br />

เชื่อถือจากหนวยงานราชการและอาจถูกตอตานจากลูกคา หรือชุมชน การวัดระดับมาตรฐาน<br />

จริยธรรมของธุรกิจวัดได 3 ระดับ คือ เปนธุรกิจที่ไมมีจริยธรรม มีจริยธรรม และไมสนใจจริยธรรม<br />

ดังนั้นจึงตองมีการพัฒนาจริยธรรมทางธุรกิจ โดยเริ่มจากการพัฒนาคนใหมีจริยธรรมกอน ซึ่งตาม<br />

แนวคิดทฤษฎีเปยเจทและโคลเบิรก อธิบายวาการพัฒนาจริยธรรมของคนมีรากฐานจากการพัฒนา<br />

ทางสติปญญาและอารมณ ซึ่งโคลเบิรกแบงการพัฒนาออกเปน 3 ระดับคือ ขั้นกอนมีจริยธรรม ขั้น<br />

มีจริยธรรมตามกฎเกณฑและขั้นมีจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ นอกจากนี้การพัฒนาจริยธรรมตาม<br />

หลักพุทธศาสนาจะตองหาสาเหตุของปญหากอนจึงจะสามารถแกปญหาและพัฒนาจริยธรรมไดถูก<br />

ทาง เมื่อจะนําไปพัฒนาจริยธรรมทางธุรกิจ จะตองมีแนวทางการตรวจสอบจริยธรรมในองคกร<br />

ธุรกิจ โดยองคกรธุรกิจเอง นอกจากนี้ภาครัฐก็มีบทบาทในการที่จะเสริมสรางจริยธรรมแกองคกร<br />

ธุรกิจ เชน การใชกฎหมาย การกํากับดูแลทางการศึกษา บทบาทขององคกรวิชาชีพของรัฐ ตั้งศูนย<br />

ดูแล อบรมระดับกิจกรรมและระดับนโยบาย ดังนั้นการมีจริยธรรมขององคกรธุรกิจยังเกี่ยวของกับ<br />

คุณธรรมของขาราชการที่มีความสัมพันธกัน ทั้งดานการสนับสนุนสงเสริมกันใหเกิดจริยธรรม<br />

หรือขาดจริยธรรม หากฝายหนึ่งเสนอและอีกฝายหนึ่งสนอง<br />

กรณีศึกษา<br />

บริษัทเอสโซมีบริษัทแมอยูที่สหรัฐอเมริกาและมีบริษัทลูก หรือบริษัทในเครือเอสโซอยู<br />

ในประเทศตาง ๆ ทั่วโลก มีนโยบายดําเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรม ดังนี้


71<br />

1. นโยบายเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ<br />

1.1 การมีชื่อเสียงที่มั่นคงเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ เปนทรัพยสินที่มีคายิ่งของ<br />

บริษัท<br />

1.2 กิจกรรมทุกอยางจะตองบันทึกไวอยางถูกตองในบัญชีของบริษัท หามมีการ<br />

ปลอมแปลงในสมุดบัญชีและการบัญชีธนาคาร ซึ่งไมเปนที่เปดเผย<br />

1.3 เคารพกฎหมายอยางเครงครัดที่เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจและการปฏิบัติที่เปน<br />

ธรรม ไมยอมใหพนักงานละเมิดกฎหมาย หรือกระทําผิดจรรยาบรรณ<br />

2. นโยบายปองกันการผูกขาด<br />

2.1 ใหกรรมการและพนักงานของบริษัททุกคน เคารพอยางเครงครัดตอกฎหมาย<br />

ปองกันการผูกขาดของสหรัฐฯ และตอตานกฎหมายของประเทศอื่นใด หรือกลุมประเทศตาง ๆ ซึ่ง<br />

ใชบังคับในการดําเนินธุรกิจของบริษัท<br />

2.2 ไมมีผูใดในบริษัทมีอํานาจที่จะออกคําสั่งใด ๆ ที่มีผลตอการละเมิดนโยบายนี้<br />

3. นโยบายเกี่ยวกับของขวัญและการเลี้ยงรับรอง<br />

หามใหของขวัญเปนเงินสดในนามของบริษัท หามรับของขวัญเปนเงินสด การเลี้ยง<br />

ตอนรับ คาเดินทาง สิ่งจูงใจอื่นใหเปนไปพอประมาณ ไมบอยนักและเหมาะสมกับโอกาส<br />

จรรยาบรรณ ตองคํานึงถึงกฎหมายและกฎปฏิบัติที่ใชบังคับอยู<br />

4. นโยบายเกี่ยวกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม<br />

4.1 ยึดมั่นในมาตรฐานสิ่งแวดลอมทั้งหลายและในกฎขอบังคับตาง ๆ ที่อาจใช<br />

บังคับกับธุรกิจของบริษัท<br />

4.2 ประกันวาการปฏิบัติงานและผลิตภัณฑของเครือเอสโซ จะไมทําใหเกิดการเสี่ยง<br />

ภัยรายแรงแกสุขภาพของคนทั่วไป แตเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม ความปรารถนาทางสังคมและ<br />

เศรษฐกิจ ตลอดจนความตองการของชุมชน<br />

4.3 ปฏิบัติงานโดยรวมมือกับบุคคลภายนอก เพื่อใหเกิดความเปนเอกฉันทเกี่ยวกับ<br />

คุณภาพมาตรฐานของสิ่งแวดลอม<br />

4.4 จะปฏิบัติงานอยางแข็งขันจริงจังกับกลุมตาง ๆ ของทางราชการ เพื่อสงเสริมและ<br />

สนับสนุนใหมีการพัฒนาระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ เพื่อใหไดมาซึ่งมาตรฐานสิ่งแวดลอมอันพึง<br />

ประสงค


72<br />

5. นโยบายเกี่ยวกับการแพทย<br />

5.1 พิสูจนและประเมินสิ่งที่เปนภัยตอสุขภาพอนามัย อันเกิดจากการปฏิบัติงานและ<br />

ผลิตภัณฑของบริษัท<br />

5.2 วางแผนนําไปปฏิบัติและประเมินโครงการที่จะขจัดหรือควบคุมภัยดังกลาว<br />

5.3 ถาทราบวาอาจเปนภัยตอสุขภาพอนามัยตอชุมชน หรือกลุมบุคคลที่ไดรับ<br />

ผลกระทบตองรีบเผยแพรใหทันตอเวลาและไดผล<br />

5.4 ในขณะและหลังการรับบุคลากรเขาทํางาน ตรวจสอบดูวาพนักงานมีพลานามัย<br />

สมบูรณดี เพื่อที่จะปฏิบัติงานได โดยไมเปนการเสี่ยงภัยเกินควร<br />

5.5 จัดบริการทางการแพทยที่จําเปนเพื่อทําการรักษาพยาบาล ผูที่เจ็บปวยหรือ<br />

บาดเจ็บอันเนื่องมาจากการทํางานและเพื่อทําการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน<br />

6. นโยบายเกี่ยวกับการใหเงินอุดหนุนทางการเมือง<br />

เอสโซ จะไมบริจาคเงินแกผูสมัครทางการเมือง ทั้งนี้ไมเกี่ยวกับการบริจาคเปน<br />

สวนตัวโดยถูกกฎหมาย<br />

7. นโยบายในเรื่องผลประโยชนขัดกัน<br />

7.1 ใหกรรมการและพนักงานของบริษัทหลีกเลี่ยงการดําเนินธุรกิจที่ขัด<br />

ผลประโยชนกันของบริษัทผูจัดสง ลูกคาและองคการหรือเอกชนอื่นๆ ทั้งมวล ที่กําลังทําธุรกิจ<br />

การคากับบริษัทในหรือบริษัทในเครือใดๆ<br />

7.2 ใหกรรมการและพนักงานหลีกเลี่ยงมิใหผลประโยชนของตนขัดกับ<br />

ผลประโยชนของบริษัทในการดําเนินธุรกิจสวนตัว รวมทั้งกิจกรรมเกี่ยวกับหุนของบริษัท หรือของ<br />

ประโยชนในเครือใด ๆ ที่มิไดอยูในเครือ แตมีความสัมพันธทางธุรกิจกับผลประโยชนของบริษัท<br />

8. การนําอุดมการณและหลักจรรยาบรรณไปปฏิบัติ<br />

บริษัทในเครือเอสโซ ไดพิมพหนังสือชื่อ จรรยาบรรณทางธุรกิจแจกใหกับพนักงาน<br />

ทุกคนและขอใหพนักงานนําหลักดังกลาวไปปฏิบัติอยางเครงครัด<br />

คําถาม จากกรณีศึกษาบริษัทเอสโซ จริยธรรมดานตาง ๆ นักศึกษาวิเคราะหและมีความ<br />

คิดเห็นตอเรื่องดังตอไปนี้อยางไร<br />

1. จริยธรรมที่เอสโซกําหนดขึ้นมีขอใดที่มีชองโหวใหหลีกเลี่ยงได<br />

2. จริยธรรมในขอใดที่จะทําใหการดําเนินงานของเอสโซตองประสบปญหาหรือ<br />

อุปสรรคในการดําเนินธุรกิจภายใตคานิยมแบบสังคมไทย หรือไม อยางไร


73<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 3<br />

กีรติ บุญเจือ. (2551). คูมือจริยศาสตรตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมและ<br />

พัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม.<br />

แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ. [ออน-ไลน]. (2549). แหลงที่มา:<br />

www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf<br />

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. (2554). ระดับ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-33-search.asp<br />

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). การพัฒนาจริยธรรม. กรุงเทพฯ : พิมพสวย.<br />

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2549). การพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf.<br />

สมคิด บางโม. (2549). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพัฒนาวิทยการพิมพ.<br />

สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2554). มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.moph.go.th/ops/ops/opct/matatan.html.<br />

สุภาพร พิศาลบุตร. (2549). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.<br />

Numthon Kotvong. (2554). ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม. (ออนไลน). แหลงที่มา:<br />

http://sites.google.com/site/citwithyaphunthan/phathnakar-khx-ngbukhkh/thvsdiphathnakar-thang-cit-sangkhm/khan-kar-khid-laea-kar-kheaci/thvsdi-phathnakarthang-criythrrm<br />

W.C. Crain. (1985). Theories of Development. Prentice-Hall.


บทที่ 4<br />

จริยธรรมผูบริหาร<br />

เมื่อมีการตั้งคําถามวาผูบริหารคือใคร คําตอบที่ไดอาจมีหลายแงมุม บางเนนที่คุณลักษณะ<br />

ของบุคคล บางเนนที่ลักษณะของงาน บางเนนที่ลักษณะความรับผิดชอบ แตไมวาจะเนนในเรื่องใด<br />

การวางตําแหนงผูบริหารยอมอยูในระดับบนเหนือกวาคนอื่น เพื่อบงบอกถึงการมีอํานาจตัดสินใจ<br />

สั่งการและควบคุม ซึ่งบทบาทหนาที่ดังกลาวจะทําไดดีเพียงใดขึ้นอยูกับหลายปจจัย ผูบริหารที่<br />

สามารถสรางงาน สรางคนและสรางตนใหเปนที่ยอมรับยกยอง ทั้งความสําเร็จและความดีที่ดํารง<br />

ตนอยู พรอมดวยผลงานที่ประจักษและทีมงานที่ใหความรวมมือรวมใจกันเปนอยางดี สิ่งเหลานี้จะ<br />

สะทอนความเปนผูบริหารหรือการเปนผูนําที่จะประสบผลสําเร็จในบทบาทหนาที่ของผูบริหารเปน<br />

อยางดี<br />

บทบาทหนาที่ของผูบริหาร<br />

กอนจะกลาวถึงบทบาทหนาที่ของผูบริหาร อาจมีคําถามวา ผูบริหารคือใคร ลองคิดงาย ๆ<br />

เมื่อเขาไปในองคกรหนึ่ง ๆ จะมีผูดํารงตําแหนงที่มีอํานาจสูงสุดขององคกรที่เรียกวา ผูบริหาร<br />

สูงสุดขององคกร (Chief Executive Officer : CEO) เปนผูที่มีบทบาทหนาที่ในการกําหนดทิศทาง<br />

และนําพาองคกรไปสูเปาหมายที่ไดวางไว ดังนั้นบุคคลที่จะเปนผูบริหารที่ดีไดจึงตองเปนผูมี<br />

คุณสมบัติที่แตกตางจากบุคคลทั่วไป (เนตรพัณณา ยาวิราช. 2549 : 7) ไดใหความหมายผูบริหาร<br />

หมายถึง บุคคลที่ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในองคกรตาง ๆ เพื่อควบคุมดูแลรับผิดชอบใน<br />

กิจการตาง ๆ ใหสําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงคโดยอาศัยผูอื่น ดังนั้นจึงกลาวไดวาบุคคลที่จะมาเปน<br />

ผูบริหาร คือ สมาชิกคนหนึ่งในองคกรที่ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงและทําหนาที่จัดสรร<br />

ทรัพยากร อํานวยการและควบคุมภารกิจของแตละฝายใหไปในทิศทางเดียวกัน โดยใชความรู<br />

ความสามารถทั้งศาสตรและศิลปะในการเลือกใชคนอื่นทํางานแทนตน เพื่อบรรลุผลสําเร็จตาม<br />

เปาหมาย<br />

ดังนั้นบทบาทหนาที่สําคัญของผูบริหารจึงเกี่ยวกับการกํากับหรือกําหนดทิศทาง<br />

(Direction) ในการเดินไปขางหนารวมกันของคนในองคกร โดยผูบริหารตองแสดงใหเห็นถึง<br />

วิสัยทัศนและแนวทางที่ชัดเจน สามารถสรางแรงจูงใจ(Motivation) กระตุนใหทีมงานเกิดขวัญและ


75<br />

แรงบันดาลใจที่จะกาวไปดวยกัน นอกจากการกําหนดและกํากับแนวทางไปสูเปาหมายแลว<br />

บทบาทสําคัญอีกประการของผูบริหารคือ การบริหารจัดการ(Organization) เกี่ยวกับการดําเนินงาน<br />

ใหเปนไปตามกระบวนการที่ไดวางแผนไว โดยตองมีการบริหารจัดการกับหนวยงาน องคกรและ<br />

ทีมงาน นอกจากผูบริหารตองเขาใจบทบาทหนาที่สําคัญของตนเองแลว การที่จะเปนผูประสบ<br />

ความสําเร็จยังมีคุณสมบัติอื่นอีกหลายประการ รองผูจัดการใหญทรัพยากรบุคคล บริษัทสยาม<br />

นิสสัน ออโตโมบิล จํากัด ไดกลาวถึงภาพรวมของหนาที่ผูบริหารที่ประสบความสําเร็จตองมี<br />

คุณสมบัติพื้นฐาน 4 ประการ (สุรศักดิ์ ใจเย็น. 2553. ออนไลน) ดังนี้<br />

1. การมีพันธะผูกพันตองาน (Commitment) หมายถึง ผูบริหารที่ดีตองมีความมุงมั่น<br />

สามารถผูกประสานตัวเองใหเขากับงานและหนาที่ความรับผิดชอบของตนเองไดเปนเบื้องแรก โดย<br />

การมีพันธะผูกพันตองานนี้ประกอบไปดวย ความผูกพันกับเปาหมายของตนเอง หนวยงาน หัวหนา<br />

ลูกนอง หนาที่การงาน องคกร เพื่อนรวมงาน ลูกคา สังคมรอบขางและประเทศชาติ<br />

2. ความสม่ําเสมอในการแสดงตน (Consistency) หมายถึง ผูบริหารจะตองเปนแบบอยาง<br />

ที่ดีของทีมงาน คนในองคกรมักจะแยกไมออกระหวางภาพขององคกรกับภาพของตัวผูบริหาร<br />

ดังนั้นหากจะใหคนในองคกรมีความเชื่อมั่นกับองคกร ผูนํา หรือผูบริหารองคกรตองสรางความ<br />

มั่นใจและศรัทธากับทีมงานกอนเปนลําดับแรก ความมั่นคงและแนวแนของผูบริหารตองแสดงออก<br />

ไดทั้งในดานสติและสัมปชัญญะ<br />

3. ความสามารถในการเผชิญกับสถานการณ (Complexity) หมายถึง เมื่อผูบริหารที่ดีตอง<br />

เผชิญกับสถานการณตาง ๆ จะตองสามารถเปนผูนําหลักขององคกรที่จะชี้นําทิศทางของทีมงาน ซึ่ง<br />

แสดงใหเห็นวาผูนําที่ดีสามารถเผชิญหนากับสถานการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นได ความสามารถที่สําคัญ<br />

ในแงนี้ขององคกรคือ ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการจัดลําดับความสําคัญของ<br />

งาน ซึ่งนําไปสูการกําหนดทิศทางนโยบายที่จะทําใหคนในองคกรสามารถปฏิบัติงานไดสอดคลอง<br />

กับสภาวการณจริง<br />

4. ความเชื่อถือได (Creditability) หมายถึง การแสดงออกของผูบริหาร ทั้งการกระทํา<br />

และคําพูดจะตองตรงกัน เชน อดีตผูนําประเทศ คือ พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ อดีตนายกรัฐมนตรี<br />

ของประเทศไทยเมื่อครั้งเรืองอํานาจ ไดกลาว อมตวลีวา “กอนพูดเราเปนนายของคําพูด หลังพูด<br />

คําพูดจะเปนนายเรา” วลีนี้ไดสรางประสบการณและการเรียนรูใหกับคนหลายคน เพราะความเปน<br />

ผูบริหาร หรือผูนําที่ดีตองเปนคนที่มีบารมี การที่บารมีจะเกิดขึ้นในแตละบุคคล คือ การเปนคนที่<br />

เชื่อถือได ดังมีตัวอยางสําคัญในสมัยหลังรัฐประหารของคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ<br />

(รสช.) พลเอกสุจินดา คราประยูร เปนบุคคลหนึ่งในคณะ(รสช.) ไดเคยประกาศไววาจะไมรับ<br />

ตําแหนงใด ๆ ทางการเมือง แตแลวกลับเขารับตําแหนงจนเปนที่มาของวาทะ “เสียสัตยเพื่อชาติ”


76<br />

(พฤษภาทมิฬ. ออนไลน. 2554) จึงเปนสาเหตุใหเกิดการไมยอมรับและมีการประทวงตอตานการ<br />

สืบทอดอํานาจของ (รสช.) ของประชาชน จนเกิดเหตุการณพฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 นอกเหนือจาก<br />

คําพูด หรือวาจาแลว สิ่งสําคัญอีกอยางหนึ่งของความเชื่อถือไดของการเปนผูบริหารที่ไดรับการ<br />

ยอมรับเปนอยางยิ่ง คือ “ความซื่อสัตย” หากผูบริหารคนใดขาดภาพแหงความใจซื่อมือสะอาด<br />

โอกาสที่จะประสบความสําเร็จยอมจะลําบากมากยิ่งขึ้น<br />

ดังจะเห็นวาบทบาทหนาที่ของผูบริหารจะเนนหนักดานความคิดที่จะตองแปรเปลี่ยนเปน<br />

รูปธรรมในการนําไปสูการปฏิบัติของผูที่อยูในความดูแล ที่เปนผูใตบังคับบัญชา ลูกนอง ทีมงาน<br />

เพื่อใหคนเหลานั้นยินดีที่จะใหความรวมมือ ทุมเทความรูความสามารถเต็มกําลังและสติปญญา<br />

ผูบริหารจึงตองมีทั้งพระเดชและพระคุณที่เลือกนํามาใช โดยตระหนักคิดถึงใจเขา ใจเรา เพื่อใหได<br />

ทั้งผลงานและใจคนทํางาน จึงจะเปนผูบริหารที่ประสบผลสําเร็จและมีคุณธรรมจริยธรรม พรอม<br />

คุณสมบัติครบถวนของการเปนผูรูจักการครองตน ครองคนและครองงาน<br />

หลักจริยธรรมสําหรับผูบริหาร<br />

ผูบริหาร ผูนํา ผูปกครอง หรืออาจเรียกวา ผูเปนใหญในองคกร ในหนวยของสังคมนั้น ๆ<br />

ซึ่งเปนผูสามารถใชอํานาจและสงอิทธิพลเหนือผูคนทั่วไป หากผูเปนใหญรูจักการใชอํานาจที่ตนมี<br />

อยูดวยใจเปนธรรม อยางชอบธรรม ประกอบดวยคุณธรรมจริยธรรมของผูเปนใหญ ผลกระทบที่<br />

เกิดขึ้นยอมกอใหเกิดผลแหงความสงบสุขโดยสวนรวม ดังนั้นหลักธรรมที่เหมาะสมสําหรับมนุษย<br />

คือ หลักธรรมทางดานศาสนาที่สอนใหคนทุกคนทําความดี งดเวนการทําชั่ว ดังคํากลาวที่วาธรรมะ<br />

มีคุณ 3 ประการ คือ 1) ธรรมะจึงทําใหเกิดการอุปการะคือ เปรียบเสมือนกัลยาณมิตรที่คอยเตือน<br />

คอยชวยเหลือใหคนเรามีสติระลึกรูอยูในศีลธรรม จะพูดจาหรือกระทําสิ่งใด ๆ มีความรูเทาทันสิ่ง<br />

ไมดี ไมเหมาะ ไมควร จึงสามารถงดเวนได 2) ธรรมะยังทําใหเกิดความงามคือ งามทั้งภายในจิตใจ<br />

และงามภายนอกที่แสดงออกมาใหปรากฏทางกายและวาจา จึงกลาวไดอีกวา 3) ธรรมคุมครองโลก<br />

ได หมายความวา เมื่อมนุษยทุกคนตางมีสติระลึกรูสิ่งดี สิ่งเลวภายในจิตใจและสามารถแยกแยะ<br />

ความดี ความเลว จึงเกิดความละอายชั่ว กลัวบาป ก็ยอมทําใหตนเองรอดพนจากการประพฤติผิด<br />

ประพฤติชั่วได การกระทําดีที่เกิดขึ้นจึงไมใชเปนเพียงประโยชนตนเทานั้น แตยังเปนประโยชน<br />

ทานหรือประโยชนผูอื่นดวย<br />

หลักธรรมที่สามารถสนองตอบจริยธรรมของผูบริหารองคกรทั้งในฐานะบุคคลของ<br />

สังคม ฐานะผูบริหารขององคกรและฐานะพลเมืองของประเทศ มีหลักธรรมที่สําคัญมากมายในที่นี้<br />

จะนําเสนอ 4 หลักธรรมที่สําคัญพอสังเขป ดังไดประมวลสรุปจากธรรมนูญชีวิตของ พระพรหม<br />

คุณาภรณ(ป.อ.ปยุตโต). 2549 : 14-28; วศิน อินทสระ. 2549 : 93-102; สมหวัง วิทยาปญญานนท.


77<br />

2543 . ออนไลน ดังนี้<br />

1. สัปปุริสธรรม 7 เปนธรรมของคนดี หรือธรรมของสัปปุรุษ กลาวคือ ผูใดที่ถือ<br />

หลักธรรมนี้ไดยอมเปนคนสมบูรณแบบหรือมนุษยโดยสมบูรณ มีคุณคาสามารถนําหมูชนและ<br />

สังคมไปสูสันติสุขและความสวัสดี คุณสมบัติ 7 ประการนี้ ไดแก<br />

1.1 รูหลักและรูจักเหตุ (ธัมมัญุตา) คือ รูหลักการและกฎเกณฑของสิ่งที่ตนตองเขา<br />

ไปเกี่ยวของในการดําเนินชีวิต ในการทําหนาที่และดําเนินกิจการตาง ๆ เชน ตนเองดํารงตําแหนง<br />

อะไร อยูในฐานะ อาชีพ การงาน หนาที่และความรับผิดชอบอะไร มีหลักการอะไรและจะตองทํา<br />

อยางไร จึงจะเปนเหตุใหบรรลุผลสําเร็จตามหนาที่ความรับผิดชอบนั้น มองใหลึกหรือสูงขึ้นคือ<br />

การรูเทาทันกฎความจริงของธรรมชาติเพื่อปฏิบัติตอโลกและชีวิตอยางถูกตอง มีจิตใจเปนอิสระ ไม<br />

ตกเปนทาสของโลกและชีวิต เชน การไดรับตําแหนงสูงสุดเมื่อถึงวาระก็ตองลงจากตําแหนง ซึ่งก็มี<br />

คนเปรียบเทียบไดนาฟงวา ชีวิตดั่งละคร ขึ้นอยูวาขณะที่สวมบทบาทนั้น ๆ ไดเลนเต็มที่แลวหรือยัง<br />

1.2 รูความมุงหมายและรูจักผล (อัตถัญุตา) คือ รูความหมาย รูความมุงหมายของ<br />

หลักการที่ตนปฏิบัติ เขาใจวัตถุประสงคของกิจการที่ตนกระทํา รูวาสิ่งที่ทําอยูนั้น ดําเนินชีวิตอยาง<br />

นั้นเพื่อตองการประโยชนอะไรหรือควรบรรลุผลอะไร ที่ใหตําแหนง หนาที่ ฐานะ การงานนั้น ๆ<br />

ไดมีการวางความมุงหมายอะไร สิ่งที่ทําอยูขณะนี้จะบังเกิดผลอะไรบาง เปนผลดีผลเสียอยางไร<br />

หากใหมีความเขาใจที่สูงขึ้นคือ รูประโยชนที่เปนจุดหมายแทจริงของชีวิต<br />

1.3 รูจักตน (อัตตัญุตา) คือ การรูตามความเปนจริงเกี่ยวกับตนเอง วาโดยฐานะ<br />

ภาวะ เพศ กําลัง ความรู ความสามารถ ความถนัดและคุณธรรม มีเทาไร อยางไร แลวประพฤติ<br />

ปฏิบัติตนใหเหมาะสม ตลอดจนแกไขปรับปรุงตนใหเจริญยิ่งขึ้น<br />

1.4 รูจักประมาณ (มัตตัญุตา) คือ รูจักพอดี เชน รูจักการบริโภค การใชจายทรัพย<br />

ใหพอดีกับรายได ไมเปนหนี้จนไมสามารถชําระหนี้ได รวมทั้งการพูดจา การพักผอน การ<br />

สนุกสนาน รื่นเริง การใชชีวิตและการทําหนาที่ของตนเอง ใหมีความพอเหมาะลงตัว ไมตามใจ<br />

ความอยากของตนเองจนเกินไป<br />

1.5 รูจักกาล (กาลัญุตา) คือ รูกาลเวลาที่เหมาะสม เชน รูวาเวลาไหน ควรทําอะไร<br />

อยางไรและทําใหตรงเวลา ทําใหเปนเวลา ทําใหทันเวลา ทําใหพอเวลา ทําใหถูกเวลา ตลอดจนรูจัก<br />

กะเวลาและวางแผนการใชเวลาอยางไดผล<br />

1.6 รูจักชุมชน (ปริสัญุตา) คือ รูจักถิ่นฐาน รูจักชุมชน รูการอันควรประพฤติ<br />

ปฏิบัติในถิ่นที่ชุมนุม เชน ชุมชนนี้เมื่อเขาไปหาแลวควรตองทําตัวหรือแสดงกิริยาอยางไร พูด<br />

อยางไร ระเบียบประเพณี วัฒนธรรม เปนอยางไร เพื่อจะไดปฏิบัติตัวใหถูกตองตรงกับความ<br />

ตองการและเปนประโยชนตอชุมชน


78<br />

1.7 รูจักบุคคล (ปุคคลัญุตา) คือ รูและเขาใจความแตกตางระหวางบุคคล เชน ใคร<br />

นิสัย ตึงหยอน หรือมีอัธยาศัย ความสามารถและคุณธรรม อยางไร ทําใหตัดสินใจไดวาจะปฏิบัติตัว<br />

ตอบุคคลเหลานั้นไดอยางไร จะเลือกคบหรือไม หรือตองมีความเกี่ยวของสัมพันธกันอยางไร เชน<br />

จะใช จะยกยอง จะตําหนิ หรือจะแนะนําสั่งสอน อยางไร<br />

2. พรหมวิหาร 4 เปนธรรมประจําใจของผูมีจิตใจยิ่งใหญกวางขวางดุจพรหม ไดแก<br />

2.1 เมตตา (Loving Kindness) เปนความรัก ความปรารถนาดี ตองการชวยเหลือให<br />

ทุกคนประสบประโยชนและความสุข สรุปคือ ความปรารถนาใหทุกคนมีความสุข<br />

2.2 กรุณา (Compassion) เปนความสงสาร อยากชวยเหลือผูอื่นใหพนจากความ<br />

ทุกข ความเดือดรอน ทั้งทางรางกายและจิตใจ สรุปคือ ความปรารถนาใหผูอื่นพนทุกข<br />

2.3 มุทิตา (Appreciative Gladness) เปนความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผูอื่นอยูดี<br />

มีสุข ก็มีจิตใจแชมชื่นเบิกบาน เมื่อเห็นเขาทําดีประสบความสําเร็จกาวหนา ก็พลอยยินดี พรอมที่จะ<br />

ชวยสงเสริมสนับสนุน ไมมีจิตคิดริษยา หรือนอยเนื้อต่ําใจในวาสนาของตนที่ไมทัดเทียมผูอื่น สรุป<br />

คือ พลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดี หรือมีอนุโมทนาจิต<br />

2.4 อุเบกขา (Equanimity) เปนการวางใจใหเปนกลาง เมื่อเห็นบุคคลจะไดรับผลดี<br />

หรือชั่วอันสมควรแกเหตุที่คน ๆ นั้นเปนผูกระทํา ก็สามารถวินิจฉัย วางตนและปฏิบัติไปตาม<br />

หลักการ ดวยเหตุผลและความเที่ยงธรรม คือ สามารถวางเฉยและไมซ้ําเติมเมื่อผูอื่นไดรับความวิบัติ<br />

ที่ตนไมอาจชวยเหลือได สรุปคือ การวางเฉย หรือการวางใจเปนกลาง<br />

อยางไรก็ตามการใชหลักพรหมวิหาร 4 จะตองพิจารณาถึงสถานการณและเลือกใชให<br />

เหมาะสมกับเหตุการณ ซึ่งในกรณีนี้เรามักจะเห็นการนําหลักพรหมวิหาร 4 มาใชอยางไมเขาใจ ไม<br />

ถูกตอง เชน ถาหัวหนาลงโทษลูกนองเพราะทําผิดกฎระเบียบ ก็มักจะถูกตําหนิตอวาทันทีวาเปน<br />

คนใจราย ไมมีน้ําใจ ไมมีเมตตากรุณาตอลูกนอง โดยไมพิจารณาถึงความเปนเหตุเปนผลวาใน<br />

องคกรมีกฎระเบียบวาไวอยางไรและสาเหตุที่ตองถูกลงโทษเพราะอะไร ถาหากไมลงโทษคนทําผิด<br />

ก็จะไมหลาบจําและยังเปนเยี่ยงอยางที่ไมดีกับคนในองคกรใหทําตาม ซึ่งจะเกิดความเสียหายมาก<br />

ยิ่งขึ้น หรือในกรณีที่ลูกทําผิดพอแมก็คอยแตจะปกปองและไมเคยที่จะอบรมสั่งสอนแยกแยะให<br />

เขาใจวาอะไรถูกอะไรผิด จนทําใหลูกเสียคน โดยอางเอาแตความรักความเมตตากรุณาตอลูกเพียง<br />

อยางเดียวในลักษณะนี้ก็ถือวาใชหลักพรหมวิหาร อยางผิด ๆ เชนเดียวกัน<br />

3. ทศพิธราชธรรม เปนหลักธรรมของผูเปนใหญ ซึ่งสามารถนําไปใชกับผูมีอํานาจของ<br />

ทุกองคกร ทั้งผูนําครอบครัว ผูนํากลุม ผูนําองคกร ผูนําชุมชน ผูนําประเทศ ประกอบดวย<br />

หลักธรรม 10 ขอ ดังนี้


79<br />

3.1 ทาน (Sharing with the Populace) หมายถึง การใหวัตถุภายนอกเปนสิ่งของตางๆ<br />

โดยตองมีผูรับโดยตรง การใหทานสามารถใหได 3 ชนิด คือ ใหวัตถุเปนทาน ใหธรรมะเปนทาน<br />

ถือวาเปนทานที่เลิศกวาทานทั้งปวงและใหอภัยทานหรือยกโทษให ดังนั้นผูบริหารจึงตองฝกตนให<br />

รูจักการเปนผูใหมากกวาเปนผูรับ เอาใจใสดูแลสวัสดิการ ใหความชวยเหลือยามประสบความ<br />

เดือดรอน ตลอดจนการสนับสนุนคนทําความดี<br />

3.2 ศีล (Maintaining Good Conduct) หมายถึง ปกติ ภาวะปกติ การประพฤติปฏิบัติ<br />

ใหเกิดภาวะปกติ หรือความสุจริต เชน มีศีล 5 ศีล 8 ศีล 227 การมีศีลทําใหไมเกิดปญหาการ<br />

เบียดเบียนกันทั้งชีวิตและทรัพยสิน ไมเบียดเบียนลูกเมียผูอื่น สังคมเกิดความสงบเรียบรอย<br />

ประเทศชาติเจริญรุงเรือง ทําใหเกิดความปลอดภัยและมีชีวิตที่สงบสุขทั้งตนเองและผูอื่น<br />

3.3 ปริจจาคะ (Working Selflessly) หมายถึง การเสียสละ โดยเสียสละความเห็น<br />

แกตัว หรือกิเลสที่อยูภายในจิตใจคนเรา เชน การเสียสละการเห็นผิด หรือมิจฉาทิฏฐิ ไดแก พูดผิด<br />

คิดผิด ทําผิด ดวยการสละออกจากจิตใจ ในฐานะของผูบริหารหรือผูนําที่อยูเหนือคนทั่วไปยิ่งตอง<br />

รูจักการเสียสละความสุขสวนตนเพื่อประโยชนสวนรวม โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปกครองบานเมืองยิ่ง<br />

ตองเสียสละมากกวาผูอื่น แมแตการยอมเสียสละชีวิตตนได เพื่อประโยชนสุขของประชาชนและ<br />

ความสงบเรียบรอยของบานเมือง<br />

3.4 อาชวะ (Working Honestly) หมายถึง ความซื่อตรง เปดเผย ไมมีอันตราย หรือ<br />

โทษภัยใด ๆ เปนที่ไวใจตอการทําหนาที่ดวยความบริสุทธิ์ใจตอตนเอง ผูอื่นและกฎธรรมชาติ ใน<br />

ฐานะของผูบริหารองคกรทํางานดวยความซื่อสัตย โปรงใส เปดเผย ไมหลอกลวง ไมแบงพรรค<br />

แบงพวก<br />

3.5 มัทวะ (Deporting himself with Gentleness and Congeniality) หมายถึง ความ<br />

ออนนอมถอมตน มีความออนโยนตอผูอื่น เชน นักบริหารที่ดีควรเปนผูถอมตน ไมถือตัวตน ไม<br />

อวดดื้อ ถือดี เปนผูใชเหตุผลมากกวาอารมณ หรือกิเลสของตน มีสัมมาคารวะตอผูใหญกวา มี<br />

อัธยาศัยออนโยนนิ่มนวลตอผูนอยอยูเสมอ มีการปฏิสันถารตอนรับตอผูนอยและผูมาเยือน ทําให<br />

เปนคนมีเสนห ไดรับความรักความภักดีและความยําเกรง<br />

3.6 ตปะ (Rejecting Indulgence through Austerity) หมายถึง ธรรมะที่เผากิเลส เปน<br />

การกําจัดบาป หรือกิเลส ความชั่วทั้งปวงและความเห็นแกตัว เชน ทําการงานใดดวยรูจักบทบาท<br />

และหนาที่ ทํางานดวยความขยันขันแข็งไมเห็นแกตัว เปนพอคาไมเอารัดเอาเปรียบลูกคา เปน<br />

ขาราชการใหบริการประชาชนทั่วไปดวยความเสมอภาคเทาเทียมกัน เปนนักบริหารมีความอดทน<br />

อดกลั้นและรูจักการเสียสละ เปนตน


80<br />

3.7 อโกธะ (Adhering to Reason, not Anger) หมายถึง ความไมโกรธ ซึ่งมีจุดเริ่มตน<br />

จากภายในจิตใจของความไมสบายใจ ความไมพอใจแลวระเบิดออกมาภายนอกทํารายผูอื่น ดวย<br />

วาจา หรือลงมือทํารายรางกาย เชน ลูกจางทํางานไดผลไมเปนที่พอใจ ผูบริหารตองรูจักการระงับ<br />

อารมณโกรธ โดยใชความเมตตากรุณา มีเหตุมีผลในการวินิจฉัยถึงสาเหตุวาเพราะอะไรจึงเกิดผล<br />

เชนนั้น<br />

3.8 อวิหิงสา (Bringing Tranquility through Non-Violence) หมายถึง ความไม<br />

เบียดเบียน หรือการกระทําที่กระทบกระทั่งตนเองและผูอื่นใหไดรับความลําบาก ความเดือดรอน<br />

ในลักษณะของการกระทําสิ่งที่เกินกําลังความสามารถหรือเกินความจําเปน เชน การบังคับให<br />

ลูกจางตองทํางานลวงเวลาโดยไมมีวันหยุด ถาไมปฏิบัติตามก็หาเหตุใหออกจากงานไป ลักษณะ<br />

เชนนี้แสดงถึงการใชอํานาจที่มีอยางเกินขอบเขต ไปบีบคั้นและมีอาฆาตมาดราย<br />

3.9 ขันติ (Overcoming Difficulties with Patience) หมายถึง ความอดทน เชน อดทน<br />

ตอการรอคอย อดทนตอกิเลสที่มายั่วยวน การมีความอดทนจึงทําใหเกิดโสรัจจะหรือความสงบ<br />

เสงี่ยม ซึ่งมักไดยินคําคูกันวา ขันติ-โสรัจจะ ผูบริหารที่มีลูกนองจํานวนมากยิ่งตองมีความอดทน<br />

และสงบเยือกเย็นตอความวุนวายและปญหาตาง ๆ ที่จะตามมาอยางสูงยิ่งดวย เชน อดทนตอความ<br />

ยากลําบากในการกํากับดูแลคนหมูมากที่มีความหลากหลาย ทั้งความคิด ความเชื่อและการกระทํา<br />

อดทนตอการทํางานหนัก อดทนตอแรงเสียดทานที่ทําใหเจ็บกายเจ็บใจ ดังนั้นผูบริหารที่มีขันติ<br />

และโสรัจจะก็จะเปนผูที่หนักแนน มีเหตุผล มีความสุภาพ งามสงาและนานับถือ<br />

3.10 อวิโรธนะ (Not doing that which Strays from Righteousness) หมายถึง ความ<br />

มั่นคงในธรรม เปนความไมบกพรอง หรือกระทําผิดไปจากทํานองคลองธรรม เชน การไมทําผิดทั้ง<br />

กฎหมาย ธรรมเนียมปฏิบัติ ประเพณีและจริยธรรม ดังมีเหตุการณหลายครั้งที่นักการเมืองซึ่งเปน<br />

ผูนําและเปนบุคคลสาธารณะกระทําสิ่งที่ไมสอดคลองกับการยอมรับทางสังคม ผูนําเหลานั้นก็อาง<br />

วาไมผิดกฎหมาย เชน การใชชองโหวของกฎหมายหลีกเลี่ยงภาษี ลักษณะเชนนี้ถือวา ผูนําไมรักษา<br />

ความเที่ยงธรรม เพราะขัดแยงกับความรูสึกวาเปนสิ่งไมชอบธรรม ไมเที่ยงตรง ไมไดอยูในคลอง<br />

ธรรม เปนตน<br />

หากจะเปรียบผูบริหารเหมือนกอนหินที่โยนลงไปในน้ํา เราจะเห็นน้ํากระเพื่อมออกเปน<br />

วงกวาง ผูบริหารที่ยิ่งมีตําแหนงสูงมากเทาไร วงกระเพื่อมก็จะขยายวงยิ่งกวางขึ้นตามไปดวย ยอม<br />

แสดงใหเห็นวา การกระทําใด ๆ ของผูบริหารจะสงผลกระทบตอผูคนเปนวงกวาง ดวยเหตุนี้<br />

ผูบริหารสูงสุดหรือผูมีอํานาจมากยอมตองมีคุณธรรมจริยธรรมที่มากและเหนือกวาคนทั่ว ๆ ไป<br />

ดังนั้นเราจึงมักเห็นผูบริหารโดยเฉพาะนักการเมืองที่มีตําแหนงสูงสุดในการบริหารประเทศ เชน<br />

ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี ซึ่งเปนบุคคลสาธารณะไดใชอํานาจในการบริหารแทนประชาชน


81<br />

การตัดสินใจในเรื่องใด ๆ ลวนสงผลตอประชาชนทั้งประเทศ ฉะนั้นนอกจากมีความรู<br />

ความสามารถในการนําพาประเทศใหเจริญรุงเรืองแลว ยังตองมีคุณธรรมจริยธรรมที่คิดถึง<br />

ประโยชน ปากทองของประชาชนและประเทศชาติเปนสําคัญเหนือกวาประโยชนตนและ<br />

ประโยชนพรรคพวก ปจจุบันเรามักจะเห็นพฤติกรรมของผูบริหารประเทศที่ดํารงตําแหนงเปน<br />

เวลานานก็มักจะหลงระเริงในอํานาจและใชอํานาจเพื่อประโยชนของตนและพวกพอง โดยใช<br />

กฎหมายเอื้อประโยชนตน จนสุดที่ประชาชนจะทนรับตอพฤติกรรมเหลานั้นได จึงเกิดการรวมตัว<br />

กันประทวงและนําไปสูการลมรัฐบาลในที่สุด ดังเราจะเห็นตัวอยางทั้งในประเทศไทยเองในแตละ<br />

สมัยของรัฐบาลที่ถูกทํารัฐประหารบาง ประชาชนประทวงจนเกิดการลมรัฐบาลบาง หรือ<br />

ตางประเทศ เชน ประธานาธิบดี ฮอสนี บูมารัก ของประเทศอียิปต ที่ถูกปฏิวัติประชาชนเรียกรอง<br />

ใหลาออกจากตําแหนง หรือ มูอัมมาร มูฮัมมัด อัล-กัดดาฟ ผูนําประเทศลิเบีย ที่ครองอํานาจมานับ<br />

40 ป จนกระทั่งเกิดฝายตอตานโคนลมอํานาจลง ทั้งหลายเหลานี้สามารถนําไปวิเคราะหโดยใช<br />

หลักทศพิธราชธรรมแตละขอของผูเปนใหญในการปกครองประเทศนั้น ๆ ได<br />

4. มรรคมีองค 8 เปนอริยมรรค คือ ทางปฏิบัติใหถึงความดับทุกข เรียกอีกอยางหนึ่ง<br />

วา มัชฌิมาปฏิปทา เปนทางสายกลาง หรือหลักปฏิบัติอันเปนสายกลางกลาวถึงคุณธรรม 8 ประการ<br />

คือ<br />

4.1 สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ (Right Understanding) หมายถึง ความเห็นถูกตอง<br />

ตามทํานองคลองธรรม เชน เห็นวาทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว บุญมี บาปมี ชาติหนามี ชาติกอนมี<br />

4.2 สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ (Right Thoughts) หมายถึง การไมตกอยูใตสิ่ง<br />

ยั่วยวน ความไมพยาบาท ความไมเบียดเบียน<br />

4.3 สัมมาวาจา การพูดชอบ (Right Speech) หมายถึง การพูดที่เวนจากการพูดเท็จ<br />

พูดสอเสียด พูดคําหยาบ พูดเพอเจอ แตมีวาจาคําพูดที่ชอบ พูดคําจริง พูดประสานสามัคคี พูด<br />

ออนหวาน พูดสิ่งที่เปนประโยชน<br />

4.4 สัมมากัมมันตะ การกระทําชอบ (Right Action) หมายถึง การงดเวนกระทําใด ๆ<br />

ที่เปนการเบียนเบียดชีวิตและเบียนเบียดทรัพยสินผูอื่น ดังนั้นการกระทําชอบที่เปนความเมตตา<br />

กรุณาตอสิ่งมีชีวิตทั้งปวง การรูจักเสียสละแบงปนเฉลี่ยสุขของตนแกผูอื่นตามสมควรและไมมัวเมา<br />

ในกามคุณ มีความพึงพอใจในคูครองของตนอยางเหมาะควร<br />

4.5 สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีพชอบ (Right Livelihood) หมายถึง การเวนมิจฉาชีพ<br />

ทุกรูปแบบ การทุจริตในอาชีพของตนก็เรียกไดวา ทํามิจฉาชีพในสัมมาชีพ<br />

4.6 สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ (Right Effort) หมายถึง ความเพียรชอบทุก<br />

รูปแบบ เชน เพียรระวังบาปอกุศลที่ยังไมเกิด ไมใหเกิดขึ้น เพียรละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแลว


82<br />

เพียรใหกุศลที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแลวไมใหเสื่อมและทํากุศลใหเจริญยิ่ง ๆ<br />

ขึ้นไป<br />

4.7 สัมมาสติ ความระลึกชอบ (Right Mindfulness) หมายถึง การระลึกถึงสิ่งใดที่ทํา<br />

ใหกุศลเจริญและอกุศลเสื่อม ก็ใหระลึกถึงบอย ๆ<br />

4.8 สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ (Right Concentration) หมายถึง การที่จิตตั้งมั่น<br />

ในอารมณอยางใดอยางหนึ่ง อยางมั่นคงไมหวั่นไหว ไมฟุงซาน<br />

มักมีคําถามวา การพิจารณาทางกฎหมายจะมีแตการตัดสินวา ถูกกับผิด เทานั้น ดังนั้นจะ<br />

ใชหลักมัชฌิมา หรือหลักสายกลางอยางไร คําถามนี้อาจเปนเพราะเวลานี้ประเทศไทยมีความขัดแยง<br />

และขอโตแยงในกระบวนการยุติธรรมคอนขางมาก หากฝายใดไดรับการตัดสินผลที่ออกมา ไมเปน<br />

ที่พอใจก็จะมีขอโตแยงและคํากลาวหาตอกระบวนการยุติธรรม วาตัดสินไมมีมาตรฐานบาง หรือ<br />

สองมาตรฐานบาง แตสิ่งหนึ่งที่เราเห็นเปนประจักษอยางชัดเจนคือ คนรวยที่ทําผิดมักจะไมตองรับ<br />

โทษ ดังนั้นคนที่ติดคุกสวนใหญจึงเปนผูคนที่มีฐานะยากจน อยางนี้แลวจึงจะกลาวไดแนนอนวา<br />

สองมาตรฐาน สวนคําตอบที่ถามวา จะใชหลักสายกลางในการตัดสินไดอยางไร พระทานกลาววา<br />

ทางสายกลางของพระพุทธเจาไมไดหมายถึง กลางระหวางถูกกับผิด ถูกก็คือถูก ผิดก็คือผิด ดังนั้น<br />

ทางสายกลางของผูพิพากษาคือ ความยุติธรรม (Justice) การตัดสินโดยไมใชอคติ ที่ทําใหเสียความ<br />

เที่ยงธรรม เรียกวา อคติ 4 ซึ่งหลวงปูสุวัจน สุวโจ (2552. ออนไลน)ไดอธิบายขอธรรมหนึ่งที่<br />

พระพุทธเจาไดตรัสไวเกี่ยวกับการกระทําจิตใหตรงที่เรียกวา ทิฏฐชุกรรม การทําจิตของเราใหตรง<br />

ไดเพียงเทานี้ก็นับเปนบุญเปนกุศล ทําใหเกิดความสุข ความเจริญ เพราะการทําจิตใหตรงตอธรรม<br />

เปนเหตุใหเกิดความสงบสุข ดังนั้นคําวา ตรง ตองเขาใจใหถูกตองวา ตรงที่ยึดตามหลักธรรม มี<br />

กฎเกณฑ ไมเปนสิ่งที่ลําเอียง จึงเรียกวา ไมมีสิ่งที่เปนอคติ ดังนี้<br />

1. ฉันทาคติ คือ ลําเอียงเพราะความรัก ความรักเชนนี้จะทําใหเกิดการทุจริตดวยกาย<br />

วาจาได เชน การรักนับถือกัน หรือ รักตัวเอง กลัวตาย กลัวอด กลัวหิว กลัวเขาไมรัก กลัวเขาไม<br />

ชอบ กลัวเขาไมนับถือ ดังนั้นตองพิจารณาถึงความรักที่มีทั้งคุณและโทษ ถารักไมเปนจะทําใหเกิด<br />

ความลําเอียง ซึ่งทําใหสามารถทําสิ่งที่ไมถูกตองตาง ๆ ไดงาย ดังนั้นความรักที่ใชหลักธรรมจะทํา<br />

ใหเปนความรักที่ประกอบดวยเมตตา ปรารถนาใหมีความสุขใหพนทุกขก็จะนําพาคนที่รัก เชน<br />

ลูกหลาน พี่นอง เพื่อนฝูง ลูกนอง ประชาชน ฯลฯ ไปในทางที่ถูกที่ควร ไมมอมเมาใหเกิดการหลง<br />

ผิด หรือยึดติดในวัตถุนิยม หรือสรางความรูสึกใหเกิดความแตกแยกในหมู ในสังคม เปนตน<br />

2. โทสาคติ คือ ลําเอียงเพราะโกรธ ความโกรธเมื่อเกิดขึ้นแลวยอมแผดเผาจิตใจให<br />

เศราหมอง ขาดการไตรตรองพินิจพิจารณา อารมณจะพุงไปแรงดวยอํานาจแหงความโกรธ ความ<br />

โกรธจึงเปนภัยและเปนทุกข ทําลายความเที่ยงตรง ความตั้งมั่นอยู ในธรรม ความโกรธมีสาเหตุ


83<br />

เพราะรักสวนหนึ่งและชังสวนหนึ่ง เปนคูกับฉันทาคติ หรือความรัก เชน ถาไมรัก ไมชอบ แคมีคน<br />

ยิ้มใหก็จะโกรธ หาวาเขามายิ้มเยาะ ถาจะใชความโกรธตองมีปญญาคือ เอาความโกรธไปแผดเผา<br />

กิเลสของตน เชน การไมคบคนพาล เพราะคนพาลจะนําไปสูหนทางแหงความเสื่อมทั้งปวง<br />

3. โมหาคติ คือ ลําเอียงเพราะเขลา เปนความหลง ขาดปญญา เชื่องาย ไมพิจารณาให<br />

รอบคอบ เชน หลงเชื่อ เพราะคิดวาเขาเปนคนที่นานับถือ เปนเพื่อน เปนอาจารย เปนคนมีชื่อเสียง<br />

เปนคนรวย เปนคนมียศตําแหนง ก็หลงทําตามโดยไมใชสติปญญาไตรตรองสิ่งที่เปนคุณหรือเปน<br />

โทษ เชน คนไทยสวนหนึ่งหลงเชื่อคําพูดที่วา “คนรวยแลวไมโกง” โดยไมไดพิจารณาดวย<br />

ขอเท็จจริง คนที่รวยแลวอาจมีความโลภมาก ยิ่งมีมากก็อยากไดมากยิ่งขึ้น ดังที่มีนักการเมืองคน<br />

หนึ่งเลาใหฟงวา เขาติดอันดับคนรวยที่มีเงิน 500 ลานบาทในจํานวน 400 คนรวยในประเทศไทย<br />

แตก็อยากไดตําแหนงทางการเมือง เมื่อไดเปนผูแทนราษฏรแลวก็รูสึกไมพอ อยากไดตําแหนง<br />

รัฐมนตรีอีก เมื่อไดตําแหนงรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงฯ ก็รูสึกวามันเล็กไป อยากไดตําแหนง<br />

รัฐมนตรี เมื่อไดตําแหนงรัฐมนตรี ก็ไมพอใจ เพราะไมไดกระทรวงเกรด A เชนนี้ เปนตน<br />

4. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลัว เกรงใจ ซึ่งความกลัวนี้ อาจจะกลัวภัยภายในตัวเราเอง<br />

หรือกลัวภัยจากภายนอก เชน กลัววาตัวเองจะเสียประโยชน กลัวอิทธิพลจะถูกทําราย เหลานี้เปน<br />

สาเหตุใหกระทําผิดไดและอาจถูกลงโทษดวยเพราะความกลัว หรือเกรงใจ ทําใหจิตใจไมยึดหลัก<br />

ความตรงตามหลักธรรม<br />

อยางไรก็ตามผูบริหารในทุกระดับตางก็เปนเพียงคนธรรมดา แตไดมีโอกาสที่ดีอยูเหนือ<br />

คนอื่น ๆ และทําใหเกิดความหลงโลกไดงาย จึงมีคติเตือนใจ เตือนสติ สําหรับผูบริหารคือ หลัก<br />

โลกธรรม 8 เปนการครองชีวิตใหไมถลําพลาดไป พระพรหมคุณาภรณ กลาววา “บุคคลที่ไม<br />

ประมาทมัวเมาจนตกเปนทาสของโลกและชีวิต ที่เรียกวา หลงโลก เมาชีวิต ก็เพราะมีสติ รูจักมอง<br />

รูจักพิจารณา รูจักวางตัววางใจตอความจริงตาง ๆ อันมีเปนประจํากับโลกและชีวิตเปนคติธรรมดา”<br />

ดังนั้นผูบริหารจึงควรมารูเทาทันโลกธรรม 8 ที่เปนของคูระหวางความชื่นชม(อิฏฐารมณ) และ<br />

ความขมขื่น(อนิฏฐารมณ) ซึ่งมันจะมาคูกันเสมอ เมื่อถึงเวลาที่เหมาะเจาะ ดังนี้<br />

ไดลาภ ยอม เสื่อมลาภ<br />

ไดยศ ยอม เสื่อมยศ<br />

มีสรรเสริญ ยอม มีนินทา<br />

มีสุข ยอม มีทุกข<br />

โลกธรรม 8 เปนสัจจธรรมของโลกที่เกิดขึ้นไดกับทุกคน แสดงใหเห็นถึงความไมคงทน<br />

ถาวรของสิ่งทั้งหลาย ที่ไดเกิดขึ้น ตั้งอยูและดับไปในที่สุด หากรูไมเทาทัน เมื่อไดฝายที่รื่นรมยดวย<br />

ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ก็หลงระเริง มัวเมา ลืมตัวลืมตน ไมระมัดระวังตัว ระวังใจ ปลอยใหโลก


84<br />

ธรรมเขาครอบงํากายใจ วันใดเกิดฝายไมนารื่นรมย เสื่อมจาก ลาภ ยศ ไดรับการนินทาและความ<br />

ทุกข มาแทนที่ก็จะลมลงไมทันตั้งตัว พบแตความโศกเศรา อาจถึงขั้นทําราย ทําลายทั้งตนเองและ<br />

ผูอื่นได ฉะนั้นถาเรารูเทาทันโลกก็จะสามารถตั้งหลักกาย หลักใจและใชประโยชนจากโลกธรรม<br />

ในการสรางสรรคสิ่งที่ดีงาม ทําคุณประโยชนใหปรากฏแกสวนรวมในภาวะที่เรียกวา ชวงเวลา<br />

ขาขึ้น ในยามขาลง ก็ตั้งสติไดทัน วางตัว วางใจใหพอดี ถือวาความไมนารื่นรมยที่ขมขื่นทั้งหลาย<br />

เปนบททดสอบ เปนบทเรียน หรือแบบฝกหัดในการพัฒนาตน เชนนี้ความทุกขโศกก็จะไมถาโถม<br />

จนผูคนนั้นรับไมไหว<br />

เมื่อยอนกลับไปที่การทําหนาที่ของผูพิพากษาอยางเที่ยงธรรม โดยตองไมมีอคติ 4<br />

ประการ ในการลําเอียงเพราะการทุจริตรับสินบน หรือเพราะเกรงกลัวตออิทธิพล หรือเพราะ<br />

เคารพนับถือกันมากอน ดังที่ศาสตราจารยธานินทร กรัยวิเชียร (2548 : 70) ไดอัญเชิญพระบรม<br />

ราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรแกผูสําเร็จ<br />

การศึกษาของสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2518 ทรง<br />

กลาวถึง คุณธรรมจริยธรรมของนักกฎหมายที่สามารถยึดถือเปนแบบอยางไดทุกยุคทุกสมัย ดังนี้<br />

“... เมื่อกฎหมายของเราดีอยูแลว จุดใหญที่สําคัญที่สุดในการธํารงรักษา<br />

ความยุติธรรมในบานเมือง จึงไดแก การสรางนักกฎหมายที่ดีที่จะสามารถ<br />

วิเคราะหและใชกฎหมายไดตรงตามวัตถุประสงค ขาพเจาจึงปรารถนาอยางยิ่ง<br />

ที่จะใหทุกคนสรางตนใหเปนนักกฎหมายที่ดีที่แท โดยฝกตนใหมีความกลา<br />

ในอาชีพของนักกฎหมาย คือ กลาที่จะปฏิบัติการไปตามความถูกตองเที่ยงตรง<br />

ทั้งตามกฎหมายและศีลธรรม ไมปลอยใหภยาคติ คือ ความเอนเอียงไป<br />

ดวยความหวาดกลัวในอิทธิพลตาง ๆ เขาครอบงํา สําหรับเปนกําลังสงให<br />

ทํางานไดดวยความองอาจ มั่นใจและมุมานะ อีกประการหนึ่ง ตองฝกใหมี<br />

ความเคารพเชื่อมั่นในสัจธรรม คือ ความถูกตองตามคลองธรรม<br />

ตามความเปนจริงอยางมั่นคง ไมหวั่นไหวดวยโลกธรรม ไมเห็นสิ่งอื่นใด<br />

วายิ่งไปกวาความเปนจริง สําหรับปองกันมิใหความอยุติธรรมและ<br />

ความทุจริตเกิดขึ้น นอกจากนั้นตองฝกใหมีความสุขุมถี่ถวน<br />

ในกระบวนการทํางานทุกขั้นตอน สําหรับประคับประคองปองกัน<br />

มิใหการงานบกพรองผิดพลาด แมในสิ่งเล็ก ๆ นอย ๆ<br />

ทั้งนี้ เพื่อทุกคนจักไดเปนนักกฎหมายที่แทจริง”<br />

ดังจะเห็นวา ไมวากฎหมายจะดีเพียงใดสิ่งสําคัญตองอาศัยคนใชกฎหมายและรักษา<br />

กฎหมายที่มีคุณธรรม จึงจะทําใหกฎหมายนั้นถูกใชอยางไดผล ทั้งนี้ตองเริ่มตั้งแตตนน้ํา คือ ตํารวจ


85<br />

ซึ่งเปนผูใชและผูรักษากฎหมายใหศักดิ์สิทธิ์ อัยการในฐานะทนายของฝายรัฐจะตองทําหนาที่อยาง<br />

เที่ยงธรรม จนถึงปลายน้ําอยางผูพิพากษา ฉะนั้นผูที่เกี่ยวของทุกฝายในฐานะเปนทั้งผูใชและ<br />

ผูรักษากฎหมาย สมควรอยางยิ่งที่จะไดนอมนําพระบรมราโชวาทมาปฏิบัติอยางจริงจัง เพื่อใหเกิด<br />

ปกติสุขขึ้นในสังคม ทําใหคนดีเกิดความรูสึกที่อบอุนและมีความเชื่อมั่นตอกระบวนการยุติธรรม<br />

วาจะไดรับความเปนธรรม เพราะตํารวจ อัยการและผูพิพากษา จะตองเปนผูเที่ยงธรรม ยึดหลักของ<br />

ความถูกตองชอบธรรม ทั้งดานกฎหมายและศีลธรรม<br />

อํานาจ อิทธิพลและความขัดแยงในผลประโยชน<br />

สารานุกรมออนไลน (อํานาจ. ออนไลน. 2554) ไดนําคํานิยามเกี่ยวกับอํานาจ (Power)<br />

ของนักสังคมวิทยา วา เปนความสามารถในการกําหนดใหผูอื่นเปน หรือกระทําตามความตองการ<br />

ของตนเอง จะโดยสมัครใจหรือถูกบังคับก็ตาม ดังนั้นเราอาจจะเห็นคนบางคนมีอํานาจอยูใน<br />

ตัวเองแมวาจะไมไดมีตําแหนงที่จะใหคุณใหโทษแกใคร นอกจากนี้ อํานาจยังหมายถึง โอกาสที่มี<br />

อยูในความสัมพันธทางสังคม ที่ทําใหบางคนสามารถกระทําตามความตั้งใจ โดยมีอีกคําหนึ่งคือ<br />

อํานาจหนาที่(Authority) เปนอํานาจที่ไดมาตามตําแหนงหนาที่การงานอยางถูกตองตามกฎหมาย<br />

จึงสามารถใชอํานาจเพื่อการสั่งการงานตาง ๆ แกผูใตบังคับบัญชาใหทําตามและสามารถที่จะใหคุณ<br />

ใหโทษไดตามอํานาจหนาที่ของตนเองที่มีอยู<br />

ฉะนั้นผูบริหารองคกรที่มีทั้งอํานาจ(Power) และอํานาจหนาที่(Authority) ยอมจะทํางาน<br />

ของตนเองใหสําเร็จไดงายกวา ผูที่มีเพียงอํานาจอยางใดอยางหนึ่ง แลวเพราะเหตุใด หรือจะมี<br />

วิธีการใดที่ทําใหผูบริหาร หรือผูนําไดอํานาจดังกลาวมา สิ่งสําคัญคือ ผูบริหารนั้นตองเปนผูมี<br />

ความสามารถทั้งดานความรูและคุณธรรมความดีงามทั้งหลาย ที่สามารถทําใหพนักงานยอมรับ<br />

ดวยใจ ดังที่ไดกลาวขางตนถึงหลักจริยธรรมของผูบริหาร ซึ่งมีพื้นฐานสําคัญจากหลักธรรมทาง<br />

ศาสนาและจากดุษฎีนิพนธ เรื่องการศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีสําหรับ<br />

องคการบริหารสวนตําบล จังหวัดอุตรดิตถ ของกิ่งดาว จินดาเทวิน (2552 : 101)ไดแสดงใหเห็นถึง<br />

การใชหลักธรรมในการสรางดุลยภาพเพื่อใหไดคนและไดงาน หมายความวา ผูนําหรือผูบริหาร<br />

องคกรนั้น ๆ สามารถที่จะชนะใจคน หรือพนักงานจนสามารถทําใหพนักงานยินดีที่จะทุมเท<br />

แรงกายแรงใจในการทํางานใหดวยความเต็มใจจนเกิดผลสําเร็จของงาน ดังนั้นการที่จะไดทั้งคน<br />

และไดทั้งงาน จึงตองรูจักสรางดุลยภาพใหเกิดขึ้น นั่นคือ ดุลยภาพของหลักกัลยาณมิตร ที่ผูนํา หรือ<br />

ผูบริหารองคกรพึงปฏิบัติตอพนักงาน ซึ่งจะแสดงถึงความเปนพรหมที่มีในตัวเองของผูบริหารตอ<br />

พนักงาน ดวยความเมตตา กรุณา มุทิตา 3 ประการนี้ ยอมจะทําใหเปนที่รัก เพราะแสดงถึงความ<br />

นารัก หรือปโย มีความเปนกันเอง มีน้ําใจ มีความเปนมิตร ไมถือยศ ถือตัวถือตน ขณะเดียวกันเมื่อ


86<br />

เกิดสถานการณที่ไมปกติ มีปญหาเกิดขึ้นก็สามารถรักษาความถูกตองดวยอุเบกขา ไมลําเอียงเขาขาง<br />

ฝายใด ๆ แตปฏิบัติไปตามหลักการ รักษากฎระเบียบอยางเครงครัดดวยความยุติธรรม เชนนี้ยอมทํา<br />

ใหพนักงานเกิดความเชื่อมั่นและมีความยําเกรงตอผูบริหาร ดังนั้นผูบริหารจึงเปนที่นาเคารพ หรือ<br />

ครุของพนักงานในที่สุด นอกจากนี้การที่ผูบริหารสามารถรักษาความถูกตองและยุติธรรมไวได<br />

ยังสงผลตอขวัญ กําลังใจและความภาคภูมิใจในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานอีกดวย ดังภาพ<br />

ตอไปนี้<br />

พรหมวิหาร 4<br />

1. เมตตา 2. กรุณา 3. มุทิตา 4. อุเบกขา<br />

ผูนําหรือ<br />

ผูบริหาร<br />

1. ปโย<br />

นารัก<br />

2. ครุ<br />

นาเคารพ<br />

พนักงาน<br />

ไดคน<br />

ไดงาน<br />

ลูกคา<br />

หลักกัลยาณมิตร 7<br />

3.ภาวนีโย<br />

นาเจริญใจ<br />

4.วัตตา<br />

รูจักพูดให<br />

เหตุผล<br />

5.วจนักขโม<br />

อดทนตอ<br />

ถอยคํา<br />

6.คัมภีรัญจะ<br />

กะถัง กัตตา<br />

แถลงเรื่อง<br />

ล้ําลึก<br />

7.โน จัฏฐาเน<br />

นิโยชะเย<br />

ไมชักนํา<br />

ในทางเสื่อม<br />

ภาพที่ 8 ดุลยภาพของหลักกัลยาณมิตร<br />

ที่มา : ดัดแปลงจากดุษฎีนิพนธ ของ กิ่งดาว จินดาเทวิน, 2552 : 101


87<br />

นอกจากพรหมวิหาร 4 ซึ่งเชื่อมตอไปถึงหลักกัลยาณมิตร 7 ที่ทําใหผูบริหารเปนที่รัก<br />

และที่เคารพของพนักงานแลว หลักกัลยาณมิตรอีก 5 ขอ อันไดแก 1) ภาวนีโย หมายถึง ความเจริญ<br />

ใจ คือ ผูบริหารเปนผูมีวิสัยทัศนในการบริหารองคกร สามารถเปนแบบอยาง ที่มีทั้งความดีและ<br />

ความสามารถ ทําใหพนักงานหรือผูรวมงาน มีความเชื่อมั่น มีความภูมิใจในตัวผูนําหรือผูบริหาร วา<br />

เปนผูที่นาติดตาม นาเอาเปนเยี่ยงอยาง ขอนี้ชวยใหเกิดศรัทธาและเกิดความรวมมือดวยดี เพราะมี<br />

ความเชื่อมั่นในผูบริหารนั่นเอง 2) วัตตา หมายถึง ความเปนผูรูจักพูด คือ ผูบริหารมีความสามารถ<br />

ในการสื่อสาร ทําความเขาใจไดอยางกระจางชัด พูดไดเหมาะกับสถานการณ เชน รูวาใน<br />

สถานการณไหนควรพูด กับใคร พูดอะไร อยางไร นอกจากการเปนนักสื่อสารที่ดีแลว ตองเอาใจใส<br />

ตอการสื่อสารกับทุกฝาย โดยเปดโอกาสใหทุกฝายไดพูดและรับฟงอยางใจกวาง 3) วจนักขโม<br />

หมายถึง รูจักฟง คือ มีความอดทนตอการฟงถอยคําผูอื่น ตองยอมรับฟงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ<br />

ของพนักงาน เพื่อนรวมงาน ดังนั้นผูนํา หรือผูบริหารที่ดี จึงตองมีความใจเย็นและรูจักฟงอยาง<br />

หนักแนน เพราะการรูจักรับฟงเปนสวนหนึ่งของการที่จะสื่อสารใหไดผล ตองรูจักเปดใจกวาง<br />

4) คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา หมายถึง การรูจักแถลงเรื่องราวตาง ๆ อยางลึกซึ้ง คือ มีความสามารถใน<br />

การอธิบายเรื่องยากใหฟงเขาใจไดงาย ใหความกระจางกับพนักงาน ผูรวมงานและลูกคา 5) โน<br />

จัฏฐาเน นิโยชะเย หมายถึง การไมชักนําไปในเรื่องไรสาระที่ไมเกี่ยวกับเปาหมาย ขอนี้เปนการ<br />

กระทําเพื่อการพัฒนาตนเองของผูนํา หรือผูบริหาร ใหมีความกาวหนา ทันสมัย ทั้งเรื่องงานและ<br />

พฤติกรรมสวนตัว นอกจากการพัฒนาตนเองแลวยังพรอมที่จะสงเสริมใหมีการพัฒนาผูอื่นดวย ซึ่ง<br />

การพัฒนาในขอสุดทายนี้จะไปสนับสนุนหลักกัลยาณมิตรอีก 6 ขอ ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน<br />

หากผูบริหารสามารถที่จะสรางดุลยภาพตามหลักกัลยาณมิตร จนกลายเปนภาพลักษณที่ดี<br />

ของผูบริหาร ยอมจะนําไปสูการสั่งสมบารมีและความศรัทธาใหเกิดแกตนเองได ทําใหเปน<br />

ผูบริหารที่มีอํานาจและมีอิทธิพล(Influence) ที่สามารถชักจูงโนมนาวผูอื่น ใหทําตามในสิ่งที่ตน<br />

ปรารถนาไดดวยความเต็มใจ และเมื่อมีอํานาจหนาที่(Authority) อีกตัวหนึ่ง การเปนผูบริหารของ<br />

ผูนั้นยอมสมบูรณแบบของผูมีอํานาจและสามารถใชอํานาจไดเต็มที่ อยางไมมีใครตานทานได<br />

อยางไรก็ตามภายใตการบริหารงานของทุกองคกร มักมีความขัดแยงเกิดขึ้นไดเสมอ<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งถาผลประโยชนนั้นไมสามารถจัดสรรใหเกิดความพอใจแกทุกฝายไดอยางลงตัว<br />

ก็จะนําไปสูการทะเลาะเบาะแวง ความไมลงรอย หรือความขัดแยงในผลประโยชน<br />

คอฟฟ คุกส และ ฮันเซเคอร (Coffey, Cook, and Hunsaker. 1994 : 112) ใหความหมาย<br />

ความขัดแยง (Conflict) คือ บุคคลสองฝายหรือมากกวาสองฝายมีความเห็นที่ไมตรงกัน หรือไมลง<br />

รอยกัน (disagreement between two or more parties) การที่คนสองคน หรือกลุมคนในองคกร หรือ<br />

กลุมคนระหวางองคกรมีความเห็นที่แตกตางกันตอเหตุการณ หรือสถานการณหนึ่ง ๆ ทําใหเกิดการ


88<br />

กระทําเพื่อไปสูเปาหมายที่แตกตางกัน ซึ่งระหวางเหตุการณดังกลาวนี้สามารถที่จะสงผลใหเกิดการ<br />

ขัดแยงขึ้นได เชน สถานการณน้ําทวมในหลายจังหวัดของประเทศไทย ชาวบานฝงหนึ่งตองการให<br />

เปดฝายไปตามธรรมชาติ แตอีกฝงหนึ่งไมยอม สงผลใหน้ําทวมที่อยูอาศัยของชาวบานอีกฝงหนึ่ง<br />

จนเกิดการทะเลาะเบาะแวงกันขึ้น อีกฝายก็อางวารอขาวในนาที่จะสามารถเก็บเกี่ยวไดอีก 6 เดือน<br />

ใหอีกฝายอดทนหนอย มิฉะนั้นนาขาวจะเสียหายหมด ฝายที่น้ําทวมก็อางความเดือดรอนที่ไดรับ<br />

เปนแรมเดือน ตองยายขึ้นมาอาศัยอยูบนถนนไดรับความลําบากเดือดรอน ดังนั้นความขัดแยงที่<br />

เกิดขึ้นจึงกลายเปนปญหาของชาวบานสองฝงที่ประสบเคราะหกรรมจากพิบัติภัยน้ําทวมแลวยังตอง<br />

มาทะเลาะเบาะแวงกันอีก ความขัดแยงจึงมักถูกมองวาเปนสิ่งไมดี แตในความเปนจริงมีบางกรณีที่<br />

ความขัดแยงก็เปนตัวกระตุนใหเกิดวิธีแกปญหาอยางสรางสรรคได จึงตองพิจารณาความขัดแยงทั้ง<br />

เชิงบวกและลบ ในที่สุดผูวาราชการจังหวัดพิจิตร พื้นที่ที่ประสบปญหาน้ําทวมดังกลาวตองลงมา<br />

ไกลเกลี่ยทําขอตกลงระหวางชาวบานสองฝง โดยยอมเปดฝายระบายน้ําไปอีกฝงหนึ่ง เพื่อบรรเทา<br />

ความเดือดรอนแกชาวบานที่น้ําทวม แมวาการเปดฝายจะทําใหนาขาวเสียหาย แตจําเปนที่จะตอง<br />

แกปญหาที่ทําใหเกิดปญหาหรือความเสียหายนอยที่สุด ผูวาฯกลาวใหสัมภาษณเชนนั้น<br />

จริยธรรมกับความขัดแยง<br />

แวน สเลกส (Van Slyke. 1999 : 94) นิยามความขัดแยง หมายถึง เปนการแขงขัน<br />

ระหวางฝายตาง ๆ ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งตางฝายตางมีความตองการเปาหมาย หรือความคิดที่เขากัน<br />

ไมได ทําใหตกลงกันไมไดทั้งนี้ขึ้นอยูกับ 3 ปจจัยไดแก การแขงขันกัน (Competition) การที่ตอง<br />

พึ่งพากันและกัน (Interdependence) และการรับรูที่เขากันไมได (Perceived Incompatibility)<br />

การดําเนินกิจกรรมในหนวยตาง ๆ ขององคกร หรือสถาบันใด ๆ ซึ่งเปนที่รวมของความ<br />

ตองการหรือความปรารถนาของคนในที่นั้น ยอมเปนธรรมดาอยูเองที่จะเกิดความคิดเห็นที่แตกตาง<br />

หรือไมเห็นดวยเหมือนกันทั้งหมด ดวยพื้นฐานของความรู ความเชื่อ ประสบการณ คานิยมของกลุม<br />

คนหรือวัฒนธรรมในองคกรนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งถามีสิ่งที่กระทบตอผลประโยชนก็ยอมจะเกิด<br />

ความขัดแยงขึ้น ดังนั้นจึงเปนหนาที่ของผูบริหาร หรือผูนําที่จะตองทําหนาที่ในการแกปญหาความ<br />

ขัดแยง ถามองโดยรวม ๆ เราจะรูสึกวาความขัดแยงเปนเรื่องไมดีเพราะกอใหเกิดความแตกแยก<br />

ความรูสึกที่เปนปฏิปกษตอกันและโอกาสที่จะนําไปสูการทําลายกัน แตถาไตรตรองใหลึกซึ้งเราก็<br />

ยังสามารถเห็นขอดีของความขัดแยง โดยใชวิกฤตนั้นแปรเปลี่ยนใหเปนโอกาส โดยหาจุดรวมที่<br />

ยอมรับไดของฝายตาง ๆ ในการสรางสรรคสิ่งที่เปนประโยชนแกบุคคลและองคกร ซึ่งเราจะตอง


89<br />

เขาใจถึงสาเหตุแหงปญหานั้นกอนแลวจึงจะคิดหาหนทางในการแกไขไดอยางถูกจุด ตามที่<br />

จินตนา บุญบงการ (2551 : 134-137) และกุญชรี คาขาย (2554. ออนไลน) ไดจําแนกประเภทของ<br />

ความขัดแยงและการแกไขความขัดแยงไว สามารถอธิบายโดยสังเขปไดดังตอไปนี้<br />

ประเภทความขัดแยงสามารถจําแนกไดดังนี้<br />

1. ความขัดแยงทางโครงสราง (Structural) เปนความคิดเห็นที่แตกตางกันเกี่ยวกับการ<br />

บริหารโครงสรางขององคกรในการบริหารจัดการ การกําหนดเปาหมาย การจัดหาและการจัดสรร<br />

ทรัพยากร เชน การสั่งงาน การอํานวยความสะดวก การมอบหมายงานและอํานาจหนาที่ การให<br />

ผลตอบแทน การใหคุณใหโทษ ซึ่งคนในแผนกตาง ๆ อาจมีความคิดเห็นที่ไมเหมือนกันและเปน<br />

สาเหตุกอใหเกิดความขัดแยงตอการกําหนดโครงสรางการบริหารในองคการขึ้นได<br />

2. ความขัดแยงภายในตัวบุคคล (Intrapersonal) เปนธรรมดาที่บุคคลจะเกิดความรูสึก<br />

ขัดแยงทางความคิด การตัดสินใจและความเชื่อในการกระทําของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งถาไดรับ<br />

ความคิดเห็นจากบุคคลอื่นไมเหมือนตนเอง เชน คําชมเชย หรือคําตําหนิ ก็สามารถที่จะเกิดความ<br />

ขัดแยงไดวาตนเองถูกตอง หรือมีขอผิดพลาด บกพรองจริงตามที่คนอื่นพูดหรือไม เปนตน<br />

3. ความขัดแยงระหวางบุคคล (Interpersonal) เพราะมีความไมลงรอยกันตามความคิด<br />

ความเชื่อและประสบการณที่แตกตางกันของบุคคล บางคนไมชอบพฤติกรรมของเพื่อนรวมงาน<br />

บางคนที่แสดงออกวา เปนคนดีแตพูด เจาความคิดเจาความเห็น ใหลงมือปฏิบัติจริงไมสามารถทํา<br />

ได หรือบางคนมองคนในแงราย จะคิด จะพูด จะทําก็มองไปในทางรายเสียหมดสิ้น หรือบางคน<br />

เห็นแกตัว ทําอะไรเอาดีเขาตัวเอารายใหคนอื่น เปนตน หรือการเลนพรรคเลนพวกของผูบริหารใน<br />

ลักษณะเด็กของใครก็จะไดรับการสนับสนุนสงเสริม พฤติกรรมเหลานี้ทําใหเกิดความขัดแยง<br />

ระหวางบุคคลและเกิดผลกระทบระดับองคกรได<br />

ความขัดแยงที่เกิดขึ้นระหวางบุคคลในองคกร ดวยเงื่อนไขที่เปนสาเหตุแตกตางกันไป<br />

เปนหนาที่ของผูบริหารที่จะเลือกใชวิธีการที่เหมาะสมในการแกไขขอขัดแยง ซึ่งไมมีคําตอบ<br />

สําเร็จรูปวาวิธีใดจะสามารถแกปญหาความขัดแยงไดอยางสมบูรณ เชน การแกไขดวยการตอสู<br />

แขงขันกับผูที่ขัดแยงดวย การรวมมือกับผูที่ขัดแยง การประนีประนอม การหลีกเลี่ยง การยอมรับ<br />

ฝายตรงขาม ทั้งนี้ตองพิจารณาระดับความรุนแรงของความขัดแยงที่จะสงผลเสียหายมากนอย<br />

เพียงใด ใครบางที่จะไดรับผลกระทบ ระยะเวลาที่จะสงผลกระทบรวดเร็วเพียงใด ผลเสียหายมี<br />

เวลานานตอเนื่องเพียงใด นอกจากนี้ตองคํานึงถึงพละกําลังของคนที่ขัดแยงดวยวาเปนผูมีอํานาจใน<br />

ระดับเดียวกันหรือไม จึงจะเลือกใชวิธีการแกไขขอขัดแยงไดเหมาะสม เพื่อใหไดผลสําเร็จตอการ<br />

แกไขปญหาความขัดแยงนั้น


90<br />

วิธีการแกไขขอขัดแยงที่ผูบริหารสามารถเลือกใชตามความเหมาะสม ดังนี้<br />

1. การยอมรับฝายตรงขาม (Accommodating) เปนการยอมรับเอาขอโตแยงของอีกฝาย<br />

หนึ่งมาใชเปนขอแกไข เมื่อเห็นวาฝายตนผิดพลาด ขอโตแยงของอีกฝายหนึ่งถูกตองกวา การ<br />

เลือกใชวิธีนี้เพื่อลดปริมาณความขัดแยง ดวยเชื่อวาการนําความขัดแยงมาพูดจะทําลาย<br />

ความสัมพันธระหวางกันจึงใชวิธีการในลักษณะของการผอนปรน ซึ่งมีพฤติกรรมเปรียบเทียบได<br />

กับลูกหมี<br />

2. การประนีประนอม (Compromising) เปนอีกวิธีหนึ่งเมื่อเห็นความขัดแยงกอใหเกิด<br />

ความชะงักงันของการทํางาน การพัฒนาภายในองคกร ถาประนีประนอมไดจะเปนการดีและคู<br />

ขัดแยงมีอํานาจพอ ๆ กัน แตมีจุดมุงหมายเหมือนกัน ดังนั้นจึงใชวิธีนี้เพื่อแลกผลประโยชนกัน ตาง<br />

ฝายตางไดบางสวนและยอมเสียไปบางสวน ไมมีฝายใดไดเต็มทั้งคู แมวาสวนที่เสียไปอาจเสียดวย<br />

ความไมเต็มใจ แตตางฝายตางพยายามประสานผลประโยชนกัน วิธีการประนีประนอมมีขอดีคือ<br />

แกความขัดแยงไดเร็วและยังคงรักษาความสัมพันธระหวางกันไวได แตก็มีขอเสียคือ ผลไดจะลดลง<br />

และหากใชวิธีนี้บอยจะทําใหเกิดการเลนเกม เชน เกมการเรียกรองมาก ๆ เพื่อใหเกิดการตอรอง<br />

เปนพฤติกรรมที่เปรียบเทียบไดกับสุนัขจิ้งจอก<br />

3. การรวมมือกับผูที่ขัดแยง (Collaborating) เปนวิธีที่ใชในกรณีที่ทั้งสองฝายมีขอโตแยง<br />

ที่มีน้ําหนักทั้งคู ไมสามารถประนีประนอมได ตองรวมมือกันหาขอยุติที่รวมเอาขอโตแยงทั้งสอง<br />

ฝาย เปนไปเพื่อการแกปญหาที่ทั้งสองฝายจะบรรลุเปาหมายของตนและยังคงความสัมพันธไวไดใน<br />

ลักษณะที่เรียกวา ชนะ-ชนะ ทั้งคูนั้นเอง ขอดีของวิธีนี้คือ คูเจรจาทั้งสองฝายตองมีความกลา<br />

แสดงออกและตระหนักถึงความเปนมิตรที่ดีตอกัน ขอเสียคือ ตองใชเวลาและความพยายามมากกวา<br />

วิธีอื่น ๆ เปรียบเทียบไดกับพฤติกรรมของนกฮูก<br />

4. การหลีกเลี่ยง(Avoiding) ใชเมื่อประเด็นที่ขัดแยงเล็กนอยเกินไป หรือเพื่อรอเวลาให<br />

อีกฝายหนึ่งเย็นลง หรือใหผูอื่นเขามาแกไขจะดีกวา เปนลักษณะของการเลี่ยงปญหาที่นําไปสูความ<br />

ขัดแยง หรือหลีกคนที่มีแนวโนมจะขัดแยง ขอดีของวิธีนี้คือ สามารถรักษาความสัมพันธของบุคคล<br />

ไวได แตขอเสียคือ ปญหาไมไดถูกแกไขและอาจจะทําใหสถานการณแยลงกวาเดิมได เปรียบเทียบ<br />

ไดกับพฤติกรรมของเตา<br />

5. การแกไขตอสู หรือแขงขันกับผูขัดแยง วิธีนี้จะถูกใชในกรณีที่จําเปนตองตัดสินใจให<br />

รวดเร็วและมีผลกระทบตอผลประโยชนขององคกรรุนแรง เชน พนักงานไมเห็นดวยกับนโยบาย<br />

ขององคกร ผูบริหารก็จะมีความพยายามใชอํานาจที่เหนือกวาใหคนอื่นยอมรับ เปนการแกไขขอ<br />

ขัดแยงแบบแพ-ชนะ กลาวไดวา ผูที่ใชวิธีนี้จะใหความเห็นสวนตนสําคัญมากและความสัมพันธกับ<br />

คนอื่นสําคัญนอยกวา ซึ่งวิธีนี้อาจจะทําใหเกิดความขัดแยงเพิ่มขึ้นได เพราะมีการแสดงออกใหเห็น


91<br />

โดยโจมตีความคิดของคนอื่น ใชความชํานาญ ตําแหนงหรือประสบการณที่ตนมีมากกวาขมผูอื่น<br />

สําหรับขอดีของวิธีนี้คือ เหมาะสําหรับการตัดสินใจในองคกรที่ยอมรับวา ผูบริหารเปนฝายถูกและ<br />

การบังคับไดผลมากกวาวิธีอื่น สวนขอเสีย คือ ถาใชวิธีนี้มากเกินไปจะทําใหเกิดความรูสึกที่เปน<br />

ปฏิปกษตอคนผูนั้น ซึ่งเปนพฤติกรรมที่เปรียบเทียบไดกับฉลาม<br />

ดังนั้นการแกไขขอโตแยงของผูบริหารที่จะตองมีการเจรจาทําความเขาใจถึงสาเหตุของ<br />

ปญหาตาง ๆ จากทุกฝายดวยใจที่เปดกวาง ยอมรับฟงอยางไมมีอคติและมีความมุงหมายเพื่อการ<br />

แกไขปญหาใหเกิดประโยชนสูงสุดแกทุกฝาย โดยคํานึงถึงหลักกฎหมาย หลักสิทธิมนุษยชน ความ<br />

เปนธรรม จึงตองตระหนักถึงความสําคัญของจริยธรรมผูบริหารเพื่อหาขอประพฤติปฏิบัติที่ถูกตอง<br />

เหมาะสมในการแกไขขอขัดแยงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในและภายนอกองคกร ซึ่งกระทบตอผูมี<br />

สวนไดสวนเสียที่ดีที่สุด ดังที่ดูบริน (Dubrin. 1990 : 207) ไดใหขอเสนอแนะการแกปญหาความ<br />

ขัดแยงที่นาสนใจดังนี้ คือ การเจรจาตอรองตองไมบีบบังคับอีกฝายใหจนมุม ตองเหลือชองทางไว<br />

ใหตอรองบาง การแกไขขอขัดแยงจะเปนผลไดตอเมื่อการเรียกรองนั้นสมเหตุสมผล ซึ่งเปนเครื่อง<br />

แสดงถึงความจริงใจในการแกปญหา หากเรียกรองจนอีกฝายไมสามารถทําไดก็เหมือนการจงใจให<br />

เกิดเปนปญหามากกวาที่จะตองการแกปญหา นอกจากนี้กรอบความคิดตองเปนแงบวก ไมมีอคติ<br />

หรือการมองกันในแงราย มิฉะนั้นจะทําใหการหาแนวทางการแกปญหายากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันไดมี<br />

ผลของการศึกษาพบวา การเจรจาที่ไดผลจะตองคอย ๆ รุกจากเรื่องเล็กใหไดผลกอนและขยับไป<br />

เรื่องใหญ และเพื่อใหมีความชัดเจนในผลการเจรจาจะตองมีการกําหนดเสนตายในการพิจารณา<br />

ตัดสินใจของแตละฝายวาตองการหรือจะลงมือกระทําอยางไรตอไป สิ่งสําคัญอีกสองประการ คือ<br />

การควบคุมอารมณของผูเจรจาภายใตแรงกดดันและการรักษาหนาของคูขัดแยงไมใหเสียหนาขณะ<br />

มีการเจรจาหากเราใชวิธีแบบชนะ-ชนะ<br />

สรุป<br />

ผูบริหารเปนผูที่สามารถใชคนอื่นใหทําสิ่งตาง ๆ แทนตนเองได ดวยอํานาจหนาที่ที่มีอยู<br />

ตามตําแหนงที่ไดรับ การเปนผูบริหารที่ดีและประสบผลสําเร็จจะตองมีคุณสมบัติพื้นฐาน เชน มี<br />

ความมุงมั่นในการทํางาน เปนแบบอยางที่ดี สามารถเผชิญปญญาและเชื่อถือได หลักจริยธรรม<br />

สําหรับผูบริหารจะเปนการสั่งสมอํานาจบารมี เชน หลักสัปปุริสธรรม 7 เปนธรรมของคนดี เมื่ออยู<br />

ในบทบาทของผูบริหารก็จะเปนผูบริหารที่ดี ทําใหความสัมพันธและความเปนอยูของคนใน<br />

องคกรเกิดสันติสุข หลักพรหมวิหาร 4 เปนธรรมะสําหรับผูเปนใหญที่มีเมตตา กรุณา มุทิตาและ<br />

อุเบกขา จะทําใหเปนที่รักและเคารพของผูใตบังคับบัญชา หลักทศพิศราชธรรม 10 เปนหลักธรรม<br />

ของผูเปนใหญที่สามารถสรางพลังแหงศรัทธาจากผูคนในวงกวางและมรรค 8 เปนทางสายกลางที่


92<br />

ทําใหสามารถดับทุกขไดและสิ่งสําคัญผูบริหารจะตองเปนผูที่แยกแยะถูกผิดไดอยางไมมีอคติ คือ<br />

ไมลําเอียงเพราะรัก โกรธ เชื่องาย กลัว หรือเกรงใจ นอกจากนี้ผูบริหารยังตองเขาใจและเตรียมใจ<br />

หลักโลกธรรม 8 ซึ่งเปนสัจจธรรมของโลกวา มีสุข มีทุกข มีสรรเสริญ มีนินทา ไดลาภ เสื่อมลาภ<br />

ไดยศ เสื่อมยศ เปนของคูกันที่จะตองประสบอยางแนนอน ดังนั้นดวยบทบาทและอํานาจหนาที่ของ<br />

ผูบริหารยอมจะมีทั้งการใชอํานาจ อิทธิพลเพื่อผลประโยชนและเปนสาเหตุใหเกิดความขัดแยงเมื่อ<br />

ความเห็นไมตรงกัน หรือผลประโยชนไมลงตัว จึงตองมีจริยธรรมในการจัดการกับความขัดแยง<br />

เชน ใชการประนีประนอม การรวมมือ การหลีกเลี่ยง การแกไขตอสู การยอมรับฝายตรงขาม<br />

กรณีศึกษา<br />

“เสริมสุข-เปปซี่ กรณีศึกษาทุนขามชาติ 'ฮุบ'”<br />

“วิทวัส รุงเรืองผล” อธิบายกรณีการแตกหักระหวางเสริมสุขกับเปปซี่ หลังการแยกทาง<br />

กันเดินทําใหทั้งคูตองทํางานหนักและขับเคี่ยวกันมากขึ้นกวาเดิม เพื่อรักษาความเปนเบอร 1 ใน<br />

ตลาดน้ําดําในไทยเอาไวไมใหคูแขงอยางโคคา โคลา หรือ อาเจ บิ๊ก โคลา แบรนดนองใหมมาแรง<br />

จากเปรู ทํายอดขายแซงหนา ในระยะ 2-3 ปจากนี้ ทั้งคูมีโอกาสจะเสียทาใหกับ "คูแขง" เนื่องจากจะ<br />

มีระยะเวลาเพียง 1 ปในการจัดทําแผนธุรกิจในอนาคตที่จะเริ่มนับหนึ่งตั้งแตวันที่ 1 เม.ย. 2555 เปน<br />

ตนไป เปนไปตามเงื่อนไขการบอกเลิกสัญญา Exclusive Bottling Appointment Agreement-EBA<br />

(การจําหนายวัตถุดิบหรือสวนผสมที่ใชในการผลิตน้ําอัดลมหรือหัวน้ําเชื้อกับกลุมบริษัทเปปซี่ โค<br />

และแผนธุรกิจอื่น ๆ) เปปซี่ถือวามีแบรนดน้ําดําที่แข็งแกรง โดยประเทศไทยเปน 1 ใน 2 ประเทศ<br />

ทั่วโลกที่ยอดขายเปปซี่แซงหนาโคคา โคลา จึงไมนาจะมีปญหา หากจะเริ่มดําเนินการเอง เพราะ<br />

เปปซี่ โคเองก็มีบริษัทหลายธุรกิจที่ดําเนินกิจการในเมืองไทยอยูแลว ไมวาจะเปนธุรกิจประเภท<br />

เครื่องดื่ม อาหารและฟาสตฟูด ภายใตการดําเนินงานของบริษัทแมเดียวกัน ตัวอยางสินคาที่เรารูจัก<br />

เปนอยางดีคือ Frito-Lay บริษัทที่ทําธุรกิจดาน Snacks ภายใตแบรนดตาง ๆ เชน ay Munchos<br />

เปนตน ดังนั้นในชวงระยะแรก ๆ เปปซี่คงจะใชพันธมิตร หรือชองทางจากบริษัทในเครือเดียวกัน<br />

เขามาชวย หรืออาจจะหาพันธมิตรรายใหมเขามาเสริมทัพ โดยเฉพาะบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ<br />

ทางดานโลจิสติกสในประเทศอยางดีทแฮลม หรือไมก็โอสถสภาและระหวางนี้เปปซี่ก็จะเรียนรู<br />

และลงมือทําเองทั้งหมด ตามสไตลของบริษัทขามชาติสวนใหญ ที่ถึงระดับหนึ่งก็จะดึงเอาธุรกิจ<br />

กลับเขามาบริหารจัดการเองดวยเทคโนโลยี<br />

“ระบบการคาเปนธุรกิจคาปลีกสมัยใหม หรือ Modern Trade จากเดิมที่เคยเปน<br />

Traditional Trade เวลาที่ฝรั่งคุยกันก็เอาระดับ Head มาคุยกันเลย วากันในระดับ Regional


93<br />

สามารถดึงขอมูลจากทั่วโลกมาดูไดจึงไมจะเปนตองพึ่งบริษัทลูกในตางประเทศเหมือนเมื่อกอน<br />

ทิศทางของบริษัทที่เปน Global Brand ทั้งหลายก็จะดึงงานทุกอยางมาดําเนินการเองทั้งหมด”<br />

ฝายเสริมสุข นับวาเปนบริษัทที่มีความแข็งแกรงในเรื่องการกระจายสินคาภายใตระบบ<br />

โลจิสติกสที่ดีมากที่สุดบริษัทหนึ่งในไทย อาทิ การมีขอมูลตางๆ ของรานคากวา 300,000 แหงใน<br />

ไทย ไลไปตั้งแตรานคาสง คาปลีก รานอาหาร หรือสถานบันเทิงตางๆ มีโรงงานทั้งหมด 6 แหง มี<br />

คลังสินคา 47 แหง คลังสินคายอย 9 แหง รถขาย 1,500 คัน ครอบคลุมทั่วประเทศ มีฝายขายที่มี<br />

ความแข็งแกรงที่เปปซี่เองก็รูดีวาไมอาจจะตอกรกับเสริมสุขไดมากนัก แตทายที่สุดตางฝายก็ตอง<br />

ใสความพยายาม เพิ่มเสริมจุดแข็งเติมเต็มจุดออน แมเปปซี่จะไมขายหัวน้ําเชื้อใหกับเสริมสุข แตก็<br />

มั่นใจวาชวงนี้จะมีหลายๆ บริษัทอยากจะเขามารวมเปนพันธมิตรกับเสริมสุข ซึ่งในอนาคตก็คงตอง<br />

มองไปที่บริษัทขามชาติ ซึ่งไมไดมีแคแบรนดเปปซี่, โคคา โคลา หรือ อาเจ บิ๊ก โคคา เทานั้น<br />

ในฝงอเมริกาเองก็มีอีกหลายๆ แบรนดที่มีชื่อเสียงเพียงแตคนไทยไมรูจัก เพราะไมเคยเขา<br />

มาทําตลาดในไทย เชน Dr.Pepper ก็เปนอีกแบรนดที่มาแรงในขณะนี้<br />

สําหรับธุรกิจเครื่องดื่มที่ไมใชน้ําอัดลมของเสริมสุข อาทิ น้ําดื่มและโซดาคริสตัล ก็มี<br />

แผนขยายกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นอีก รวมทั้งการขยายตลาดเครื่องดื่มที่ไมใชน้ําอัดลมอื่นๆ ที่ประสบ<br />

ความสําเร็จอยูแลว เชน น้ําผลไม กาแฟ หรือเครื่องดื่ม Functional Drink อื่นๆ จากกระแสการ<br />

ใสใจสุขภาพของผูบริโภคมากขึ้น ทําใหเสริมสุขเห็นโอกาสและชองทางจากตลาดที่มีศักยภาพใน<br />

การเติบโตสูงมากเมื่อเทียบกับตลาดน้ําอัดลมที่ "ฐานกวาง แตโตชา"<br />

ขณะที่ธันยวัชร ไชยตระกูลชัย ผูเชี่ยวชาญดานการตลาดใหความเห็นวา ศึกระหวาง<br />

เสริมสุขกับเปปซี่ นอกจากจะเปนเกมการตอรองทางธุรกิจอยางหนึ่งที่ไมมีใครสามารถยอมใหใคร<br />

ได เขายังมองเปนเรื่องของ “ศักดิ์ศรี” ระหวางนักลงทุนไทยกับทุนขามชาติ นี่คือเกมการตอรองทาง<br />

ธุรกิจ ที่ผานมาเปปซี่เองก็มีเงื่อนไขตางๆ ที่เปนการบีบฝายผูบริหารเสริมสุข อาทิสิ่งที่เสริมสุขเห็น<br />

วาเปนสัญญาที่ไมเปนธรรมหลายอยาง อาทิ การปรับเปลี่ยนสูตรคํานวณราคาคาหัวน้ําเชื้อ การ<br />

เปลี่ยนจากสัญญาที่ไมไดมีกําหนดเวลาเปนสัญญาที่มีกําหนดเวลา 7 ป และสามารถตอออกไปได<br />

อีก 5 ป การกําหนดระยะเวลาลวงหนากรณีคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งตองการยกเลิกสัญญา<br />

การที่เปปซี่บอกวา เสริมสุขไมสามารถผลิตหรือจําหนายเครื่องดื่มที่ไมใชน้ําอัดลมภายใต<br />

เงื่อนไขบางประการที่เขมงวด และไมสามารถผลิตและจําหนายน้ําอัดลมไดเลย ซึ่งหากดําเนินการ<br />

ทางเปปซี่จะถือวาเปนลิขสิทธิ์ของทางเปปซี่เทานั้น มีสิทธิเลิกสัญญาและเรียกคาเสียหายจากการ<br />

เปลี่ยนอํานาจควบคุมในบริษัท โดยเสริมสุขรองขอใหมีการแกไขแลวแตทายที่สุดก็ลงเอยดวยการ<br />

แยกทางกัน แมเปปซี่อาจจะมองวาเสริมสุขคงไมกลาบอกเลิกสัญญาแน


94<br />

หลังการยกเลิกสัญญา แววมาวา เปปซี่ไมยอมจบงายๆ โดยเตรียมที่จะใช “ขอกฎหมาย”<br />

ลมมติที่ประชุมผูถือหุนเสริมสุขในวันที่ 29 เมษายนที่ผานมา ธันยวัชร ยังมองในมุมเสริมสุขวา<br />

เปปซี่ยังจะตองพึ่งพาเสริมสุขอีกมาก เพราะไมใชเรื่องงายที่เปปซี่จะสรางโรงงานผลิตน้ําอัดลม<br />

ขึ้นมาใหมในระยะเวลาสั้น แมกระทั่งการเขาถึงลูกคาทั่วประเทศที่เสริมสุขมีระบบโลจิสติกสที่<br />

เขมแข็งมาก สุดทายเปปซี่ก็จะตองเปนฝายยอมเสริมสุข<br />

“คิดดูงาย ๆ เปปซี่ไมมีเสริมสุข หรือเสริมสุขไมมีเปปซี่ใครจะตายกอนกัน มันเปนเรื่อง<br />

ของโลจิสติกสลวนๆ ถึงคุณมีแบรนดแข็งแกรงระดับโลกแตเขาถึงผูบริโภคไมไดก็ตายเหมือนกัน”<br />

เคสนี้นาจะเปนเคสประวัติศาสตรใหกับเปปซี่ นําไปใชเปนกรณีศึกษาของเปปซี่ในประเทศตาง ๆ<br />

ทั่วโลกที่สวนใหญดําเนินการโดยบริษัทแม ไมเฉพาะตัวอยางกรณีศึกษาใหกับธุรกิจขามชาติใน<br />

ไทยเทานั้น 1 ปนับจากนี้ทั้งเสริมสุขและเปปซี่คงสูกันแหลกแนนอน นอกจากจะสูกันเองแลว ยัง<br />

ตองสูศึกภายนอก เพื่อรักษาสวนแบงทางดานการตลาดไมใหเสียเปรียบคูแขงอยางโคคา โคลา<br />

กระทั่งแบรนดนองใหมอยางอาเจ บิ๊ก โคลาที่เริ่มกินสวนแบง 30 % เดิมประมาณ 10 % เทานั้น<br />

ป 2553 มารเก็ตแชรของเปปซี่อยูที่ประมาณ 55 % และโคก 45 % ในตลาดน้ําดํา ที่มีมูลคาประมาณ<br />

26,000 ลานบาท<br />

คําถาม จากกรณีศึกษา เสริมสุข-เปปซี่ กรณีศึกษาทุนขามชาติ 'ฮุบ'<br />

1. นักศึกษาวิเคราะหสถานการณใครเปนฝายไดเปรียบ-เสียเปรียบในแงมุมใด<br />

2. กรณีของความขัดแยง ผูบริหารควรจะเลือกใชวิธีการแกไขขอขัดแยงใดที่เหมาะสม<br />

และคํานึงถึงหลักจริยธรรมของผูบริหารอยางไร


95<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 4<br />

กิ่งดาว จินดาเทวิน. (2552). การศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีสําหรับ<br />

องคการบริหารสวนตําบล(อบต.)ในจังหวัดอุตรดิตถ. ดุษฎีนิพนธ ปร.ด.<br />

(การศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

ราชนครินทร. อัดสําเนา.<br />

กุญชรี คาขาย. (2554). การบริหารความขัดแยง. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Conflict_Management.htm.<br />

จินตนา บุญบงการ. (2551). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ดานสุทธาการพิมพ.<br />

ธานินทร กรัยวิเชียร. (2548). คุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร. โครงการปริญญาโท<br />

ทางการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.<br />

เนตรพัณณา ยาวิราช. (2551). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ทิปเพิ้ล กรุป.<br />

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2549). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ : วิชั่นบุคส.<br />

พฤษภาทมิฬ. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

ลมลเพ็ชร อภิสิทธินิรันดร. (2554). เสริมสุข-เปปซี่ กรณีศึกษาทุนขามชาติ 'ฮุบ' . [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.bangkokbiznews.com<br />

วศิน อินทสระ. (2549). พุทธจริยศาสตร. กรุงเทพฯ : ธรรมดา.<br />

สมหวัง วิทยาปญญานนท. (2543). บริหารตามหลักทศพิธราชธรรม. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.budmgt.com/budman/bm01/king10.html.<br />

สุรศักดิ์ ใจเย็น. (2553). คุณสมบัติพื้นฐานของผูบริหาร. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.svproconsulting.com/index.php?option=con_content&view= article<br />

หลวงปูสุวัจน สุวโจ. (2552). อคติ 4. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://board.palungjit.com.<br />

อํานาจ. (2554). ). [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

Coffey, R. E., Cook, C. W., & Hunsaker, P. L. (1994). Management and Organizational<br />

Behavior. Burr Ridge, IL: Irwin.<br />

Dubrin, A.J. (1990). Effective Business Psychology. 3rd ed. New Jersey: Prentice-Hall.<br />

Van Slyke, E. J. (1999). Listening to conflict: Finding Constructive Solution to Workplace<br />

Disputes. New York: Library of Congress Cataloging-in- Publication Data


บทที่ 5<br />

จริยธรรมและความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม<br />

เมื่อภาครัฐมีการรณรงคและกําหนดใหมีการพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ เพื่อใหเปน<br />

ผูมีความประพฤติที่ถูกตองตามกฎระเบียบและมีคุณธรรมที่ดีงาม เปนไปตามทํานองคลองธรรมใน<br />

การดําเนินงานแลว ในสวนของนักธุรกิจซึ่งเปนผูประกอบการ เปนผูบริหารองคกรธุรกิจก็ตองมี<br />

ความรับผิดชอบตอกิจการงานที่เกี่ยวของ ดวยการยึดถือเปนคํามั่นสัญญาในการปฏิบัติที่จะทําให<br />

เกิดคุณคา คุณประโยชนแกทุกฝายที่เกี่ยวของ ตามหลักแหงจริยธรรมและความรับผิดชอบของ<br />

ธุรกิจที่มีตอสังคมนั้น ๆ ดวย<br />

การสงเสริมนักธุรกิจใหมีจริยธรรม<br />

นักธุรกิจผูมีบทบาทและอิทธิพลในฐานะของผูบริหาร หรือผูนําองคกรธุรกิจ เปรียบได<br />

กับหัวเรือใหญในการขับเคลื่อนองคกรใหเปนไปตามทิศทาง นโยบาย แผนงาน พันธกิจ กลยุทธ<br />

เพื่อบรรลุเปาหมายสูงสุดขององคกร ดังนั้นการกระทําใด ๆ ของนักธุรกิจในแตละองคกร ทั้งขนาด<br />

เล็กและขนาดใหญยอมมีผลกระทบไปตามขอบเขตและอํานาจ หากเปนองคกรขนาดใหญการ<br />

กระทําใด ๆ ยอมสงผลแผกวางทั้งระดับเศรษฐกิจและสังคม การสงเสริมนักธุรกิจใหมีจริยธรรมจึง<br />

เปนสิ่งสําคัญและจําเปนที่จะตองมีการปลูกฝงสํานึกที่มีคุณธรรม จริยธรรมตอความรับผิดชอบ<br />

สวนรวมและทุกฝายที่เกี่ยวของ ดังนั้นในเบื้องตนจะตองเขาใจถึงคุณสมบัติที่ดีที่พึงประสงคของ<br />

การเปนนักธุรกิจ ทั้งในดานสวนตัวที่เกี่ยวกับบุคลิก อุปนิสัย ความรูความสามารถและคุณธรรม<br />

จริยธรรม ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนองคประกอบของความสําเร็จของนักธุรกิจในเบื้องตน ดังนี้<br />

1. คุณสมบัติของนักธุรกิจที่ดี คุณสมบัติเฉพาะตัวของนักธุรกิจ เปนปจจัยที่มีแนวโนม<br />

ของความเปนผูประสบผลสําเร็จในหนาที่การงาน นอกจากคุณสมบัติดานความรูความสามารถ<br />

เฉพาะตัวของบุคคลแลว ในปจจุบันการแขงขันเปนไปอยางเสรีทําใหการดําเนินธุรกิจมีความ<br />

ซับซอนยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่จะทําใหนักธุรกิจสามารถดําเนินงานไดราบรื่นและ<br />

สอดคลองกับสภาพการณปจจุบัน เชน การสรางสัมพันธที่ดีระหวางพันธมิตรทางการคา ชุมชน<br />

สังคมและทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ดวยหลักของคุณธรรมและมนุษยธรรม ดังนั้นการดําเนินงานที่จะ


97<br />

สามารถบรรลุเปาหมายกําไรสูงสุด จึงควรมีคุณสมบัติตาง ๆ เนตรพัณณา ยาวิราช. 2551 : 68-74;<br />

สมคิด บางโม. 2549 : 65-69; ดังนี้<br />

1.1 คุณสมบัติดานความรูความสามารถและบุคลิกสวนตัวของผูบริหารที่ดี ประมวล<br />

พอสังเขป คือ 1) เปนผูมีความรับผิดชอบในการทํางานดวยความทุมเท เต็มกําลังความสามารถและ<br />

สติปญญา 2) มีความกลาที่จะเผชิญตอความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจตามสมควรดวยการมีขอมูลที่<br />

ถูกตองแมนยําและการประเมินสถานการณไดดี 3) มีความมั่นใจในตนเอง ไมโลเล 4) มั่นใจใน<br />

การประเมินผลงานกิจการของตนเองอยางมีหลักเกณฑและตัวชี้วัดที่ชัดเจน 5) กระตือรือรนในการ<br />

ทํางาน มีพลังทั้งรางกายและจิตใจที่มุงมั่น 6) มองการณไกล มีความคิดที่สรางสรรค คิดนอกกรอบ<br />

อยางมีเหตุมีผล 7) มีความความสามารถในการคัดสรรคนเขามาทํางานไดตรงกับความรู<br />

ความสามารถ 8) เนนความสําเร็จของงานควบคูกับใหความสําคัญกับคน 9) มีความสามารถใน<br />

การคิด การตัดสินใจและการแกปญหา 10) เปนผูมีมนุษยสัมพันธและบุคลิกภาพที่ดี เปนที่เชื่อถือ<br />

และยอมรับของบุคคลทุกระดับ 11) มีความสามารถสื่อสารทําใหเขาใจงาย ชัดเจนสามารถบรรลุ<br />

วัตถุประสงค 12) มีความเชี่ยวชาญในงานที่ทํา 13) เปนผูที่สามารถวางแผนและจัดการอยางมี<br />

กลยุทธ 14) เปนผูมีศีล มีธรรม มีภาพลักษณที่เปนที่ยอมรับของสังคม<br />

1.2 คุณสมบัติดานคุณธรรมจริยธรรมของนักธุรกิจที่ดี เปนแนวคิดและเปนหลัก<br />

ปฏิบัติที่สอดคลองกับคุณธรรมสากลและมโนธรรมสวนตัวของนักธุรกิจที่กระทําโดยเห็นแก<br />

ประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนดานกําไรของธุรกิจ เชน 1) การดําเนินงานใหไดกําไรโดย<br />

ไมเอารัดเอาเปรียบทั้งแรงงานพนักงานลูกจาง ลูกคา ชุมชน สังคมและรัฐ 2) ไมทําลายแหลง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ หรือกอมลภาวะ เชน มีการบําบัดน้ําเสีย อากาศที่เปนพิษ กลิ่นและเสียงที่เปน<br />

มลภาวะ ปองกันรักษาความปลอดภัยวัตถุระเบิดและสารเคมีที่มีพิษอยางระมัดระวัง 3) มีสวนรวม<br />

ในการสรางความเปนปกแผนของสังคม เชน การเขารวมกิจกรรมการสงเสริมสนับสนุนคุณธรรม<br />

หรือมีบทบาทในการชวยเหลือเกื้อกูลตอสังคม 4) การดําเนินธุรกิจดวยความเสมอภาค เคารพใน<br />

ศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย 5) ดําเนินงานดวยหลักเมตตากรุณา ไมทําใหสังคมเสื่อมทั้งดานจิตใจ<br />

ศีลธรรมและการสรางคานิยมผิด ๆ 6) ดําเนินธุรกิจที่ถูกตองตามกฎหมาย เชน ไมเปดกิจการที่เปน<br />

แหลงมั่วสุมอบายมุข คาประเวณี ลักลอบคาสินคาผิดกฎหมายทุกชนิด 7) ไมประกอบธุรกิจที่<br />

ทําลายธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน การตัดไมทําลายปา ลักลอบคาสัตวปาและของปาสงวน การ<br />

ทําไรเลื่อนลอย การรุกล้ําที่สาธารณะเพื่อธุรกิจของตน 8) เคารพในสิทธิทางปญญาของผูอื่นและ<br />

ธุรกิจอื่น ไมลอกเลียนแบบโดยไมไดรับอนุญาต และ 9) การดําเนินธุรกิจที่สอดคลองกับความ<br />

ตองการและเพิ่มศักยภาพใหกับชุมชน


98<br />

ดังนั้นจึงเปนที่คาดหมายอยางแนนอนวาการกําหนดโชคชะตาในการดําเนินธุรกิจที่จะ<br />

ประสบผลสําเร็จสามารถที่จะดําเนินการดวยความรูความสามารถและคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม<br />

วิธีการที่จะนํามาสงเสริม หรือปลูกฝงใหนักธุรกิจมีคุณธรรมจริยธรรมได<br />

1.3 การสงเสริมนักธุรกิจใหมีจริยธรรม มีวิธีการดังตอไปนี้<br />

1) กลุมธุรกิจควรมีการรวมตัวกันในธุรกิจประเภทเดียวกัน หรือกลุม<br />

อุตสาหกรรม เชน สมาคมหอการคา สมาคมอุตสาหกรรม ฯ โดยจัดตั้งเปนองคกรและรวมกัน<br />

กําหนดอุดมการณทางธุรกิจที่คํานึงถึงประโยชนตอสวนรวมและภาพลักษณที่ดีขององคกรธุรกิจ<br />

2) กําหนดกฎระเบียบ หรือขอบังคับ เพื่อเปนแนวทางการประพฤติปฏิบัติของ<br />

สมาชิกในการถือปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน<br />

3) จัดทําโครงการอบรมและจัดกิจกรรมที่สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรมแก<br />

สมาชิก เชน การจัดอบรมดานศีล สมาธิและปญญา จัดกิจกรรมดานจิตอาสาเพื่อทําประโยชนแก<br />

สาธารณะ<br />

4) มีการจัดประกวดบุคคลและองคกรธุรกิจ หรือเขารวมการประกวดบุคคลและ<br />

องคกรธุรกิจที่มีคุณธรรม จริยธรรม โดยองคกรธุรกิจ เพื ่อใหไดรับการยอมรับทั้งจากกลุมสมาชิก<br />

องคกรธุรกิจและบุคคลภายนอก<br />

5) มีเกณฑมาตรฐานการตรวจสอบและประเมินดานคุณธรรม จริยธรรมของ<br />

บุคลากรภายในองคกรนั้น ๆ และมีการประกาศเกียรติคุณแกผูที่มีผลการประเมินในระดับดีมาก<br />

6) มีกฎเกณฑในการลงโทษผูที่มีความประพฤติที่ขาดคุณธรรม จริยธรรม เชน<br />

การใหออกจากกลุมไป<br />

7) มีระบบการตรวจสอบจากองคกรภายนอก เชน องคกรภาครัฐ องคกรภาค<br />

ประชาชน<br />

8) สรางความสัมพันธระหวางนักธุรกิจกับชุมชน เพื่อใหมีความใกลชิดและ<br />

เขาใจในวิถีชีวิตของชุมชนและอยูรวมกันอยางเกื้อกูลกัน


99<br />

ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม<br />

ทําไมธุรกิจจะตองมีความรับผิดชอบตอสังคม คําถามนี้อาจเกิดจากความรูสึกวามีความ<br />

ขัดแยงระหวางเปาหมายธุรกิจที่ตองการกําไรสูงสุด แตความรับผิดชอบตอสังคมทําใหธุรกิจมี<br />

ตนทุนเพิ่มขึ้น ซึ่งยอมจะทําใหกําไรของธุรกิจลดลง แตเหตุการณนี้มีจุดเริ่มตนตั้งแตศตวรรษที่ 20<br />

(อภิรัฐ ตั้งกระจางและคณะ. 2546 : 69) ประเทศมหาอํานาจสหรัฐอเมริกาซึ่งมีธุรกิจขนาดใหญได<br />

ถูกโจมตีวามีอํานาจและอิทธิพลมากเกินไปในการใชอํานาจเอารัดเอาเปรียบผูบริโภค โดยปราศจาก<br />

ความรับผิดชอบตอสังคมและไดมีความพยายามหยุดยั้งธุรกิจเหลานั้น ดวยกฎหมายการปองกัน<br />

การผูกขาด(Antitrust Law) กฎหมายคุมครองผูบริโภค (Consumer Protection Laws) และ<br />

กฎระเบียบของธนาคาร ทําใหนักธุรกิจองคกรขนาดใหญทั้งหลายตางหันกลับมาทบทวนพฤติกรรม<br />

และการกระทําของตนเอง ดังนั้นบทบาทของธุรกิจเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและไดตระหนักถึงการ<br />

ดําเนินธุรกิจที่ตองมีความรับผิดชอบตอสังคมมากขึ้น ทั้งนี้ไดเริ่มดวยหลักการชวยเหลือในรูปของ<br />

กองทุนและหลักการของผูพิทักษเปนหลักการพื้นฐานของความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร<br />

ธุรกิจ (อภิรัฐ ตั้งกระจางและคณะ. 2546 : 69-71; อางอิงจาก Lawrence and Weber. 2002.<br />

Foundation principles of corporate social responsibility : 61) อธิบายพอสังเขป ดังนี้<br />

หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรธุรกิจ<br />

(Foundation principles of corporate social responsibility)<br />

หลักการกองทุน<br />

หลักการของผูพิทักษ<br />

(Charity principle)<br />

(Stewardship principle)<br />

คํานิยาม คือ นักธุรกิจใหความชวยเหลือ เอื้อเฟอ<br />

ตอสังคมดวยความเต็มใจ ทั้งระดับ<br />

บุคคลและกลุม<br />

ชนิดของ<br />

กิจกรรม<br />

1. การชวยเหลือสงเคราะห<br />

2. การสงเสริมสังคมใหดีขึ้น<br />

คือ นักธุรกิจเสมือนเปนผูดูแลหรือผู<br />

พิทักษสังคม โดยคํานึงถึงผลกระทบที่ทุก<br />

คนจะไดรับจากนโยบายและการตัดสินใจ<br />

ของบริษัท ทั้งนี้จะตองมีการสื่อสารให<br />

เกิดความเขาใจที่ตรงกัน<br />

1. การเห็นคุณคาของการพึ่งพาระหวาง<br />

ธุรกิจและสังคม หรือผูที่มีสวนไดสวน<br />

เสีย<br />

2. การรักษาความสมดุลระหวางความ<br />

สนใจและความตองการที่แตกตางกันของ<br />

แตละกลุม


100<br />

.<br />

หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรธุรกิจ<br />

(Foundation principles of corporate social responsibility)<br />

หลักการกองทุน<br />

หลักการของผูพิทักษ<br />

(Charity principle)<br />

(Stewardship principle)<br />

ตัวอยาง 1. เปนองคกรที่ชวยเหลือมนุษย เชน<br />

ยามเกิดภัยพิบัติขึ้นก็ใหการ สงเคราะห<br />

การบริจาคผาหม อาหาร ที่พักอาศัย<br />

ทุนทรัพย เปนตน<br />

2. เปนองคกรที่ริเริ่มในการแกปญหา<br />

สังคม เชน สนับสนุนสงเสริมการกีฬา<br />

3. การเปนหุนสวนของสังคมกับกลุมที่<br />

ตองการความชวยเหลือ เชน การมีสวน<br />

รวมในกิจกรรมกับชุมชน สังคม<br />

1. การตระหนักถึงความสนใจของตนเอง<br />

2. การปฏิบัติตามขอกําหนดทางกฎหมาย<br />

3. แนวคิดของผูเกี่ยวของตอการวางแผน<br />

กลยุทธของธุรกิจ<br />

ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม คืออะไร มีความสําคัญและจําเปนอยางไรตอการ<br />

ดําเนินธุรกิจและความรับผิดชอบนั้นควรกระทํากับใครบาง ในที่สุดจะตองทําอยางไรจึงจะเรียกได<br />

วามีความรับผิดชอบตอสังคมอยางแทจริง<br />

อภิรัฐ ตั้งกระจางและคณะ (2546 : 67) ใหความหมายความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม<br />

(Corporate Social Responsibility : CSR) หมายถึง การดําเนินธุรกิจไปตามครรลองของกฎหมาย<br />

และจริยธรรม โดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูที่เกี่ยวของกับผูที่มีความเกี่ยวของโดยตรงตอ<br />

ความสําเร็จขององคกร ไดแก พนักงาน ผูถือหุนและเจาของ ลูกคา ผูจําหนายวัตถุดิบ คูแขงขัน ผูจัด<br />

จําหนายสินคาและเจาหนี้ ชุมชน รัฐบาล สื่อมวลชน สาธารณชนและกลุมสนับสนุนธุรกิจตาง ๆ<br />

ธุรกิจจะตองแสดงบทบาทความเปนผูนําในสิ่งที่ถูกตองและเปนประโยชนตอสังคม มีความหวงใย<br />

ในชุมชนและสิ่งแวดลอม รวมทั้งยินดีที่จะเสียสละผลกําไรบางสวนขององคกร เพื่อพัฒนาชุมชน<br />

ใหดีขึ้น ตลอดจนเพื่อแกไขปญหาทางดานสิ่งแวดลอมตาง ๆ<br />

เนตรพัณณา ยาวิราช (2551 : 41-44) ใหความหมาย CSR หมายถึง การที่องคการตั้งใจที่<br />

จะกระทําใหเกิดประโยชนใหแกสังคมอันนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด โดยองคการอาจกําหนด<br />

ไวเปนขอบัญญัติทางจริยธรรมที่ประกอบดวยความรับผิดชอบตอบุคคลตาง ๆ ไดแก ความ


101<br />

รับผิดชอบของคณะกรรมการ ความรับผิดชอบตอผูถือหุน ลูกคา ความรับผิดชอบตอคุณภาพสินคา<br />

หรือบริการ พนักงาน สังคมและสิ่งแวดลอม<br />

สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (2554. ออนไลน) ไดรวบรวมคํานิยาม CSR จากหลายหนวยงาน<br />

ดังนี้<br />

1. สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม : CSR หมายถึง แนวคิดที่บริษัทผสานความหวงใยตอสังคม<br />

และสิ่งแวดลอมไวในกระบวนการดําเนินธุรกิจและการมีปฏิสัมพันธกับผูมีสวนไดเสียภายใต<br />

พื้นฐานการกระทําดวยความสมัครใจ<br />

2. The European Commission : CSR คือ คํามั่นของบริษัทที่จะสงเสริมการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจอยางยั่งยืน โดยทํางานรวมกับลูกจางและครอบครัวของพวกเขา ชุมชนและสังคมโดย<br />

กวาง เพื่อจะพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของสังคมโดยรวม<br />

3. World Business Council on Sustainable Development : CSR หมายถึง การดําเนิน<br />

ธุรกิจภายใตหลักจริยธรรมและการกํากับที่ดี ควบคูไปกับการใสใจดูเเลรักษาสังคมและสิ่งเเวดลอม<br />

เพี่อนําไปสูการพัฒนาธุรกิจอยางยั่งยืน<br />

4. คณะทํางานสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งเเวดลอมของบริษัทจดทะเบียน<br />

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) : CSR เปนเรื่องที่องคกรตอบสนองตอ<br />

ประเด็นเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม โดยมุงใหประโยชนกับคน ชุมชนและสังคม นอกจากนั้น<br />

ยังเปนเรื่องของบทบาทขององคกรธุรกิจในสังคม ความคาดหวังของสังคมที่มีตอองคกรธุรกิจ โดย<br />

ทําดวยความสมัครใจและผูบริหารจะตองมีบทบาทเกี่ยวของกับกิจกรรมตาง ๆ ที่สามารถวัดผลได<br />

3 มิติ คือ การวัดผลทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมอันจะนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน<br />

5. ISO 26000 : CSR หมายถึง การดําเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองคกรที่คํานึงถึง<br />

ผลกระทบตอสังคม ทั้งในระดับใกล ไดแก ผูมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับองคกร เชน ลูกคา คูคา<br />

ครอบครัว พนักงาน ชุมชนทองถิ่นที่องคกรตั้งอยูและระดับไกล ไดแก ผูมีสวนเกี่ยวของกับองคกร<br />

ทางออม เชน คูแขงขันทางธุรกิจ ประชาชนโดยทั่วไป ดวยการใชทรัพยากรที่มีอยูในองคกร หรือ<br />

ทรัพยากรจากภายนอกองคกร ในอันที่จะทําใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางเปนปกติสุข<br />

6. สถาบันไทยพัฒน ภายใตมูลนิธิบูรณะชนบทแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

ยังไดตีความ CSR วา เปนกิจกรรมที่รวมทั้งการคิด การพูดและการกระทํา ซึ่งครอบคลุมตั้งแตการ<br />

วางแผน การตัดสินใจ การสื่อสาร ประชาสัมพันธ การบริหารจัดการและการดําเนินงานของ<br />

องคกรที่ดําเนินการในพื้นที่ของสังคม เชน ลูกคา คูคา ครอบครัวพนักงาน ชุมชนที่องคกร<br />

ตั้งอยู รวมถึงสิ่งแวดลอม หรือระบบนิเวศน คูแขงขันทางธุรกิจ ประชาชนทั่วไป เปนตน


102<br />

ดังนั้นสามารถอธิบายไดวา ความรับผิดชอบเปนหนาที่ที่ผูกพันดวยคํามั่นสัญญาที่จะ<br />

ปฏิบัติหนาที่ของตนอยางถูกตองตามกฎหมายและมีจริยธรรม โดยคํานึงถึงประโยชนและ<br />

ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับผูเกี่ยวของที่มีสวนไดสวนเสีย ทั้งทางตรงและทางออมภายในขอบเขต<br />

ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (Area of Corporate Social Responsibility) ไดแก<br />

1) ความรับผิดชอบตอสังคมและชุมชน 2) ความรับผิดชอบตอสุขภาพและสวัสดิการประชาชน<br />

3) ความรับผิดชอบดานการศึกษา 4) ความรับผิดชอบดานสิทธิมนุษยชน 5) ความรับผิดชอบ<br />

ดานสิ่งแวดลอม 6) ความรับผิดชอบตอผูบริโภค 7) ความรับผิดชอบตอวัฒนธรรมอันดี 8) ความ<br />

รับผิดชอบตอชุมชน 9) ความรับผิดชอบดานจริยธรรม 10) ความรับผิดชอบดานกฎหมาย<br />

11) ความรับผิดชอบดานเศรษฐกิจ<br />

อโณทัย ไพฑูรย (2554. ออนไลน) ไดเสนอบทความนาสนใจเรื่อง “CSR ที่แทจริง<br />

อยาอางเพียงลอย ๆ” โดยชี้ใหเห็นวาการดําเนินธุรกิจอยางไรที่เรียกวามี CSR หรือไมใช CSR โดย<br />

กลาววา การกระทําตามมาตรฐานทางกฎหมายถือเปนการดําเนินงานตามปกติของธุรกิจที่พึงกระทํา<br />

สวนการกระทําที่อยูเหนือมาตรฐานดังกลาว แตทําดวยมีจิตอาสาของการเปนผูให ที่ตองการให<br />

ผูอื่น ใหสังคม มีความสุขจึงจะถือวาเปนการดําเนินธุรกิจที่มี CSR และไดยกตัวอยางเปรียบเทียบไว<br />

10 ขอ เปนตัวอยาง ดังตอไปนี้<br />

กิจกรรมที่ไมถือเปน CSR กิจกรรมที่เปนCSR<br />

1. จัดทําบอบําบัดและปลอยน้ําเสียออกจาก<br />

โรงงาน สูลําคลองสาธารณะ วัดคาอยูใน<br />

มาตรฐานที่กฎหมายกําหนด<br />

2. โรงงานเกิดอุบัติเหตุ จากเครื่องจักรเกา<br />

บอยครั้ง โรงงานรับผิดชอบคาชดเชยการ<br />

บาดเจ็บและการหยุดงานใหตามกฎหมาย<br />

แรงงาน<br />

3. บริษัทจัดสงรายงานงบประมาณการเงิน<br />

รายงานประจําป ใหกับผูถือหุน ตามกําหนด<br />

1. จัดทําระบบบําบัดน้ําเสียและหมุนเวียนน้ํา<br />

มาใหภายในโรงงาน ไมปลอยน้ําเสียออกมา<br />

ภายนอกโรงงาน กากของเสียอุตสาหกรรมสง<br />

โรงงานบําบัดของเสียโดยเฉพาะ<br />

2. โรงงานไดเปลี่ยนเครื่องจักรใหมที่ติดตั้ง<br />

ระบบปองกันที่ดีเยี่ยม พรอมจัดพนักงานดูแล<br />

รับผิดชอบตรวจสอบบํารุงรักษาเครื่องจักร<br />

ตามระยะเวลา<br />

3. จัดระบบตรวจสอบการดําเนินงานอยาง<br />

ละเอียดผานทางอินเตอรเน็ตและจัดเจาหนาที่<br />

ไวคอยตอบคําถาม ขอซักถามในทุกเรื่องที่<br />

ไมใชความลับเฉพาะทางการคา ไดตลอดเวลา<br />

ทําการ


103<br />

.<br />

กิจกรรมที่ไมถือเปน CSR กิจกรรมที่เปนCSR<br />

4. โรงงานใหความชวยเหลือชุมชนรอบ<br />

โรงงาน ที่ไดรับผลกระทบจากการดําเนินงาน<br />

ของโรงงานโดยตรง เพื่อลดการตอตาน การ<br />

คัดคาน โดยมีเปาหมาย เพื่อการขยายกิจการ<br />

โรงงานในอนาคตอยางราบรื่น โดยพิจารณา<br />

ความคุมคาในการใชงบประมาณเปนสําคัญ<br />

5. กิจการประชาสัมพันธ ใหขาวถึงขั้นตอน<br />

รายละเอียด การดําเนินงานที่ถูกตองใหกับ<br />

ประชาชนไดรับทราบ<br />

6. บริษัทเรียกเก็บสินคาคืนทันที ที่ อย. ตรวจ<br />

พบสารเมลามีน ในนมผงที่จําหนาย<br />

7. โรงงานอุตสาหกรรม ดําเนินการพัฒนา<br />

คุณภาพชีวิตชุมชน สงเสริมอาชีพใหกับ<br />

ราษฎร ปลูกปาเปนแนวกันฝุนและเสียง<br />

ในบริเวณชุมชนรอบโรงงาน ตาม EIA<br />

(Environmental Impact Assessment)<br />

อยางเครงครัด<br />

8. สถานประกอบการลงทุนจัดสรางสถานที่<br />

สูบบุหรี่ใหเปนสัดสวนเฉพาะ ตามขอกําหนด<br />

กระทรวงสาธารณสุข<br />

9. พนักงานเขาทํางานตรงตอเวลา ไมหลบหนี<br />

หายไปในเวลางาน รับผิดชอบตอหนาที่ที่ได<br />

รับมอบหมาย<br />

4. โรงงานชวยเหลือชุมชน ที่อยูนอกพื้นที่<br />

ดําเนินงานของโรงงาน ชวยบรรเทาสาธารณะ<br />

ภัยตาง ๆ โดยไมคํานึงวา ผูรับความชวยเหลือ<br />

จะอาศัยอยูในรัศมีพื้นที่ดําเนินงานของโรงงาน<br />

หรือไม ไมคํานึงวาจะคุมคาหรือ<br />

มีผลตอบแทนคืนกลับมาหรือไม<br />

5. กิจการเผยแพรขอมูลขาวสาร คําเตือน<br />

ขอแนะนําตาง ๆ ที่ไมเกี่ยวของกับกิจการ<br />

โดยตรง ใหกับประชาชนไดรับทราบ เพื่อ<br />

ประโยชนในการดําเนินชีวิตอยางมีความสุข<br />

6. บริษัทขอใหรานคา ตัวแทนหยุดการ<br />

จําหนายนมผงของบริษัท ทันทีที่มีขาว<br />

สารเมลามีน ปนเปอนในวัสดุที่นําเขาจาก<br />

ประเทศจีน เพื่อสงตรวจสอบกอน<br />

7. โรงงานอุตสาหกรรม รวมกับจังหวัด เขา<br />

ชวยเหลือประชาชนที่ถูกน้ําทวมและภัยแลง<br />

ในเขตพื้นที่และอําเภออื่น ๆ ทั้งในจังหวัด<br />

และจังหวัดใกลเคียง<br />

8. สถานประกอบการ ออกคาใชจายในการเขา<br />

รวมโครงการเลิกบุหรี่ในเวลา 7 วัน ซึ่งจัดโดย<br />

สสส. ใหกับพนักงานที่ประสงคจะเลิกบุหรี่<br />

9. บริษัทกําหนดใหพนักงานสามารถลาไป<br />

ชวยเหลืองานสังคมและชุมชนไดปละ 3 วัน<br />

โดยไมถือเปนวันลา<br />

.


104<br />

กิจกรรมที่ไมถือเปน CSR กิจกรรมที่เปนCSR<br />

10. พนักงานฝายจัดซื้อ ตรวจสอบคุณสมบัติ<br />

ของสินคาใหตรงตามที่กําหนด โดยไมเอื้อ<br />

ประโยชนใหรานคาผูขาย<br />

10. พนักงานจัดซื้อ เสาะแสวงหารานคาเขามา<br />

เสนอราคาที่ต่ําที่สุด ในคุณภาพเดียวกัน และ<br />

เจรจาตอรองราคา เพื่อประโยชนของบริษัท<br />

และตนทุนสินคาจะไดถูกลง<br />

อยางไรก็ตามความเขาใจใน CSR ซึ่งอาจยังมีความคลาดเคลื่อนและหลายธุรกิจไดนํามา<br />

กลาวอางถึงการกระทํา ไมวาจะเปนลักษณะของการคืนกําไรแกผูบริโภค การบริจาค สงเคราะห<br />

ชวยเหลือผูประสบภัยยามเกิดวิกฤตน้ําทวมแจกถุงยังชีพ ขาวสารอาหารแหง หนาหนาวแจกผาหม<br />

กันหนาวใหกับคนยากคนจน จะดวยน้ําใสใจจริง หรือเพื่อสรางภาพลักษณและหวังผลในระยะยาว<br />

ของผลประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจตน ในแงมุมนี้ถือวาเปนจริยธรรมที่ไดประพฤติปฏิบัติสิ่งที่<br />

ถูกตองเหมาะสมกับเวลาและสถานการณของผูทุกขยากที่ตกอยูในภาวะของความยากลําบาก แต<br />

สิ่งที่จะมองใหลึกลงไปคือ เจตนาของการทําหากเปนไปดวยเนื้อแทของจิตใจที่ตองการชวยเหลือ<br />

ใหพนทุกข ใหมีความสุขประกอบกับการดําเนินธุรกิจที่เปนสัมมาอาชีวะก็สามารถที่จะกลาวไดวา<br />

เปนหนึ่งองคกรธุรกิจที่ดีที่มีจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม<br />

ขอบเขตความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจ<br />

ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจกับผูที่มีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ประกอบดวย<br />

บุคคลภายในและภายนอกองคกรธุรกิจ ดังนี้<br />

ธนาคาร/<br />

สถาบันการเงิน<br />

Bank<br />

ผูถือหุน/<br />

เจาของกิจการ<br />

Stockholder<br />

พนักงาน/ลูกจาง<br />

Employees<br />

รัฐบาล<br />

Government<br />

สิ่งแวดลอม<br />

Environment<br />

ธุรกิจ<br />

Business<br />

ลูกคา<br />

Customer<br />

ผูจําหนาย<br />

วัตถุดิบ<br />

สังคม/ชุมชน<br />

Community<br />

ตัวแทนจําหนาย<br />

Dealer<br />

ภาพที่ 9 ผูมีสวนไดสวนเสียในธุรกิจ<br />

ที่มา : เนตรพัณณา ยาวิราช. 2551 : 51


105<br />

ความรับผิดชอบพื้นฐานที่ธุรกิจพึงมีกับผูที่เกี่ยวของ เปนผูที่มีสวนไดสวนเสียในสิทธิ<br />

ตาง ๆ (เนตรพัณณา ยาวิราช. 2551 : 40-41) ดังนี้<br />

1. สิทธิความปลอดภัย หมายความวา นักธุรกิจจะตองผลิตสินคาที่มีคุณภาพไดมาตรฐาน<br />

ที่ไมกอใหเกิดอันตราย ตลอดจนการใหขอมูลขอเท็จจริงที่เพียงพอในการตัดสินใจของผูบริโภค<br />

ผูถือหุน หนวยงานราชการ<br />

2. สิทธิที่จะรู หมายถึง การใหขอมูลที่เปนความจริง ครบถวนและเพียงพอ ไมเปน<br />

ลักษณะของการชวนเชื่อที่เกินความจริง หรือใหขอมูลเพียงบางสวนที่กอใหเกิดความเขาใจผิด หรือ<br />

ปกปดขอมูลขอเท็จจริง<br />

3. สิทธิที่จะบอกกลาว หมายถึง การเปดชองทางการสื่อสารสองทางเพื่อใหสะทอนถึง<br />

ขอดีขอเสียที่ผูบริโภคควรไดรับการคุมครองสิทธิ เชน สินคาและบริการที่ไมไดคุณภาพ ไมมีความ<br />

เปนธรรม หรือการไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ไดตกลงกันไว<br />

4. สิทธิที่จะไดรับการศึกษา หมายถึง การเขาถึงขอมูลเพื่อศึกษาใหเขาใจกอนการ<br />

ตัดสินใจที่จะรวมลงทุน หรือใชบริการสินคาตาง ๆ ของกิจการ<br />

5. สิทธิในการเลือก หมายถึง การใหโอกาส ไมเรงรัด หรือใชวิธีการจูงใจ ขมขูแกม<br />

บังคับใหเกิดความวิตกตอการตัดสินใจเลือกสินคาและบริการ หรือเลือกผูขาย<br />

6. สิทธิการไดรับการปกปอง หมายถึง การมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและ<br />

การตัดสินใจตอผลกระทบดานทรัพยากรและสิ่งแวดลอมของชุมชน<br />

บทบาทความรับผิดชอบทางจริยธรรมของธุรกิจ<br />

การดําเนินธุรกิจที่จําเปนตองมีความรับผิดชอบอยางมีจริยธรรมกับผูที่เกี่ยวของในฐานะ<br />

ของผูที่มีสวนไดสวนเสีย ทั้งบุคคลภายในและภายนอกองคกร (สมคิด บางโม. 2549 : 99-102;<br />

เนตรพัณณา ยาวิราช. 2551 : 51-53, 56-59) ดังนี้<br />

1. ความรับผิดชอบของธุรกิจตอผูถือหุนและเจาของกิจการ ซึ่งเปนเจาของเงินลงทุนที่มี<br />

ความเสี่ยงจากการลงทุน ดังนั้นการดําเนินงานจะตองมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนและเจาของ คือ<br />

1) การใหขอมูลที่เปนจริง ครบถวนและเพียงพอที่จะใชในการตัดสินใจของผูถือหุน 2) ไมชักชวน<br />

หรือใชขอมูลที่บิดเบือนใหหลงเชื่อวา กิจการนั้นมีผลการดําเนินงานดีเกินความเปนจริง<br />

3) ผูบริหารและพนักงานดําเนินงานดวยความซื่อสัตย ไมใชอํานาจในทางมิชอบ และทําการฉอฉล<br />

4) ดําเนินงานเต็มความรูความสามารถ อุทิศและทุมเทใหกิจการมีผลกําไร 5) ดําเนินงานดวยความ<br />

ระมัดระวังและติดตามขาวสารอยางรอบดานทันเหตุการณ สามารถแกปญหาไดทันทวงที


106<br />

2. ความรับผิดชอบของธุรกิจตอพนักงานลูกจาง อาจกลาวไดวา พนักงานลูกจางนั้น<br />

เปรียบเสมือนฟนเฟองเล็ก ๆ ที่ขับเคลื่อนเครื่องจักรใหสามารถทํางานไดจนสําเร็จ ดังนั้นไมวา<br />

ลูกจางจะเปนเพียงเฟองเล็กแตก็มีความสําคัญอยูมาก ดังนั้นการปฏิบัติตอลูกจางจึงควรใชหลัก<br />

คุณธรรมและมนุษยธรรมที่ใหเคารพในศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยที่เทาเทียมกัน มิใชการคิดถึงใน<br />

ลักษณะการจางตางตอบแทนเทานั้น ดังนั้นสิ่งที่นักธุรกิจ หรือผูบริหารองคกรสมควรตองปฏิบัติ<br />

ตอลูกจาง คือ 1) การใหคาจางคาตอบแทนที่เหมาะสมกับความรูความสามารถและเปนธรรม<br />

2) เอาใจใสตอสวัสดิการตาง ๆ ของลูกจาง โดยคํานึงถึงความปลอดภัยตอชีวิตและรางกายใน<br />

ระหวางการปฏิบัติหนาที่ 3) สงเสริมและสนับสนุนใหมีการอบรมและพัฒนาความรูความสามารถ<br />

เพิ่มความเชี่ยวชาญแกลูกจาง 4) ปฏิบัติตอพนักงานลูกจางทุกคนดวยความเสมอภาค ไมเลือกที่รัก<br />

มักที่ชัง 5) เคารพในสิทธิสวนบุคคลของลูกจาง ไมนําสิ่งที่เปนความลับไปเปดเผย 6) เรียนรูนิสัย<br />

และใหความใสใจตอลูกจางทุกคนเพื่อจะไดเขาใจลูกจางแตละคนได 7) ใหคําปรึกษาแกพนักงาน<br />

ลูกจางทั้งในเรื่องงานและเรื่องสวนตัว ดวยความมีเมตตากรุณา 8) สนับสนุนพนักงานลูกจางที่มี<br />

ความประพฤติดีและกลาตักเตือนหามปรามผูทําไมดี 9) เมื่อมอบหมายงานแลวตองมีความไววางใจ<br />

ตอพนักงานและพรอมที่จะใหคําปรึกษา แกปญหาตาง ๆ ไดดวย 10) ทําตัวเปนแบบอยางที่ดีในการ<br />

สรางบรรยากาศความรัก ความสามัคคี ใหเกิดขึ้นในการทํางานรวมกัน<br />

3. ความรับผิดชอบของธุรกิจตอลูกคา สามารถกลาวไดวา ลูกคาเปรียบเสมือนหัวใจ<br />

ขององคกรธุรกิจ ถาขาดลูกคาธุรกิจยอมไมสามารถมีชีวิต หรือดํารงกิจการใหอยูตอไปได ดังนั้นจึง<br />

ตองมีวิธีการดูแลรักษาและเอาใจใสตอลูกคา ดวยความเมตตากรุณามุทิตา คือ การนําเสนอสินคา<br />

และบริการที่ดีมีคุณภาพในราคาที่เปนธรรมตรงกับความตองการของลูกคา เพื่อขจัดปญหาและให<br />

ลูกคาไดใชประโยชนจากสินคาและบริการนั้นอยางมีความสุข ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนการทดแทน<br />

บุญคุณลูกคาดวยการคืนกําไรดวยสิ่งที่ดี ดังนั้นสิ่งที่ธุรกิจพึงทํากับลูกคา คือ 1) ขายสินคาและ<br />

บริการที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐานและราคาสมเหตุสมผล ไมคากําไรเกินควร 2) ปฏิบัติตามเงื่อนไข<br />

ทั้งเรื่องจํานวน ราคา คุณภาพและภาระผูกพันในระหวางการซื้อและหลังการซื้อขายตามขอตกลง<br />

อยางเครงครัด 3) ดูแลและใหบริการแกลูกคาอยางเสมอภาคเทาเทียมทั้งในภาวะปกติและไมปกติ<br />

เชน ในภาวะสินคาขาดตลาด หรือยามวิกฤตตาง ๆ 4) ไมสรางเงื่อนไขอํานาจการตอรองมากดดัน<br />

ใหลูกคาตองตัดสินใจซื้อสินคาตนและไมซื้อสินคาคูแขงขัน หรือตองรีบเรงตัดสินใจ 5) ไมสราง<br />

สถานการณ หรือปนราคาสินคาใหสูงเกินจริง เชน สรางขาวลือ ปลอยขาวเท็จ กักตุนสินคา ทําให<br />

เกิดการหลงเชื่อ หรือตื่นตระหนักกับลูกคา 6) ปฏิบัติตอลูกคาดวยน้ําใจไมตรี มีอัธยาศัยที่ดีตอกัน<br />

มีความยืดหยุน อะลุมอลวยตามสมควร


107<br />

4. ความรับผิดชอบของธุรกิจตอคูแขงขัน แมวาคูแขงจะเปนฝายตรงขามที่ตองแขงขัน<br />

แยงชิงลูกคา เพิ่มยอดขาย เพิ่มกําไรแกธุรกิจ แตการดําเนินธุรกิจที่ดีตองมีความรับผิดชอบตอหนาที่<br />

ของแตละฝายอยางถูกตอง การแขงขันจึงควรเปนไปตามแบบอยาง เปดเผยตรงไปตรงมาเยี่ยง<br />

สุภาพชนพึงปฏิบัติ คือ 1) ไมใสรายปายสี สาดโคลนใสกัน 2) ไมตัดทางทํามาหากินดวยการทุม<br />

ตลาดตัดราคา เพราะฝายตนเองมีศักยภาพที่เหนือกวา 3) ไมแยงชิงลูกคาดวยดวยเงื่อนไขที่เอารัด<br />

เอาเปรียบ หรือกระทําการที่ไรปรานีตอคูแขงขัน 4) ไมวางแผนลวงความลับของคูแขงและ<br />

ดําเนินการตัดหนา 5) ใหความรวมมือในการแขงขันเพื่อสรางบรรยากาศทางการตลาดที่ดี 6) ไม<br />

สรางสัมพันธทางการเมืองที่จะเอื้อประโยชนตอกิจการของตนและไดเปรียบคูแขงขัน เชน การ<br />

สนับสนุนทุนแกพรรคการเมืองใหญ การติดสินบนขาราชการที่จะใหคุณแกธุรกิจของตนได<br />

5. ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม ธุรกิจจําเปนตองตระหนักถึงความสําคัญของ<br />

การอยูรวมกันในสังคม จึงตองรูจักการใหและมีสวนรวมในการสรางสรรคสังคม เพื่อใหเกิดความ<br />

เจริญไปดวยกัน ดังนั้นธุรกิจตองปฏิบัติตอสังคมดวยความรับผิดชอบ คือ 1) ประกอบธุรกิจที่เปน<br />

สัมมาอาชีวะ ดวยความซื่อสัตยสุจริต 2) ไมประกอบอาชีพที่กอใหเกิดความเสื่อมโทรมดานจิตใจ<br />

วัฒนธรรมและศีลธรรม 3) ใหความเคารพในสิทธิทางปญญาของผูอื่น ไมลอกเลียน 4) ไมลักลอบ<br />

คาขายสินคาตองหามตามกฎหมาย 4) มีความละเอียดรอบคอบในการสรางสรรคงานที่จะนําเสนอ<br />

ออกสูสังคมดวยความระมัดระวัง 5) ไมสรางคานิยมที่บิดเบือนและทําใหเขาใจผิดตอพฤติกรรมที่<br />

เหมาะที่ควรแกสังคม 6) การดําเนินธุรกิจที่คํานึงถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ชุมชน เชน การ<br />

สรางงานสรางรายได การเพิ่มศักยภาพแกชุมชน การสรางสรรคกิจกรรมสงเสริมคุณภาพและความ<br />

เขมแข็งใหแกสังคม ชุมชน<br />

6. ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติถือเปนสมบัติสวนรวม<br />

ไมควรที่ใครจะยึดไปเพื่อหาประโยชนสวนตัว โดยเฉพาะอยางยิ่งการดําเนินธุรกิจที่มีสวนทําลาย<br />

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมไดอยางกวางขวาง จึงตองตระหนักถึงความรับผิดชอบอยางสูงยิ่ง เพราะ<br />

การทําลายทรัพยากรและสิ่งแวดลอมจะนํามาซึ่งความเสียหายอยางใหญหลวงตอผูคนและสังคมใน<br />

วงกวางและเปนความเสียหายระยะยาว เชน เกิดภาวะโลกรอน เกิดอุทกภัย ฯ ตามที่ไดเกิดขึ้นทั่ว<br />

ทุกมุมโลกในปจจุบันที่ไดประจักษอยางแจงชัดแลว ดังนั้นธุรกิจจึงตองมีความรับผิดชอบตอ<br />

สิ่งแวดลอม คือ 1) ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ เชน การตัดไมทําลายปา การตัดหนาดินอยางผิด<br />

หลักวิชาการ 2) ไมกอมลพิษตอสิ่งแวดลอม เชน การปลอยสารเคมีที่เปนพิษลงแหลงน้ํา ปลอย<br />

ควันพิษ เสียงและกลิ่นรบกวนที่เกินระดับมาตรฐานความปลอดภัย 3) การใชทรัพยากรธรรมชาติ<br />

อยางประหยัดและมีการสรางทดแทน เชน การปลูกปาทดแทน การใชพลังงานอยางประหยัด การ


108<br />

ใชสารเคมีอยางระมัดระวัง มีระบบการปองกันที่ดี 4) มีสวนรวมในการรณรงค สงเสริมและ<br />

สนับสนุนโครงการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการรักษาสภาพสิ่งแวดลอม<br />

7. ความรับผิดชอบของธุรกิจตอหนวยงานราชการ ซึ่งถือเปนหนวยงานที่สนับสนุนการ<br />

ดําเนินงานของธุรกิจใหไดรับความสะดวกและเปนไปอยางถูกตองตามกฎหมาย ดังนั้นเพื่อใหเกิด<br />

ความรวมมือและชวยเหลือกัน จึงควรปฏิบัติตอกันอยางมีความรับผิดชอบทางจริยธรรม คือ<br />

1) ปฏิบัติตอกันอยางตรงไปตรงมา ตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของกฎหมาย 2) แสดงรายงานผลการ<br />

ดําเนินงานที่เปนจริงเพื่อการเสียภาษีใหแกรัฐอยางถูกตอง ไมหลีกเลี่ยงภาษี 3) ไมติดสินบน<br />

เจาหนาที่ หรือรวมมือกับเจาหนาที่ใหปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบเพื่อประโยชนของตนและเอารัดเอา<br />

เปรียบผูอื่น 4) ใหความรวมมือและสนับสนุนหนวยงานราชการที่ปฏิบัติหนาที่อยางถูกตอง<br />

5) ควรมีทัศนคติและความปรารถนาดีตอกันระหวางหนวยงานธุรกิจกับหนวยงานราชการ จึงจะทํา<br />

ใหเกิดความเชื่อถือไววางใจกัน อันเปนหนทางไปสูความรวมมือที่ดีตอกัน<br />

ผลที่ไดรับของธุรกิจที่มีความรับผิดชอบตอสังคม<br />

ความเปนจริงที่วาธุรกิจที่รูจักการเปนผูใหยอมจะเปนผูไดรับดวยเชนเดียวกัน ธุรกิจที่<br />

มุงหวังที่จะเปนผูรับอยางเดียวจะไมเปนที่ยอมรับของสังคมชุมชนและไมไดรับการสนับสนุนจาก<br />

ผูบริโภค ซึ่งในที่สุดก็ไมสามารถจะดํารงธุรกิจใหอยูตอไปได<br />

ดังเชนกรณีเหตุการณปจจุบันของการประทวงตอตานวอลลสตรีท ซึ่งเปนการตอตาน<br />

ระบบที่มีความไมยุติธรรมและโอนเอียงไปในทางสนับสนุนบริษัทขนาดใหญมากกวาชนชั้นกลาง<br />

การประทวงยึดวอลลสตรีท(Occupy Wall Street) กลุมผูประทวงไดแสดงความโกรธแคนเกี่ยวกับ<br />

ความละโมบขององคกร ภาวะโลกรอนและความไมเทาเทียมกันทางสังคม โดยตองการกดดันให<br />

ผูกําหนดนโยบายตองดําเนินนโยบายที่ถูกตองเหมาะสม เชน การลงทุนครั้งใหญเพื่ออนาคตของ<br />

ประเทศ ไดแก สาธารณูปโภคพื้นฐาน การจางงาน การศึกษา สาธารณสุข อุตสาหกรรมใหม ๆ<br />

เหตุการณเชนนี้ลวนสะทอนถึงความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจขนาดใหญและรัฐบาล<br />

สหรัฐอเมริกาซึ่งผูประทวงมีความรูสึกวา องคกรเหลานี้มีอิทธิพลเอารัดเอาเปรียบและร่ํารวย<br />

อยูกลุมเล็ก ๆ เพียงกลุมเดียว ทั้ง ๆ ที่เหตุการณเหลานี้ไมใชวาไมเคยเกิดขึ้น แตเมื่อใดที่ฝายใดก็ตาม<br />

ไดอํานาจและมีอิทธิพลเหลือลนก็มักจะเหลิงและหลงลืมตัว จนทําใหเกิดเหตุการณตอตาน ถาหาก<br />

รูจักรับฟงและนํากลับมาทบทวน พรอมกับแกไขโดยหลักแหงคุณธรรมจริยธรรม ที่มีความ<br />

รับผิดชอบตอผูที่เกี่ยวของเหลานั้น ปญหาตาง ๆ ก็สามารถที่จะคลี่คลายลงได ตามที่ เนตรพัณณา<br />

ยาวิราช. (2551 : 47) ไดนําแสดงถึงผลการศึกษาของ แซนดรา โฮมซ (Sandra Holmes) จากการ


109<br />

สอบถามผูบริหารธุรกิจธนาคารพาณิชย การประกันภัย การขนสงและธุรกิจอื่น ๆ เกี่ยวกับผลลัพธ<br />

ของธุรกิจที่มีจริยธรรมทางธุรกิจ ดังนี้<br />

ผลลัพธทางบวก (Positive Outcomes)<br />

1. ทําใหองคกรมีชื่อเสียงและความนิยม<br />

รอยละ 97<br />

2. เปนองคกรที่มีความเขมแข็งในสังคม<br />

รอยละ 89<br />

3. ทําใหมีจุดแข็งดานเศรษฐกิจและสังคม<br />

รอยละ 63<br />

4. พนักงานมีความพึงพอใจสูง รอยละ 72<br />

5. ไมถูกกดดันจากขอกําหนดของกฎหมาย<br />

รอยละ 63<br />

6. เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ รอยละ 60<br />

7. ทําใหมีความสามารถในการบริหารจัดการที่<br />

ดี รอยละ 55<br />

8. รักษาลูกคาไวไดยาวนาน รอยละ 40<br />

9. มีการลงทุนเพื่อสังคมในรูปแบบตาง ๆ<br />

รอยละ 38<br />

ผลลัพธทางลบ (Negative Outcomes)<br />

1. ทําใหกําไรระยะสั้นลดลง รอยละ 59<br />

2. ทําใหเกิดความขัดแยงในเปาหมายทาง<br />

เศรษฐกิจ สังคมและการเงิน รอยละ 53<br />

3. สินคาที่ผลิตสูผูบริโภคมีราคาสูง รอยละ 41<br />

4. เกิดความขัดแยงทางการบริหารจัดการ<br />

รอยละ 27<br />

5. เปนที่ไมพอใจแกผูถือหุน รอยละ 24<br />

6. ผลผลิตลดนอยลง รอยละ 18<br />

7. กําไรระยะยาวลดนอยลง รอยละ 13<br />

8. รัฐบาลเพิ่มขอกําหนดของกฎหมายมากขึ้น<br />

รอยละ 11<br />

9. องคกรมีจุดออนดานระบบเศรษฐกิจและ<br />

สังคม รอยละ 7<br />

10. เพิ่มกําไรระยะสั้นได รอยละ 36<br />

จากผลการศึกษาขางตนจะเห็นวา การมีจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคมจะเปน<br />

ประโยชนตอธุรกิจ แมวาในระยะสั้นจะทําใหตนทุนสูงและกําไรลดลง แตจะสงผลดีในระยะยาว<br />

ซึ่งจะทําใหธุรกิจสามารถบรรลุเปาหมายกําไรสูงสุด เจริญเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน ดวยเหตุแหง<br />

จริยธรรมของธุรกิจไดสงผล ดังตอไปนี้<br />

1. ทําใหภาพลักษณของธุรกิจดี ยอมเปนที่นาเชื่อถือ (Credit) แกทั้งบุคคลภายในและ<br />

ภายนอกองคกร<br />

2. พนักงานยอมเกิดขวัญและกําลังใจในการทํางานดวยความทุมเท (Devotion) สงผลตอ<br />

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน<br />

3. ไดรับการยอมรับและความไววางใจในสินคาและบริการ รวมถึงองคกรธุรกิจดวย<br />

นํามาซึ่งความนิยมและภักดีตอตราสินคา (Brand Loyalty)


110<br />

4. ธุรกิจที่มีจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม ยอมไมเปนที่เพงเล็งของผูรักษา<br />

กฎหมาย จึงไมไดรับความกดดันและยังสามารถทํางานรวมกันในการดูแลและชวยเหลือสังคมได<br />

อีกดวย<br />

5. บุคลากรทุกคนทุกระดับในองคกรยอมอยูรวมกันอยางมีความสงบสุขและมี<br />

ความสัมพันธที่ดีกับชุมชนและสังคม<br />

6. โอกาสทางธุรกิจและการบริหารจัดการที่ดียอมเปนของธุรกิจนั้น<br />

บทบาทองคกรทางธุรกิจที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบทางสังคม<br />

แนวคิดการดําเนินธุรกิจที่ตระหนักถึงความรับผิดชอบตอสังคมไดแพรหลาย จนเกิด<br />

องคกรความรวมมือระดับนานาชาติและองคกรความรวมมือในประเทศไทย ที่รวมตัวกันเพื่อทํา<br />

หนาที่กําหนดกฎระเบียบขอบังคับ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินธุรกิจใหมีการพัฒนาที่<br />

ยั่งยืน เชน<br />

1. มูลนิธิอนาคตโลก (Global Futures Foundation : GFF) เปนการรวมตัวกันขององคกร<br />

ขนาดใหญ รัฐบาลและกลุมผูสนับสนุนเพื่อแกไขขอขัดแยงและสรางโอกาสในการดําเนินธุรกิจ<br />

2. หอการคาระหวางประเทศ (International Chamber of Commerce : ICC) จัดตั้งขึ้นเพื่อ<br />

วัตถุประสงคในการสงเสริมการคาเสรีและการประกอบการของธุรกิจเอกชน ใหบริการแกองคกร<br />

ธุรกิจและเปนตัวแทนของธุรกิจเอกชนเพื่อปกปองผลประโยชนทางธุรกิจ ทั้งในระดับประเทศและ<br />

ระหวางประเทศ ซึ่งมีสมาชิกจากทั่วโลก 130 ประเทศ<br />

สําหรับประเทศไทยไดกอตั้งหอการคานานาชาติแหงประเทศไทย (ICC Thailand) เมื่อ<br />

พ.ศ. 2542 ดวยความรวมมือของสภาหอการคาแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย<br />

และสมาคมธนาคารไทย โดยเขาเปนสมาชิกของหอการคาระหวางประเทศ (ICC) มีวัตถุประสงค<br />

เพื่อสนับสนุนและสงเสริมใหภาคธุรกิจไทยมีบทบาทโดยตรง ในการรวมกําหนดนโยบายทางการ<br />

คาและการลงทุนในเวทีโลก<br />

3. สถาบันการบริหารธุรกิจและสิ่งแวดลอม (Management Institute for Environment<br />

and Business : MEB) มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือบริษัทในการปรับปรุงคุณภาพของสิ่งแวดลอม<br />

โดยผานความสําเร็จขององคกรธุรกิจ สงเสริมโอกาสการพัฒนาใหกับธุรกิจโดยการทํางานรวมกับ<br />

โรงเรียน เพื่อรวมประเด็นปญหาทางดานสิ่งแวดลอมเขาในหลักสูตร ตลอดจนใหมีการขยาย<br />

อุตสาหกรรมและการฝกอบรม เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน


111<br />

4. สภาธุรกิจของโลกเพื่อความเจริญเติบโตที่ยั่งยืน (World Business Council for<br />

Sustainable Development : WBCSD) เปนการรวมตัวกันของบริษัทระหวางประเทศจํานวน 125<br />

บริษัท โดยมีการรวมมือกันสําหรับงานดานสิ่งแวดลอม เพื่อสงเสริมความเจริญเติบโตทางดาน<br />

เศรษฐกิจและมีการพัฒนาอยางยั่งยืน<br />

5. สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute : CSRI) ไดจัดตั้ง<br />

ขึ้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2550 ภายใตเจตนารมณในการสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและ<br />

สิ่งแวดลอมของภาคธุรกิจ โดยสถาบันจะทําหนาที่เปนศูนยกลางการสงเสริมแนวคิดและวิธีปฏิบัติ<br />

เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมแกหนวยงานในภาคธุรกิจ<br />

ดวยการสนับสนุนของภาครัฐ ภาคเอกชนและความรวมมือกับ 10 ผูนําองคกรจากภาคธุรกิจ ไดแก<br />

ประธานกรรมการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย<br />

ประธานสภาธุรกิจตลาดทุนไทย นายกสมาคมบริษัทหลักทรัพย นายกสมาคมบริษัทจัดการลงทุน<br />

นายกสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย รองประธานหอการคาไทย เลขาธิการสมาคมธนาคารไทยและ<br />

อุปนายกสมาคมบริษัทจดทะเบียน<br />

สําหรับประเทศไทยแนวคิดของ CSR ยังมีความรูและความเขาใจเมื่อไมนานนักและยังมี<br />

ความคลาดเคลื่อนไมนอย จากการสํารวจของสถาบันไทยพัฒน เมื่อปพ.ศ.2552 เกี่ยวกับระดับการ<br />

พัฒนา CSR โดยแยกเปนภาคธุรกิจในเขตกรุงเทพและปริมณฑล กับสวนภูมิภาค พบวา ในเขต<br />

กรุงเทพและปริมณฑล รอยละ 27 เพิ่งเรียนรูและทําความเขาใจ รอยละ 53 ปฏิบัติไดดีระดับหนึ่ง<br />

และรอยละ 16 มีความกาวหนาดีมาก ขณะที่ในสวนภูมิภาค รอยละ 45 เพิ่งเรียนรูและทําความเขาใจ<br />

รอยละ 40 ปฏิบัติไดดีระดับหนึ่งและรอยละ 12 มีความกาวหนาดีมาก ที่เหลือตอบวาไมแนใจ<br />

ฉะนั้นความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม จึงเปนเรื่องที่จะตองไดรับการพัฒนาตอไป เพื่อให<br />

บทบาทขององคกรเอกชนตาง ๆ ไดตระหนักถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคมอยาง<br />

ถูกตองและจริงจัง ไมใชเปนเพียงการสรางภาพฉาบฉวยเพื่อประโยชนของธุรกิจตนเองเปนสําคัญ<br />

บทบาทขององคกรเอกชนทางธุรกิจที่มีความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ<br />

1. สมาคมหอการคาแหงประเทศไทย เกิดขึ้นจาก สภาการคา โดยจดทะเบียนตั้งแตป<br />

พ.ศ. 2498 มีวัตถุประสงค เพื่อใหเปนองคกรรวมของพอคาไทยและพอคาตางประเทศในประเทศ<br />

ไทย ในการสงเสริมและจัดระเบียบเกี่ยวกับการคา รวมทั้งใหคําปรึกษาและรายงานขอเท็จจริง<br />

เกี่ยวกับเศรษฐกิจ การคาอุตสาหกรรม การขนสง การผลิต การคลังและการเงินตอรัฐบาล<br />

ในชวงปพ.ศ.2510-2514 เปนชวงเวลาที่รัฐบาลไดใหความสําคัญตอบทบาทของ<br />

ภาคเอกชนเขามามีสวนรวมพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมากขึ้น ไดพิจารณาเห็นวา เศรษฐกิจของ


112<br />

ประเทศจะพัฒนาใหบรรลุเปาหมายได ตองไดรับการตอบสนองและไดรับความรวมมืออยาง<br />

ใกลชิดจากภาคเอกชน ฉะนั้นเพื่อความรวมมือระหวางภาครัฐบาลกับเอกชน จึงไดปรับเปลี่ยน<br />

โครงสรางและคําจํากัดความของสถาบันการคาภาคเอกชนเสียใหม รวมทั้งกําหนดสิทธิหนาที่ของ<br />

สถาบันกลางใหมดวย โดยใหมีบทบาทหนาที่แตกตางไปจากสมาคมการคา กฎหมายเดิมเพื่อใหการ<br />

ประสานงานกับภาครัฐบาลเปนผลดีและเปนประโยชนตอเศรษฐกิจของประเทศโดยสวนรวม<br />

รัฐบาลไดตราพระราชบัญญัติหอการคา พ.ศ. 2509 ขึ้นเปนการเฉพาะและไดตรา<br />

พระราชบัญญัติสมาคมการคาขึ้นเปนการเฉพาะดวย สภาการคาจึงไดถูกเปลี่ยนชื่อใหมตามมาตรา 6<br />

และ 16 แหงพระราชบัญญัติหอการคา พ.ศ. 2509 เปน "สภาหอการคาแหงประเทศไทย"<br />

(สภาหอการคา. ออนไลน. 2554) โดยมีหอการคาอีก 3 ประเภท อยูภายใตพระราชบัญญัตินี้ คือ<br />

หอการคาไทย หอการคาตางประเทศและหอการคาจังหวัด<br />

2. สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เปนองคกรซึ่งเปนตัวแทนของภาคอุตสาหกรรม<br />

เอกชนของประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อประสานนโยบายภาครัฐกับเอกชน สงเสริมและพัฒนา<br />

การประกอบอุตสาหกรรมและดูแลสมาชิกใหปฏิบัติตามนโยบายสภาอุตสาหกรรม ฯ โดยไดรับ<br />

การยกฐานะเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2530 จากสมาคมอุตสาหกรรมไทย ภายใตการกํากับดูแล<br />

ของรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ตามพระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย<br />

พ.ศ. 2530 มีอํานาจหนาที่ ดังนี้<br />

2.1 เปนตัวแทนของผูประกอบอุตสาหกรรมภาคเอกชน ในการประสานนโยบาย<br />

และดําเนินการกับรัฐ<br />

2.2 สงเสริมและพัฒนาการประกอบอุตสาหกรรม<br />

2.3 ศึกษาและหาทางแกไขปญหาเกี่ยวกับการประกอบอุตสาหกรรม<br />

2.4 สงเสริม สนับสนุนการศึกษา วิจัย อบรม เผยแพรวิชาการและเทคโนโลยีเกี่ยวกับ<br />

อุตสาหกรรม<br />

2.5 ตรวจสอบสินคา ออกใบรับรองแหลงกําเนิด หรือใบรับรองคุณภาพสินคา<br />

2.6 ใหคําปรึกษาและเสนอแนะแกรัฐบาล เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจดานอุตสาหกรรม<br />

2.7 สงเสริมนักอุตสาหกรรมและเปนแหลงกลาง สําหรับนักอุตสาหกรรม<br />

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อประโยชนตอวงการอุตสาหกรรม<br />

2.8 ควบคุมดูแลใหสมาชิกปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบอุตสาหกรรม<br />

2.9 ปฏิบัติกิจการอื่น ๆ ตามกฎหมายกําหนด<br />

นอกจากนี้ยังรวมใหคําปรึกษาและเปนกรรมการในคณะกรรมการรวมภาครัฐบาลและ<br />

เอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจและคณะทํางานตาง ๆ


113<br />

ความรับผิดชอบของธุรกิจตอองคกรทางสังคม<br />

1. สมาคมนายจาง (Employers’ Associations) เปนองคกรของนายจางที่จัดตั้งขึ้นตาม<br />

พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ.2518 โดยผูเปนนายจางที่ประกอบกิจการประเภทเดียวกัน มี<br />

วัตถุประสงค ดังนี้<br />

1.1 แสวงหาและคุมครองผลประโยชนเกี่ยวกับสภาพการจาง เชน เงื่อนไขการจาง<br />

หรือการทํางาน กําหนดวันเวลา ทํางาน คาจาง สวัสดิการ การเลิกจาง หรือประโยชนอื่นของ<br />

นายจาง หรือลูกจางอันเกี่ยวกับการจาง หรือการทํางาน<br />

1.2 สงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางนายจางกับลูกจางและระหวางนายจาง<br />

ดวยกัน<br />

การขอจดทะเบียนสมาคมนายจาง โดยนายจางผูมีสิทธิจัดตั้งสมาคมนายจาง จํานวนไม<br />

นอยกวา 3 คนเปนผูเริ่มกอการ ยื่นคําขอเปนหนังสือตอนายทะเบียน พรอมรางขอบังคับของสมาคม<br />

นายจางอยางนอย 3 ฉบับ คําขอตองระบุชื่อ อายุ อาชีพ หรือวิชาชีพและที่อยูของผูเริ่มกอการทุกคน<br />

สมาคมนายจางตองมีขอบังคับ กรรมการบริหารและตองจดทะเบียนตอนายทะเบียน เมื่อ<br />

ไดรับการจดทะเบียนแลวมีฐานะเปนนิติบุคคล<br />

2. สหภาพแรงงาน (Trade Union) คือ การรวมตัวกันของกลุมลูกจางโดยมีวัตถุประสงค<br />

ที่จะใหมีการดําเนินการตาม หรือเปลี่ยนแปลงขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง โดยมีหนาที่หลัก<br />

สําคัญ ดังนี้<br />

2.1 การจัดเตรียมสิ่งอํานวยประโยชนแกสมาชิกสหภาพแรงงาน ซึ่งในระยะแรกมี<br />

ลักษณะคลายกับสังคมที่เปนมิตร (Friendly Society) ทําหนาที่ตระเตรียมผลประโยชนตาง ๆ<br />

เพื่อที่จะทําใหสมาชิกสหภาพแรงงานมีความมั่นใจในกรณีถูกเลิกจาง เจ็บปวย เกษียณอายุและ<br />

คาใชจายในการทําศพ ในประเทศพัฒนาแลวหลายประเทศ หนาที่ดังกลาวเปนหนาที่ของรัฐ แต<br />

อยางไรก็ตามการจัดเตรียมการฝกอาชีพ การใหคําปรึกษาทางดานกฎหมายและบทบาทในการเปน<br />

ตัวแทนของสมาชิกสหภาพก็ยังคงเปนผลประโยชนที่สําคัญของสมาชิกสหภาพแรงงาน<br />

2.2 การสรางพลังตอรองของสหภาพแรงงาน สามารถดําเนินการไดอยางเปดเผยและ<br />

เปนที่รับรูของนายจางและกลุมนายจาง สหภาพแรงงานสามารถเจรจากับนายจางไดทั้งในเรื่องของ<br />

คาจางและสภาพการทํางาน<br />

2.3 การกระทําทางแรงงานของสหภาพแรงงาน อาจจัดใหมีการนัดหยุดงาน การ<br />

ตอตานการปดงาน เพื่อผลักดันเปาหมายบางประการ


114<br />

2.4 กิจกรรมทางการเมืองของสหภาพแรงงาน อาจเรียกรองใหมีการบัญญัติกฎหมาย<br />

ที่เปนประโยชนโดยรวมแกสมาชิกสหภาพแรงงาน ลูกจาง ดังนี้สหภาพแรงงานอาจดําเนินการโดย<br />

การจัดการรณรงค ชักชวนใหสมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมาย (Lobbying) หรือใหความ<br />

สนับสนุนทางการเงินแกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง หรือผูสมัครอิสระ เชน พรรค<br />

แรงงาน(Labour Party) ในสหราชอาณาจักร<br />

3. การประกันสังคม มีแนวคิดเริ่มจากยุโรป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบการ<br />

ผลิตจากการนําเครื่องจักรและพลังงานน้ํามาแทนแรงงานคน ทําใหเกิดปญหาที่รัฐจะตองเขามาดูแล<br />

โดยออกกฎหมายใหหลักประกันแกคนงาน โครงการแรกเปนการประกันเกี่ยวกับการเจ็บปวย ซึ่ง<br />

เริ่มในประเทศเยอรมัน<br />

การประกันสังคมในประเทศไทย มีกฎหมายประกันสังคมฉบับแรกพ.ศ. 2497 กฎหมาย<br />

ฉบับนี้ผานรัฐสภาพรอมจะประกาศใช แตประสบปญหาในนโยบายทําใหไมสามารถบังคับใช<br />

กฎหมายได จนกระทั่งกฎหมายถูกรางเสนอและสนับสนุนโดยกรมประชาสงเคราะห มีเนื้อหาให<br />

ความคุมครองบุคคล 2 ประเภท คือ ผูประกอบอาชีพรับจางและประชาชนทั่วไปที่สมัครใจประกัน<br />

ตนเอง<br />

พ.ศ. 2515 มีการประกาศใชกฎหมายแรงงาน (ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 103)<br />

กําหนดใหมีการจัดตั้งสํานักงานกองทุนเงินทดแทนขึ้นในกรมแรงงาน ทําหนาที่ เรียกเก็บเงิน<br />

สมทบจากนายจางและสถานประกอบการที่มีลูกจาง 20 คนขึ้นไป เงินสมทบที่เก็บนี้นํามาจายเปน<br />

คาทดแทนแกลูกจาง ซึ่งประสบอันตราย หรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางานใหนายจาง เงินทดแทนที่<br />

จายประกอบดวย คาจาง คารักษาพยาบาล คาสูญเสียสมรรถภาพในการทํางานและคาทําศพ สวน<br />

จํานวนเงินคาทดแทนเปนไปตามความรายแรงของความเสียหายที่ลูกจางไดรับ เชน กรณีลูกจาง<br />

ประสบอันตรายและไดรับบาดเจ็บที่นิ้ว หรือมือ ลูกจางก็จะไดเงินคาทดแทนเทากับรอยละ 60 ของ<br />

คาจางตลอดระยะเวลาที่รักษาตัว กรณีที่ลูกจางตองสูญเสียอวัยวะ เชน นิ้วมือ มือและแขนขาก็จะ<br />

ไดรับคาทดแทนเปนรอยละ 60 ของเงินเดือน ในกรณีสูญเสียมากหรือทุพพลภาพ ก็ไดรับคา<br />

ทดแทนเปนรอยละ 60 เปนเวลา 10 ป เปนตน<br />

วิธีการและหลักการของการประกันสังคม ประเทศที่มีการประกันสังคมจะมีกฎหมาย<br />

กําหนดใหรัฐบาลทําหนาที่ เรียกเก็บเงินสมทบจากประชาชน เพื่อรวบรวมเปนกองทุนกลาง โดยมี<br />

การจัดตั้งสํานักงานขึ้นทําหนาที่บริหารเงินทุน การเก็บเงินนี้จะเรียกเก็บในชวงระยะเวลาที่คน ๆ<br />

นั้นสามารถทํางานและมีเงิน นํามาเก็บสะสมเปนเงินออมไปเรื่อย ๆ แนวคิดนี้เหมาะกับสังคม<br />

อุตสาหกรรมที่ประชาชนตองปรับตัว ปรับสภาพการดําเนินชีวิต ตองขวนขวายหางานทําเพื่อใหมี<br />

รายไดและปจจัยสี่มาดํารงชีพ


115<br />

การประกันสังคมชวยเศรษฐกิจอยางไร การประกันสังคมเปนกระบวนการหนึ่งทาง<br />

เศรษฐกิจที่สงเสริมใหประชาชนออมทรัพยในชวงที่มีรายไดและจะคืนเปนคาทดแทนแกผูเอา<br />

ประกันในชวงที่ขาดรายได การหมุนเวียนของเศรษฐกิจในรูปแบบนี้ทําใหประชาชนไมขาดกําลัง<br />

ซื้อ เศรษฐกิจจึงจะหมุนเวียนและขยายตัวได การประกันสังคมจะชวยเศรษฐกิจไดมากในชวงภาวะ<br />

เศรษฐกิจตกต่ํา จึงถือวาเปนการสรางความมั่นคงของคนในสังคมรวมกัน กระจายรายได ชวยเหลือ<br />

ผูประสบภัยและผูดอยโอกาส สังคมใดที่ประชาชนมีความแตกตางกันนอยในเรื่องรายไดและความ<br />

เปนอยู ตลอดจนโอกาสในการสรางความมั่นคงใหชีวิต สังคมนั้นจะสงบสุขและมีปญหาทางสังคม<br />

นอย<br />

4. องคกรคุมครองผูบริโภคของภาครัฐ เมื่อป พ.ศ. 2512 เจาหนาที่สหพันธองคการ<br />

ผูบริโภคระหวางประเทศ ซึ่งเปนองคการอิสระที่ไมเกี่ยวของกับการเมือง จัดตั้งโดยสมาคม<br />

ผูบริโภคของประเทศตาง ๆ รวมตัวกันมีสํานักงานใหญตั้งอยูที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด เขามา<br />

ชักชวนองคการเอกชนในประเทศไทยใหมีการจัดตั้งสมาคมผูบริโภค แตไมประสบผลสําเร็จ<br />

เนื่องจากขณะนั้นองคการเอกชนของประเทศไทยยังไมพรอมที่จะดําเนินงาน จนกระทั่งครั้งที่ 3<br />

องคการเอกชนประเทศไทยไดรับการชักชวนอีก จึงไดตั้งคณะกรรมการเพื่อการศึกษาปญหาของ<br />

ผูบริโภค มีชื่อวา กรรมการศึกษาและสงเสริมผูบริโภคใน ป พ.ศ. 2514 และไดมีวิวัฒนาการเรื่อยมา<br />

ในภาคเอกชน รวมทั้งไดประสานงานกับภาครัฐบาล จนกระทั่งในปพ.ศ. 2519 และไดสลายตัวไป<br />

ตอมารัฐบาลเล็งเห็นความสําคัญและความจําเปนในการคุมครองผูบริโภคจึงไดมีการจัดตั้ง<br />

คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคขึ้นอีกครั้ง โดยศึกษาหามาตรการถาวรในการคุมครองผูบริโภค<br />

ทั้งในหลักสาระบัญญัติและการจัดองคกรของรัฐเพื่อคุมครองผูบริโภค จึงไดพิจารณายกราง<br />

กฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภคและรัฐบาลไดนําเสนอตอรัฐสภา มีมติเห็นชอบเปนเอกฉันท<br />

ใหตราเปนพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ใหเปนไปเพื่อผูเกี่ยวของ 3 ฝายไดแก<br />

ผูบริโภค ผูประกอบการและสํานักงานคุมครองผูบริโภค คือ<br />

4.1 เพื่อกําหนดสิทธิของผู บริโภค<br />

4.2 เพื่อกําหนดหนาที่ของผูประกอบธุรกิจ<br />

4.3 เพื่อกําหนดใหมีการจัดตั้งองคกรของรัฐ เพื่อคุมครองผูบริโภค<br />

ปพ.ศ. 2550 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ไดบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิของผูบริโภคไว<br />

ในมาตรา 61โดยมีรายละเอียดตลอดจนหลักการและเหตุผล ดังนี้<br />

มาตรา 61 สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครองในการไดรับขอมูลที่<br />

เปนความจริงและมีสิทธิรองเรียน เพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัว<br />

กันเพื่อพิทักษสิทธิของผูบริโภค ใหมีองคการอิสระเพื่อการคุมครองผูบริโภคซึ่งประกอบดวย


116<br />

ตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐในการตรา<br />

และการบังคับใชกฎหมาย และกฎ และใหความเห็นในการกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อคุมครอง<br />

ผูบริโภค รวมทั้งตรวจสอบและรายงานการกระทํา หรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครอง<br />

ผูบริโภค<br />

การบัญญัติมาตรา 61 มีหลักการและเหตุผลเพื่อการคุมครองใหกับผูบริโภคใหชัดเจน<br />

ยิ่งขึ้น เชน สิทธิในการไดรับขอมูลที่เปนความจริง สิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยา<br />

ความเสียหาย เปนตน เพื่อใหผูบริโภคสามารถตัดสินใจเลือกซื้อสินคาบนพื้นฐานของขอมูลที่<br />

ถูกตองและมีชองทางในการเรียกรอง เพื่อใหไดรับการเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งกําหนดใหมี<br />

องคกรอิสระเพื่อการคุมครองผูบริโภคแยกตางหากจากการดําเนินการของรัฐ เพื่อทําหนาที่ให<br />

ความเห็นและเสนอแนะตอการดําเนินงานของรัฐ และการตรวจสอบการกระทําที่เกี่ยวของกับ<br />

การคุมครองผูบริโภค<br />

นอกจากนี้พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2)<br />

พ.ศ.2541 ไดบัญญัติกําหนดสิทธิของผูบริโภคใหไดรับการคุมครองในมาตรา 4 ดังนี้<br />

1) สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตองและเพียงพอ<br />

เกี่ยวกับสินคาหรือบริการ<br />

2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ<br />

3) สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาและบริการ<br />

3 ทวิ) สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา<br />

4) สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย<br />

นอกจากนี้กฎหมายยังไดกําหนดอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคไวใน<br />

มาตรา 10 แหงพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ดังนี้<br />

1) พิจารณาเรื่องราวรองทุกขจากผูบริโภคที่ไดรับความเดือดรอน หรือเสียหาย<br />

อันเนื่องมาจากการกระทําของผูประกอบธุรกิจ ตอไป<br />

2) ดําเนินการเกี่ยวกับสินคาที่อาจเปนอันตรายแกผูบริโภคตามมาตรา 36<br />

3) แจง หรือโฆษณาขาวสารเกี่ยวกับสินคา หรือบริการที่อาจกอใหเกิดความ<br />

เสียหาย หรือเสื่อมเสียแกสิทธิของผูบริโภค ในกรณีนี้อาจระบุชื่อสินคา หรือบริการ หรือชื่อของ<br />

ผูประกอบธุรกิจดวยก็ได<br />

4) ใหคําปรึกษาและแนะนําแกคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและพิจารณาวินิจฉัย<br />

การอุทธรณคําสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง


117<br />

5) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและ<br />

คณะอนุกรรมการ<br />

6) สอดสองเรงรัดพนักงานเจาหนาที่ สวนราชการ หรือหนวยงานอื่นของรัฐให<br />

ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนด ตลอดจนเรงรัดพนักงานเจาหนาที่ใหดําเนินคดีใน<br />

ความผิดเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภค<br />

7) ดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผูบริโภคที่คณะกรรมการเห็นสมควร<br />

หรือมีผูรองขอตามมาตรา 39<br />

8) รับรองสมาคมตามมาตรา 40<br />

9) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและมาตรการในการ<br />

คุมครองผูบริโภคและพิจารณาใหความเห็นในเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภคตามที่<br />

คณะรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีมอบหมาย<br />

10) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดไวใหเปนอํานาจของคณะกรรมการ<br />

ในการปฏิบัติหนาที่นี้ คณะกรรมการอาจมอบหมายใหสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค<br />

เปนผูปฏิบัติ หรือเตรียมขอเสนอมายังคณะกรรมการเพื่อพิจารณาดําเนินการตอไปได<br />

สรุป<br />

การดําเนินธุรกิจจําเปนตองมีจริยธรรม จึงตองมีการสงเสริมนักธุรกิจที่ดีใหมีคุณสมบัติ<br />

ทั้งบุคลิกสวนตัว ความรูความสามารถและมีคุณธรรมจริยธรรมในการเปนผูบริหารที่ดี ดังนั้นจึง<br />

ตองสงเสริมดวยการสรางความรวมมือระหวางองคกรธุรกิจดวยกัน การออกกฎระเบียบ ขอบังคับ<br />

การจัดทําโครงการอบรม การสรางเกณฑมาตรฐานในการตรวจสอบและประเมิน การลงโทษและ<br />

การใหรางวัล ตลอดจนการสรางความสัมพันธกับชุมชนดวย นอกจากการดําเนินธุรกิจที่มี<br />

จริยธรรมแลว ธุรกิจยังตองมีความรับผิดชอบตอสังคมดวย หมายความวา ดําเนินธุรกิจไปตาม<br />

ครรลองของกฎหมายและจริยธรรม ที่ใชหลักการ 2 ประการ คือ หลักการกองทุนและหลักการของ<br />

ผูพิทักษ ขอบเขตความรับผิดชอบของธุรกิจที่มีตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทั้งภายในและภายนอก<br />

องคกร ไดแก ผูถือหุน ผูบริหาร พนักงาน ลูกคา คูคา คูแขง หนวยงานราชการ ชุมชน สังคม<br />

รวมถึงดานสิ่งแวดลอม โดยจะเกี่ยวของกับสิทธิดานความปลอดภัย การรับรู การบอกกลาว การ<br />

ไดรับการศึกษา การเลือกและการไดรับการปกปอง การมีความรับผิดชอบตอสังคมจะไดรับผลลัพธ<br />

ที่ดีในระยะยาวเชนเดียวกับการมีจริยธรรมทางธุรกิจ แนวคิดการดําเนินธุรกิจที่มีความรับผิดชอบ<br />

ตอสังคมไดแพรหลายและองคกรธุรกิจตางขานรับจนมีการรวมตัวกันจัดตั้งเปนองคกรที่จะเขามามี<br />

บทบาทในการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาความรับผิดชอบตอสังคม ทั้งที่เปนองคกร


118<br />

ภายในประเทศและองคกรตางประเทศ แมแตบทบาทขององคกรเอกชนทางธุรกิจเชน สมาคม<br />

หอการคาแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่มีบทบาทในการรวมมือกับรัฐ<br />

รับผิดชอบตอเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนบทบาทความรับผิดชอบของธุรกิจตอองคกรทาง<br />

สังคม เชน รับผิดชอบตอสมาคมนายจาง สหภาพแรงงาน การประกันสังคม องคกรคุมครอง<br />

ผูบริโภคของภาครัฐ<br />

กรณีศึกษา<br />

1. “ตองบอกวา CSR ที่แทจริง ตองมาจากตัวเรา ถาเราอยากจะเปนคนดี ตองเปนคนดีตอ<br />

ครอบครัว กอนที่จะดีตอคนนอกบาน”<br />

คําพูดในขอที่ 1 ใหบทเรียนและแงคิดอะไรแกนักศึกษา<br />

2. “เราก็เลยตองเรียนรูวิธีการใหดวยความเคารพ สิ่งที่เราชวยคือ ชวยใหเขาไดกลับมามี<br />

อาชีพ สามารถกลับมาหากินเองได เราก็มีกัลยาณมิตร เขามาสมทบ เอาเงินมารวม เราสรางอูตอเรือ<br />

ให ตอเรือใหชาวบาน ตอนนี้ทุกบานมีเรือครบแลว อูตอเรือก็พัฒนากลายเปนโรงเรียน เพื่อใหคนมี<br />

อาชีพเสริมเพิ่มเติมขึ้น”<br />

“มีชาวบานเกาะหนึ่งเลาวา เขาอยูหางไกล เวลาจะไปที่เกาะ เขาตองลงเรือไป ไมคอยมี<br />

อาหารกิน พืชผักที่ปลูกก็หมด ก็มีคนสงมามาไปให เขาก็น้ําตาไหล เพราะเปนมามาหมูสับทั้งหมด<br />

คนแถบนี ้เปนมุสลิม เขาเอามามาไปโปรยใหปลากิน เขายังมีปลา เราเลยตองมาดูวาเขามีวัฒนธรรม<br />

อยางไร ศาสนาเปนอยางไร การดําเนินชีวิตเปนอยางไร”<br />

คําพูดในขอที่ 2 ใหบทเรียนและแงคิดอะไรแกนักศึกษา<br />

3. “เรื่องของ CSR ไมไดเริ่มตนที่นโยบาย แตเริ่มตนจากการที่เราทํางานที่อยูตรงหนา<br />

ของเราใหดีที่สุด ซึ่งจะเกิดคุณคาในตัวเอง “การที่เรามีธุรกิจเล็กๆ เราก็ทําธุรกิจเล็กๆ บนความชอบ<br />

ธรรม บนความดีงาม พอมีกําไร เราก็ชวยเหลือคนอื่น ถาตอไปเราขยายรานไปได เราก็ขยายราน<br />

ออกไป CSR ไมไดเกิดจากเรื่องที่ใหญโตอะไร”<br />

คําพูดในขอที่ 3 ใหบทเรียนและแงคิดอะไรแกนักศึกษา


119<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 5<br />

กรมพัฒนาธุรกิจการคา. (2554). การจดทะเบียนสมาคมการคา. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.dbd.go.th/mainsite/index.php?id=96.<br />

เนตรพัณณา ยาวิราช. (2551). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ทิปเพิ้ล กรุป.<br />

ประกันสังคม. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK12/<br />

chapter3/t12-3-l3.htm<br />

มูลนิธิเพื่อผูบริโภค. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.consumerthai.org<br />

สถาบันไทยพัฒน. (2554). CSR ไทย ไตระดับ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.csrthailand.net/th/expert/detail/52.<br />

สถาบันธุรกิจเพื ่อสังคม. (2554). CSR. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.csri.or.th/about/history.<br />

สภาหอการคาแหงประเทศไทย. (2554). สภาหอการคา. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

www.panyathai.or.th/wiki/index.<br />

สมคิด บางโม. (2549). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : พัฒนวิทยการพิมพ.<br />

สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://www.ocpb.go.th/main_history.asp<br />

อโณทัย ไพฑูรย. (2554). CSR ที่แทจริง อยาอางเพียงลอย ๆ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://csr.igetweb.com/index.php?mo=5&qid=192101.<br />

อภิรัฐ ตั้งกระจางและคณะ. (2546). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.


บทที่ 6<br />

จริยธรรมกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517<br />

“ การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือ<br />

ความพอมีพอกิน พอใชของประชาชนสวนใหญเปนเบื้องตนกอน โดยใช<br />

วิธีการและใชอุปกรณที่ประหยัด แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อไดพื้นฐานมั่นคง<br />

พรอมพอควรและปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริมความเจริญและ<br />

ฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลําดับตอไป<br />

หากมุงแตจะทุมเทสรางความเจริญยกเศรษฐกิจขึ้นใหรวดเร็วแตประการเดียว<br />

โดยไมใหแผนปฏิบัติการสัมพันธกับสภาวะของประเทศและของประชาชน<br />

โดยสอดคลองดวย ก็จะเกิดความไมสมดุลในเรื่องตาง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเปน<br />

ความยุงยากลมเหลวไดในที่สุด ”<br />

นับเปนเวลากวา 60 ป (9 มิถุนายน พ.ศ.2489- พ.ศ.2554) ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว<br />

ทรงครองสิริราชสมบัติและมีพระบรมราโชวาทแกปวงชนชาวไทยในวโรกาสตาง ๆ เสมอมา ทั้งใน<br />

ยามบานเมืองปกติสุขและวุนวายไมปกติ ซึ่งลวนสะทอนถึงคําสอนตามแนวทางแหงธรรมะและ<br />

หลักวิชาการในการบริหารจัดการงาน การดําเนินชีวิตที่สามารถนําไปใชไดทั้งในเรื่อง<br />

ระดับประเทศชาติและระดับบุคคล จะเห็นไดวา แมวันเวลาผานไปหลายสิบปแตเหตุการณตาง ๆ ที่<br />

เกิดขึ้นก็ยังคงสอดคลองกับหลักคําสอนของพระองคทาน ดังเรื่องของการแกปญหาความยากจนที่<br />

เกี่ยวกับปากทองของประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศชาติ<br />

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

แนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนพระราชดํารัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจมาตั้งแตปพ.ศ.<br />

2517 แตยังไมเปนที่เขาใจและไมไดมีการนําไปปฏิบัติ ดวยสังคมไทยไดถูกอิทธิพลของระบบทุน<br />

นิยมเขาครอบงํา ทําใหหลงใหลกับคานิยมทางวัตถุและบริโภคนิยมแบบตะวันตกไปทั่ว ทั้งสังคม<br />

ในทุกระดับ


121<br />

จนกระทั่งประเทศไทยตองประสบกับวิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงอีกครั้งหนึ่งในปพ.ศ.2540<br />

เรียกวา วิกฤตทางการเงิน (Financial Crisis) หรือวิกฤตตมยํากุง ซึ่งกลาวไดวาประเทศไทยเปน<br />

ตนเหตุของปญหาที่กอใหเกิดการลุกลามไปทั่วภูมิภาคตะวันออกเฉียงใตและวิกฤตเอเซีย<br />

ภาพที่ 10 วิกฤตเศรษฐกิจดานการเงิน<br />

ที่มา : http://horo.giggog.com/125444 และ<br />

คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบ<br />

การเงินของประเทศ หรือศปร. (MBA. 2543. ออนไลน) วิเคราะหสาเหตุของวิกฤตตมยํากุงเกิดจาก<br />

1. การดําเนินนโยบายที่ผิดพลาดของธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ในนโยบาย<br />

พัฒนาไทยใหเปนศูนยกลางทางการเงินในภูมิภาคตั้งแตป 2533 เชน เปดเสรีทางการเงิน เปดวิเทศ<br />

ธนกิจ การใชอัตราแลกเปลี่ยนแบบตะกราเงินผูกคาเงินบาทไวกับดอลลารเกือบจะคงที่ ทําให<br />

นโยบายการเงินใชไมไดผล ดอกเบี้ยในประเทศสูงกวากูจากตางประเทศ ตนทุนการกูเงินจาก<br />

ตางประเทศต่ํากวาในประเทศ ไมมีความเสี่ยงเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน ทําใหภาคเอกชนกูเงินจาก<br />

ตางประเทศมาลงทุนเกินตัว ในป 2539 มีหนี้สินตางประเทศตอรายไดประชาชาติรอยละ 50.14 ซึ่ง<br />

ปกติหากเกิน 10 เปอรเซ็นตถือวาเขาสูขีดอันตรายแลว<br />

2. การลงทุนของภาคเอกชนขยายการเติบโตของภาคเศรษฐกิจแบบไมยั่งยืน คือ มีหลาย<br />

โครงการที่กูเงินมาเพื่อประหยัดดอกเบี้ยและมีประเภทกูเงินมาเพื่อทําโครงการเขาตลาดหลักทรัพย<br />

โดยกูเงินจากสถาบันการเงินในระยะสั้น แตนําไปลงทุนในระยะยาว ลงทุนเพิ่มปจจัยการผลิต<br />

แรงงานทุน แตไมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใชปจจัยผลิต ทําใหตนทุนการผลิตแพงขึ้น ราคา<br />

สินคาก็แพงขึ้น อัตราเงินเฟอสูงขึ้น คาเงินบาทที่แทจริงสูงขึ้นจากคาเงินสหรัฐแข็งขึ้น<br />

ความสามารถในการแขงขันกับตางประเทศจึงลดลง การสงออกก็ลดลงตาม


122<br />

3. การสงออกลดลง ภาคธุรกิจไมสามารถหาเงินมาชําระหนี้ได มาตรการควบคุมสถาบัน<br />

การเงินผอนคลายความเขมงวดเรื่องความเพียงพอของเงินกองทุนและคุณภาพสินทรัพย หนี้เสียของ<br />

ธนาคารและสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น ความตกต่ําของภาคอสังหาริมทรัพย นักลงทุนตางประเทศขาด<br />

ความเชื่อมั่นเศรษฐกิจและคาเงินไทย เมื่อมีเหตุการณ ธนาคารแหงประเทศไทย อุมธนาคาร<br />

กรุงเทพฯ พาณิชยการ จํากัด ตางประเทศก็เริ่มขนเงินกลับตั้งแตครึ่งปหลัง 2539<br />

4. ขณะที่แนวทางแกไขปญหาเพื่อลดการเติบโตเศรษฐกิจของธนาคารแหงประเทศไทย<br />

ชวงป 2537-2539 นโยบายการเงินเขมงวด ทําใหดอกเบี้ยในประเทศสูง ขณะที่เปดเสรีทางการเงิน<br />

ทําใหคนหันไปกูเงินจากตางประเทศ นโยบายการเงินจึงไมมีประสิทธิภาพ การควบคุมปริมาณเงิน<br />

เชน จํากัดวงเงินกูยืมขั้นต่ํา ใหหักภาษี ณ ที่จายดอกเบี้ยเงินกูตางประเทศ มาตรการลาชาไมทันการ<br />

มาตรการที่ออกเพื่อแกปญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูงไมไดผล เชน จํากัดการนําเขาของใช<br />

สวนตัวไดไมเกินคนละ 5,000 บาท จํากัดวงเงินบัตรเครดิต<br />

5. การเพิ่มเงินทุนสํารองระหวางประเทศ เพื่อปองกันการโจมตีคาเงินบาท ดวยการขาย<br />

พันธบัตรในตลาดซื้อคืนตราสารหนี้(Repo)และทําสัญญา Swap ทําใหอัตราดอกเบี้ยในประเทศ<br />

สูงขึ้น ป พ.ศ. 2533-2539 มีทุนสํารองมากกวาหนี้สินระยะสั้นเพียงเล็กนอยจึงมีความเสี่ยงตอการ<br />

ถูกโจมตีคาเงิน<br />

ดังนั้นสภาพเศรษฐกิจของประเทศในชวงเวลานั้นจึงเปรียบไดกับลูกโปง หรือฟองสบูที่มี<br />

ลักษณะของการขยายตัวแตขาดความสมดุล กลวงใน ภาคเอกชนกอหนี้ตางประเทศมากเกินไปและ<br />

ไมไดนําไปเพื่อการลงทุนที่แทจริงและนํามาเก็งกําไร ปนราคาจดบิดเบือนจากราคาที่แทจริงและ<br />

สินคาที่ไมมีอยูจริง การบริโภคเกินความจําเปน ปลอยเงินกูใหกับนักการเมืองที่มีธุรกิจเกี่ยวเนื่อง<br />

กันโดยใชหลักทรัพยต่ํากวาสินเชื่อ ตลาดหุนกลายเปนคาสิโน อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง แต<br />

เปนกับดักความหายนะ ประเทศไทยตองเขาสูระบบการกูเงินจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ<br />

(International Monetary Fund : IMF) และตองปฏิบัติตามเงื่อนไขเปดเสรีการคามากขึ้น แก<br />

กฎหมายใหตางชาติเพิ่มสัดสวนถือหุนได ราคาหุนในตลาดหลักทรัพยตกลงมาครึ่งหนึ่ง จนนํามาสู<br />

การครอบงํากิจการของชาวตางชาติในธุรกิจการเงิน ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและ<br />

บริษัทที่ตองการเงินทุนจากตางชาติตองเปดเผยขอมูลดานการเงิน การใชมาตรการที่เขมงวดและเอา<br />

รัดเอาเปรียบของ IMF ทําใหธุรกิจขนาดใหญและสถาบันการเงินไทยหลายแหงตองปดตัวลง<br />

ประชาชนตองซื้อสินคา น้ํามันและคาบริการสาธารณูปโภคแพงขึ้น นอกจากเศรษฐกิจแยลงแลว<br />

เงินกูจาก IMF เกือบทั้งหมดนําไปเติมทุนสํารองระหวางประเทศเพื่อพยุงคาเงินบาท ไมไดนําไป<br />

ฟนฟูเศรษฐกิจ ทั้งยังสรางปญหาทางการเมือง คือ แปรรูปรัฐวิสาหกิจและกฎหมาย 11 ฉบับ ซึ่งถูก<br />

วิจารณวาเปนกฎหมายขายชาติ สิ่งเหลานี้ไดชี้ชัดถึงความเปนผูพายแพในศึกสงครามรูปแบบใหม


123<br />

คือ การตกเปนเมืองขึ้นทางเศรษฐกิจ นายทุนตางชาติเขามาช็อปซื้อทรัพยสินของไทยในราคาถูก<br />

ทั้งหุน ธนาคาร กิจการตาง ๆ ตองสะสมทุนใหม เพื่อซื้อหุนกลับคืน ถึงเวลาที่คนไทยจะตองตื่นขึ้น<br />

แลวสลัดตนเองใหหลุดจากระบบวัตถุนิยมและบริโภคนิยม หันกลับมาทบทวนรากเหงาเดิมของตน<br />

อยางมีความหวังอีกครั้งดวย หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวได<br />

พระราชทาน ซึ่งรัฐบาลไดนอมนําพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงมาไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9-11 (ฉบับปจจุบันพ.ศ. 2555-2559)<br />

ภาพที่ 11 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง<br />

ที่มา : http://dpc12.ddc.moph.go.th/dpc_12/Sufficiency.html<br />

1. แนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียง<br />

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง<br />

และความไมประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว<br />

ตลอดจนใชความรูความรอบคอบและคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทํา<br />

2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แบงการพิจารณาออกเปน 5 สวน (เศรษฐกิจพอเพียง.<br />

ออนไลน. 2554) ดังนี้<br />

2.1 กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่<br />

ควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอด<br />

เวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย<br />

และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา<br />

2.2 คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดใน<br />

ทุกระดับ โดยเนนการปฏิบัติทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน


124<br />

3. คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะรวมกัน ดังนี้<br />

3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป<br />

โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ<br />

3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้นจะตอง<br />

เปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้น<br />

จากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ<br />

3.3 การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและ<br />

การเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวา<br />

จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล<br />

4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ตองอาศัย<br />

ทั้งความรูและคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ<br />

4.1 เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยาง<br />

รอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ<br />

วางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ<br />

4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวยมีความตระหนักในคุณธรรม<br />

มีความซื่อสัตยสุจริต มีความอดทน มีความเพียรและใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต<br />

5. แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา<br />

ประยุกตใช คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พรอมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ<br />

สังคม สิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี


125<br />

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

ทางสายกลาง<br />

พอประมาณ<br />

มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน<br />

ในตัวที่ดี<br />

ความรู<br />

รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง<br />

คุณธรรม<br />

ซื่อสัตย ขยันอดทน สติปญญา แบงปน<br />

นําไปสู<br />

เศรษฐกิจ / สังคม / สิ่งแวดลอม / วัฒนธรรม<br />

สมดุล / พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง<br />

ภาพที่ 12 ความสัมพันธของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

ที่มา : http://dpc12.ddc.moph.go.th/dpc_12/Sufficiency.html<br />

การอธิบายหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังไมเปนที่ชัดเจนและความเขาใจยังไมถูกตอง<br />

ของบุคคลหลายฝายทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ จึงยังมีคําถามและความคับของใจวา หากนํา<br />

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปใชจะกระทบตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ทําใหวิถีชีวิตความเปนอยู<br />

อัตคัด ขาดแคลน ไมไดรับความสะดวกสบาย ที่สําคัญชีวิตนี้จะตองยากจน ไมสามารถที่จะรวยได<br />

หลายคนจึงปฏิเสธแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงโดยสิ้นเชิง ดังนั้นเพื่อใหเกิดความเขาใจแนวคิด<br />

เศรษฐกิจพอเพียงอยางถูกตองถองแท จากคําอธิบายและความคิดเห็นของผูรูและผูมีประสบการณ<br />

เกี่ยวของกับเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศชาติในดานตาง ๆ ตอไป


126<br />

แนวคิดที่มีตอหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง<br />

ความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิมากมายในสังคมไทยที่มีความรูและประสบการณในสาขา<br />

วิชาชีพดานตาง ๆ ที่มีชื่อเสียงไดรับการยอมรับจากสังคมไทย ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหลัก<br />

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะไดนําเสนอใหไดเรียนรู 3 ทาน<br />

1. ศาสตราจารย ดร.อภิชัย พันธเสน คณบดีคณะ<br />

บริหารศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและผูอํานวยการ<br />

สถาบัน การจัดการเพื่อชนบทและสังคม หนวยงานภายใตมูลนิธิบูรณะ<br />

ชนบทแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เปนผูมีบทบาทสําคัญในการ<br />

ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนรูปธรรมทั้งในเชิง<br />

วิชาการและเชิงปฏิบัติ<br />

ศาสตราจารย ดร.อภิชัย พันธเสน ไดวิเคราะหเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ<br />

เจาอยูหัวในการสัมมนาวิชาการ TDRI ป 2542 โดยเนนการทําความเขาใจกระแสพระราชดํารัส ซึ่ง<br />

จําเปนตองเขาใจบริบททางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ (อภิชัย พันธเสน. 2542. ออนไลน) โดย<br />

สรุปดังนี้<br />

เนื้อแทของพระราชดํารัส เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมุงสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจขั้น<br />

พื้นฐานกอนการพัฒนาในขั้นที่สูงขึ้นไป ตลอดจนเนนการใชความพอเพียงเปนเครื่องควบคุมความ<br />

โลภของคน อันเปนผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่รวดเร็วและอยางตอเนื่องในประเด็นสําคัญ<br />

หลัก 2 ประการ ที่จะนํามาสังเคราะหเศรษฐกิจพอเพียงในนานาทัศนะของนักเศรษฐศาสตรและการ<br />

วิเคราะหเศรษฐกิจพอเพียงในทัศนะของศาสตราจารย ดร.อภิชัย พันธเสน เองดวย คือ<br />

1. เศรษฐกิจพอเพียงในนานาทัศนะของนักเศรษฐศาสตร สรุปแยกแนวคิดได 3 กลุม<br />

1.1 กลุมที่เห็นวาเศรษฐกิจพอเพียงเปนความคิดที่อยูเหนือแนวคิดทางเศรษฐศาสตร<br />

พิจารณาจากขอสมมติทางเศรษฐศาสตรที่วา ความตองการของมนุษยไมมีที่สิ้นสุด จึงสรุปแนวคิด<br />

พื้นฐานทางเศรษฐศาสตรเปนเรื่องที่เกี่ยวกับความไมพอดี การอธิบายความหมายของเศรษฐกิจ<br />

พอเพียงในสวนของความพอประมาณ จึงไมสามารถใชอธิบายในกรอบความหมายของดุลยภาพ<br />

ในวิชาเศรษฐศาสตรได<br />

1.2 กลุมที่มีความเห็นตรงกลาง ไดแบงองคประกอบสําคัญออกเปน 3 กลุมยอย คือ<br />

1) กลุมที่อธิบายวา ความพอดี ความเสี่ยงและการพึ่งตนเอง ทั้ง 3 สวนนี้จะขาด<br />

สวนใดสวนหนึ่งไมได โดยใหความหมายของแตละสวนดังนี้


127<br />

(1) ความพอดี ใหความหมายใกลเคียงกับเรื่องดุลยภาพ (Equilibrium)<br />

ในทางเศรษฐศาสตร แตเนนดุลยภาพที่เปนพลวัตร (Dynamic) คือ มีการปรับตัวอยูตลอดเวลา<br />

ขึ้นอยูกับสถานการณและความเหมาะสมของแตละบุคคล<br />

(2) ความเสี่ยง คือ การสรางภูมิคุมกันใหปลอดภัยจากความแปรผันมากที่สุด<br />

และมีลักษณะที่ยั่งยืน (Sustainability)<br />

(3) การพึ่งตนเอง คือ การพยายามเพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมปจจัย<br />

ที่กอใหเกิดความไมแนนอนตาง ๆ ในสวนที่แตละคนสามารถควบคุมไดดวยตัวเองใหมากที่สุด<br />

โดยใชสติ ความรูและความเพียร<br />

ดังนั้นจึงสรุปวาสิ่งกํากับความพอดีคือ ความเสี่ยง สิ่งกํากับความเสี่ยงคือ การ<br />

พึ่งตนเอง<br />

2) กลุมที่อธิบายความพอเพียงวา มีความใกลเคียงกับความยั่งยืน (Sustainability)<br />

ซึ่งเนนใหแตละคนลดความเสี่ยงเพื่อลดตนทุนในการแลกเปลี่ยนทางสังคม จาก Externality ในการ<br />

ตัดสินใจของแตละคนที่มีตอผูอื่น<br />

3) กลุมที่มองระบบเศรษฐกิจพอเพียงเปนเครื่องเสริมประสิทธิภาพโดยรวมใน<br />

จุดที่ระบบตลาดไมสามารถเขาถึง หรือกอใหเกิดตนทุนทางการคา (Transaction Cost) ที่สูง<br />

จนเกินไป<br />

1.3 กลุมที่เห็นวาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวคิดที่สอดคลองกับเศรษฐศาสตรกระแส<br />

หลัก<br />

1) กลุมที่มองความพอเพียง เปนการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางพอเพียง<br />

ภายใตขอจํากัดของรายได (Budget Constraint) ประกอบกับการใชแนวทางในการบริหารความ<br />

เสี่ยง (Risk Management) ที่มีการกระจายความเสี่ยงอยางสมดุล โดยจะคํานึงถึงการแลกเปลี่ยนกับ<br />

ประสิทธิภาพ คือ การไมพึ่งพาภายนอกมากก็สามารถลดความเสี่ยงไดมาก แตจะเสียโอกาสที่จะ<br />

ไดรับผลประโยชนในแงของประสิทธิภาพที่ไดรับเพิ่มขึ้น จากการเนนความชํานาญเฉพาะอยาง<br />

2) กลุมที่กลาวถึงระบบเศรษฐกิจพอเพียงวา เปนการสรางใหเกิดความจําเปนขั้น<br />

พื้นฐาน (Basic Necessity) ซึ่งถือวาเปนการเพิ่มขอจํากัด (Constraint) อีกขอหนึ่งในกระบวนการ<br />

Optimization หรือการแกปญหาหรือเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด<br />

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในนานาทัศนะของนักเศรษฐศาสตรขางตน ทําใหศาสตราจารย<br />

ดร.อภิชัย พันธเสน ไดวิเคราะหและมีขอคิดเห็นโตแยง สรุปโดยรวมคือ การวิเคราะหที่ใชแนวคิด<br />

ใดเพียงแนวคิดเดียว การใหความหมายเพียงมุมใดมุมหนึ่งและการแยกประเภทที่ไมครอบคลุมใน


128<br />

แงมุมอื่น ๆ ที่สามารถจะวิเคราะหตีความไดอยางชัดเจนนัก ดังนั้นจึงไดมีการวิเคราะหตามทัศนะ<br />

ของตนเอง ดังนี้<br />

2. การวิเคราะหเศรษฐกิจพอเพียงในทัศนะของ ศาสตราจารย ดร.อภิชัย พันธเสน กลาว<br />

ในบทสรุปวา เศรษฐกิจพอเพียงโดยเนื้อแทก็คือ พุทธเศรษฐศาสตรซึ่งเปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการ<br />

ดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับใหดําเนินไปในทางสายกลาง<br />

เพื่อใหเกิดมุมมองที่ชัดเจนเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคลองกับจริยธรรมจะ<br />

ไดนําเสนอทัศนะของ ศาสตราจารย ดร.ชัยอนันต สมุทวนิชและฉลองภพ สุสังกรกาญจน<br />

2. ศาสตราจารย ดร.ชัยอนันต สมุทวนิช เกิดเมื่อวันที่ 23<br />

กุมภาพันธ 2487 ดํารงตําแหนงสําคัญหลายตําแหนงทางสังคม<br />

เชน อดีตผูบังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาล<br />

รัฐธรรมนูญ เปนตน<br />

ศาสตราจารย ดร.ชัยอนันต สมุทวนิช ไดนําเสนอบทความ<br />

เรื่องทฤษฎีใหม : มิติที่ยิ่งใหญทางความคิด โดยมีความเห็นวา<br />

ทฤษฎีใหม หรือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัวมีความแตกตางจากแนวคิดทฤษฏีตะวันตก โดยเปน<br />

หลักการที่ใหความสนใจและไมแยกมนุษยออกจากคุณงามความดี หรือจริยธรรม สิ่งรอบขางตอง<br />

พึ่งพิงอาศัยกัน จึงสรุปวาทฤษฎีใหมเปนหลักการและวิธีการใหมที่ยิ่งใหญทางความคิด 9 ประการ<br />

(ชัยอนันต สมุทวนิช. 2541. ออนไลน) ดังนี้<br />

1. เปนแนวคิดแบบพหุนิยมมีความหลากหลายผสมผสานกันไป เชน มองความพอเพียง<br />

พออยูพอกิน เปนเปาหมายหลักของการพัฒนา ไมยึดติดตํารา สามารถประยุกตไดตามความ<br />

เหมาะสมกับแตละสถานที่<br />

2. เปนแนวคิดที่กาวพนแนวความคิดแบบวิภาษวิธี(Dialectical)ที่มีลักษณะการปะทะกัน<br />

ของสิ่งสองสิ่งเมื่อปะทะกันแลวยอมทําใหเกิดการปรับเปลี่ยนไปเปนอยางใดอยางหนึ่ง สุดทายเกิด<br />

ผูชนะและผูแพ ซึ่งเปนเหตุแหงความขัดแยงและทําลาย แตทฤษฎีใหมมองเห็นถึงการดํารงอยูของ<br />

สิ่งที่แตกตางกัน การพึ่งพาอาศัยกันภายใตจริยธรรมของความสามัคคี มีเมตตาเปนการอยูรวมกัน<br />

ของความแตกตางอยางสันติ<br />

3. เปนแนวคิดที่ปฏิบัติได มิใชเปนเพียงทฤษฎีลอย ๆ โดยมีการจัดลําดับขั้นตอนในการ<br />

ปฏิบัติ ขั้นตนเปนการจัดสัดสวนทางการผลิตที่เหมาะสม ขั้นสองเปนการจัดการแบบรวมพลัง<br />

รวมมือกันทุกระบบภายในชุมชนเอง ขั้นที่สามระดมทรัพยากรภายนอกชุมชน แตละฝายไดรับ


129<br />

ผลประโยชนรวมกัน พึ่งพากันอยางสมดุล กลาวสรุปคือ ขั้นที่หนึ่ง พึ่งตนเองได ขั้นที่สองชุมชน<br />

เปนอิสระ ขั้นที่สาม พึ่งพาอิงกับโลกภายนอก<br />

4. เปนทฤษฎีที่มีความงายไมซับซอน สามารถนําไปทําใหเห็นผลจริงได<br />

5. เปนทฤษฎีที่เกิดจากประสบการณของไทยบนพื้นฐานวัฒนธรรมไทย<br />

6. เปนแนวคิดที่สอดคลองกับสถานการณของสังคมไทยที่กําลังประสบปญหาอยู<br />

7. เปนแนวคิดที่แฝงไวซึ่งปรัชญาในการดํารงชีวิตและดํารงชาติดวย เปนทฤษฎีแบบองค<br />

รวม เพราะมีหลายมิติ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและปรัชญา การดํารงชีวิต<br />

8. เปนแนวคิดที่มีพลังในการกระตุนใหผูยากไรมีพลัง เขาใจความเปนจริง ผูปฏิบัติมี<br />

ความสุขไดตามอัตภาพ เขาใจหลักความสันโดษ<br />

9. เปนแนวคิดที่ปลอดการเมือง ผลประโยชนและอุดมการณ มีลักษณะเปนสากล<br />

3. ฉลองภพ สุสังกรกาญจน อดีตรัฐมนตรีวาการ<br />

กระทรวงการคลัง ในสมัยรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ จุลานนท<br />

และเคยตํารงตําแหนงสําคัญหลายตําแหนง เชน ประธานสถาบัน<br />

ทีดีอารไอ กรรมการนโยบายเพื่อเสถียรภาพและความมั่นคงทาง<br />

เศรษฐกิจ ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา เปนที่ปรึกษา<br />

นายกรัฐมนตรีดานเศรษฐกิจและการตางประเทศในรัฐบาลของ<br />

พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และเปนกรรมการคณะกรรมการ<br />

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สภาพัฒนฯ) เปนตน<br />

ฉลองภพ สุสังกรกาญจนไดแสดงความคิดเห็นตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวา เปน<br />

ปรัชญาที่สอดคลองกับแนวคิดของเศรษฐศาสตรกระแสหลักและไดอธิบายองคประกอบแนวคิด<br />

เศรษฐกิจพอเพียง 2 องคประกอบ ไดแก 1) ความพอประมาณ 2) กับความมีเหตุผล<br />

(ฉลองภพ สุสังกรกาญจน. 2542. ออนไลน) ดังนี้<br />

1. ความพอประมาณ เปนองคประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสามารถนําไป<br />

อธิบายตามแนวคิดของอรรถประโยชน (Utility Function) หมายถึง ความพึงพอใจจากการบริโภค<br />

ของผูบริโภค กลาวคือ เศรษฐศาสตรจะสมมติวา ผูบริโภคมีความพึงพอใจในการบริโภคที่<br />

พอประมาณ โดยความพึงพอใจในการบริโภคหนวยสุดทายจะลดลง เมื่อมีการบริโภคเพิ่มขึ้นที่<br />

เรียกวา กฎการลดนอยถอยลงของอรรถประโยชน (Diminishing Marginal Utility) ในขณะเดียวกัน<br />

ความไมพอประมาณที่มีลักษณะของความตองการที่เพิ่มมากขึ้น (Increasing Marginal Utility) ซึ่ง<br />

อาจมีสาเหตุมาจากการเปรียบเทียบกับระดับการบริโภคของผูอื่น เชน การเอาอยาง (Emulation)<br />

ความอิจฉาริษยา (Envy) ทําใหขาดความพอประมาณไดทั้งสิ้น ปญหาตามมาคือ การใชทรัพยากร


130<br />

ไมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ระบบเศรษฐกิจไมเคลื่อนที่เขาสูจุดดุลยภาพ (Unstable Equilibrium)<br />

ตลอดจนปญหาระบบเศรษฐกิจ มีจุดดุลยภาพหลายจุด (Multiple Equilibriums)<br />

2. ความมีเหตุผล ไดนํามาอธิบายดวยแนวคิดของพฤติกรรมความมีเหตุผล (Rational<br />

Behaviour) ในทางเศรษฐศาสตร คือ ถาบุคคลมีความรู ความเขาใจและความรอบคอบ ในการ<br />

ตัดสินใจแลว พฤติกรรมทางเศรษฐศาสตรของแตละคนจะนําไปสูผลรวมที่มีการใชทรัพยากรทาง<br />

เศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ในทางตรงขามพฤติกรรมที่ไมมีเหตุผล ขาดความรู ความเขาใจ<br />

และความรอบคอบ จนดูเสมือนไรเหตุผล เชน พฤติกรรมความเสี่ยงของนักลงทุนที่มีลักษณะ<br />

เสมือนแมลงเมาบินเขากองไฟ เปนเหตุใหเกิดปญหาทางเศรษฐกิจตามมาในที่สุด อยางไรก็ตามการ<br />

อธิบายของแนวคิด Rational Behaviour ทางเศรษฐศาสตรไมไดพิจารณาถึงมิติทางคุณธรรมในการ<br />

ตัดสินใจของแตละบุคคล จึงใหคําอธิบายที่แคบไมครอบคลุมความหมายของความมีเหตุมีผลอยาง<br />

เพียงพอ<br />

การนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช<br />

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนไดทั้งหลักการ แนวคิดและวิธีการที่อาศัยเงื่อนไขที่เชื่อม<br />

ความสัมพันธระหวางองคความรูกับคุณธรรม นํามาประยุกตใชบริหารจัดการในเรื่องตาง ๆ ซึ่ง<br />

สามารถนํามาใชไดกับธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญระดับประเทศ ระดับชุมชน หรือใชในการ<br />

ดําเนินชีวิตของบุคคล ลวนเกิดประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม ดังตัวอยาง<br />

ของวิถีชุมชนพอเพียงหมูบานอินแปงและบริษัทเครือปูนซิเมนตไทย ดังตอไปนี้<br />

1. ชุมชนพอเพียงอินแปง มีกรณีศึกษาที่นาสนใจของหลักคิดในการหันกลับมาทบทวน<br />

และพึ่งพาตนเองของคนในชุมชนดวยหลักเศรษฐกิจพอเพียง สามารถสรุปเนื้อหาพอสังเขป<br />

(เสรี พงศพิศ. 2552 : 16-25) ดังตอไปนี้<br />

บานบัว อําเภอกุดบาด จังหวัดสกลนคร ณ ชายขอบหมูบานจะเห็นปายปกขนาดเขื่องวา<br />

“อินแปง มหาวิทยาลัยชีวิต สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน” ไดเกิดขึ้นเมื่อปพ.ศ. 2530 เปนการ<br />

รวมตัวกันของเครือขายชุมชนที่มาจากพื้นที่สกลนคร อุดรธานี กาฬสินธุและมุกดาหาร รวมกวา 80<br />

ตําบล เกือบพันหมูบาน มีสมาชิกกวาแสนคน ชุมชนนี้ตั้งอยูในพื้นที่ภูพานที่อุดมสมบูรณดวยปา<br />

แหลงอาหารและทรัพยากร แตชาวบานกลับยากจนขนแคน ขาวไมพอกิน หนี้สินลนพนตัว เมื่อได<br />

เขาไปสํารวจพื้นที่พบวา ปาถูกถางโลงเตียน เพื่อนําที่ดินไปปลูกมันสําปะหลังในปพ.ศ.2513 ปแรก<br />

ชาวบานรวยกันถวนหนา ตอมาราคามันสําปะหลังเริ่มตกลงเรื่อย ๆ ชาวบานก็ขยายพื้นที่ถางปาเพื่อ<br />

เพิ่มพื้นที่เพาะปลูก โดยหวังวาจะสามารถชดเชยราคามันสําปะหลังที่ตกลงไดและหวังวาราคาจะดี<br />

ขึ้น จะสามารถใชหนี้สินที่พอกพูนใหลดลงได


131<br />

แตผลที่เกิดขึ้นจริง คือ ความหวังและความฝนที่ไมอาจเปนจริงได แมวาการพัฒนา<br />

โครงสรางพื้นฐานจะเขาสูหมูบาน ถนน ไฟฟา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร<br />

(ธกส.) ซึ่งมาพรอมกับลัทธิบริโภคนิยม อันเปนจุดเริ่มตนของการลมสลายทางเศรษฐกิจและสังคม<br />

เพราะทําใหวิถีชีวิตชุมชนเดิมที่อยากกินเห็ดเขาปา อยากกินปลาลงหนอง ไดเปลี่ยนไป คนเริ่ม<br />

ตองการเงิน ขายปอขายมันสําปะหลังแลวไมพอกินและไมพอใชหนี้ สิ่งสําคัญของความลมเหลวใน<br />

อินแปงคือ การสงเสริมการพัฒนาที่ถูกกําหนดมาจากภายนอก แตเมื่อเปลี่ยนจากการเปนผูรับมา<br />

เปนผูเรียนรูรวมกัน มาแลกเปลี่ยนประสบการณ มาชวยการวิเคราะหทําใหชาวบานเริ่มเขาใจถึง<br />

สาเหตุความยากจนไมใชเพราะจนทรัพยากร แรงงาน รวมทั้งเงิน แตสิ่งที่จนคือ ปญญา ดังนั้น<br />

สถานการณจนปญญาเกิดจากการขาดโอกาสการเรียนรู ที่ถูกปลอยไปตามบุญตามกรรมที่หมายถึง<br />

การเรียนในโรงเรียน ตามสถาบันการศึกษา หรือการจัดใหเขารับการอบรม ซึ่งเปนลักษณะของการ<br />

ยัดเยียดความรูและความตองการที่มาจากภายนอก เชน นโยบายของรัฐ หนวยงานเอกชนและ<br />

นักวิชาการ ยิ่งเรียนก็ดูเหมือนยิ่งโง ถูกเอารัดเอาเปรียบและถูกครอบงํา<br />

ชาวบานบัวเริ่มหันกลับมาทบทวนตนเองและมีมุมมองใหมที่แตกตาง เริ่มสรางวิสัยทัศน<br />

ภาพฝน ดังที่พอเล็ก กุดวงศแกว ประธานอินแปงคนแรกบอกไววา วิสัยทัศนตามภาษาชาวบาน<br />

หมายถึง “สงชอด” คือ มองทะลุดวยปญญา<br />

คนอินแปงมีความฝนและไดสรางฝนนั้นใหเปนความจริง โดยฝนของอินแปง คือ มี<br />

ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ ปจจัยพื้นฐานที่พอเพียง จึงเริ่มดวยการยกปามาไวที่บาน อยากกินอะไรก็<br />

เอามาปลูกในสวนของตนเอง เปลี่ยนไรมันสําปะหลังเปนสวนที่เต็มไปดวยพืชผัก ไมผล ไมใช<br />

นานาพรรณ ในที่สุดสามารถมีเหลือกิน ขายไดมีเงินใชหนี้สิน รายจายลดลง รายไดเพิ่มขึ้น สิ่งที่<br />

คนพบคือ ภูมิปญญาบรรพบุรุษเกี่ยวกับธรรมชาติที่วาแมเปนผูใหชีวิต แมธรณี แมน้ํา แมโพสพ เรา<br />

เลี้ยงดูแมใหดี แมก็ใหชีวิตเราอยางพอเพียง นั่นเปนสิ่งที่คนอินแปงไดเรียนรูและคนพบดวยการใช<br />

ปญญานําหนาเงิน ไมเอาเงินไปสรางโครงการแบบเดิมเมื่อเงินหมดก็เลิก รอเงินใหมโครงการคอย<br />

เริ่มใหมและยังมีความเชื่อที่วา สังคมไทยไมไดอับจนและสิ้นหวัง สิ่งที่ตองการมากที่สุดคือ ปญญา<br />

ที่มาจากกระบวนการเรียนรูที่ถูกตองเหมาะสม อันไดแก ทุนทางปญญาที่เกิดจากการเรียนรูรวมกัน<br />

ในการปฏิบัติ เอาความรูทั้งภายในและภายนอกมาจัดการใหการอยูรวมกันระหวางคน คนกับ<br />

ธรรมชาติและระหวางชุมชนกับโลกภายนอกอยางรักษาสมดุลรวมกัน<br />

คนอินแปง สรุปประสบการณนี้วา “อินแปงอยูอยางมีศักดิ์ศรีและมีกินตลอดชีวิต” อยู<br />

อยางมีศักดิ์ศรี หมายถึง คนอินแปงมีความภูมิใจและเชื่อมั่นในตัวเอง เชื่อวาไดเดินมาถูกทางแลว รู<br />

วาจะไปไหน ไปทางใดและไปอยางไร


132<br />

กรณีศึกษาอินแปงมีความสอดคลองกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่เริ่มตนจากการเรียนรู<br />

และเขาใจตนเองกอนเปนอันดับแรกและใชสติปญญาในการคิดหาสาเหตุของปญหาและแกปญหา<br />

ดวยตนเองอยางมีหลักคิด ใชการเรียนรู แลกเปลี่ยนประสบการณ ถึงภูมิปญญาบรรพบุรุษที่มีของ<br />

ชุมชน ที่สําคัญคือ การยอมรับตัวตนของชุมชนอินแปงไมใหถูกครอบงําดวยลัทธิบริโภคนิยมที่<br />

ทําลายพื้นฐานวิถีชีวิตเดิมของชุมชน ความตองการเงินและใชเงินนําหนาทุกอยางในการซื้อหาวัตถุ<br />

มาสนองความโลภที่มีมากขึ้นเรื่อย ๆ จนสรางหนี้สินและไมสามารถที่จะจายชําระไดทําใหมีหนี้<br />

เพิ่มพูนมากขึ้น ดังนั้นการใชปญญาในครั้งนี้คือ การรูจักประมาณตนเองของคนอินแปง หากไม<br />

หยุดความตองการที่ฟุงเฟอฟุมเฟอย จะตองทําลายทรัพยากรในชุมชนทุกอยางเพื่อนําไปขายใหได<br />

เงินมาซื้อวัตถุที่ตองการ การที่คนอินแปงสามารถตระหนักถึงความจริงนี้ จึงทําใหชุมชนสามารถ<br />

ใชเหตุผลในการคิดพิจารณาปญหาและหาทางแกไขไดอยางถูกตอง เปลี่ยนจากการพึ่งพาภายนอก<br />

มาเปนการพึ่งพาตนเอง ใชหลักสายกลาง ใชภูมิปญญาของตนเองและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณของ<br />

ชุมชนในการปลูกเพื่อกินเพื่อใชเอง รูจักแบงปน ทําบุญและนําสวนที่เหลือออกขายเปนรายได การ<br />

กระทําดังกลาวทําใหชุมชนมีภูมิคุมกันที่เขมแข็งที่สามารถใชปญญา ความรูความสามารถและ<br />

คุณธรรม ใหเกิดการพึ่งพาตนเองได ซึ่งทําใหชุมชนอินแปงสามารถพัฒนาและอยูรอดอยางยั่งยืน<br />

จึงเปนความภูมิใจในความเปนอยูอยางมีศักดิ์ศรีและมีกินตลอดชีวิตของคนในชุมชนอินแปงนั่นเอง<br />

2. บริษัทเครือปูนซิเมนตไทย ไดนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการพัฒนาเกี่ยวกับ<br />

ทรัพยากรมนุษยขององคกร (HR แบบพอเพียงฉบับศึกษาเครือซิเมนตไทย. ออนไลน. 2554)<br />

บริษัทปูนซิเมนตไทยเปนองคกรเกาแกขนาดใหญ เปรียบเสมือนเปนสัญลักษณทางเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศ จากกรณีศึกษา "สราง-รับ-พัฒนา-รักษาคนอยางไรตามหลักปรัชญา” โดยเริ่มจากการ<br />

คนหาตัวเองใหเจอและเนนกระบวนการ จนเปนที่ยอมรับวา บริษัทเครือซินเมนตไทยมีความโดด<br />

เดนดานการบริหารทรัพยากรมนุษยเปนที่ยอมรับของสถาบันตาง ๆ ดวยหลักการที่นาสนใจ คือ<br />

“ยืนหยัดในหลักการ ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวไดอยางตอเนื่องและรับผิดชอบตอ<br />

ชีวิตและสังคม”<br />

นอกจากนี้ยังมีปรัชญาการทํางาน 4 ขอ ไดแก 1) ตั้งมั่นในความเปนธรรม 2) มุงมั่นใน<br />

ความเปนเลิศ 3) เชื่อมั่นในคุณคาของคนและ 4) ถือมั่นมีความรับผิดชอบตอสังคม<br />

ความทาทายขององคกรนี้คือ การกาวสูการเปนธุรกิจที่จะกาวสูการแขงขันระดับภูมิภาค<br />

โดยไดพิสูจนตัวเองวาเปนองคกรพอเพียงและงาน HR มีอยูจริงและไดทําสําเร็จมาแลวอยางงดงาม<br />

ดังจะไดพิจารณาตามหลักการความพอประมาณ ความมีเหตุผลและความมีภูมิคุมกันตอไป


133<br />

2.1 พอประมาณ ทั้งงานและคน คือ ความพอดี ไมมาก หรือนอยจนเกินไป มุง<br />

ประโยชนระยะยาว ความพอประมาณของเครือซิเมนตไทย เริ่มตนขั้นวางแผนกําลังคน จํานวน<br />

พนักงานเทาที่จําเปน จัดคนเขาทํางานใหเหมาะสมกับงาน มีแผนการโยกยายเพื่อสรางโอกาสและ<br />

พัฒนาคนใหมีความกาวหนาในอาชีพและคํานึงถึงการรักษาเทคโนโลยีและความรูเฉพาะของธุรกิจ<br />

อยางเขมงวด สวนการบริหารคาจางและสวัสดิการ บริษัทจะเนนความสมดุลและสนองตอบ<br />

ผลประโยชนอยางเปนธรรมแกทุกฝาย ทั้งผูถือหุน ลูกคาและพนักงาน<br />

สําหรับพนักงานบริษัทจะกําหนดฐานเงินเดือนและโครงสรางคาจาง โดยมุงเนน 2<br />

สวน ไดแก 1) ความเปนธรรมในองคกร เชน เงินเดือนในแตละงานจะมีขั้นระหวางกัน ไมหางมาก<br />

จนเกินจริง 2) อางอิงราคาตามตลาด โดยทําการเปรียบเทียบกับกลุมบริษัทชั้นนําในเมืองไทย ทั้งใน<br />

และตางอุตสาหกรรมเดียวกันอยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนฐานในการกําหนดคาจางและสวัสดิการที่<br />

เหมาะสมเปนธรรม ดังนั้นเมื่อพิจารณาแลวอัตราคาจางของเครือซิเมนตไทยจะไมต่ํา หรือสูงเกินไป<br />

และดูแลจัดสวัสดิการที่เหมาะสมแกพนักงาน เนนครอบครัวและสุขภาพของพนักงาน โดยไมตอง<br />

รอใหเรียกรอง<br />

2.2 มีเหตุผล การสรรหาของปูนซิเมนตไทย คือ สรรหาคนดี คนเกง คุณภาพสูงและ<br />

ซื่อสัตย เพื่อใหสอดรับกับวัฒนธรรมองคกรดานคุณภาพและคุณธรรม เริ่มจากดานแรกจะตองผาน<br />

การประเมินดวยกิจกรรม CCC : Cement Thai Career Choice โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาชั้นปที่ 4<br />

จากทุกมหาวิทยาลัยสมัครและเขารวมทํากิจกรรม Group Selection มีการทดสอบดานจิตวิทยา<br />

ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร เพื่อใหไดคนดีและคนเกงมาทํางาน นับไดวาเปนการเปดโอกาสใหทั้ง<br />

สองฝายไดเรียนรูซึ่งกันและกันระหวางองคกรกับผูสมัคร บริษัทจะมีเวลาในการพิจารณาคนที่<br />

เหมาะกับงานและองคกร ขณะที่ผูสมัครก็สามารถพิจารณาไดวาตนเองเหมาะสมกับบริษัทหรือไม<br />

เมื่อทั้งสองฝายตางไดเรียนรูกันและเขาใจความตองการของตนเอง ก็สามารถเลือกสิ่งที่เหมาะสมใน<br />

การที่จะทํางานรวมกันตอไปในระยะยาว<br />

การบริหารคนภายในองคกร ใชระบบคณะกรรมการ (Management Development<br />

Committee : MDC) ประกอบดวยผูบริหารระดับสูง กรรมการผูจัดการใหญเปนประธาน ผูจัดการ<br />

ใหญของธุรกิจและผูชวยผูจัดการใหญเปนกรรมการ คณะกรรมการจะมีการประชุมเปนประจํา โดย<br />

ทําหนาที่พิจารณาเพิ่มเงินเดือน เลื่อนตําแหนงใหพนักงาน โดยใชระบบคุณธรรมในการประเมิน<br />

ผลงานพิจารณาผลงาน ระดับความสามารถและศักยภาพของพนักงาน ตลอดจนจัดสรรสวัสดิการ<br />

หาหลักสูตรเพิ่มพูนความสามารถใหพนักงาน การอนุมัติทุกอยางตองผานฉันทามติของ<br />

คณะกรรมการ


134<br />

หลักการสรางคนของเครือซิเมนตไทย จะเนนสงเสริมพนักงานจากภายใน ไมจางคน<br />

นอกเขามาเปนผูบริหาร เวนแตบริษัทมีความจําเปนเนื่องจากพัฒนาคนรองรับในตําแหนงไมทัน<br />

เนนการจางระยะยาวและสงเสริมใหพนักงานมีความกาวหนาในอาชีพ(Career Development and<br />

Promotion from Within) นอกจากนี้ยังพัฒนาพนักงานใหกาวหนาไปพรอมกับการเติบโตของ<br />

บริษัท ดวยวิธีการหมุนเวียนงานเปนระยะ ๆ ทําใหพนักงานสามารถทํางานทดแทนกันได อดีตที่<br />

ผานมาบริษัทเคยใหความสําคัญระบบอาวุโสและเลื่อนตําแหนงตามอายุงาน แตปจจุบันไดปรับเปน<br />

การบริหารแนวใหมที่เนนบุคลากรที่มีความสามารถ(Talent Management) เปนแนวคิดหนึ่งที่จะ<br />

สรางความผูกพันระหวางองคกรกับพนักงานที่มีความสามารถ<br />

2.3 มีภูมิคุมกัน จะเห็นวา เครือซิเมนตไทยหลุดพนจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ป 2540<br />

ไดอยางรวดเร็ว เพราะความมีคุณภาพ ความมีวินัยและรวมมือรวมใจของพนักงาน ซึ่งเปนผลพวงมา<br />

จากการบมเพาะอยางตอเนื่องในเรื่องการสรางคนจากภายใน แมวาขณะนั้นบริษัทจะประสบปญหา<br />

อยางหนัก แตบริษัทไมเคยลดกิจกรรมดานพัฒนาพนักงานแมแตหัวขอเดียว เพราะเชื่อวาการพัฒนา<br />

เปนการเตรียมพรอมเพื่อการเติบโตของบริษัทในอนาคต โดยมีโครงการเตรียมความพรอมตั้งแต<br />

การพัฒนาภาวะผูนําอยางตอเนื่อง<br />

กรณีตัวอยางของบริษัทเครือซิเมนตไทยที่เปนองคกรธุรกิจขนาดใหญของประเทศ ก็<br />

ยังประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ดวยเงื่อนไขความรูคูคุณธรรม ซึ่งยึดมั่นในการพัฒนาคน<br />

เพราะเชื่อวา เมื่อคนพรอมดวยความรูความสามารถแลว ยังตองเปนคนที่มีคุณธรรมจริยธรรมที่<br />

ถูกตองดีงาม ซื่อสัตยสุจริต มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ ตรงตอเวลา อดทน มัธยัสถ เรียบงาย มีความ<br />

เพียรและใชสติปญญาในการทํางาน ฉะนั้นเงื่อนไขของพฤติกรรม 2 ดานของบุคลากรจะทําใหใน<br />

เครือซิเมนตไทยเกิดขอไดเปรียบในการแขงขันเชิงธุรกิจ<br />

ดังนั้นหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะนําไปประยุกตใชไดกับทุกองคกรและ<br />

ทุกขนาด เชน ธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ องคกรระดับชุมชนทองถิ่น ประเทศชาติ<br />

ตลอดจนระดับปจเจกบุคคล ซึ่งจะทําใหการดํารงชีวิตอยู ในสายกลางของความพอเพียง ชีวิตก็จะ<br />

พบแตความสุขและความเจริญที่ไมเดือดรอนและเกิดการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน เหมือนกับธุรกิจ<br />

ในระบบทุนนิยมเสรี ที่เขาลักษณะของปลาใหญกินปลาเล็ก มือใครยาวสาวไดสาวเอา ซึ่งปญหา<br />

ตามมาก็เปนดังกรณีการยึดครองตลาดทุนวอลสตรีทส (Occupy Wall Street) เปนตน<br />

การนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในระดับบุคคล<br />

การดําเนินชีวิตประจําวันดวยคําวา รูจักพอ เปนการดําเนินชีวิตตามหลักสายกลาง รูจัก<br />

ประมาณตนเอง ตามกําลังความสามารถในการหามาไดและการใชไปอยางมีเหตุผลไมฟุงเฟอ หรือ


135<br />

ใชอยางอัตคัด จนทําใหตนเองไดรับความยากลําบาก การใชชีวิตสายกลางนี้จึงทําใหเกิดภูมิคุมกัน มี<br />

ชีวิตมั่นคงในระยะยาว ตามที่คนสวนใหญคิดวาการมีชีวิตที่พอเพียงเปนเพราะมีฐานะยากจน หรือ<br />

เหมาะสมกับคนยากจนเทานั้น ซึ่งแทจริงแลวเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อน หากจะยกตัวอยาง ของ<br />

2 อภิมหาเศรษฐีระดับโลกผูยิ่งใหญ เชน บิลเกตส และวอรเรน บัพเฟตต หลายคนคงจะเคยไดยิน<br />

ชื่อเสียงและไดเคยอานประวัติที่นาชื่นชมของนักธุรกิจที่ประสบผลสําเร็จในชีวิต เปนคนที่รวยที่สุด<br />

และที่สําคัญเปนคนที่มีใจบุญสุนทานที่ยิ่งใหญอีกดวย ดังนั้นเราจะเห็นวาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง<br />

สามารถนําไปใชไดในระดับบุคคลนั้นเปนจริงเพียงใด<br />

ภาพที่ 13 วอรเรน บัพเฟตตและบิล เกตต<br />

ที่มา : http://www.munjeed.com/news_detail.php?id=21755<br />

แงมุมหนึ่งของการใชชีวิตพอเพียงของวอรเรน บัพเฟตต (Warren Buffett) นักธุรกิจ ชาว<br />

อเมริกัน เกิดเมื่อปค.ศ.1930 เปนนักลงทุนตั้งแตวัยเด็กอายุ 11 ป สามารถซื้อไรเล็ก ๆ ไดเมื่ออายุ 14<br />

ป ดวยเงินเก็บจากการรับจางสงหนังสือพิมพ ใชชีวิตที่ผานมาถึงปจจุบันในบานเล็กหลังเดิมขนาด 3<br />

หองนอน ที่ซื้อหลังแตงงาน ในบานหลังนี้มีทุกสิ่งที่ตองการแมจะไมมีรั้วกําแพงลอมรอบ<br />

นอกจากนี้ยังขับรถไปไหนมาไหนตวยตนเอง ไมมีคนขับรถ ไมมีคนคุมกัน ไมเคยเดินทางดวย<br />

เครื่องบินสวนตัว แมจะเปนเจาของบริษัทขายเครื่องบินสวนตัวที่ใหญที่สุดในโลกและมีบริษัทใน<br />

เครือ 63 บริษัท โดยวอรเรนเขียนจดหมายถึงซีอีโอของบริษัทเหลานี้ปละฉบับ เพื่อใหเปาหมาย<br />

ประจําป ไมเคยนัดประชุม หรือโทรคุยกับซีอีโออยางเปนประจําและใหกฎทองแกซีอีโอไว 2 ขอ<br />

คือ กฎขอ 1 อยาทําใหเงินของผูถือหุนเสียหายและกฎขอ 2 อยาลืมกฎขอ 1<br />

การใชชีวิตประจําวันเมื่อกลับถึงบานพักผอน ทําขาวโพดคั่วกิน ดูโทรทัศน ไมสมาคมกับ<br />

พวกไฮโซ ไมใชโทรศัพทมือถือ ไมมีคอมพิวเตอรบนโตะทํางานและยังไดแนะนําเยาวชนคนหนุม<br />

คนสาวใหหลีกหางจากบัตรเครดิตและลงทุนในตัวเอง ดังนั้นเราจะเห็นภาพสองดานของ<br />

วอรเรน บัพเฟตต ในฐานะของผูที่เกิดและดําเนินชีวิตอยูในระบบทุนนิยมเสรี แตการใช


136<br />

ชีวิตประจําวันของเขาทั้งในการดําเนินธุรกิจและชีวิตสวนตัวกลับตรงขามกับระบบทุนนิยมสิ้นเชิง<br />

เพราะภาพที่ปรากฏเปนการใชชีวิตอยางพอเพียงที่สามารถใชศักยภาพของตนเองอยางเต็มที่และมี<br />

คุณธรรม เชน การใหขอคิด ดี ๆ แกสังคม การทําตัวเปนแบบอยางที่ดี การเปนผูกตัญูของวอรเรน<br />

ทุกครั้งที่กลาวถึงความสําเร็จของตนเองก็จะพูดถึงศาสตราจารยเบนจามิน เกรแฮม อาจารยที่เขาได<br />

ศึกษาปรัชญาการลงทุนดวย ตลอดจนการเอื้อเฟอแบงปนดวยการบริจาค 85 % ของทรัพยสินใน<br />

บริษัท ประมาณ 31,000 ลานดอลลาร จนไดขอสรุปที่วา วอรเรน บัพเฟตต มองทะลุวัตถุนิยมและ<br />

เห็นความหมายที่แทจริงของชีวิต<br />

สําหรับ บิล เกตต (Bill Gates) หรือชื่อเต็มวา วิลเลียม เฮนรี เกตส ที่สาม เปนนักธุรกิจ<br />

ชาวอเมริกันอีกคนหนึ่ง เกิดเมื่อปค.ศ.1955 บิล เกตส ครองตําแหนงอภิมหาเศรษฐีหมายเลข 1 ของ<br />

โลกมา 12 ปติดตอกัน เพราะมีทรัพยสินกวา 50,000 ลานดอลลาร(ประมาณ 2 ลานลานบาท) และได<br />

เกษียณจากงานประจําที่ไมตองไปทํางานทุกวัน เมื่ออายุเพียง 50 ป ขณะที่ยังมีสุขภาพสมบูรณ โดย<br />

ทุมเทเวลาสวนใหญใหกับมูลนิธิเพื่อการกุศลที่เขาและภรรยาตั้งขึ้น ชื่อวา Bill & Melinda Gates<br />

Foundation มูลนิธินี้มีคําขวัญวา Bringing innovations in health and learning to the global<br />

community หมายถึง เพื่อนํานวัตกรรมดานสุขภาพและดานการเรียนรูไปสูชุมชนโลก (ไสว บุญมา.<br />

2552. ออนไลน) คําขวัญนี้สะทอนความตั้งใจที่ตองการจะใชสมบัติสวนใหญและความรู<br />

ความสามารถของเขาชวยขจัดโรครายในโลก โดยสนับสนุนโครงการตาง ๆ 10,500 ลานดอลลาร<br />

30 % บริจาคใหโครงการในสหรัฐ 70 % บริจาคใหโครงการในประเทศตาง ๆ กวา 100 ประเทศ<br />

โดยเฉพาะโครงการเพื่อขจัดโรคราย เชน เอดส มาลาเรีย วัณโรคและเพื่อปลูกฝ ฉีดยาใหเด็กเกิด<br />

ใหมในประเทศดอยพัฒนา นอกจากนี้ บิล เกตส เปนคนประหยัดในการใชจายสวนตัว แตเต็มที่กับ<br />

การใหแกสังคมและรักบานเกิดอยางสุดซึ้ง จึงไดยายสํานักงานใหญของบริษัทไปตั้งในยานบานเกิด<br />

ที่เปนเมืองเล็ก ๆ จากนั ้นไดชวยพัฒนาจนเปนเมืองชั้นนํา<br />

ตัวอยางของมหาเศรษฐีโลกทั้ง 2 ที่ใชชีวิตอยางพอเพียงสามารถเปนแบบอยางสะทอนถึง<br />

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งในแงของการบริหารองคกรและสวนตัวซึ่งเปนปรัชญาที่<br />

สอดคลองกับจริยธรรมทางธุรกิจของผูบริหารที่ประสบความสําเร็จระดับโลก ที่สามารถนํามาเปน<br />

แบบอยางไดทั้งกับบุคคลที่อยูในวงการเดียวกัน หรือบุคคลทั่วไปที่จะนํามาเปนบุคคลตัวอยางที่<br />

สรางแรงบันดาลใจสูการดําเนินชีวิตอยางมีเปาหมายของตนได<br />

แนวคิดการพัฒนาและแกปญหาเกษตรทฤษฎีใหม<br />

ตลอดระยะเวลากวา 60 ปที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงงานเพื่อแกปญหา ปาก<br />

ทองและปญหาอื่น ๆ มากมายใหแกประชาชนชาวไทย ดวยโครงการในพระราชดําริกวา 4,000


137<br />

โครงการและอีกหนึ่งโครงการที่สามารถนํามาแกปญหาดานการเกษตรใหกับเกษตรกรไทย อันเปน<br />

รากเหงาดั้งเดิมของสังคมไทยใหสามารถรักษาวิถีชีวิตความเปนอยู เสถียรภาพของประเทศชาติให<br />

มั่นคงจากการพัฒนาประเทศที่ตองการกาวไปสูสังคมอุตสาหกรรม ใหสามารถรักษาสมดุลกับ<br />

รากฐานและจิตวิญญาณดานการเกษตรที่มั่นคงและมีความยั่งยืนอยางแทจริง<br />

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชทานทฤษฎีใหมนี้แกพสกนิกรชาวไทย โดยใช<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการในการทําการเกษตร มีขั้นตอนดังนี้<br />

ขั้นที่ 1 ทฤษฎีใหมขั้นตน มีวัตถุประสงคเพื่อสรางเสถียรภาพของการผลิต เสถียรภาพ<br />

ดานอาหารประจําวัน ความมั่นคงของรายได ความมั่นคงของชีวิตและความมั่นคงของชุมชนชนบท<br />

เปนเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากขึ้น จากการพิจารณาพื้นฐานของเกษตรกรที่มีฐานะคอนขางยากจน มี<br />

พื้นที่จํานวนนอย ตองอาศัยน้ําฝนเปนหลัก โดยการจัดสรรพื้นที่ทํากินและที่อยูอาศัยโดยเฉพาะใน<br />

เขตที่ใชน้ําฝนทํานาเปนหลัก จะมีความเสี่ยงสูงในการไดผลผลิตขาวในระดับต่ํา ไมเพียงพอตอการ<br />

บริโภค ใหดําเนินการในพื้นที่ทํากินที่มีขนาดเล็ก ประมาณ 15 ไร ดวยการแบงพื้นที่การเกษตร<br />

ออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30:30:30:10 คือ สวนที่ 1) ขุดสระกักเก็บน้ํา จํานวน 30 % ของพื้นที่<br />

สวนที่ 2) ปลูกขาว จํานวน 30 % ของพื้นที่ สวนที่ 3) ปลูกไมผล ไมยืนตน และสวนที่ 4) เปนพื้นที่<br />

ที่ใชสรางสิ่งปลูกสราง เชน ที่อยูอาศัย โรงเรือนเลี้ยงสัตว ฉาง จํานวน 10 % ของพื้นที่ การกําหนด<br />

สัดสวนพื้นที่ทั้งหมดสามารถปรับลดหรือเพิ่มได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของสภาพพื้นที่แต<br />

ละแหง เชน ครอบครัวหนึ่งมีสมาชิกจํานวน 4 คน พื้นที่มีแหลงน้ําใชไดตลอดทั้งป แตดินมีความ<br />

อุดมสมบูรณต่ําก็ควรปรับลดพื้นที่ขุดสระและเพิ่มพื้นที่นาขาวเพื่อใหมีขาวบริโภคเพียงพอตลอด<br />

ทั้งป เปนตน การดําเนินตามแนวการทําเกษตรทฤษฎีใหม เพื่อการผลิตทางเกษตรกรรมที่ยั่งยืน<br />

สําหรับเกษตรกรชาวไทย<br />

ภาพที่ 14 การแบงพื้นที่ทํากินตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม<br />

ที่มา : http://www.kasetporpeang.com


138<br />

เมื่อเกษตรกรมีความเขาใจในหลักการและลงมือปฏิบัติ จนถึงขั้นที่สามารถพออยูพอกิน<br />

แลว ก็จะสามารถกาวไปในขั้นตอไป คือ พอมีอันจะกิน<br />

ขั้นที่ 2 ทฤษฎีใหมขั้นกลาง ตอเนื่องจากการดําเนินการภายในที่ดินของตนเองจนไดผล<br />

แลว จึงเริ่มขั้นที่สองคือ เกษตรกรรวมพลังกันเปนกลุม หรือสหกรณ รวมแรง รวมใจกันดําเนินการ<br />

ในดานตาง ๆ ดังนี้<br />

2.1 การผลิต เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิต เริ่มตั้งแตขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ<br />

พืช ปุย การหาน้ํา และอื่น ๆ เพื่อการเพาะปลูก<br />

2.2 การตลาด เมื่อมีผลผลิตแลว จะตองเตรียมการเพื่อขายผลผลิตใหไดประโยชน<br />

สูงสุด เชน การเตรียมลานตากขาวรวมกัน การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเครื่องสีขาว ตลอดจน<br />

การรวมกันขายผลผลิตใหไดราคาดีและลดคาใชจายลงดวย<br />

2.3 ความเปนอยู ในขณะเดียวกันเกษตรกรตองมีความเปนอยูที่ดีพอสมควร โดยมี<br />

ปจจัยพื้นฐานในการดํารงชีวิต เชน อาหารการกินตาง ๆ กะป น้ําปลา เสื้อผา ที่พอเพียง<br />

2.4 สวัสดิการ แตละชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการที่จําเปน เชน มีสถานีอนามัย<br />

ไวยามปวยไข หรือมีกองทุนใหกูยืม เพื่อประโยชนในกิจกรรมตาง ๆ<br />

2.5 การศึกษา โรงเรียนและชุมชนมีบทบาทในการสงเสริมการศึกษา เชน มีกองทุน<br />

เพื่อการศึกษาเลาเรียนใหแกเยาวชนของชุมชนเอง<br />

2.6 สังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนศูนยกลางในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมี<br />

ศาสนาเปนที่ยึดเหนี่ยว<br />

ขั้นที่ 3 ทฤษฎีใหมขั้นกาวหนา เมื่อเกษตรกรมีรายไดดีขึ้น ฐานะมั่นคงขึ้น เกษตรกรหรือ<br />

กลุมเกษตรกรควรพัฒนากาวไปสูขั้นที่สามคือ ติดตอประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหลงเงิน<br />

เชน ธนาคาร หรือบริษัทหางรานเอกชน มาชวยในการทําธุรกิจ การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

ทั้งนี้ทุกฝายที่รวมมือกันจะไดรับประโยชนรวมกัน กลาวคือ<br />

3.1 เกษตรกรขายขาวไดในราคาสูง ไมถูกกดราคา<br />

3.2 ธนาคารกับบริษัทสามารถซื้อขาวบริโภคในราคาต่ํา เพราะสามารถซื้อ<br />

ขาวเปลือก โดยตรงจากเกษตรกรมาสีเองได<br />

3.3 เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคไดในราคาต่ํา เพราะรวมกันซื้อเปนจํานวน<br />

มาก (เปนรานสหกรณ ซื้อในราคาขายสง)


139<br />

ดังนั้นจะเห็นวาการทดลองวิจัยเชิงปฏิบัติการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูไดดําเนินงาน<br />

มาเปนเวลานานตั้งแตปพ.ศ.2532 และนําองคความรูเผยแพรในปพ.ศ.2537 จนถึงปจจุบันไดมีการ<br />

นําเอาเกษตรทฤษฎีใหมไปทําการขยายผลอยางกวางขวางขึ้น ซึ่งพระองคไดมีพระราชดํารัสที่ใหสติ<br />

และกําลังใจสําหรับผูที่นําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหมของพระองคไปใชจะตองมี<br />

ความเพียร ตองอดทน ไมใจรอน ความสําเร็จที่เกิดขึ้นจะทําใหประเทศชาติเจริญ ประชาชนพอมีอัน<br />

จะกิน เกิดความสงบสุข ความรมเย็นในชีวิตรวมกันในที่สุด<br />

สรุป<br />

จริยธรรมกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสัมพันธในหลักแนวคิด การวิเคราะห<br />

แยกแยะเหตุการณ เพื่อเลือกแนวทางการแกไขและการจัดการกับปญหาไดอยางถูกตองและ<br />

เหมาะสม เกิดความสมดุลของธรรมชาติในการดําเนินชีวิตของมนุษย จากประสบการณที่ผานมา<br />

ของประเทศไทยเมื่อประสบวิกฤตเศรษฐกิจ จึงไดนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ<br />

พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวภูมิพลอดุลยเดช มาเปนมรรควิธีที่มีหลักคิด 3 หวง 2 เงื่อนไข คือ<br />

ความมีเหตุผล ความพอประมาณและความมีภูมิคุมกัน โดยมีความรูและใชความรูอยางรอบคอบ<br />

ระมัดระวัง และมีคุณธรรม ความซื่อสัตย ขยัน อดทน มีสติปญญาและรูจักการแบงปน ขณะที่ความ<br />

เขาใจแนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะยังเปนที่ถกเถียง แตผูทรงคุณวุฒิหลายทานไดอธิบายดวย<br />

หลักของความสอดคลองทางเศรษฐศาสตรกระแสหลักในบางประเด็น โดยที่ปรัชญาเศรษฐกิจ<br />

พอเพียงมีความสัมพันธและใหความสนใจไมแยกมนุษยออกจากคุณงามความดีทางจริยธรรม<br />

ดังนั้นการนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต จึงสามารถประสบความสําเร็จ ดังตัวอยางของ<br />

ชุมชนพอเพียงอินแปง องคกรธุรกิจขนาดใหญ เชน บริษัทเครือปูนซิเมนตไทยที่นําไปใชในดาน<br />

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล แมแตอภิมหาเศรษฐีระดับโลกอยาง วอรเรน บัพเฟตตและบิล เกตต ก็<br />

ดําเนินชีวิตสวนตัวอยางพอเพียง จึงนับไดวาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปใชไดทั้งในระดับ<br />

บุคคล ระดับธุรกิจชุมชนและธุรกิจขนาดใหญ สําหรับแนวคิดการพัฒนาและแกปญหาเกษตรทฤษฎี<br />

ใหม ที่ไดพระราชทานแกพสกนิกรชาวไทย เพื่อใหรูจักการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการทํา<br />

เกษตรอยางเปนระบบ โดยปรับสัดสวนการแบงพื้นที่ตามอัตราสวน 30: 30: 30: 10 ใหเหมาะสมกับ<br />

ขนาดของที่ดิน ตอมาทําการผลิตและมีการรวมกลุม รวมแรงรวมใจใหเกิดพลังกลุมชุมชน ซึ่งจะทํา<br />

ใหเกษตรกรมีความเขมแข็ง มีอํานาจตอรองและมีความกาวหนาพึ่งพาตนเองไดในที่สุด


140<br />

กรณีศึกษา<br />

สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ<br />

(กปร.) ไดประมวลพระราชดํารัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม (แนวพระราชดําริ<br />

เศรษฐกิจพอเพียง. ออนไลน. 2554) ไวดังนี้ "เศรษฐกิจพอเพียง" และ "ทฤษฎีใหม" "...มีพอ<br />

เพียงพอกินนี้ ก็แปลวา เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนมีพอมีพอกินก็ใชได... พอเพียงนี้<br />

หมายความวา มีกินมีอยูไมฟุมเฟอย ไมหรูหราก็ได แตวาพอ แมบางอยางอาจจะดูฟุมเฟอย แตก็ทํา<br />

ใหมีความสุขถาทําได ก็สมควรที่จะทํา สมควรที่จะปฏิบัติ อันนี้ก็ความหมายอีกอยางของเศรษฐกิจ<br />

หรือระบบพอเพียง ไดแปลพอเพียงนี้ คือ ตอนที่พูดพอเพียง แปลในใจแลวก็ไดพูดออกมาดวยวาจะ<br />

แปลเปน Self-sufficiency ถึงไดบอกวาพอเพียงแกตนเอง แตความจริงเศรษฐกิจพอเพียงนี้<br />

กวางขวางกวา Self-sufficiency ซึ่ง Self-sufficiency นี้ หมายความวา ผลิตอะไรมีพอที่จะใชไม<br />

ตองไปขอยืมคนอื่น อยูไดดวยตนเอง ที่อื่นเขาแปลจากภาษาฝรั่งกันวาใหยืนบนขาตัวเอง คําวายืน<br />

บนขาตัวเองนี้ มีคนบางคนเขาพูดวา ชอบกล ใครจะมายืนบนขา คนอื่นมายืนบนขาเรา เราก็โกรธ<br />

แตตัวเอง ยืนบนขาตัวเองก็หกลมอันนี้ก็เปนความคิดที่มันอาจจะเฟองไปหนอย แตวาเปนตามที่เขา<br />

เรียกวายืนบนขาของตัวเอง หมายความวา 2 ขาของเรานี่ยืนบนพื้นใหอยูไดไมหกลม ไมตองไปขอ<br />

ยืมขาคนอื่นมาใชเพื่อที่จะยืนอยู แตวาพอเพียงนี้มีความหมายกวางกวา ยิ่งกวานี้อีก คือ คําวา พอก็<br />

เพียง พอเพียงนี่ก็พอ คนเราถาพอในความตองการมันก็มีความโลภนอย เมื่อมีความโลภนอยก็<br />

เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาประเทศใดมีความคิดอันนี้ไมเศรษฐกิจ มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง<br />

หมายความวา พอประมาณไมสุดโตง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงนี้อาจจะมีมาก<br />

อาจจะมีของหรูหราก็ได แตวาตองไมเบียดเบียนคนอื่น ตองใหพอประมาณ พูดจาก็พอเพียง ทํา<br />

อะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง ... ...พูดเหมือนวาจะอวดตัววาเกง แตวาตกใจตัวเอง วาที่พูด<br />

ไปใชงานได จึงมาสรุปเปนทฤษฎีใหม และเมื่อเปนทฤษฎีใหมก็ใหไปที่มูลนิธิชัยพัฒนา แลวเขียน<br />

ขางใตวาเปนทฤษฎีใหม เปนของมูลนิธิชัยพัฒนานั้น<br />

คําถาม จากพระราชดํารัส ..พอเพียง.. ไดใหบทเรียนทางจริยธรรมในเรื่องใดบาง อยางไร<br />

ตอมาคนก็ไดเห็นอันนี้วาใชได แลวก็ไปปฏิบัติที่ที่แหงแลง นี่ก็เคยเลาใหฟงแลวที่อําเภอ<br />

เขาวง จังหวัดกาฬสินธุ ก็ไดผลดี ที่ตรงนั้น 12 ไร ปหนึ่งเขาก็มีขาวกิน ที่ไปเยี่ยมไมมีขาวกิน มีเพียง<br />

ไมกี่เม็ดตอรวง เมื่อชาวบานแถวนั้นเห็นวาดี ก็ขอใหชวย ปตอไปก็เปน 10 ไร ปตอ ๆ ไปก็เปน 100<br />

เปน 200 และขยายออกไปในภาคอื่น ก็ดวยเปนการปฏิบัติตามทฤษฎีใหมก็ไดผล แลวก็เมื่อเปน<br />

ทฤษฎีใหมนี้ ก็มาเขาเปนเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง ก็คนที่ทํานี้ตองไมฟุงซาน ไมฟุงเฟอ แลวเขียน<br />

ไวในทฤษฎีนั้นวา ลําบากเพราะวาผูปฏิบัตินี้ตองมีความเพียร และตองอดทนไมใชวาทําไดทุกแหง<br />

ตองเลือกที่และคอย ๆ ทําไปก็จะสามารถที่จะขยายความคิดของทฤษฎีใหมนี้ ไปไดโดยดัดแปลง


141<br />

ทฤษฎีนี้ แลวแตสถานที่แลวแตสภาพของภูมิประเทศ... ...อันนี้ถึงบอกวา เศรษฐกิจพอเพียง หรือ<br />

ทฤษฎีใหม นี้ 2 อยางนี้จะนําความเจริญแกประเทศได แตตองมีความเพียร แลวตองอดทน ตองไม<br />

ใจรอน ตองไมพูดมาก ตองไมทะเลาะกัน ถาทําไดโดยเขาใจกัน เชื่อวาทุกคนจะมีความพอใจได<br />

..." พระราชดํารัส พระราชทานแดคณะบุคคลตาง ๆ ที่เขาเฝาถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสวัน<br />

เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต 4 ธันวาคม 2541<br />

คําถาม จากพระราชดํารัส แนวคิดทฤษฎีที่พระราชทานสามารถนําไปประยุกตให<br />

ประสบผลสําเร็จไดดวยมรรควิธีใด อยางไร


142<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 6<br />

ฉลองภพ สุสังกรกาญจน. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงกับวิกฤตเศรษฐกิจ. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.<br />

ชัยอนันต สมุทวนิช. (2541). ทฤษฎีใหม : มิติที่ยิ่งใหญทางความคิด. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.<br />

แนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://www.rdpb.go.th/RDPB/front/SufficiencyEconomy.aspx?p=4<br />

เศรษฐกิจพอเพียง. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.sufficiencyeconomy.org<br />

/view-detail.html<br />

เสรี พงศพิศ. (2552). วิถีสูชุมชนพอเพียง. กรุงเทพฯ : เจริญวิทยการพิมพ.<br />

ไสว บุญมา. (2552). ความพอเพียงของบิล เกตส. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=iamlady&month=02-<br />

009&date=18&group=22&gblog=19<br />

อภิชัย พันธเสน. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงในฐานะรูปแบบที่พึงปรารถนาของระบบสวัสดิการ<br />

สังคมไทย. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.<br />

HR แบบพอเพียงฉบับศึกษา เครือซิเมนตไทย. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://www.hrtothai.com<br />

MBA. (2543). วิกฤตตมยํากุง เผ็ดรอนแบบไทย. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://mbamagazine.net/home/index.php/blog/43-bizandfinance/160--m-m-s.


บทที่ 7<br />

การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ<br />

ประเทศในทุกภูมิภาคทั่วโลก มีที่ตั้งทางภูมิศาสตรและภูมิประเทศที่แตกตาง ทําใหมีวิถี<br />

ชีวิตความเปนอยู ความคิด ความเชื่อ คานิยม ศาสนาและวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณเฉพาะตนและ<br />

บางสิ่งบางอยางอาจมีลักษณะที่รวมกัน เชน ความดีที่เปนสากล ซึ่งเปรียบเสมือนความเค็มของเกลือ<br />

ไมวาจะอยูที่ใด เกลือก็ยังคงความเค็มในความเปนเกลือฉันนั้น ดังนั้นการกําหนดคุณลักษณะของ<br />

ความเปนคนดีที่พึงประสงคของแตละประเทศ ไมไดเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แตเกิดจากการขัดเกลา<br />

ทางสังคมผานสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนาและปจจัยที่มีอิทธิพลตอการ<br />

ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม ไดแก บทบาทของรัฐ บทบาทของผูนํา บทบาทของสื่อมวลชน ชุมชน<br />

และสังคม ความสําเร็จของแตละประเทศแตกตางกันไปตามกระบวนการปลูกฝงคุณธรรม<br />

จริยธรรมที่ไดเลือกใช ตลอดจนอิทธิพลของปจจัยภายนอกที่เขาครอบงําสังคมของประเทศนั้น<br />

รวมถึงภูมิคุมกันที่สังคมในประเทศนั้นมีอยู มากนอยเพียงใด<br />

คุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ<br />

เจือจันทร จงสถิตอยูและรุงเรือง สุขาภิรมย (2550 : 9-231) ไดศึกษาสังเคราะหงานวิจัย<br />

เกี่ยวกับคุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศ 3 กลุม คือ กลุมเอเชีย<br />

5 ประเทศไดแก สาธารณรัฐเกาหลี ไตหวัน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ศรีลังกาและอินเดีย<br />

กลุมประเทศในยุโรป 3 ประเทศ ไดแก ฟนแลนด สหพันธสาธารณรัฐเยอรมันและสวิตเซอรแลนด<br />

กลุมประเทศในอเมริกาเหนือและแปซิฟคใต ไดแก แคนาดาและนิวซีแลนด ไวอยางนาสนใจซึ่งจะ<br />

ไดนํามาสรุป วิเคราะหใหไดศึกษาถึงคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมของประเทศเหลานั้น<br />

ตลอดจนกระบวนการในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม ที่สงผลใหประเทศเหลานั้นไดรับการ<br />

ยอมรับในฐานะที่เปนประเทศที่พัฒนาแลว และสําหรับความเห็นใจในฐานะที่เปนประเทศกําลัง<br />

พัฒนา<br />

คุณลักษณะคุณธรรมจริยธรรมของแตละประเทศ ที่มีขอเหมือนกันและขอที่ตางกัน ซึ่ง<br />

สามารถแยกไดดังนี้


144<br />

1. คุณลักษณะของคุณธรรมจริยธรรมที่เหมือนกัน หรือรวมกันของกลุมประเทศ<br />

1.1 กลุมประเทศในเอเชีย มีคุณลักษณะรวม คือ<br />

1) ความขยัน อดทน ทํางานหนักและรักการศึกษาหาความรู ไดแก คนเกาหลี<br />

ไตหวัน เวียดนามและอินเดีย<br />

2) ความกตัญู ไดแก คนเกาหลี เวียดนามและศรีลังกา<br />

3) ความรักชาติ ไดแก คนเกาหลีและเวียดนาม<br />

4) ความออนนอม ไดแก คนไตหวันและศรีลังกา<br />

5) ความประหยัด ไดแก คนไตหวันและอินเดีย<br />

6) ความซื่อสัตย ไดแก คนศรีลังกาและไตหวัน<br />

7) ความมีวินัย เครงครัดในระเบียบ ไดแก คนเกาหลีและไตหวัน<br />

8) รูจักหนาที่ รับผิดชอบ ไดแก คนเกาหลีและอินเดีย<br />

1.2 กลุมประเทศยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต มีคุณลักษณะรวม คือ ความมี<br />

วินัย ความรับผิดชอบและความซื่อสัตยสุจริต ไดแก ประเทศฟนแลนด สวิตเซอรแลนด เยอรมัน<br />

แคนาดา นิวซีแลนด จนกระทั่งประเทศเหลานี้ไดรับการยอมรับและไววางใจจากนานาประเทศ<br />

เชน 1) ประเทศสวิตเซอรแลนด กลายเปนประเทศที่มีอุตสาหกรรมขนาดใหญดานการเงินการ<br />

ธนาคาร 2) ประเทศฟนแลนดไดรับการจัดอันดับจากองคกรความโปรงใสสากล ใหเปนประเทศที่<br />

มีการฉอราษฎรบังหลวงนอยที่สุดติดตอกันหลายป 3) ประเทศเยอรมันไดรับการยอมรับเปน<br />

ประเทศที่มีความเจริญกาวหนาอยางมากในทุกดานอยางสมดุล ยั่งยืนดวยคุณภาพของคนเยอรมัน<br />

2. คุณลักษณะของคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตางของกลุมประเทศ<br />

2.1 กลุมประเทศในเอเชีย คุณลักษณะเฉพาะที่เดนของแตละประเทศ เชน คนเกาหลี<br />

มีความละอายตอการกระทําผิด มีความเสียสละสวนตนเพื่อสวนรวม มีความมุงมั่นตั้งใจ สวนคน<br />

ไตหวันมีจิตสํานึกเรื่องการตรงตอเวลา การใชเวลาใหเปนประโยชน ตื่นตัวทางการเมือง กลาให<br />

กลาบริจาค สําหรับคนอินเดียเชื่อในโชคชะตา จึงมุงทํากรรมดี ชอบความเรียบงาย สะดวกและ<br />

อหิงสา นอกจากนั้นคนศรีลังกายังใชชีวิตอยางพอเพียง<br />

2.2 กลุมประเทศยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต แตละประเทศจะมีคุณลักษณะ<br />

เดนเฉพาะของตนเอง เชน ประเทศสวิตเซอรแลนดจะเดนเรื่องตรงตอเวลา มีความละเอียดออน<br />

สวนคนเยอรมันเปนคนขยันขันแข็ง มีความสามัคคีในการทํางาน ประหยัด ชาวแคนาคามีความเปน<br />

เหตุเปนผล มีจิตใจเขมแข็ง อดทน รักสันติและมีความเปนกลาง


145<br />

ประมวลลักษณะเดนดานคุณธรรมจริยธรรมของคนในประเทศตาง ๆ (เจือจันทร จงสถิตอยู<br />

และรุงเรือง สุขาภิรมย. 2550 : 13) ดังนี้<br />

ประเทศ<br />

คุณลักษณะเดนดานคุณธรรมจริยธรรม<br />

เกาหลี ขยัน อดทน ทุมเทการทํางาน รักชาติ รักองคกร กตัญู รักการศึกษา มีวินัย เคารพ<br />

ในผูอาวุโส รูหนาที่และปฏิบัติอยางแข็งขัน<br />

ไตหวัน ทํางานหนัก ประหยัด อดทน จริงจัง ขยันศึกษาหาความรู ออนนอม เครงครัดใน<br />

ระเบียบวินัย มีสํานึกและตื่นตัวเรื่องเวลา การเมือง กลาบริจาค เปนตัวของตัวเอง<br />

และมีความเชื่อวาชีวิตตองตอสูจึงจะชนะ<br />

เวียดนาม ขยัน อดทน รักชาติ กตัญู รักการศึกษาเลาเรียน<br />

ศรีลังกา ออนนอม กตัญู เคารพในอาวุโส ซื่อตรง รับผิดชอบตอตนเองและใชชีวิตแบบ<br />

พอเพียง<br />

อินเดีย ขยัน ประหยัด อดทน ขยันอานหนังสือ คนควาหาความรู รูจักแยกแยะและ<br />

รับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย เรียบงาย เครงครัดในศาสนาและวัฒนธรรม<br />

เชื่อโชคชะตา จิตใจออนโยน ไมเบียดเบียน<br />

สวิตเซอรแลนด ตรงตอเวลา ซื่อสัตยสุจริต รับผิดชอบ ใสใจและพิถีพิถัน มีวินัย<br />

เปนตัวของตัวเอง<br />

ฟนแลนด ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย<br />

เยอรมัน มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ รูจักหนาที่ สุจริต ซื่อตรง ตรงตอเวลา ประหยัด<br />

แคนาดา มีระเบียบวินัย เปนคนมีเหตุผล มีจิตใจเขมแข็ง รักสันติ อดทนอดกลั้น ไมนิยม<br />

ความรุนแรง ใหเกียรติเพื่อนมนุษย ใฝรู รักการอาน<br />

นิวซีแลนด มีวินัย ซื่อสัตย เคารพในความแตกตาง เคารพคนอื่น<br />

ญี่ปุน ตรงตอเวลา รับผิดชอบ ออนนอมถอมตน ซื่อสัตยสุจริต จงรักภักดี ประหยัด ใส<br />

ใจรายละเอียด ทํางานเปนทีม รูคุณคน สะอาดเปนระเบียบ แยกแยะเรื่องสวนตัว<br />

และหนาที่ ทํางานอยางกระตือรือรน<br />

อังกฤษ ตรงตอเวลา มีระเบียบ รักษาความสะอาด อิสระ ประหยัดรูคาเงิน รักการผจญภัย


146<br />

คุณลักษณะดานจริยธรรมของประเทศแตละกลุม จะมีลักษณะที่คลายคลึง หรือใกลเคียง<br />

กัน เชน คนในกลุมเอเชียที่มีลักษณะของคนที่ออนนอมถอมตน เคารพผูอาวุโส มีความขยันอดทน<br />

กตัญู ใฝรูใฝเรียนและมีความเชื่อในเรื่องของบุญกุศล การใหทาน สวนกลุมยุโรปอเมริกาเหนือ<br />

และแปซิฟคใต จะมีลักษณะของคนที่มีระเบียบวินัย รับผิดชอบ เปนตัวของตัวเอง มีเหตุมีผล<br />

เคารพผูอื่นและเคารพในความแตกตาง สิ่งเหลานี้ลวนเกิดจากปจจัยที่แตกตางกันทั้งดานสภาพ<br />

ภูมิศาสตร ประวัติศาสตรความเปนมา ประสบการณและบทเรียนของแตละประเทศ ปรัชญา หลัก<br />

คําสอน ความเชื่อ วัฒนธรรม บทบาทของผูนํา ซึ่งลวนมีอิทธิพลตอพฤติกรรมที่เปนคุณลักษณะ<br />

ดานคุณธรรมจริยธรรมของคนในกลุมประเทศนั้น ๆ<br />

บทบาทของสถาบันที่ทําหนาที่ขัดเกลาคุณธรรมจริยธรรม<br />

การขัดเกลาทางสังคมเปนปจจัยที่เชื่อวาเปนกุญแจของความสําเร็จในการปลูกฝง<br />

คุณธรรมจริยธรรมของคนแตละประเทศ ซึ่งนักวิชาการตาง ใหการยอมรับถึงความสําคัญของการ<br />

ขัดเกลาทางสังคมที่มีตอการพัฒนาพฤติกรรมของบุคคลใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามที่สังคม<br />

ตองการ การที่บุคคลคนหนึ ่งจะเรียนรูวาเมื่อตนอยูในฐานะตําแหนงใด ควรมีบทบาทอยางไรไดนั้น<br />

เปนเพราะไดรับการอบรมใหรูระเบียบสังคม ดวยความเชื่อที่วา มนุษยเราสามารถฝกฝนได สถาบัน<br />

ทางสังคมที่มีบทบาทในการทําหนาที่ ไดแก สถาบันครอบครัว ซึ่งเปนหนวยแรกที่มีอิทธิพลอยาง<br />

สูงตอสมาชิกในครอบครัว เนื่องจากมีความสัมพันธที่ใกลชิดและแนบแนน ลําดับตอมาคือ<br />

สถาบันการศึกษา ที่เปนศูนยรวมของการบมเพาะความรู คุณธรรมจริยธรรมใหแกคนในสังคม ดวย<br />

บทบาทสงเสริมชวยเหลือและประสานงานกับสถาบันครอบครัว ตลอดจนสถาบันทางศาสนาซึ่ง<br />

เปนผูนําทางจิตวิญญาณ ทั้ง 3 สถาบันทําบทบาทหนาที่สําคัญในการใหความชวยเหลือเกื้อกูลกัน<br />

โดยตางฝายตางทําหนาที่เปนเบาหลอมดานความรูและคุณธรรมจริยธรรม โดยที่บรูมและเซลชนิค<br />

(สํานักบริการขอมูลและสารสนเทศ. 2554. ออนไลน; อางอิงจาก Broom and Selznick. 1958.<br />

Sociology: A text with Adapted) อธิบายถึงการขัดเกลาทางสังคมเพื่อจุดมุงหมาย 4 ประการ คือ<br />

1) ปลูกฝงระเบียบวินัย การทําตามระเบียบกฎเกณฑที่สังคมกําหนดที่เปนพื้นฐานสําคัญของการทํา<br />

กิจกรรมและการอยูรวมกัน 2) การปลูกฝงความมุงหวังในชีวิตที่กลุมยอมรับ เชน คานิยม ยกยอง<br />

คนที่มีการศึกษาสูง เมื่อคนมีคานิยมเชนนี้ก็จะมุงหวังและผลักดันตนเองใหบรรลุเปาหมายนั้นใน<br />

ชีวิตของตน 3) การกําหนดบทบาทในสังคม เชน การรูจักวางตัวใหเหมาะสมตามสถานภาพ<br />

ความสัมพันธตอบุคคล สถานที่ เวลา และ 4) การใหเกิดทักษะความชํานาญ เชน การถายทอด<br />

เทคโนโลยี วิชาชีพ เปนตน บทบาทที่องคกรทางสังคม รวมถึงบทบาทของผูนําตาง ๆ ทางสังคม


147<br />

เชน ผูนําการปกครอง ผูนําทางจิตวิญญาณ ผูนํากลุมและองคกรตาง ๆ ตลอดจนประวัติศาสตร การ<br />

ตอสู ประสบการณและบทเรียนตาง ๆ ไดหลอหลอมกลายเปนอุดมการณและปรัชญาในการดําเนิน<br />

ชีวิต ที่มีคุณลักษณะเดนเฉพาะของแตละคน สังคมและประเทศ<br />

บทบาทเปนการแสดงพฤติกรรมทางกาย ความคิด ทัศนคติของคนเรา ซึ่งจะแสดงออก<br />

ตามสถานภาพที่ตนดํารงอยู คนที่อยูในสถานภาพ ตําแหนงที่แตกตางกันก็จะแสดงพฤติกรรมออก<br />

มาตางกัน คนที่แสดงพฤติกรรม ความคิดเหมือนกัน เมื่ออยูในสถานการณที่คลายกัน เทอรเนอร<br />

(Turner. 2002 : 233) ดังนั้นปจจัยที่มีผลตอกระบวนการปลูกฝงคุณลักษณะของคุณธรรมและ<br />

จริยธรรมใหเกิดขึ้นประกอบดวย ปจจัยดังตอไปนี้<br />

1. บทบาทผูนําการปกครอง มีความสัมพันธและเปนปจจัยที่สงผลตอการหลอหลอม<br />

คุณลักษณะของประชากรที่เกิดจากความเชื่อ ความศรัทธาในตัวผูนําก็จะนอมนําคําสั่งสอนนั้นมาใช<br />

ในการดําเนินชีวิต ประเทศในกลุมเอเชียจะมีประวัติศาสตรที่คลายคลึงกันในดานการตอสู เพื่อปลด<br />

แอกตัวเองจากการเปนเมืองขึ้น บทบาทผูนําจึงมีอิทธิพลในการถายทอดอุดมการณและสืบทอดกัน<br />

ตอมา เชน ประเทศเวียดนามมีประธานาธิบดีโฮจิมินห เปนแบบอยางของผูมีความรักชาติ ขยัน<br />

อดทนและเสียสละ ไตหวันมีประธานาธิบดีเจียงไคเช็ค ที่มือสะอาดและมีศีลธรรม อินเดียมี<br />

มหาตมะ คานธี ที่ใชการตอสูแบบอหิงสา การดําเนินชีวิตสมถะ ไมเบียดเบียน ไมใชความรุนแรง<br />

ในการแกปญหา นอกจากเปนแบบอยางที่ดีแลว วิสัยทัศนของผูนําและคุณลักษณะของผูนําก็เปน<br />

สิ่งหลอหลอมประชากรในประเทศนั้น เชน ประธานาธิบดีปารค จองฮี ของเกาหลีใต มีวิสัยทัศน<br />

ในการนําโครงการแซมาอึลวุนดง ซึ่งเปนโครงการพัฒนาชนบทแนวใหมมาสรางรากฐานทาง<br />

เศรษฐกิจแกชุมชนชนบทใหมีความเขมแข็ง พึ่งพาตนเองได โดยใชความขยัน ความมุงมั่น ตั้งใจ<br />

ชวยตัวเองและความรวมมือ การเสียสละแกสวนรวม เหลานี้เปนคุณธรรมจริยธรรมที่สืบทอดสืบ<br />

ตอมาจนถึงปจจุบัน<br />

2. บทบาทผูนําทางจิตวิญญาณ เปนศูนยรวมของความศรัทธาทางศาสนา เชน ประเทศ<br />

ไตหวันที่ภิกษุ ภิกษุณี มีบทบาทในการถายทอดและเปนแบบอยางของการหลอหลอมคุณธรรม<br />

จริยธรรม เชน ภิกษุณีเจิ้งเหยียน ผูกอตั้งองคกรพุทธฉือจี้และใชหลักการพุทธมหายาน ตาม<br />

แนวทางพระโพธิสัตว ผูมีจิตใจเมตตากรุณาตอมวลสรรพสัตวสรรพชีวิตใหพนจากความทุกข<br />

ความเดือดรอน สวนภิกษุซิงหวินและภิกษุเซิ่งเหยียน ไดตั้งองคกรแสงพุทธธรรมและองคกรกลอง<br />

ธรรมะ ซึ่งทั้งสามองคกรที่ไดจัดตั้งขึ้นมีหลักการที่คลายคลึงกันในการใหความชวยเหลือและ<br />

พัฒนาสังคม เผยแผธรรมะ ใหการศึกษา สรางแหลงเรียนรูทางธรรมะ ที่ผานมาบทบาทของผูนําทั้ง<br />

สามทานไดประสบผลสําเร็จในการขยายกลุมเปาหมายไดอยางกวางขวาง ทั้งในประเทศและ<br />

ตางประเทศ ดวยการจัดตั้งสาขาและการใชเครื่องมือสื่อสารเทคโนโลยีขามประเทศ


148<br />

3. ผูนําทางปญญา ไดกลายเปนศูนยรวมความศรัทธา โดยเฉพาะสังคมฝงยุโรปมีเหลา<br />

นักคิด นักปราชญและผูทรงคุณความรู ที่มีอิทธิพลตอการหลอหลอมคุณธรรมจริยธรรมของ<br />

ประเทศ เชน ประเทศสวิตเซอรแลนด มีนักการศึกษาที่มีชื่อวา โยฮาน ไฮริท เพสโตโลสซี่ (Johann<br />

Heinrich Pestalozzi) มีแนวคิดเกี่ยวกับเปาหมายของการศึกษา คือ การสรางคนใหมีคุณธรรมและ<br />

เห็นวาครอบครัว คือ ฐานที่แทจริงของการศึกษา การหลอหลอมคุณธรรมจึงเริ่มที่ครอบครัว<br />

โดยเฉพาะจากแม ไมมีครูคนไหนจะแทนที่ความเปนพอเปนแมไดอยางสมบูรณ สวนประเทศ<br />

เยอรมันมีนักปราชญมากมายหลายสาขาวิชา โดยที่นักปราชญเหลานี้เปนผูวางรากฐานแนวคิดการ<br />

พัฒนาประชาชนของประเทศใหมีคุณภาพและเปนผูมีคุณธรรมจริยธรรม ประพฤติปฏิบัติในทางที่<br />

ถูกที่ควร ผูที่มีอิทธิพลไดแก มารติน ลูเธอร (Martin Luther) นักการศาสนาโดยการเชื่อมโยง<br />

การศึกษากับการศาสนาดวยแนวคิดที่วารัฐจะตองสรางคนใหฉลาดหลักแหลม รูจักรักเกียรติยศ<br />

โดยไมปลอยใหเปนหนาที่ของพอแมอยางเดียว เด็กเล็กตองอานคัมภีรใหแตกฉาน อีกคนที่จะ<br />

กลาวถึงคือ โยฮาน เฟดเดอรริท เฮอรบารท (Johann Friedrich Herbart) มีแนวคิดวาจุดมุงหมายของ<br />

การศึกษา คือ การสรางอุปนิสัยและคุณธรรมเพื่อใหเปนคนดี จึงตองสรางระเบียบความคิด ใหเด็กมี<br />

อิสระในการคิดและความคุนเคยกับความคิดที่ชอบธรรม ใหเห็นแจงดวยตนเองวาอะไรผิดถูก ดีชั่ว<br />

4. ศาสนา ปรัชญาและความเชื่อ มีบทบาทโดยตรงในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของ<br />

ทุกประเทศ จะแตกตางที่ระดับของความเขมขน เชน ประเทศในกลุมเอเชีย ไตหวัน เวียดนามและ<br />

เกาหลี สวนใหญนับถือพุทธนิกายมหายานและไดรับอิทธิพลจากหลักคําสอนของขงจื้อ ศรีลังกา<br />

นับถือพุทธแบบเถรวาท มีหลักคําสอนของพระพุทธเจาเปนรากฐานคุณธรรมมาอยางยาวนาน<br />

อินเดียนับถือฮินดูมีความเครงครัดในศาสนา ประเทศไตหวันมีผูนําองคกรศาสนาที่เปนตัวอยางที่ดี<br />

ทั้งการปฏิบัติสวนตัวและการนําปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ สามารถผลิตนักบวชที่มีคุณภาพ ประเทศ<br />

ศรีลังกามีโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย 8,900 แหง มีผูเขาเรียน 2.2 ลานคนในการถายทอด<br />

คุณธรรมแกเด็กและเยาวชน ประเทศอินเดียสอนจริยธรรมผานคัมภีรพระเวทในศาสนาฮินดู สวน<br />

ประเทศในกลุมยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาคริสต ทุกวัน<br />

อาทิตยครอบครัวก็จะพากันไปโบสถ ปฏิบัติศาสนกิจและพิธีกรรมที่เปนการถายทอดการปลูกฝง<br />

คุณธรรมจริยธรรม<br />

5. บทบาทของสถาบันครอบครัว เปนที่ยอมรับวาครอบครัวมีอิทธิพลตอความคิดและ<br />

พฤติกรรมของสมาชิก ในกลุมประเทศเอเชียครอบครัวจะเปนผูถายทอดคุณธรรมจริยธรรม โดยพอ<br />

แม ปูยา ตายาย หรือผูอาวุโสในครอบครัวและมีหลักคําสอนจากตนแบบบุคคล เชน คําสอนของ<br />

ขงจื้อ คําสอนของลุงโฮ คําสอนของศาสดาในศาสนา สวนกลุมประเทศยุโรป อเมริกาเหนือและ


149<br />

แปซิฟคใต ใหความสําคัญกับครอบครัวอยางสูง เพราะมีบทบาทในการวางรากฐานในการสราง<br />

คุณลักษณะของประชาชนทุกดาน<br />

6. บทบาทสถาบันการศึกษา ประเทศที่เคยบอบช้ําจากภาวะสงคราม เคยตกเปนเมืองขึ้น<br />

หรืออาณานิคมของประเทศมหาอํานาจมากอน จึงไดผานการตอสูกับประเทศมหาอํานาจมาอยาง<br />

ยาวนาน จึงตางมีประสบการณและบทเรียนที่ตองจดจํา ประเทศในกลุมเอเชียนี้ ไดแก อินเดีย<br />

ไตหวัน เกาหลี เวียดนาม ตางใหความสําคัญกับการศึกษาและใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการ<br />

พัฒนา ทั้งดานทักษะและจิตวิญญาณคุณธรรมจริยธรรม โดยเริ่มตั้งแตเด็กและไดจัดไวในหลักสูตร<br />

ใหมีการจัดการเรียนการสอน เพื่อปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมไปตามชวงวัยที่เหมาะสม สําหรับกลุม<br />

ประเทศยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต เปนประเทศที่มีนักคิด นักปราชญและนักการศึกษาใน<br />

สาขาวิชาตาง ๆ มากมายและไดวางฐานการศึกษาเพื่อจุดมุงหมายใหไดคุณลักษณะที่พึงประสงค<br />

เชน การปลูกฝงการยอมรับความแตกตาง การใหเกียรติกัน การอยูรวมกันอยางสันติและการแกไข<br />

ปญหาที่ไมใชวิธีการที่รุนแรง การรูจักคิด การคิดแบบมีเหตุมีผล<br />

7. บทบาทของรัฐ ในการกําหนดนโยบายเพื่อแสดงถึงทิศทางที่รัฐตองการจะกาวไปสู<br />

เปาหมายอะไร รัฐบาลของแตละประเทศจึงมีบทบาทสําคัญในการกําหนดการปลูกฝงและการ<br />

ผลักดันคุณธรรมจริยธรรมของประชาชนในประเทศ โดยสามารถใชเครื่องมือตาง ๆ ดังที่ไดกลาว<br />

มาแลวขางตน รวมไปถึงการออกมาตรการอื่น เชน กฎระเบียบ กฎหมาย หรือกฎกติกาทางสังคม<br />

สวนความสําเร็จจะเกิดขึ้นได รัฐบาลตองมีการปฏิบัติที่เครงครัดจริงจัง เชน เกาหลีจะมีบทลงโทษ<br />

ตามกฎหมายที่รุนแรงและเครงครัดในการใชกฎหมาย ทําใหประชาชนเกรงกลัวไมกลาที่จะทําผิด<br />

8. บทบาทของสื่อมวลชน ถือวาเปนกลุมวิชาชีพที่มีอิทธิพลในการพัฒนาสังคม สามารถ<br />

เปนผูใหขอคิด ใหขอเสนอแนะแนวทางที่ถูกตองแกสังคมได ดังหลักการทําหนาที่ของสื่อมวลชนที่<br />

ดี 3 ประการคือ 1) เสรีภาพในการสื่อสาร 2) จิตสํานึกที่ดี 3) ตองมีจิตวิญญาณความรับผิดชอบตอ<br />

สังคมและตอผลงาน ดังนั้นในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมรัฐสามารถใชสื่อเปนเครื่องมือ เชน<br />

ประเทศเวียดนามที่ปกครองโดยระบอบสังคมนิยม ดังนั้นสื่อมวลชนจึงอยูภายใตการควบคุมของรัฐ<br />

การที่จะนําเสนอเนื้อหาและรายการตาง ๆ จึงเปนไปตามนโยบายที่มีการปลูกฝงจริยธรรมคุณธรรม<br />

ใหกับประชาชนในประเทศ เชน มีการฉายภาพยนตรประวัติศาสตรผานสื่อโทรทัศน เพื่อให<br />

ประชาชนไดตระหนักถึงการตอสูที่ยากลําบาลและการเสียสละของบรรพบุรุษ ปลูกฝงความรักชาติ<br />

และใหความสําคัญในการสรางคานิยมของการรักเรียนใหความสําคัญกับการศึกษาโดยมีการ<br />

นําเสนอขาวการศึกษา 4 หนาเปนประจําทุกวัน เปนตน<br />

9. บทบาทการมีสวนรวมของชุมชน ความสําคัญของการเขารวมรวมกันเปนกลุมเปน<br />

พวกเดียวกัน มีปฏิสัมพันธและทํากิจกรรมที่มีวัตถุประสงครวมกัน เชน การจัดกิจกรรมประเพณี


150<br />

ของชุมชนเพื่อรักษาประเพณีวัฒนธรรมไวใหสืบตอกันไป ดังนั้นบทบาทของการมีสวนรวมของ<br />

ชุมชนจึงเปนปจจัยสําคัญที่สามารถปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกสมาชิกในชุมชน เชน ประเทศ<br />

ศรีลังกา ใชความรวมมือของชุมชนสนับสนุนใหวัดเปนศูนยกลางปฏิบัติธรรม เปนโรงเรียนสอน<br />

พุทธศาสนาวันอาทิตย ใหประชาชนเขารวมจัดพิธีการแจกรางวัลแกผูสอบไดคะแนนสูงสุด หรือ<br />

ชุมชนมีสวนในการถายทอดคุณธรรมจริยธรรมจากจารีตประเพณี เปนตน ประเทศฟนแลนดมี<br />

องคกรที่เกี่ยวของกับกิจกรรมเด็กและเยาวชน เชน องคกรลูกเสือ องคกรดานกีฬา องคกรการเมือง<br />

เด็ก ฯ โดยรัฐบาลใหการสงเสริมสนับสนุนงบประมาณเปนรายป ซึ่งสามารถปองกันปญหาตาง ๆ<br />

เกี่ยวกับเยาวชนได ทั้งนี้ไดมีการรวมมือกับชุมชน องคกรตาง ๆ ในการจัดกิจกรรมที่มีรูปแบบเปด<br />

กวาง องคกรที่สะทอนความสําเร็จ คือ องคกรลูกเสือและเนตรนารี ทําใหเยาวชนสามารถทํางาน<br />

เปนทีม รูจักการพึ่งตนเอง รูจักการรวมมือ มีเจตคติที่ดีตอศาสนา ภักดีตอแผนดิน รูจักรับผิดชอบ<br />

ตนเองและสิ่งแวดลอม เหลานี้เปนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกเยาวชน<br />

10. ประวัติศาสตร ประสบการณและบทเรียน ของแตละประเทศจะมีประวัติศาสตร<br />

ความเปนมาของตนเอง ซึ่งกลุมประเทศเอเชียที่เปนกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้มีประวัติศาสตร<br />

ที่เจ็บปวด ขมขื่นจากการตกอยูใตการปกครองของประเทศมหาอํานาจและตองตอสูเปนเวลา<br />

ยาวนานเพื่ออิสรภาพของตน ประสบการณที่เลวราย เจ็บปวดไดหลอหลอมใหเกิดความกลาหาญ<br />

อดทนและมีความแข็งแกรงตอสูชีวิต ไมยอมจํานนตอโชคชะตา แตไดนําวิกฤตเหลานั้นมาเปน<br />

บทเรียนถายทอดสอนคนรุนหลัง ไดเห็นถึงการตอสูของบรรพบุรุษ ทําใหเขาใจวัฒนธรรมรากเหงา<br />

ของตนเอง แมแตประเทศในกลุมยุโรป อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต ในหลายประเทศตางก็ผาน<br />

ประวัติศาสตรของการสรางประเทศก็ลวนแตผานความเจ็บปวดมาดวยกันทั้งนั้น ตองตอสูเพื่อการ<br />

รวมเผาพันธุที่หลากหลายใหเปนเอกภาพสามารถยอมรับซึ่งกันและกันและอยูรวมกันไดอยางสงบ<br />

สันติ ดังนั้นประวัติศาสตรจึงเปนปจจัยหนึ่งของการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหกับคนในชาติ<br />

ของตน เชน การจะยอมรับคนนอกเผาพันธุกับตนจะตองเปนคนที่เคารพในศักดิ์ศรีของมนุษย<br />

เคารพตอชาติพันธุที่แตกตาง<br />

11. สภาพภูมิศาสตร ที่ตั้งทางภูมิศาสตร ดินฟาอากาศ สภาพทางกายภาพเหลานี้ลวนมี<br />

สวนในการหลอหลอมคุณลักษณะของคน เชน ประเทศที่มีพื้นที่นอย มีทรัพยากรจํากัด ประเทศที่<br />

เจอภาวะความแปรปรวนของอากาศ เจอพิบัติภัยธรรมชาติทุกป อากาศหนาวจัด แผนดินไหว การ<br />

ตองประสบพบกับธรรมชาติที่โหดรายบอย ๆ ทําใหประชาชนมีความสามารถในการปรับตัว มี<br />

ความอดทน ตื่นตัวกระตือรืนรน ไมผลัดวันประกันพรุง เชน สวิตเซอรแลนดเปนประเทศที่ขาด<br />

แคลนวัตถุดิบในการผลิตสินคา ดังนั้นจึงเรียนรูการนํากลับมาใช (Recycle) โดยปลูกฝงประชาชน<br />

ตั้งแตเด็ก ใหรูจักการแยกขยะ ชนิดของขยะที่เปนเหล็ก แกว ขยะเปยก เศษอาหารจะนําไปทําปุย


151<br />

โดยจะมีคําชี้แจงถึงผลเสียของการไมปฏิบัติตามดวยการใชระบบการขนขยะที่จะไมเขาไปบริการ<br />

เก็บขยะที่บานของคน ๆ นั้น หรือแคนาดาซึ่งเปนประเทศที่มีพื้นที่อยูอาศัยนอยเปนประเทศที่<br />

เกิดขึ้นใหมมีอายุเพียง 125 ป ไมมีรากเหงาวัฒนธรรมที่ลึกซึ้ง เพราะเปนที่รวมของผูอพยพจาก<br />

หลากหลายวัฒนธรรม หลายเชื้อชาติ ศาสนา แตยอมรับเอาวัฒนธรรมที่หลากหลายนั้นมาเปนสวน<br />

หนึ่งของประเทศทําใหไมมีความแปลกแยกและไมขัดแยง สามารถสรางอัตลักษณความเปนหนึ่ง<br />

เดียวของประเทศตนเองดวยการวางรากฐานคุณธรรมจริยธรรมอยางเปนระบบ ประชาชนมีสวน<br />

รวมในการพัฒนาประเทศ สามารถอยูรวมกันอยางสงบสุข มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน<br />

การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศเกาหลี<br />

ความสําเร็จในการปลูกฝงจริยธรรมคุณธรรมของแตละประเทศที่มีพื้นฐาน รายละเอียดที่<br />

แตกตางกันไปของแตละประเทศ แตละกลุมประเทศที่กลาวมาแลวขางตน จะไดนํามาศึกษาเปน<br />

ประสบการณและบทเรียนในการใหสติและอบรมบมเพาะคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย<br />

เพื่อใหเปนประเทศที่สามารถรอดพนจากภัยของลัทธิบริโภคนิยม วิกฤตของความขัดแยงในสังคม<br />

วิกฤตการกอการรายทางภาคใต ปญหาครอบครัว ปญหาสังคมและปญหาอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในเวลานี้<br />

ดังที่จะไดเรียนรูคุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ ตอไปนี้<br />

ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี เปนชาติเกาแกมีอายุกวา 5,000 ป เปนประเทศหนึ่งที่มี<br />

ประสบการณและบทเรียนเกี่ยวกับภาวะสงครามที่สรางความบอบช้ําใหกับคนในชาติและ<br />

ประเทศชาติ แตเกาหลีก็ยังสามารถพัฒนาตนเองใหเจริญรุงเรืองมายืนเปน 1ใน 4 เสือของเอเชีย<br />

ไดแก ฮองกง สิงคโปร เกาหลีใตและไตหวัน ไดอยางสงางาม สามารถพัฒนาความกาวหนา<br />

ทางดานเทคโนโลยี เชน รถยนตฮุนได เครื่องใชไฟฟและเทคโนโลยีของซัมซุง การสงออกสินคา<br />

วัฒนธรรมผานสินคาในแวดวงบันเทิง ดังกระแสความคลั่งไคล K-POP ซีรียเกาหลี เปนตน ทําให<br />

เกาหลีกลายเปนประเทศที่ร่ํารวยมั่งคั่งประเทศหนึ่ง ชนชาติเกาหลีนับไดวาเปนนักตอสู เปนชาติ ที่<br />

มีวัฒนธรรมประเพณีที่หลอหลอมใหคนในชาติเปนหนึ่งเดียวกัน มีสถาบันครอบครัวที่เขมแข็ง<br />

การถายทอดหลักธรรมคําสอนของศาสนาและลัทธิขงจื้อ<br />

1. กระบวนการที่หลอหลอมและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของเกาหลี (เจือจันทร<br />

จงสถิตอยูและรุงเรือง สุขาภิรมย. 2550 : 103-117) ไดแก<br />

1.1 การลําดับรุนอาวุโส คนเกาหลีใหความสําคัญกับการลําดับอาวุโสอยางเครงครัด<br />

ทั้งในที่ทํางาน โรงเรียน ความเปนรุนพี่รุนนอง รุนนองตองใหความเคารพเชื่อฟงรุนพี่สวนรุนพี่ก็<br />

ใหความชวยเหลือรุนนองอยางเต็มที่ ความสัมพันธจึงสนิทแนบแนน<br />

1.2 ความรักในสถาบันการศึกษา ความสัมพันธระหวางครูกับศิษย โดยศิษยจะรวม


152<br />

ดื่มและรับประทานอาหารกับครูในตอนเย็นดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง แตแฝงดวยความเคารพ<br />

นอบนอม มีมารยาท<br />

1.3 ความรักในสถานประกอบการ กตัญูและจงรักภักดีตอบริษัทอยางยิ่ง เพราะถือ<br />

วา บริษัทคือผูใหทุกสิ่งทั้งความสุขสบาย อาหาร ชีวิตที่อุดมสมบูรณ ทุกคนจึงทํางานดวยความ<br />

ทุมเท เอาจริงเอาจัง มุงมั่นและเห็นแกประโยชนของบริษัทกอนประโยชนตน นอกจากนี้ยังมีความ<br />

ความรัก ผูกพันตอบริษัท ใหความเคารพ ใหเกียรติและเชื่อฟงคําสั่งสอน คําสั่ง คําแนะนําเพราะถือ<br />

วาบริษัทเปนดั่งครอบครัว<br />

1.4 ทุมเทใหแกหนาที่การงาน ทํางานดวยความตั้งใจ มุงมั่นใหงานสําเร็จ ไมอูหรือ<br />

ปลอยเวลาใหผานไปดวยเรื่องไรสาระ เมื่อเสร็จงานแลวจึงจะสังสรรค รวมดื่มกับคนที่วางใจเพื่อ<br />

คลายเครียด รูจักหนาที่ของตนและทําหนาที่อยางเขมแข็ง ซึ่งเปนคุณลักษณะเดนที่ทําใหประสบ<br />

ผลสําเร็จในทุกดาน<br />

1.5 ความเปนหมูเหลา คนเกาหลีจะรักคนในชาติตนเอง การจะยอมรับชาวตางชาติ<br />

ตอเมื่อไดพิสูจนแลววาคน ๆ นั้นจริงใจ จึงจะยอมรับเปนคนกลุมเดียวกันและเชิญไปดื่มรวมกัน<br />

1.6 ชาตินิยมและรักชาติ จะใชสินคาที่ผลิตในประเทศเทานั้น ทําใหเศรษฐกิจมั่นคง<br />

เงินทองไมรั่วไหล หากไมเห็นดวยกับนโยบายของรัฐบาลจะทําการประทวงและมีการแจง<br />

หนวยงานจราจรเพื่อแจงใหประชาชนไดทราบลวงหนาจะไดไมเดือดรอน<br />

1.7 มีวินัยในตัวเอง ชาวเกาหลีไดรับการปลูกฝงและฝกฝนอยางดีจนเปนอุปนิสัยจึง<br />

เปนผูมีวินัยที่เครงครัด นอกจากนี้กฎหมายมีบทลงโทษที่รุนแรง ทําใหประเทศเกาหลีขึ้นชื่อเรื่อง<br />

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เพราะทุกคนรูกฎกติกาและมีวินัย<br />

1.8 การสรางความแข็งแกรงในครอบครัว ทั้งชายและหญิงจะเปนผูที่ใฝรูใฝเรียน<br />

เพื่อใหเปนผูที่สามารถประกอบอาชีพ ในครอบครัวสามีทํางานหาเลี้ยงครอบครัว ภรรยามีหนาที่<br />

ปรนนิบัติสามีและดูแลสั่งสอนบุตร โดยที่ภรรยาจะมีการศึกษาระดับปริญญาโท ปริญญาเอก จึงทํา<br />

ใหเยาวชนของเกาหลีมีคุณภาพ เพราะมีแมที่มีการศึกษาและดูแลใหความอบอุน<br />

1.9 ขยันไมยอทอตองานหนัก เพราะตองเผชิญและจดจําความยากลําบากมายาวนาน<br />

จึงทําทุกวิถีทางไมใหอดตาย ไดใชหลักคําสอนของขงจ ื้อ นอกจากนี้ยังมีน้ําใจ รวมมือรวมใจ<br />

ชวยเหลือ แบงปน ไมทอดทิ้งกัน<br />

2. หนวยงานและองคกรที่มีบทบาทในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม<br />

2.1 ศาสนา ปรัชญา ความเชื่อ คนเกาหลีสวนใหญนับถือพุทธศาสนารอยละ 51.2<br />

แตหลักปรัชญาที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ คําสอนของขงจื้อ ไดสอนระเบียบในสังคม วิถีชีวิต การ<br />

ดําเนินชีวิตครอบครัว สังคม การทําหนาที่และปฏิบัติใหถูกตองตามครรลอง ซึ่งคนเกาหลีไดใชเปน


153<br />

แนวทางการดําเนินชีวิตจนถึงปจจุบัน คํากลาวของขงจื้อที่สรุปไดวา ทุกสิ่งทุกอยางในโลกมีความ<br />

แตกตางกันโดยกําเนิด การดํารงชีวิตในครอบครัว สังคม ประเทศ ทุกอยางตองอยูในที่สมควร เชน<br />

ลูกควรนับถือพอ ขุนนางควรนับถือกษัตริย ภรรยาควรนับถือสามีและสอนใหแสดงความสัมพันธ<br />

ตอกันอยางถูกตอง เชน กษัตริยกับขุนนางควรไววางใจกัน พอกับลูกชายควรผูกพันและสืบทอดกัน<br />

สามีภรรยาควรมีบทบาทหนาที่ตางกัน ผูใหญกับผูนอยควรมีบทบาทหนาที่ตางกัน ระหวางเพื่อน<br />

ควรซื่อสัตยตอกัน<br />

2.2 สถาบันครอบครัว ใหความสําคัญกับการยึดหลักคําสอนของขงจื้อใหเปนคนมี<br />

คุณธรรม มีความกตัญู ซื่อสัตยและเอื้อเฟอตอผูอื่น มีเมตตากรุณา ระลึกบุญคุณของบรรพบุรุษที่<br />

เสียสละ ดังนั้นภาพที่เห็นในสังคมเกาหลี ลูก ๆ มีความกตัญูกับบิดามารดา สามีภรรยาจงรักภักดี<br />

และซื่อสัตยตอกัน เด็กเมื่อทําผิดจะไดรับการดุดาดวยเหตุผลและสั่งสอนไมใหทําผิดเปนครั้งที่สอง<br />

เด็กเกาหลีไมเห็นการทําผิดเปนสิ่งทาทายและนาทดลอง เพราะมีความละอายที่จะทําผิดตอตระกูล<br />

ทําใหถูกจารึกความชั่วในทะเบียนตระกูล<br />

2.3 สถาบันการศึกษา ดวยแนวคิดรากฐานการศึกษาที่แข็งแกรงยอมนําพาเศรษฐกิจ<br />

ใหมั่นคง การศึกษาชวยสรางพลังความรู ปญญา ความคิดริเริ่มสรางสรรค พัฒนาทรัพยากรมนุษย<br />

ใหมีคุณคามีศักยภาพ ไดมีการปฏิรูปการศึกษาไปพรอมกับการสรางเสริมคุณธรรมจริยธรรม<br />

ความคิดสรางสรรค เพื่อใหคนสมบูรณทั้งชีวิตและจิตใจ จึงใชระบบการศึกษาแบบเปดตลอดชีวิต<br />

อยางไรก็ตามความเปลี่ยนแปลงของสังคมเกาหลีก็ประสบปญหาคานิยมทางวัตถุ<br />

การมุงประโยชนตนเอง ไมคํานึงถึงสังคมสวนรวม จึงไดมีการปฏิรูปการศึกษาโดยใหแมมีสวนรวม<br />

ในการจัดการเรียนการสอน การปลูกฝงคานิยมคุณธรรมจริยธรรมอยางเปนระบบและคอยเปนคอย<br />

ไป ตั้งแตอนุบาลถึงมหาวิทยาลัย ดังนี้<br />

1) อนุบาล-ประถมศึกษาปที่ 3 ปลูกฝงความเปนระเบียบในสังคม กฎจราจรและ<br />

จิตสํานึกในการอยูรวมกันในสังคม<br />

2) ประถมศึกษาปที่ 4-มัธยมศึกษาตอนตน ปลูกฝงสิทธิหนาที่ของตนในระบอบ<br />

ประชาธิปไตย เคารพกฎหมายของบานเมือง การตัดสินใจดวยตนเองอยางมีเหตุผลที่ถูกตอง<br />

3) มัธยมศึกษาตอนปลาย-อุดมศึกษา ปลูกฝงสิทธิและหนาที่การเปนพลเมือง<br />

โลก สันติภาพ ความเขาใจคุณลักษณะอันเปนสากลและความเขาใจอันดีตอวัฒนธรรมของชาติอื่น<br />

2.4 ประวัติศาสตร เดิมประเทศเกาหลีปกครองโดยกษัตริย เมื่อญี่ปุนเขาครอบครอง<br />

เกาหลี สถาบันกษัตริยจึงลมสลาย เมื่อญี่ปุนแพสงครามโลกครั้งที่ 2 เกาหลีไดรับเอกราช แตถูกแบง<br />

ออกเปนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(เกาหลีเหนือ)ภายใตสหภาพโซเวียตผูนําฝาย<br />

สังคมนิยมและสาธารณรัฐเกาหลี(เกาหลีใต) ภายใตการนําของสหรัฐอเมริกาผูนําฝายประชาธิปไตย


154<br />

ดังนั้นการที่ตองตกเปนเมืองขึ้นอยางยาวนานของเกาหลี ตองพบกับภาวะความอดอยาก<br />

ขาดแคลนและขมขื่น แตดวยนโยบายการบริหารประเทศของผูนําที่มีวิสัยทัศน มีคุณธรรม เสียสละ<br />

อดทน เห็นแกประโยชนของประเทศชาติเปนสําคัญ จึงสามารถนําพาประเทศใหรอดพนจากความ<br />

ยากไรและกาวสูความเปนผูนําในแถบภูมิภาค มีความกาวหนาทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีที่ทันสมัย<br />

ไปพรอมกับการวางแผนปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในการวางนโยบายเศรษฐกิจ 5 ป ใชแผนแรก<br />

เนนใหประชาชนประหยัด อดออม ริเริ่มโครงการแซมาอึลวุนดงที่เขาถึงประชาชนชนบท กระตุน<br />

ผูนําและประชาชนใหเชื่อมั่นตออนาคตวา สามารถอยูดีกินดีได ถาขยันทํางานและรวมมือกันดี มี<br />

จิตใจพึ่งตนเอง ใชความพากเพียร อดทนซึ่งมีอยูในตัวของชาวเกาหลี โครงการแซมาอึลวุนดงจึงถือ<br />

เปนขบวนการรวมพลังทางสังคมระดับชาติของเกาหลีใต นั่นคือ ผูนําทุกระดับใหการสนับสนุน<br />

ตั้งแตผูนําทางการเมือง กลุมชนชั้นนําในเมือง ผูนําหมูบาน ขาราชการทองถิ่นและประชาชนเขา<br />

รวมดําเนินงานพัฒนาหมูบานดวยความสมัครใจ โครงการนี้ประสบผลสําเร็จสามารถสรางรากฐาน<br />

ทางเศรษฐกิจในระบบสังคมหมูบานใหแข็งแกรง ไมเกิดชองวางระหวางรายไดของคนเมืองกับคน<br />

ชนบท<br />

2.5 กฎหมายปกครองประเทศ ผูมีหนาที่ดูแลรักษากฎหมายทําหนาที่อยางเครงครัด<br />

ประชาชนไมกลาทําผิดกฎหมาย แมเรื่องเล็กนอย เชน การวิ่งราว การขามถนน การขับรถ ทําให<br />

สังคมมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน<br />

2.6 สื่อมวลชน ทําหนาที่เผยแพรประชาสัมพันธใหเห็นความสําคัญของการศึกษาที่<br />

บาน การบมเพาะคุณลักษณะที่ดีงาม การสรางบุคลิกภาพที่ดี ลดการเสนอขาวอันกอใหเกิดความ<br />

รุนแรง การยั่วยุใหเยาวชนหลงใหลในสิ่งมอมเมาและยาเสพติด<br />

2.7 สังคมโดยรวม คนเกาหลีใหความเคารพนับถือผูใหญ จึงมีความเชื่อวา ผูใหญจะ<br />

ตองทําตัวเปนตนแบบมีความประพฤติที่ดีงามใหแกเยาวชน ผูใหญจึงสามารถวากลาวตักเตือนเด็ก<br />

หากเห็นวากระทําสิ่งที่ไมถูกตอง แมจะไมใชลูกหลานโดยตรง เชนเดียวกับเด็กก็ใหความเคารพ<br />

แมไมใชเครือญาติ คานิยมความขยันหมั่นเพียร การชวยตนเอง ความรวมมือรวมใจ การเสียสละ<br />

สวนตนเพื่อสวนรวม<br />

2.8 สภาพภูมิศาสตร ประเทศเกาหลีมี 4 ฤดู 24 ฤดูยอย จึงทําใหรูจักปรับตัวและมี<br />

ความอดทน อีกทั้งยังสามารถใชประโยชนจากการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในดานเกษตรและประมง<br />

การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศเวียดนาม<br />

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเปนอีกประเทศที่ไดประสบกับสงครามมาอยางยาวนาน<br />

เคยตกเปนเมืองขึ้นของจีนและฝรั่งเศส ผานการตอสูกับสหรัฐอเมริกาในสงครามเวียดนาม ไดรับ


155<br />

ความบอบช้ําทําใหเวียดนามแทบสิ้นชาติ คนเวียดนามจึงเปนผูมีความอดทนและตระหนักในความ<br />

เปนชาติ ที่สามารถเอาชนะมหาอํานาจได ประเทศเวียดนามมีประชากร 83.5 ลานคน สวนใหญนับ<br />

ถือพุทธนิกายมหายาน มีรูปแบบการปกครองแบบสังคมนิยม (เจือจันทร จงสถิตอยูและรุงเรือง สุขา<br />

ภิรมย. 2550 : 131-141)<br />

1. กระบวนการที่หลอหลอมและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของเวียดนาม ไดแก ความ<br />

ขยัน อดทน รักชาติ รักการศึกษาเลาเรียน ยึดถือความกตัญู<br />

2. หนวยงานและองคกรที่มีบทบาทในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม<br />

2.1 ศาสนา ปรัชญา ลัทธิความเชื่อ คนเวียดนามแตเดิมมีคตินิยมเหมือนชาวไทย<br />

พุทธ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง รัฐบาลไดสรางกรอบจํากัดความเชื่อทางศาสนา ตอมาจึง<br />

ไดผอนคลายความเขมงวดโดยใหอิสระในการนับถือศาสนา โดยสวนใหญจะเปนพุทธฝายมหายาน<br />

ที่รับมาจากจีน ใหความสําคัญในแงความศักดิ์สิทธิ์ ไมเครงครัดการปฏิบัติธรรม สําหรับหลัก<br />

ปรัชญาขงจื้อที่รับมาปลูกฝงคานิยมวา คนที่มีความรู คือ คนที่มีคุณคาตอสังคม คนที่มีความรูควร<br />

ไดรับการยกยอง โดยความรูตองคูคุณธรรมดวย<br />

2.2 สถาบันครอบครัว โดยยึดหลักคําสอนของขงจื้อใหเปนคนมีคุณธรรม มีความ<br />

กตัญู ผูไมกตัญูตอพอแมจะไมมีความกาวหนา สอนใหรักชาติ ขยันหมั่นเพียร ตองขยันศึกษา<br />

เลาเรียน เคารพตอผูใหญ ผูหญิงเวียดนามจะเสียสละใหกับครอบครัวเปนอันดับแรก เปนสิ่งที่<br />

ปลูกฝงอยูในความคิดของผูหญิงเวียดนามแทบทุกคน<br />

2.3 สถาบันการศึกษา หลังเวียดนามไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศส ประธานาธิบดี<br />

โฮจิมินท ประกาศนโยบายที่จะขจัดปญหาโจรแหงความโง ซึ่งสะทอนถึงการใหความสําคัญกับ<br />

การศึกษาอยางสูงจากคําพูดที่วา “เพื่อประโยชนในสิบปปลูกตนไมและเพื่อประโยชนในรอยปให<br />

การศึกษาดูแลคน” ทั้งนี้เพราะเชื่อวา การศึกษาจะพัฒนาคุณภาพของคน หากรากฐานการศึกษา<br />

แข็งแกรงยอมนําพาเศรษฐกิจใหมั่นคง โดยหลังจากไดรับอิสรภาพจากฝรั่งเศสในป 2488 สิ่งที่เนน<br />

คือ 1) ความเปนชาติ โดยจัดเนื้อหาการเรียนการสอนดานประวัติศาสตรของชาติ สงเสริมใหเกิด<br />

ความรักชาติ ใชภาษาประจําชาติ สรางคนรุนใหมใหเปนผูรับใชชาติ 2) ความเปนวิทยาศาสตร<br />

สอนความกาวหนาและวิทยาศาสตร สอนใหคิดเปน รูเหตุรูผลของความคิดและสอนใหเปนคน<br />

กระหายใครที่จะเรียนรู และ 3) ความเปนมวลชน นําความรูทางวิทยาศาสตรไปประยุกตใชในชีวิต<br />

และใชในการผลิตเชื่อมโยงกับมวลชน การไดรับการศึกษาถือเปนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน<br />

การศึกษาเพื่อมวลชนนําไปสูการพัฒนาทางวัฒนธรรม วิทยาศาสตร เศรษฐกิจและสังคม การ<br />

พัฒนาไมหยุดนิ่งไดทําการอยางตอเนื่อง


156<br />

กระทั่งในป 2539 รัฐบาลประกาศนโยบายโดยเมย (Doi Moi) ทําการปฏิรูปการศึกษา<br />

โดยเนนการสรางคุณลักษณะของผูเรียนที่พึงประสงคไดแก<br />

1) การเรียนรูเปาหมาย ใหรูทิศทางของการพัฒนาที่ยึดแนวทางการเมืองสังคม-<br />

นิยม ดานเศรษฐกิจเปดกวาง<br />

2) สามารถทํางานในเศรษฐกิจสมัยใหมไดดี โดยพัฒนาทักษะใหม ๆ สําหรับ<br />

การพัฒนาประเทศดานอุตสาหกรรม เทคโนโลยี การสื่อสาร การกอสราง ฯลฯ<br />

3) สามารถติดตอสื่อสาร ทันการเปลี่ยนแปลง โดยใหการสนับสนุนนักเรียนรุน<br />

ใหมใหเรียนภาษาตางประเทศ รวมทั้งคอมพิวเตอร แลกเปลี่ยนและมีเครือขายกับนานาชาติ<br />

4) พัฒนาความสามารถเฉพาะทางใหโดดเดน สงเสริมเด็กใหเติบโตตาม<br />

ศักยภาพ สงเสริมการเรียนคณิตศาสตรและสาขาอื่นอยางเต็มที่<br />

5) รักษาเอกลักษณและวัฒนธรรมเฉพาะของประเทศ ใหผูเรียนรูจักวัฒนธรรม<br />

ของประเทศ รักษาคุณธรรมจริยธรรมของสังคม<br />

6) มีความตระหนัก รูเทาทันอิทธิพลของนานาชาติ แมจะเปดรับแนวคิดคานิยม<br />

เศรษฐกิจทุนนิยมตะวันตก<br />

7) บรรจุวิชาคุณธรรมจริยธรรมไวในหลักสูตรระดับประถมตน สอนเกี่ยวกับ<br />

การเปนคนดีตองทําอยางไร นอกจากนี้ยังใหน้ําหนักการตอกย้ําคําสอนของลุงโฮ (โฮจิมินท) และ<br />

ภาคกลางของเวียดนาม ไดกําหนดใหนักเรียนประถมตนทําการบาน 5 ขอ เพื่อใหซึมซับการปลูกฝง<br />

คุณงามความดีผานการเรียนการสอน ดังนี้<br />

(1) วันนี้หนูทําความดีอะไรบาง โดยใหเด็กบันทึกการทําความดีทุกวันและ<br />

จดจําความดีที่ทําไวชวง 6 ปที่เรียน<br />

(2) วันนี้หนูชวยคุณแมทํางานอะไรบาง เปนการสรางความสัมพันธใน<br />

ครอบครัว<br />

(3) วันนี้ในชุมชนของหนูมีเหตุการณใดเกิดขึ้นบาง เด็กตองออกไปสํารวจ<br />

และบันทึกเรื่องราว ทําใหเกิดการเรียนรู เขาใจและผูกพันกับชุมชน<br />

(4) ใหรายงานขาวหนึ่งขาว เกี่ยวกับประเทศเวียดนาม เปนการสรางความ<br />

รักชาติ<br />

(5) ใหรายงานขาวหนึ่งขาว เกี่ยวกับสถานการณโลก ทําใหรูจักสังคมโลก<br />

การบาน 5 ขอเปนการปลูกฝงคุณธรรมใหเด็กไดเรียนรู รูจักตัวเอง รูจัก<br />

ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติของตน ตลอดจนเขาใจสังคมโลกดวย


157<br />

ความสัมพันธระหวางครูกับศิษย ศิษยจะใหความเคารพครูและครูจะอุทิศตัวเพื่อเผยแพร<br />

ความรูแกศิษย ครูในเวียดนามตองเปนคนเกงและไดรับการยกยองเพราะถือเปนอาชีพที่มีคุณคาตอ<br />

สังคม<br />

2.4 ประวัติศาสตร การตอสูที่ยาวนานของคนเวียดนามกับประเทศมหาอํานาจหลาย<br />

ประเทศ ทั้งจีน ฝรั่งเศส อเมริกา ตองไดรับความยากลําบาก ความเจ็บปวดทุกรูปแบบ ประสบการณ<br />

และบทเรียนที่ผานมาทําใหคนเวียดนามมีความกลาหาญ เสียสละ อดทนและรักชาติ และไดใช<br />

ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและวรรณกรรม เปนปจจัยดานยุทธศาสตรและการปฏิวัติ<br />

สังคม โดยเฉพาะวัฒนธรรมที่ถือเปนขุมทรัพยจะตองปกปองรักษา จึงถูกนํามาเปนเครื่องมือในการ<br />

ปลุกเราใหประชาชนสํานึกถึงความรุงโรจนในอดีต ใฝเรียนใฝรูไมวาจะเปนคนยากจนก็สนใจการ<br />

เรียน มีนิสัยชอบเอาชนะปญหาที่ทาทาย วรรณกรรมพื้นบาน นิทานพื้นบานจะแฝงคุณธรรม<br />

จริยธรรมความรักชาติ ความซื่อสัตย กตัญู<br />

2.5 คําสอนของประธานาธิบดีโฮจิมินห ผูนําในการตอสูเพื่อปลดปลอยประเทศ<br />

เวียดนามใหเปนอิสระ ไดสรางศรัทธาใหเกิดกับชาวเวียดนามและถูกเรียกวา ลุงโฮ คนเวียดนาม<br />

ยึดถือหลักคําสอนของลุงโฮเปนหลักในการดําเนินชีวิต 5 ขอไดแก 1) รักประเทศชาติ รักประชาชน<br />

2) เรียนเกง ทํางานเกง 3) รักษาอนามัย 4) วินัยดี 5) ซื่อสัตย กลาหาญ<br />

2.6 สื่อมวลชน รัฐเปนผูกําหนดนโยบายและควบคุมสื่อมวลชนทุกแขนง จึงสามารถ<br />

ควบคุมและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกคนในชาติได สื่อโทรทัศนยังนําภาพยนตรประวัติศาสตร<br />

ความยากลําบากของบรรพบุรุษในการตอสูกับฝรั่งเศสและอเมริกา ผลกระทบของสงครามตอ<br />

ครอบครัว เพื่อเยาวชนรุนใหมจะไดไมมัวเมาหลงอยูกับความสุขสบายอยางเดียว การนําเสนอ<br />

เนื้อหาของสื่อโทรทัศนตามความเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย สื่ออื่น ๆ ไมคอยมีขาวอาชญากรรม<br />

และใหความสําคัญกับการศึกษาโดยนําเสนอขาวการศึกษา 4 หนาเปนประจําทุกวัน<br />

บทเรียนจากการเรียนรูถึงการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ<br />

การไดเรียนรูกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศอื่น ๆ เพื่อเปน<br />

ประสบการณ เปนบทเรียนใหเราไดนํากลับมาทบทวนประเทศของตนเองและหาวิธีการประยุกตใช<br />

ที่เหมาะสม ซึ่งตองยอมรับวาสังคมไทยปจจุบันไดรับผลกระทบจากการเปดกวางของสังคมโลก<br />

ภายใตระบบทุนนิยมเสรีประชาธิปไตยที่บางครั้งทําใหคนเราหลงระเริงไปกับสิ่งที่มากระตุนกิเลส<br />

ภายในของความอยาก ความโลภและทําใหคนเราเห็นแกตัว สามารถที่จะทําทุกสิ่งไดโดยคํานึงถึง<br />

แตความสะดวก ความพึงพอใจของตนเองมากกวาที่จะเห็นถึงความถูกตองตามครรลองคลองธรรม


158<br />

และเปนที่ยอมรับวาคุณธรรมจริยธรรมในทุกวันนี้ไดเสื่อมถอยลงมาก จากพฤติกรรมที่สะทอนถึง<br />

ปญหาตาง ๆ ที่มนุษยตองประสบซึ่งลวนเกิดจากน้ํามือของมนุษยเองทั้งสิ้น<br />

1. ปญหาในสังคมไทย หากจะมองถึงปญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย มีหลายปญหาไมได<br />

เปนปญหาใหม แตเปนปญหาที่ไดมีการสะสมมายาวนาน ทุกรัฐบาลที่ผานมาไดมีความพยายามใน<br />

การแกปญหาดวยการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ เมื่อแกปญหาหนึ่งไดก็สงผลกระทบกับอีกปญหา<br />

หนึ่งเปรียบเหมือนการรักษาโรคของผูปวยแลวเกิดผลขางเคียงจากการใชยา ปญหาสังคมใน<br />

ประเทศไทยนับวันจะยิ่งเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนักวิชาการหลายทานไดกลาวถึง สาเหตุของปญหาสังคมที่<br />

เกิดขึ้นพออธิบาย โดยสังขป ดังนี้<br />

1.1 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เชน สังคมไทยที่เคยเปนสังคมเกษตรพยายามที่จะ<br />

เปลี่ยนไปเปนสังคมอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้น การอพยพ<br />

ของคนชนบทสูสังคมเมืองเพื่อทํามากิน โดยมุงหวังความกาวหนา ทําใหวิถีชีวิตความเปนอยูแบบ<br />

ดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป ที่มีความตองการในการอุปโภคบริโภค ความสะดวกสบายมากขึ้น โดยการ<br />

ใชเงินซื้อหา ดังนั้นถาความตองการมากก็ตองหาเงินสนองความอยากความโลภมากขึ้น จึงเกิดความ<br />

ฟุงเฟอฟุมเฟอยมากขึ้น บรรทัดฐานดั้งเดิมที่ยกยองคนดีจึงเปลี่ยนแปลงไปเปนการยกยองคนรวย<br />

คนมีอํานาจแทน<br />

1.2 ความไมเปนระเบียบของสังคม เปนภาวะที่สังคมและสถาบันพื้นฐานทางสังคม<br />

เชน สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา แมแตหนวยงานของรัฐที่มีหนาที่ดูแล<br />

ความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคมไมสามารถควบคุมสมาชิกทางสังคมใหปฏิบัติตามระเบียบได<br />

จึงกอใหเกิดปญหาของผลประโยชนที่ขัดกัน เพราะความเห็นแกตัว ความโลภ การเอารัดเอาเปรียบ<br />

และการใชชองโหวหาประโยชนสวนตน ความลมเหลวของการรักษาจารีตประเพณีและสถาบัน<br />

พื้นฐานของไทยที่เปนศูนยรวมใจของคนในชุมชน เพื่อใหเกิดพลังทางสังคม พลังของความอบอุน<br />

ที่ทุกคนแสดงออกดวยความมีน้ําใจ รูจักการเกื้อกูลแบงปน ชวยเหลือกัน พฤติกรรมเหลานี้ได<br />

เปลี่ยนแปลงไป มีการแบงพรรค แบงพวก แบงขาง แบงฝาย ความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่<br />

ของหนวยงานตาง ๆ มีความขัดแยง ไมเปนไปตามหลักการ ไรมาตรฐาน หรือสองมาตรฐาน กฎ<br />

กติกาที่ตั้งขึ้นเกิดความขัดแยงประชาชนไมยอมปฏิบัติตาม<br />

1.3 พฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานของสังคม เปนพฤติกรรมที่สังคมไมยอมรับ<br />

หรือไมอาจทนรับได เชน ปญหายาเสพติด ปญหาโรคเอดส ปญหาโสเภณี ปญหาความยากจน<br />

ปญหาเด็กและเยาวชน ปญหาครอบครัว ปญหาอาชญากรรม ปญหาความรุนแรง ปญหาการกดขี่<br />

ทางเพศ ปญหาการเอารัดเอาเปรียบ ปญหาสิทธิมนุษยชน ปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาการเมือง การ<br />

ซื้อสิทธิขายเสียง ปญหาคอรรัปชั่น ปญหาคุณภาพนักการเมือง การเมืองที่มุงผลประโยชนตนและ


159<br />

ประโยชนของพรรคมากกวาผลประโยชนของประชาชน ปญหาความแตกแยกของประชาชนใน<br />

ประเทศ ปญหากลไกราชการขาดการเอาใจใสดูแลกระบวนการรวมคิด รวมวางแผนและรวม<br />

ดําเนินงานในระดับชุมชน ฯลฯ<br />

ปญหาตาง ๆ นําไปสูความเสื่อมโทรมและเสื่อมถอยดานคุณธรรมจริยธรรมของ<br />

สังคมไทยเปนอยางยิ่ง ดังนั้นการไดเรียนรูบทเรียนของประเทศอื่น ๆ ที่ไดเคยผานความยากลําบาก<br />

และประสบการณที่เลวรายมามากกวาประเทศไทย ที่ไมเคยตองตกเปนเมืองขึ้นของประเทศใดมา<br />

กอน แตกลับไมสามารถพัฒนาใหเจริญกาวหนาไดเทียบเทา หรือกาวล้ํานําหนาประเทศอื่น ดังที่<br />

ตั้งใจกอนป 2540 วาเราจะกาวขึ้นเปนเสือตัวที่ 5 ของเอเชีย นอกจากไมสามารถประสบผลสําเร็จ<br />

ดังที่ตั้งใจแลว ที่สําคัญเราเองกับเปนผูบั่นทอนความนาเชื่อถือของประเทศ สรางภาพลักษณของ<br />

ความแตกแยก ความรุนแรง การกอการรายใหตางประเทศทั่วโลกรับรูวาเราเปนประเทศที่ไม<br />

ปลอดภัยในระยะ 5 ปที่ผานมานับตั้งแตพ.ศ.2549 เปนตนมาถึงปจจุบัน(พ.ศ.2554)<br />

2. บทเรียนที่ไดเรียนรูจากประสบการณและการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม ของประเทศ<br />

อื่น ๆ ขางตน ซึ่งทุกวันนี้สามารถจะกลาวไดวา ประเทศเหลานั้นประสบผลสําเร็จในการแกปญหา<br />

การฟนฟูและการพัฒนาประเทศ จนสามารถกาวนําไปยืนอยูแถวหนาในระดับภูมิภาคได บทเรียน<br />

ของความสําเร็จมีปจจัยและกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม<br />

ดังนี้<br />

2.1 บทบาทของผูนําในสังคม ไดแก ผูนําการปกครองบานเมือง ผูนําทางจิตวิญญาณ<br />

ผูนําทางปญญา เปนปจจัยที่สําคัญที่มีอิทธิพลอยางสูงในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมทั้งการเปน<br />

แบบอยาง การสงเสริมสนับสนุนและผลักดันทุกสวนใหปฏิบัติไดจริง ดังนั้นผูนําเองจะตองมี<br />

คุณสมบัติทั้งสวนตัวและพฤติกรรมตอสวนรวมที่เปนคนดี มีความประพฤติและการปฏิบัติที่<br />

ถูกตองชอบธรรม เปนผูที่มีความรูความสามารถและมีคุณธรรมของการเสียสละ ซื่อสัตย รักชาติ<br />

เปนผูที่มีความอดทน อดกลั้น พากเพียร มุงมั่นในการตอสูกับปญหา มีจิตใจที่ตองการชวยเหลือ<br />

ดวยความรัก ความเมตตากรุณาใหประชาชนในประเทศพนจากความทุกข ความยากลําบากและ<br />

ความขมขื่นสิ้นหวังในชีวิต สนับสนุนงบประมาณ แนวทาง ความคิด การเรียนรู ผลักดันใหเกิดการ<br />

ปฏิบัติไดจริงในการพัฒนาสังคมโดยใหประชาชนไดมีสวนรวม ทั้งแรงกายแรงใจ เพื่อใหเกิดการ<br />

ชวยเหลือและพึ่งพาตนเองได สรางความแข็งแกรงใหเกิดขึ้นกับชุมชน ปูพื้นฐานปลูกฝงคุณธรรม<br />

จริยธรรมดวยการกระทําใหดู ดวยหลักคําสอนและการปฏิบัติจริง พรอมกับการถายทอดให<br />

ประชาชนไดเรียนรูประวัติศาสตรของชาติไทยอยางตอเนื่อง ถายทอดกิจกรรมที่ไดทําดวยจิตอาสา<br />

ผานทางสื่อตาง ๆ เพราะคนรุนใหมที่มีความเปนอยูที่สะดวกสบายในวันนี้ จนอาจหลงลืมและไมมี<br />

ความซาบซึ้งถึงความยากลําบากที่บรรพบุรุษไดตอสูและสรางรากฐานไวให สรางคานิยมของความ


160<br />

กตัญูเปนคุณสมบัติของคนดี คนที่ไมมีความกตัญูจะไมสามารถเปนผูประสบผลสําเร็จได เพราะ<br />

จะไมเปนที่ยอมรับของสังคม ฉะนั้นบทบาทของผูนําจะตองคํานึงถึงประโยชนของสวนรวมเปน<br />

สําคัญ หากผูนําไมสามารถทําใหดีได ก็พึงตระหนักถึงหลักคําสอนหนึ่งของขงจื้อที่วา “สัตบุรุษ<br />

ทุกขรอนวาตนไรสามารถ แตมิทุกขรอนวาผูอื่นไมรูถึงความสามารถของตน” (เจษฎา ทอง<br />

รุงโรจน. 2554 : 177) ดังนั้นหากสังคมไทยไดผูนําที่เปนสัตบุรุษเชนนี้ ประชาชนยอมไดรับความ<br />

สงบสุขรมเย็น<br />

2.2 บทบาทของสถาบันพื้นฐานทางสังคม เชน สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา<br />

สถาบันศาสนา เปนสถาบันที่มีสวนสําคัญในการขัดเกลาอบรมบมเพาะคุณธรรมจริยธรรมแก<br />

สมาชิกทั้งในครอบครัวและสังคม เพราะเปนสถาบันที่มีความสัมพันธใกลชิดและเปนศูนยรวมใจ<br />

ศูนยรวมการทํากิจกรรมทางสังคม ดังนั้นความเขมแข็งและคุณภาพของสถาบันเหลานี้จึงมี<br />

ความสําคัญอยางยิ่ง เชน พอแมที่มีการศึกษา มีเหตุมีผล มีวิธีคิดที่ดี ที่ถูกตอง จะสามารถอบรม<br />

สั่งสอนและเปนแบบอยาง ทําใหลูกมีความอบอุนและมีการเลียนแบบพอแมที่ตนถือเปนฮีโรของลูก<br />

ทุกคน สวนนักบวชทางศาสนาซึ่งเปนศูนยรวมใจ ศูนยรวมความเชื่อความศรัทธา มีการอบรม<br />

สั่งสอนและผลิตนักบวชที่มีคุณภาพ มีวัตรปฏิบัติที่อยูในศีลในธรรม มีการปฏิบัติที่เปนแบบอยาง<br />

สามารถเปนผูนําทางวิญญาณและเผยแผธรรมะที่ถูกตองแกประชาชน สวนสถาบันการศึกษามีการ<br />

ทํางานประสานกับผูปกครองใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษาแกลูกหลาน มีการพัฒนาหลักสูตรที่<br />

สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในทุกระดับชั้น การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมจึงกระทํากับบุคคลใน<br />

ทุกระดับตั้งแตผูนําทุกระดับในหนวยงานองคกร นักการเมือง ขาราชการ พอแม ครูบาอาจารย<br />

นักบวช เด็กและเยาวชน<br />

2.3 การปฏิรูปการศึกษาและการปฏิรูปสื่อ ถือเปนเครื่องมือที่สําคัญในการขับเคลื่อน<br />

คุณธรรมจริยธรรมใหถูกทิศถูกทางและขยายไปในวงกวาง การจัดการเรียนการสอนที่สอดคลอง<br />

กับกลุมเปาหมายในแตละระดับ แตละชวงวัย โดยกําหนดไวเปนหลักสูตรที่เปนมาตรฐานใชทั้งใน<br />

เมืองและชนบท มีบทเรียนที่นําหลักธรรมทางคุณธรรมจริยธรรมสอนใหรูวาคนดีตองทําอยางไร มี<br />

วิธีคิดที่เปนเหตุเปนผล รูจักการใหเกียรติผูอื่น ยอมรับในความแตกตางของเชื้อชาติ ศาสนาและ<br />

ความเชื่อของบุคคล ฉะนั้นจุดมุงหมายของการศึกษาที่ดีเพื่อใหเกิดทักษะความรูความเชี่ยวชาญและ<br />

มีคุณธรรมจริยธรรมอันเปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของสังคม สําหรับสื่อมวลชนซึ่งเปนเครื่องมือ<br />

และชองทางการพัฒนาสังคม ดังนั้นนักสื่อมวลชนและสื่อมวลชนที่มีคุณภาพจะทําบทบาทหนาที่<br />

ของตนเองอยางถูกตองในการชี้นํา ชี้แนะและเฝาระวัง ตรวจสอบขอมูลขอเท็จจริงสิ่งตาง ๆ ที่<br />

เกิดขึ้นเพื่อใหสังคมไดรับรู ไมบิดเบือนขอมูลจากความเปนจริง หรือตกอยูใตอิทธิพลของอํานาจ<br />

หรือทุน ทําใหสูญเสียจรรยาบรรณและจิตวิญญาณคุณธรรมจริยธรรมที่สงผลกระทบตอสังคมใน


161<br />

วงกวาง เชน สื่อใหความสําคัญกับกิจกรรมดี ๆ ที่เปนกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา<br />

สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต งดเวนการเสนอขาวความรุนแรง กระตุนสงเสริมใหเด็กรักการอาน<br />

จัดแบงเวลาอยางเหมาะสมและเนนรายการเด็ก ดานความรู เกมวิทยาศาสตร ภาพยนตรที่มีคติ<br />

สอนใจใหเด็กเปนคนดีมีคุณธรรม ถายทอดรายการสารคดี ประวัติศาสตร วัฒนธรรมของประเทศ<br />

เพื่อใหเด็กและเยาวชนไดเรียนรูรากเหงาของตนเองและเขาใจวัฒนธรรมของตนเองอยางลึกซึ้ง จาก<br />

วิธีที่สื่อของประเทศเหลานี้นําเสนอทําใหประชาชนในประเทศเปนคนรักชาติ เขาใจวัฒนธรรม<br />

ตนเองและรอบรูเรื่องของสังคมโลก เพราะมีความใฝรูใฝเรียนและไดรับขอมูลจากสื่อที่มีคุณภาพ<br />

3. แนวทางแกไขปรับปรุงและบมเพาะคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย จากการเรียนรู<br />

ประเทศอื่น ๆ ในเบื้องตนจะตองยอมรับความเปนจริงวาสังคมไทยไดเกิดปญหาอะไร จะสามารถ<br />

นําบทเรียนใดมาประยุกตใชอยางไร เพราะประเทศไทยอาจมีรายละเอียดบางอยางที่แตกตางและ<br />

ประเทศไทยก็มีจุดแข็งของตนเอง อยางไรก็ตามปจจุบันเปนที่ยอมรับวาสถาบันทางสังคมของไทย<br />

มีความออนแอไมสามารถเปนผูนําในการขัดเกลาและชี้นําสังคมในสิ่งที่ถูกตองได เชน สถาบัน<br />

ครอบครัวออนแอ พอแมไมสามารถเปนแบบอยางและอบรมสั่งสอนใหความอบอุนกับลูกได<br />

สถาบันศาสนาโดยเฉพาะพุทธศาสนาก็มีความขัดแยงกันมากขึ้น นับวันองคกรที่ดูแลพุทธศาสนา<br />

ทั้งฝายศาสนจักรและอาณาจักรตางออนแอเพราะไมเครงครัดตามหลักธรรมคําสอน ทําใหไม<br />

สามารถทําหนาที่เปนศูนยรวมของความศรัทธาที่มีพลังไดอยางเขมแข็ง พุทธศาสนิกชนตางคนตาง<br />

คนหาผูนําทางจิตวิญญาณตามความเชื่อความเขาใจของตนเอง สถาบันการศึกษาที่มุงสอนคนให<br />

เปนคนเกง ใชความรูความสามารถเพื่อความสําเร็จและความร่ํารวยของตน การสรางคานิยมทาง<br />

สังคมที่ ยกยองชื่นชมคนรวย วาเปนคนเกง สื่อมวลชนที่ถูกครอบงําดวยระบบทุนทําใหไมเปนตัว<br />

ของตัวเองและตกอยูในอิทธิพลของอํานาจเงินที่จะเสนอขาวไปตามความตองการของนายทุน จึงไม<br />

อาจเปนที่หวัง หรือพึ่งพาในการพัฒนาประเทศไดอยางเต็มที่เหมือนในอดีตที่ผานมา<br />

ดังนั้นสิ่งที่สังคมไทยจะตองตระหนักถึงความออนแอของสถาบันพื้นฐานทางสังคมที่นํา<br />

ไปสูความเสื่อมโทรมทางคุณธรรมจริยธรรม ตองไดรับการแกไข ดังนี้<br />

3.1 การนําคุณธรรมจริยธรรมสากลขั้นพื้นฐาน ที่ประเทศสวนใหญใหการยอมรับ<br />

และถือปฏิบัติเพื่อเปนฐานการอยูรวมกันอยางสันติ ไดแก ความขยัน อดทน ซื่อสัตย มีวินัย<br />

รับผิดชอบ ประหยัด ประเทศไทยเองก็มีหลักคําสอนที่ใกลเคียงกับกลุมประเทศในเอเชีย คือ ความ<br />

กตัญู ออนนอมถอมตน เคารพผูอาวุโส สิ่งที่ควรปลูกฝงเพิ่มเติมคือ การทํางานหนักดวยความ<br />

มุงมั่นตั้งใจและเห็นปญหาเปนสิ่งทาทาย ทั้งนี้ดวยนิสัยคนไทยเปนคนรักสนุก ชอบความ<br />

สะดวกสบาย จึงทําอะไรเลน ๆ มีปญหายุงยากก็มักจะหนีปญหา นอกจากนี้ยังตองฝกทักษะเรื่อง<br />

การคิดวิเคราะหดวยเหตุดวยผล ซึ่งเปนเรื่องที่นาแปลกใจวาในอดีตคนไทยมีใจเอื้อเฟอ ยอมรับ


162<br />

ผูอื่นไดงาย ประชาชนในประเทศสามารถอยูรวมกับความแตกตางของคนหลายเชื้อชาติ ศาสนา<br />

และวัฒนธรรมไดอยางกลมกลืนเปนเนื้อเดียวกัน แตปรากฏวาในปจจุบันความคิดทางการเมืองที่<br />

แตกตางทําใหเกิดความแตกแยกของประชาชน ถึงขั้นแกปญหาดวยความรุนแรง แมแตภายใน<br />

ครอบครัว ความสัมพันธก็ยังหวั่นไหวและเปราะบาง<br />

3.2 ประเทศไทยไมเคยผานประสบการณทางประวัติศาสตรของการตกเปนเมืองขึ้น<br />

หรือการตอสู ไมเคยมีบทเรียนความเสียหายที่ตองสรางชาติขึ้นมาใหมและตองใชเวลานานหลายป<br />

กวาจะฟนฟู กวาจะพัฒนาประเทศใหเจริญขึ้น เหตุการณเหลานี้แตกตางกับประเทศในกลุมเอเชียที่<br />

ไดกลาวมาแลว ถึงแมวาประเทศไทยจะมีประวัติศาสตรสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 แตก็<br />

ดูเหมือนวาคนไทยในปจจุบันจะลืมประวัติศาสตรดังกลาวไป ความสุข ความสะดวกสบาย การถูก<br />

ครอบงําจากกระแสโลกาภิวัตนทุนนิยมเสรีประชาธิปไตย ทําใหสังคมไทยเสื่อมถอยทางคุณธรรม<br />

จริยธรรมลงเรื่อย ๆ เรียกไดวา ประเทศไทยอยูในภาวะคุณธรรมจริยธรรมตกต่ํา เกิดปญหาความ<br />

รุนแรง ปญหาคอรรัปชั่นเปนที่ยอมรับไดในสังคม จากเอแบคโพลล ของนายนพดล กรรณิกา<br />

ผูอํานวยการศูนยวิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (โสภณ แดงโสภณ. 2554. ออนไลน)<br />

พบวา ประชาชนรอยละ 64.5 ยอมรับรัฐบาลที่ทุจริตคอรรัปชันได ถาทําใหประเทศชาติรุงเรือง<br />

ประชาชนกินดีอยูดี ตนเองไดรับประโยชนดวย โดยกลุมเยาวชนอายุต่ํากวา 20 ปและผูมีรายได<br />

มากกวา 20,000 บาทตอเดือน ยอมรับได รอยละ 71 นักเรียน นักศึกษา ยอมรับได รอยละ 72.3<br />

รองลงมาพอคา นักธุรกิจ ผูประกอบการสวนตัว รอยละ 67 พนักงานบริษัทเอกชน รอยละ 64.9<br />

กลุมเกษตรกรและผูใชแรงงานทั่วไป รอยละ 56.4 กลุมขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ รอยละ 50.<br />

และผลของการสํารวจที่ผานมา 2 ครั้งไดคําตอบที่ใกลเคียงกัน วา ประชาชนยอมรับการทุจริตได<br />

หากตนไดรับประโยชนดวย แมวาหลายคนหลายฝายตางมีความหวงใยตอความคิดที่หลงผิดไปจาก<br />

มาตรฐานทางจริยธรรม เพราะการทุจริตคอรรัปชั่นเปนภาระตนทุนทางสังคมที่ทุกคนตองแบกรับ<br />

ดังนั้นจึงเปนสิ่งที่ทุกฝายตองทบทวนความตกต่ําในครั้งนี้และผลที่จะตามมาในอนาคต สังคมตอง<br />

เรงสรางความเขาใจและตระหนักถึงภัยที่จะเกิดขึ้นในอนาคต<br />

3.3 ความสําเร็จจะเกิดขึ้นในสังคมไทยได สิ่งสําคัญตองไมลืมรากเหงา วัฒนธรรม<br />

ประเพณีที่งดงามของชาติและจะตองดํารงรักษาไวใหมีการสืบทอดรุนตอรุน ซึ่งจุดบกพรองที่ผาน<br />

มาของประเทศ คือ เนนการพัฒนาจนกอใหเกิดความเสียหายตอเอกลักษณ ความเปนตัวตนที่<br />

แทจริงของไทย แตยอมใหถูกครอบงําและเปนไปตามกระแสคานิยมตะวันตก ดังนั้นการประพฤติ<br />

ตัวของผูบริหารบานเมือง ผูหลักผูใหญที่มีความรับผิดชอบตอสังคมจะตองทําตัวเปนแบบอยางที่ดี<br />

มีศีล มีธรรม ซื่อสัตย มีความอดทน อดกลั้น ไมฉอฉล ไมมัวเมาลุมหลงอบายมุข รักชาติและทําสิ่งที่


163<br />

สรางสรรคแกสังคม เพื่อเด็กและเยาวชนจะไดทําตามแบบอยางที่ดี มิฉะนั้นก็ไมอาจที่จะสอนเด็ก<br />

และเยาวชนใหเปนคนดีได ถาผูใหญเองไมเปนแบบอยางที่ดี<br />

3.4 ใหความสําคัญและสงเสริมความเขมแข็งของสถาบันครอบครัว ทั้งนี้รัฐบาลตอง<br />

มีนโยบายที่ชัดเจนในการสงเสริม สนับสนุน ใหการชวยเหลืออยางเปนรูปธรรม ไมปลอยใหแตละ<br />

ครอบครัวตองตอสูโดยลําพัง สิ่งสําคัญที่ทําใหครอบครัวออนแอ เกิดจากปญหาดานเศรษฐกิจ<br />

ปญหาปากทอง พอแมตองทํางานกันตัวเปนเกลียวไมมีเวลาที่จะดูแลอบรมสั่งสอนและใหความ<br />

อบอุนแกลูก รวมทั้งปญหาสังคมที่ซับซอนและมีสิ่งกระตุนกิเลสทําใหการควบคุมพฤติกรรมที่จะ<br />

เลือกในสิ่งที่กอใหเกิดความเสื่อมเสียแกสมาชิกในครอบครัวไดงาย ดังนั้นนอกจากแตละ<br />

ครอบครัวจะตองดูแลเอาใจใสใหมากขึ้นแลว หนวยงานของรัฐหลายหนวยงานนาจะมีสวนที่เขา<br />

ไปชวยเหลือ เชน การสงเสริมสนับสนุนความเขมแข็งใหแกครอบครัวในรูปของกิจกรรม<br />

โครงการและประสานความรวมมือกับการใชสื่อสารมวลชนในเชิงสรางสรรคที่กอใหเกิดความรู<br />

ความเขาใจและประโยชนที่จะเกิดแกสถาบันครอบครัว เปนตน<br />

3.5 การปฏิรูปการศึกษา นับวาเปนปญหาใหญ ทิศทางการปฏิรูปและการปฏิบัติที่<br />

ผานมาดูเหมือนจะเกาไมถูกที่คัน การปฏิรูปการศึกษาไทยเนนใหเกิดการแขงขันทางดานความรู<br />

เพื่อใหสามารถสอบเขามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของประเทศ จบออกมาจะไดมีอาชีพที่ดี ทํารายได<br />

สูง ๆ เปนที่ยอมรับของสังคมและคานิยมนี้ยังคงอยูในสังคมไทย ทั้งที่ประเทศทั่วโลกให<br />

ความสําคัญกับสถาบันการศึกษาที่เปนองคกรหลอหลอมคุณธรรมจริยธรรมของเด็กตั้งแตระดับ<br />

อนุบาล เพราะถือเปนรากฐานสําคัญที่จะตองวางฐานใหถูกตองแข็งแรง ทั้งนี้ตองมีการปลูกฝงอยาง<br />

ตอเนื่องในระดับที่สูงขึ้นไป จึงตองทําใหสถาบันการศึกษาไดคุณภาพมาตรฐานในระดับที่ใกลเคียง<br />

กัน ใหงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ การจัดระบบการศึกษาใหเด็กรูจักการคิดวิเคราะห กลาคิด<br />

กลาแสดงออก รวมไปถึงการเรียนการสอนจะตองมีการสืบทอดอุดมการณของบุคคลสําคัญที่เปน<br />

ศูนยรวมของความศรัทธา ดังเชนหลายประเทศไดใชหลักการนี้จนประสบผลสําเร็จ เชน เวียดนาม<br />

เกาหลี เยอรมัน สําหรับประเทศไทยบุคคลสําคัญที่สามารถสรางพลังศรัทธาไดมีอยูไมนอย แต<br />

ไมไดมีการกระทําที่เปนระบบ หรือมีการถายทอดใหตอเนื่อง โดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชนรุนใหม<br />

ที่ไมไดรับรู ไมรูจัก ไมสนใจ จึงเปนหนาที่ที่ระบบการศึกษาจะตองจัดการใหเด็กและเยาวชนได<br />

ตระหนักถึงแบบอยางการปฏิบัติ แนวคิด หลักคําสอนของบุคคลสําคัญ เชน พระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทานพุทธทาสภิกขุ พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ.ประยุตโต)และบุคคล<br />

สําคัญอีกมากมาย ที่ไดรับการยอมรับทั้งในระดับประเทศ รวมทั้งที่ไดรับการยกยองจากองคกร<br />

ยูเนสโกใหเปนบุคคลสําคัญของโลก แตนาเศราใจที่คนไทยสวนใหญไมรับรูและไมไดเรียนรู<br />

แบบอยางการดําเนินชีวิตดวยคุณธรรมที่งดงาม สามารถนํามาเปนแรงบันดาลใจ นํามาปลูกฝง


164<br />

คุณธรรมจริยธรรมแกประชาชนไทยได สิ่งที่คนไทยพึงตระหนักถึงรากเหงาของประเทศไทย<br />

เกิดขึ้นจากพุทธศาสนา กษัตริยทุกพระองคตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยลวนเลื่อมใสในพุทธศาสนา<br />

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ไดเคยทรงพระราชนิพนธเพลงยาวแถลงความใน<br />

พระราชหฤทัยไวตอนหนึ่งวา..(บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, 2542. ออนไลน)<br />

“ตั้งใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา<br />

จะปองกันขอบขัณฑสีมา รักษาประชาชนแลมนตรี”<br />

มาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจาอยูภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงประกาศพระองค<br />

ทรงเปนพุทธมามกะและทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก อยางไรก็ตามพระมหากษัตริยของไทยไดทรง<br />

เปนตัวแทนของชาติประกาศความมีน้ําใจกวางขวาง ไมรังเกียจกีดกันผูที่ศรัทธาเลื่อมใสศาสนา<br />

ตางกัน ทุกคนลวนแตเปนขาแผนดินผูอยูในขายแหงพระมหากรุณาเสมอกัน นอกจากนี้ตลอด<br />

รัชกาลที่ผานมาจนถึงปจจุบัน พระองคไดทรงยึดมั่นทศพิศราชธรรมและพระราชกรณียกิจทุกอยาง<br />

เปนไปเพื่อประโยชนสุขของปวงชนชาวไทย ดังนั้นคนไทยทุกคนตองตระหนักและรําลึกถึงพระ<br />

มหากรุณาธิคุณที่ไดทรงสรางคุณูปการทั้งหลายเพื่อแผนดินไทยและทรงเปนแบบอยางดาน<br />

คุณธรรมจริยธรรมที่งดงามยิ่งในฐานะของกษัตริยที่ทรงทศพิศราชธรรม กตัญูกตเวทีและศีลจริย<br />

วัตรที่งดงามของพุทธมามกะ<br />

3.6 การปฏิรูปสื่อและสื่อสารมวลชน พึงรักษาจรรยาบรรณวิชาชีพอยางเครงครัด<br />

และเขาใจความสําคัญของความเปนสื่ออยางถูกตอง ไมทําตัวเปนผูรับใชนายทุน หรือเปนนายทุน<br />

เสียเอง เพราะสื่อถือเปนเครื่องมือที่สื่อสารไดรวดเร็วและกวางขวาง สามารถที่จะเปนแบบอยาง<br />

เปนผูชี้แนะสิ่งที่ถูกตองใหแกสังคม ในประเทศไทยรัฐซึ่งเปนเจาของสถานีโทรทัศนหลายแหง<br />

แตไมไดบริหารงานใหเกิดประโยชนในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแกสังคม เพราะไดขาย<br />

สัมปทานแกเอกชนไปบริหารงานเพื่อประโยชนทางธุรกิจ ทําใหรายการที่เปนประโยชนในการ<br />

สงเสริมคุณธรรมจริยธรรมมีนอยและอยูในชวงเวลาที่ไมเหมาะสม เชน รายการธรรมะจะอยูชวงดึก<br />

หรือเชามืด นอกจากนี้ยังไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณทําใหรายการธรรมะดี ๆ ไมมีใหไดชม<br />

ในฟรีทีวี แตจะเนนรายการบันเทิง ที่กระตุนการเพิ่มกิเลสของความอยาก ความโลภ การบริโภค<br />

ความฟุงเฟอเสียมาก ซึ่งแตกตางจากประเทศที่เจริญแลวทั้งหลาย<br />

ปจจุบันประเทศไทยไดจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ<br />

โทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ตามพระราชบัญญัติองคการจัดสรรคลื่น<br />

ความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุ โทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 โดย<br />

คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (National


165<br />

Broadcasting and Telecommunication Commission : NBTC) เปนหนวยงานอิสระของรัฐมีบทบาท<br />

หนาที่ในการบริหารความถี่วิทยุ เพื่อกิจการโทรคมนาคมและกํากับดูแลการประกอบกิจการ<br />

โทรคมนาคม ก็หวังวาในอนาคตสังคมไทยจะมีรายการที่เปนประโยชนเพิ่มมากขึ้น<br />

สรุป<br />

การเรียนรูการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของนานาประเทศ ทั้งในกลุมเอเชีย กลุมยุโรป<br />

และกลุมประเทศในอเมริกาเหนือและแปซิฟค ตางมีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมที่นาสนใจ<br />

คือ กลุมประเทศในเอเชีย 5 ประเทศไดแก เกาหลี ไตหวัน เวียดนาม ศรีลังกาและอินเดีย จะมี<br />

ลักษณะการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมที่ใกลเคียงกัน รวมถึงประเทศไทยดวย เชน การยึดหลักคํา<br />

สอนทางศาสนา คําสอนของบุคคลสําคัญของประเทศ โดยประเทศที่มีประวัติศาสตรที่ผานความ<br />

ยากลําบากจะเนนเรื่องของความขยัน อดทน ซื่อสัตย กตัญู รักชาติ รับผิดชอบ มีวินัยและรัก<br />

การศึกษา แมจะยากจนก็ไดรับการปลูกฝงใหเห็นความสําคัญของการศึกษา กลุมประเทศยุโรป<br />

อเมริกาเหนือและแปซิฟคใต จะเนนปลูกฝงเรื่องของการตรงตอเวลา ความขยัน ประหยัด รักสันติ มี<br />

เหตุมีผล เปนตัวของตัวเอง เคารพผูอื่นและเคารพในความแตกตาง ซึ่งแตละประเทศก็จะใช<br />

เครื่องมือของสถาบันตาง ๆ เขามาทําหนาที่ในการขัดเกลาคุณธรรมจริยธรรม เชน บทบาทของผูนํา<br />

การปกครอง ผูนําทางจิตวิญญาณ ผูนําทางปญญา ศาสนา ปรัชญาและความเชื่อ สถาบันครอบครัว<br />

สถาบันการศึกษา บทบาทของรัฐ สื่อสารมวลชนและการมีสวนรวมของชุมชน ตลอดจนการใช<br />

เหตุการณในประวัติศาสตรของชาติและภูมิศาสตรของตน จากการเรียนรูบทเรียนการปลูกฝง<br />

คุณธรรมจริยธรรมของประเทศตาง ๆ จะพบจุดออนมากมายในสังคมไทย ที่จะตองรีบแกไขโดย<br />

ตองกลับมาทบทวนและนําคุณธรรมจริยธรรมสากลพึ้นฐานมาถือปฏิบัติ การเรียนรูประวัติศาสตร<br />

วัฒนธรรมที่ดีงามของประเทศ ตลอดจนการสรางความเขมแข็งใหแกสถาบันครอบครัว การปฏิรูป<br />

การศึกษาที่ถูกทิศทาง การปฏิรูปสื่อสารมวลชนใหสรางสรรคงานที่กอใหเกิดปญญาและเปน<br />

ประโยชนตอสังคม จึงอาจกลาวไดวาถาคนในสังคมเขมแข็งดวยคุณธรรมจริยธรรมก็จะสงผลให<br />

เกิดความสงบ เรียบรอยไปทั่วทุกวงการ ตลอดจนความสามารถในการพัฒนาประเทศใหเปนที่<br />

ยอมรับในภูมิภาค ดังเชนประเทศที่กลาวมาขางตนแลว


166<br />

กรณีศึกษา<br />

คมสรัญญี. (นามแฝง). (2542. ออนไลน) ไดวิเคราะหบทความ เรื่อง “ทางออกประเทศ<br />

ไทย...มุมมองจากแผนดินพุทธภูมิ”)<br />

ในชวงนี้ไดติดตามขาวสารบานเมืองมาตลอดดวยความเปนหวง โดยมองภาพรวม ในมุม<br />

หนึ่งของความรูสึกจากผูอยูแดนไกล..สิ่งที่ไดเห็นคือ แรงชักจูงของสื่อตาง ๆ อันสืบเนื่องดวยการ<br />

วิเคราะหเหตุการณที่เกิดขึ้นในบานเมืองปจจุบัน ดุจเปนการชี้นํา ยิ่งแตจะเติมความรุนแรงและ<br />

แตกแยก และที่สําคัญคือสื่อกลับใหโอกาสคนที่ทําความผิดไดใชแกตัวเรียกรองความถูกตองเปน<br />

ธรรมใหกับตัวเองทั้ง ๆ ที่เปนความผิดอยางที่เห็นไดชัด โดยไมไดพิจารณากลั่นกรองการนําเสนอ<br />

สื่อนั้น ๆ เลย จึงกลายเปนความชอบธรรมและเรียกรองความถูกตองของคนทําผิดไปเลย ผูแทน<br />

ของประชาชนทําหนาที่แคสรางกระแสเรียกรองความเปนธรรมแตเนื้อแทแลวไมมีอะไรที่นาฝากผี<br />

ฝากไขไดเลย และนอยนักที่จักมีการเสนอทางออกใหกับปญหาหรือนักวิเคราะหสรางสรรค มีแตจะ<br />

ชวงชิงชองทางที่ไดเปรียบสาดโคลนใสฝายตรงขาม สานตอกอเวรกรรม นําความขัดแยงมาใหซึ่ง<br />

กันและกัน อันจักยิ่งทําใหเพิ่มเติมไฟแหงความแตกแยก แบงแยก แบงฝายมากยิ่งขึ้น ฝายที่คิดวา<br />

ตัวเองชนะ..ก็ไดทีขี่แพะไล คิดวาผูชนะจะทําอะไรก็ได ฝายที่แพก็หาทางกอเวร..ผูกอาฆาต รอ<br />

โอกาสเอาคืน เชนนี้แลวเราจะเห็นลําแสงที่ปลายอุโมงคแหงสันติไดอยางไร นับเปนเรื่องที่<br />

อันตรายตอสถานะความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมในทุก ๆ ดานของประเทศในยามนี้ และเปนการยาก<br />

ที่จักหาจุดเชื่อมประสานซึ่งความสามัคคีกันไดอีก<br />

ทางออกที่เราจะมองหากัน ดูเหมือนวา...ทุกคนก็เรียกรองเพื่อการสมานฉันท อยากเห็น<br />

ความสามัคคีของคนในบานเมือง ในขณะเดียวกันบุคคลที่เปนตนเหตุของเรื่องก็ไมกลาที่จักเสียสละ<br />

ผลประโยชนสวนตน เพื่อสวนรวมคือประเทศชาติใหอยูรอด.. ยิ่งแตจะกลับนําผลประโยชน<br />

สวนตัวที่มี หาชองทางเพื่อไดคืนมาซึ่งประโยชนสวนที่ตนเองเสียไป โดยไมสนใจใยดีวาอะไรบาง<br />

ที่จะมีผลกระทบและความเสียหายตอประเทศชาติบานเมือง ยิ่งแตจะเปนการโหมไฟใหเผาไหม<br />

ประเทศชาติบรรลัยเร็วขึ้นเทานั้นเอง<br />

เพื่อปรับอารมณ ปรับตั้งสติกันใหมเสียกอน ขอทุกทานไดมามองตนเองเสียกอน ให<br />

พิจารณา ถึงความเปนจริงของชีวิต วา เรามีความตายเปนที่สุด...สุดทายแลวก็นําอะไรไปไมได..<br />

หากทุกคนคิดวา...วันหนึ่งเราก็ตายเปนเหมือนกัน ชาหรือเร็ว เราก็ตองตาย ลองทําใจปลอยวางใน<br />

เรื่องตาง ๆ ลงใหไดเสียกอน และหาที่พึ่งใหตนเองกอน มองภายในใหมากกวาที่จะไปมองภายนอก<br />

ความขัดแยงที่กําลังเกิดขึ้นนี้เรามีสวนไดสวนเสียอะไรบางเปนสวนหนึ่งแหงปญหาบานเมืองที่<br />

เกิดขึ้นนี้หรือไม ปรับตนใหสงบจากขางในกอน ถาขางในไมสงบ ก็อยาหวังวาความสงบจะมีขาง<br />

นอกเลย วันเวลาผานไป โอกาสตาง ๆ ของเราก็ผานไป วัน ๆ เราไดทําอะไรบางอันจักเปนไป


167<br />

เพื่อใหชีวิตมีคา มีสวนรวมในการพัฒนาประเทศชาติ บานเมือง รวมทั้งทําอะไรบางใหตัวเอง คน<br />

รอบขางที่มีคุณคาแกความภาคภูมิใจตนบางหรือไม<br />

ขอใหลองยอนกลับไปที่วินาที ที่ทานไดหลุดออกจากครรภแหงมารดา..ถามวา ทุกคนมี<br />

อะไรติดมือมาบาง ขอใหทุกคนลองยอนกลับไปดูที่มาของตน...จริงๆ แลวเราไมมีอะไรติดตัวมาเลย<br />

ทุกอยางเรามาหาขางหนา...และวันที่เราจะจากมันไป..เราก็หิ้วหอบสิ่งเหลานี้ไปดวยไมไดเชนกัน<br />

แลวจะเอาอะไรกับมันกันหนักหนา<br />

ยอนกลับไป ณ จุดเริ่มแหงสีตาง ๆ ไมวาเหลืองหรือแดง หรือน้ําเงิน...แตกอนก็ยังไมมีสี<br />

ไมมีกลุมที่ใหเราแบงแยกกันเชนนี้...ขอใหเรากลับไปที่เดิม ความรูสึกเดิมกอนที่จะมีสีในใจเราจะ<br />

พบวา..ตอนนั้นพวกเราอยูกันดวยความสุข ไมมีปญหาใด ๆ ตอกันแตเมื่อมีสีเราเริ่มทะเลาะและแบง<br />

ฝายกัน<br />

ฉะนั้น เมื่อพวกเรากําลังเรียกรองมองหาทางออก...ทุกคนตองการหาทางออกใหกับ<br />

ประเทศ...เพราะตอนนี้เมื่อมองไปขางหนาความหวังชั่งริบหรี่เหลือเกิน แตถาเรามองยอนกลับถอย<br />

หลังไป..เราจะมองเห็นทางออกในทันทีวา..ทางออกของประเทศชาติ จากความวุนวายอยู ณ ขณะนี้<br />

มันก็คือทางที่เราเดินเขามานั่นเอง กลับไปเถิดประเทศไทย กลับไป ณ จุดเดิมแหงหัวใจสีขาว<br />

บริสุทธิ์ดวยกันเถิด....แสงทองแหงความหวังอยูที่ตรงนั้น ฯ<br />

มามองในสวนแหงรูปธรรม...ที่เกิดขึ้นนี้ เหตุการณเกิดขึ้นในปจจุบันจากเสื้อเหลือง เสื้อ<br />

แดง เสื้อน้ําเงิน หรือไมมีเสื้อก็ตาม ตัวอยางที่เกิดขึ้นเชน คุณสนธิ ลิ้มทองกุล...ถูกลอบสังหาร<br />

หากคุณสนธิ ตาย คิดหรือวาเรื่องตาง ๆ จะจบลงงาย ๆ แมอดีตนายกทักษิณ ถูกฆา คิดหรือวา<br />

ปญหามันจะจบ และก็ไมรูอีกกี่ชีวิตที่จะจบเพราะเหตุการณความขัดแยงเดินทางมาจนถึงจุดนี้และ<br />

จะดําเนินตอไป...จนเรามองไมเห็นวาจะจบไดอยางไร ยิ่งมองไปขางหนายิ่งมองเห็นความขัดแยง<br />

การแบงแยก แตกสามัคคีกันของคนในชาติทั้งนั้น แนนอนทุกคนตางก็มีอดีต แตถาลืมอดีตไป<br />

มองเห็นปญหาดวยความเปนหวงชาติบานเมืองดวยกันทุกคนแลวอภัยใหกันทุกอยางก็จบ ทั้ง ๆ ที่<br />

ตางฝายตางก็บอกวารักชาติ เทิดทูลสถาบันพระมหากษัตริย แตการกระทําที่กําลังกระทําของบาง<br />

กลุมบางคนอยูนี้ไมเปนไปเพื่อชาติ เพื่อพระมหากษัตริยเอาเสียเลย ทุกวันประเทศชาติกําลังบอบช้ํา<br />

หนัก การที่ทานเพิ่มความวุนวายเพิ่มปญหาใหกับบานเมือง และการนําความผิดพลาดตาง ๆ ที่<br />

เกิดขึ้นในประเทศไปประจานใหชาวโลกรูทั่วนั้น ก็เทากับวาทานนั่นแหละคือตัวการทําลายชาติที่<br />

แท...ปญหาเกิดขึ้นภายในประเทศ...ก็ตองดับในประเทศ อยาหาทางดับนอกประเทศเลย มันไมมี<br />

ทางดับไดหรอก ฯ<br />

- ขอทุกคนเสียสละกันจริง ๆ สักครั้งเพื่อประเทศชาติเถิด...ชางชนชาง หญาแพรกก็มีแต<br />

แหลกราน..เมื่อบานเมืองมีปญหา ประชาชนตาดํา ๆ เทานั้นคือดานแรกที่ตองมารับเคราะหกรรม


168<br />

ทุก ๆ ครั้งอยางที่เห็นอยูนี้ โปรดเมตตาเขาเหลานั้นเถิด แคชีวิตหาเชากินค่ํารอดไปวัน ๆ ก็ลําบาก<br />

มากพอแลว อยาใหพวกเขาตองมารับเคราะห นําพวกเขาเปนเครื่องมือ เพราะบรรดาผูมีอํานาจ<br />

ทั้งหลายในบานเมืองทะเลาะกันอีกเลย<br />

- ขอใหกลาเสียสละ...เพราะตอนนี้ตางฝายตางเรียกรองใหมีการเสียสละแตตนเองแม<br />

ความคิดก็ยังไมเคยที่จะคิดเสียสละ หากยอมไมเปนเย็นไมได ก็มีแตจะเพิ่มความขัดแยง แบงแยก<br />

อยางที่กําลังเกิดขึ้นอยูนี้ชัยชนะที่ยิ่งใหญคือชนะตนเองตางหาก..จะภูมิใจไปใย ถึงชัยชนะที่อยู<br />

เหนือซากปรักหักพังของประเทศชาติ<br />

- ขอใหทุกคนจงลืมสี เพราะสีนี่เองทําใหเห็นถึงการแบงแยก กลับใจคืนสูสีขาวบริสุทธิ์<br />

ดั่งเดิมกันเถิดอยาเรียกสี อันเปนสื่อแหงการแบงแยกกันอีกเลย<br />

-ขอใหอดีตนายกทักษิณ...กลาเสียสละประกาศบริจาคทรัพยสินสมบัติที่ถูกกลาวหาวา<br />

ไดมาไมถูกตอง คืนแผนดินไปใหหมด เพราะทรัพยสมบัติเหลานี้เกิดที่นี่...ก็มอบคืนที่นี่กลับไปสู<br />

เมื่อตอนที่ทานยังไมมี เพราะ เทาที่ทานมีเหลืออยูนี้ตลอดชาติก็ใชไมหมด คืนใหเปนสมบัติของ<br />

แผนดิน แลวกราบบังคมทูลขอพระราชทานอภัยโทษ... และจงเลิกจากการเลนการเมืองโดย<br />

เด็ดขาด หากทานจะออกบวชใหรางวัลในบั้นปลายชีวิตก็จักเปนเรื่องที่นาอนุโมทนา(ตรงนี้อาจจะ<br />

หวังสูงเกินไปหรือเปลา)แผนดินพุทธภูมินี้ยังยินดีตอนรับทานเสมอ<br />

-ขอพระคุณเจา ที่แสดงเปนนักการเมืองในคราบของนักบวช จงลาสิกขาไปเถอะอยานํา<br />

ผาเหลืองมาแปดเปอนเพราะเรื่องนี้เลย เพราะการเมืองเปนเรื่องฆราวาสวิสัยครับทาน<br />

-ขอรอยยิ้ม แหงสยามจงกลับมาอยูบนใบหนาของคนไทย สยามเมืองยิ้มของเราจงกลับมา<br />

อยางที่เราเคยเปนและเปนที่ประทับใจของตางชาติผูมาเยือน<br />

-ขอนักการเมืองไทยทานนายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จงใชกลไกลดานรัฐสภา ที่สามารถ<br />

ทํางานไดอยูนี้เดินหนาหาทางออกใหกับประเทศ หากทานสามารถผานชวงระยะสามเดือนจากนี้ไป<br />

ได รัฐนาวาของทานจักนําพาบานเมืองพนปญหานี้ไดแน ขอนักการเมืองทั้งหลาย จงฟนฟูศรัทธา<br />

ใหกับประชาชน มีความมั่นใจในระบอบประชาธิปไตยของไทย อันมีองคพระมหากษัตริยทรงเปน<br />

พระประมุข เรียกความซื่อสัตย สุจริต ซื่อตรง จริงใจของตนกลับมา คืนใหประชาชนผูเปนฐานเสียง<br />

ของทานและกลับมาเปนตัวแทนของประชาชนอยางแทจริงเสียเถิด<br />

-เรารูวา นิสัยคนไทย...พวกเราคนไทย โกรธงายหายเร็ว...ไมพยาบาท พรอมใหอภัย<br />

สําหรับผูที่สํานึกผิดเสมอ ประเทศไทยเรามีสามสถาบันหลักยืนหยัดความเปนไทยมาแตครั้งโบราณ<br />

กาล...ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย สามเสาหลักนี่แหละคือความเปนประเทศไทย...ตองรักษา<br />

ไวตราบนานแสนนาน เรามั่นใจวาทุกทานทําได...ผองไทยจะกาวไปสูความเจริญรุงเรืองที่ยิ่งใหญ<br />

พรอม ๆ กันนับแตนี้ไป ฯ


169<br />

คําถาม จากบทความนี้<br />

1. ควรมีการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในองคกรใดบาง<br />

2. ใครควรเขามามีบทบาทสําคัญในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม<br />

3. หลักการ หรือหลักคําสอนสําคัญที่จะทําใหเกิดคุณธรรมจริยธรรมของการอยูรวมกัน<br />

และความสงบ สันติจะคืนกลับมา คืออะไร อยางไร


170<br />

บรรณานุกรมทายบทที่ 7<br />

คมสรัญญี (นามแฝง). (2542). บทวิเคราะหทางออกปญหาประเทศไทย. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.oknation.net/blog/mylifeandwork/2009/04/26/entry-1.<br />

เจษฎา ทองรุงโรจน. (2554). ขงจื้อ. กรุงเทพฯ : แสงดาว.<br />

เจือจันทร จงสถิตอยูและรุงเรือง สุขาภิรมย. (2550). รายงานการสังเคราะหงานวิจัยคุณลักษณะ<br />

และกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศตาง ๆ. กรุงเทพฯ :<br />

ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม.<br />

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะและทรงเปน<br />

อัครศาสนูปถัมภก. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://guru.sanook.com/encyclopedia/<br />

สํานักบริการขอมูลและสารสนเทศ. (2554). แนวคิดเกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคมและการอบรม<br />

เลี้ยงดู. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?<br />

topic=5899.0<br />

โสภณ แดงโสภณ. (2554). เอแบคโพลเผย วัยรุนไทยยอมรับคอรัปชั่น หากตนไดประโยชน.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://region4.prd.go.th/ewt_news.php?nid=5467<br />

&filename=index<br />

Broom, L., & Selznick, P. (1958). Sociology: A text with adapted readings. 2nd ed.<br />

New York: Evanston Row, Peterson.<br />

Turner, R. H. (2002). Handbook of Sociological Theory. New York: Kluwer Academic/<br />

Plenum.


บรรณานุกรม<br />

กฎหมายคุมครองทรัพยสินทางปญญา. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

กรมพัฒนาธุรกิจการคา. (2554). การจดทะเบียนสมาคมการคา. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.dbd.go.th/mainsite/index.php?id=96.<br />

กระทรวงวัฒนธรรม. (2554). คุณธรรม 8 ประการ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.mculture.go.th/detail_page.php?sub_id=1059.<br />

กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย. (2545). วาทะคานธี. กรุงเทพฯ : ศยาม.<br />

. (2553). ขาพเจาทดลองความจริง อัตชีวประวัติของมหาตมา คานธี. พิมพครั้งที่ 5.<br />

กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.<br />

กวีวงศ. (2550). สรรนิพนธพุทธทาสวาดวยสมานฉันทและสันติวิธี. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.<br />

กิ่งดาว จินดาเทวิน. (2552). การศึกษาและพัฒนารูปแบบการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีสําหรับ<br />

องคการบริหารสวนตําบล(อบต.)ในจังหวัดอุตรดิตถ. วิทยานิพนธ ปร.ด.<br />

(การศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร.<br />

อัดสําเนา.<br />

กีรติ บุญเจือ. (2551). คูมือจริยศาสตรตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมและ<br />

พัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม.<br />

กุญชรี คาขาย. (2554). การบริหารความขัดแยง. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Conflict_Management.htm.<br />

ขอโตแยงในมุมมองอิสลาม. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.islamshia-w.com<br />

/Portal/Cultcure/Thai/CaseID/45257/71243.aspx<br />

จริยธรรมตามแนวพุทธศาสนา. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://weluwan.org/website/<br />

index.php/getting-help/moralalife/125-buddhism-moral<br />

จริยศาสตรของขงจื ๊อและจริยศาสตรของมหาตมคานธี. [ออนไลน]. (2554).<br />

แหลงที่มา: http://e-book.ram.edu/e-book/p/PY336/py336-11.pdf.<br />

จริยศาสตรของเพลโต. [ออนไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://e-book.ram.edu/e-book/<br />

p/PY336/py336-5.pdf.


173<br />

จริยศาสตรของอริสโตเติล. [ออนไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://e-book.ram.edu/e-book/<br />

p/PY336/py336-6.pdf.<br />

จริยศาสตรตะวันตกสมัยโบราณ. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://e-book.ram.edu/e-book/<br />

p/PY336/py336-4.pdf.<br />

จินตนา บุญบงการ. (2551). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ดานสุทธาการพิมพ.<br />

จุรี วิจิตรวาทการ. (2553). บทวิเคราะหลักษณะนิสัยของคนไทย : รากเหงาของความเจริญและ<br />

ปญหาทั้งมวลของประเทศไทย. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.bloggang.com<br />

เจษฎา ทองรุงโรจน. (2554). คําสอนของขงจื้อ. กรุงเทพฯ : แสงดาว.<br />

เจือจันทร จงสถิตอยูและรุงเรือง สุขาภิรมย. (2550). รายงานการสังเคราะหงานวิจัยคุณลักษณะ<br />

และกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศตาง ๆ. กรุงเทพฯ :<br />

ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม.<br />

ฉลองภพ สุสังกรกาญจน. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงกับวิกฤตเศรษฐกิจ. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.<br />

ชัชชัย คุมทวีพร. (2541). จริยศาสตร : ทฤษฎีและการวิเคราะหปญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ :<br />

Mild Publishing.<br />

ชัยอนันต สมุทวนิช. (2541). ทฤษฎีใหม : มิติที่ยิ่งใหญทางความคิด. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.<br />

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2543). ทฤษฎีตนไมจริยธรรม : การวิจัยและการพัฒนาบุคคล.<br />

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

ธานินทร กรัยวิเชียร. (2548). คุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร. โครงการปริญญาโท<br />

ทางการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.<br />

นภาพร ขันธนภาและศานิต ดานศมสถิต. (2547). จริยธรรมและสภาวะแวดลอมทางธุรกิจ.<br />

กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล ทอป.<br />

เนตรพัณณา ยาวิราช. (2551). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ทิปเพิ้ล กรุป.<br />

แนวคิดเกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคมและการอบรมเลี้ยงดู. [ออน-ไลน]. (2554).<br />

แหลงที่มา: http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=5899.0.<br />

แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ. [ออน-ไลน]. (2549). แหลงที่มา:<br />

www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf<br />

แนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://www.rdpb.go.th/RDPB/front/SufficiencyEconomy.aspx?p=4


174<br />

บทสัมภาษณวอรเรน บัฟเฟตต. [ออน-ไลน]. (2554).<br />

แหลงที่มา: http://news.bn.gs/images/articles/20080306065406686_1.jpg<br />

บรรจง บินกาซันและวิทยา วิเศษรัตน. (2554). หลักปฏิบัติ 5 ประการ. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.islamthailand.com/thai521/introduce/intro-12.php<br />

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะและทรงเปน<br />

อัครศาสนูปถัมภก. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://guru.sanook.com/encyclopedia/<br />

บัญญัติ 10 ประการ. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.gotquestions.org/Thai/<br />

Thai-ten-commandments.html<br />

ประกันสังคม. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK12/<br />

chapter3/t12-3-l3.htm<br />

ปราชญา กลาผจัญ. (2548). คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : ขาวฟาง.<br />

ปติ ศรีแสงนาม. (2551). เลหแมน บราเธอรส (Lehman Brothers) คือใคร..ทําไมถึงลมละลาย.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=offway<br />

&month=17-09-2008&group=13&gblog=29.<br />

ผูจัดการ. (2554). ปูนซิเมนตไทยควา 3 รางวัลใหญองคกรดีเดน Thailand Coporate Excellence.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2920.<br />

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. (2554). จริยศาสตร. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-6-search.asp<br />

. (2554). ระดับ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://rirs3.royin.go.th/new-search/<br />

word-33-search.asp<br />

พรนพ พุกกะพันธุ. (2546). จริยธรรมธุรกิจยุคโลกาภิวัตน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจามจุรีโปรดักท.<br />

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2548). พระพุทธศาสนากับโลกธุรกิจ. กรุงเทพฯ :<br />

ลิเบอรตี้เพรส.<br />

. (2549). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ : วิชั่นบุคส.<br />

. (2551). การพัฒนาจริยธรรม. กรุงเทพฯ : พิมพสวย.<br />

. (2552). พุทธธรรม. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยง<br />

พระไพศาล วิสาโล. (2554). สรางสังคมไทยใหเปนมิตรกับความดี. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.visalo.org/article/budtumKwamdee999.htm.<br />

พระราชชัยกวี (ภิกขุพุทธทาส อินทปญโญ). (2511). การสรางเสริมจริยธรรมแกเด็กวัยรุน.<br />

นครราชสีมา : โรงเรียนนฤมิตรวิทยา.


175<br />

พฤษภาทมิฬ. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

พิภพ วชังเงิน. (2546). จริยธรรมวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : รวมสาสน.<br />

พุทธทาสภิกขุ. (2550). ธรรมศาสตรา : ปรัชญาแหงความพอเพียง. กรุงเทพฯ : เพชรประกาย.<br />

มีนา. (2550). วิกฤตตมยํากุง เกิดจากเศรษฐกิจอยางเดียวหรือ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=79699.<br />

มูลนิธิเพื่อผูบริโภค. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.consumerthai.org<br />

แมกซ เวเบอร. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

ลมลเพ็ชร อภิสิทธินิรันดร. (2554). เสริมสุข-เปปซี่ กรณีศึกษาทุนขามชาติ 'ฮุบ' . [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.bangkokbiznews.com<br />

ลัดดา พินตา. (2552). จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.gotoknow.org/ask/lemon_2910/11978.<br />

วรรณกรรมปริทัศน:ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.<br />

วริยา ชินวรรโณ. (2546). จริยธรรมในวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชวนพิมพ.<br />

วศิน อินทสระ. (2549). พุทธจริยศาสตร. กรุงเทพฯ : ธรรมดา.<br />

วอรเรนต บัฟเฟตต. [ออนไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://news.bn.gs/images/articles/<br />

20080306065406686_1.jpg<br />

วิทย วิศทเวทย. (2526). จริยศาสตรเบื้องตน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา.<br />

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2549). การพัฒนาจริยธรรมของขาราชการ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.psdb.ku.ac.th/government/essay/moral.pdf.<br />

วิไลลักษณ เสรีตระกูล. (2552). ปจจัยที่มีผลตอความเปนปกแผนของครอบครัวตามทัศนะของ<br />

วัยรุนไทย. ปริญญานิพนธ. ปร.ด. (สังคมวิทยา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย<br />

รามคําแหง. อัดสําเนา.<br />

ศาสนาคริสต. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://allknowledges.tripod.com/christ.html<br />

. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://main.dou.us/view_content.php?s_id=182<br />

ศาสนาอิสลาม. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

ศิริยุพา รุงเริงสุข. (2552). บันทึกขอคิดดี ๆ จากวอรเรน บัฟเฟตต และบิลล เกตส.<br />

ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม. (2550). รายงานการสังเคราะหงานวิจัย<br />

คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศตาง ๆ.<br />

กรุงเทพฯ : ศูนยคุณธรรม.


176<br />

เศรษฐกิจพอเพียง. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.chaipat.or.th/chaipat/<br />

content/porpeing/porpeing.html.<br />

. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.sufficiencyeconomy.org<br />

/view-detail.html<br />

สถาบันไทยพัฒน. (2554). CSR ไทย ไตระดับ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.csrthailand.net/th/expert/detail/52.<br />

สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2554). CSR. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.csri.or.th/about/history.<br />

สภาหอการคาแหงประเทศไทย. (2554). สภาหอการคา. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

www.panyathai.or.th/wiki/index.<br />

สมคิด บางโม. (2549). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพัฒนาวิทยการพิมพ.<br />

สมหวัง วิทยาปญญานนท. (2543). บริหารตามหลักทศพิธราชธรรม. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.budmgt.com/budman/bm01/king10.html.<br />

สรุปนโยบายลดภาษีรถคันแรก. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://www.cars-tune.com<br />

สารานุกรม. (2554). Ethics. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.encyclopedia2.<br />

thefreedictionary.com/ethics.<br />

สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://www.ocpb.go.th/main_history.asp<br />

สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2554). มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.moph.go.th/ops/ops/opct/matatan.html.<br />

สํานักบริการขอมูลและสารสนเทศ. (2554). แนวคิดเกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคมและ<br />

การอบรมเลี้ยงดู. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?<br />

topic=5899.0<br />

สุภาพร พิศาลบุตร. (2549). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.<br />

สุรพศ ทวีศักดิ์. (2545). จริยธรรมเปนปญหาหลักของสังคมปจจุบัน. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://www.songpak16.com/prb_jariyatham.html.<br />

สุรศักดิ์ ใจเย็น. (2553). คุณสมบัติพื้นฐานของผูบริหาร. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.svproconsulting.com/index.php?option=con_content&view= article<br />

สุลักษณ ศิวรักษ. (2550). คันฉองสองจริยศาสตร. กรุงเทพฯ : ศึกษิตสยาม.<br />

เสรี พงศพิศ. (2552). วิถีสูชุมชนพอเพียง. กรุงเทพฯ : เจริญวิทยการพิมพ.


177<br />

โสภณ พรโชคชัย. (2550). คุณธรรมธุรกิจ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิประเมินคาทรัพยสิน<br />

แหงประเทศไทย.<br />

โสภณ แดงโสภณ. (2554). เอแบคโพลเผย วัยรุนไทยยอมรับคอรัปชั่น หากตนไดประโยชน.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://region4.prd.go.th/ewt_news.php?nid=5467<br />

&filename=index<br />

ไสว บุญมา. (2552). ความพอเพียงของบิล เกตส. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=iamlady&month=02-<br />

009&date=18&group=22&gblog=19<br />

หลวงปูสุวัจน สุวโจ. (2552). อคติ 4. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://board.palungjit.com<br />

หลักพิจารณาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. [ออน-ไลน]. (2542). แหลงที่มา: www.phetchabun.go.th<br />

หลักศรัทธาของมุสลิม. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

www.masjidsamin.com/main/content.php?page=sub...11...<br />

อโณทัย ไพฑูรย. (2554). CSR ที่แทจริง อยาอางเพียงลอย ๆ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://csr.igetweb.com/index.php?mo=5&qid=192101.<br />

อภิชัย พันธเสน. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงในฐานะรูปแบบที่พึงปรารถนาของระบบสวัสดิการ<br />

สังคมไทย. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา: www.sufficiencyeconomy.org/mfiles.pdf.<br />

อภิรัฐ ตั้งกระจางและคณะ. (2546). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.<br />

อัคภา พิสุทธิ์สกุลรัตน. (2554). การจัดอันดับความโปรงใสนานาชาติ. [ออน-ไลน].<br />

แหลงที่มา: http://thainews.prd.go.th<br />

อานันท ปนยารชุน. (2554). จริยธรรมทางธุรกิจ. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

www.elearning.siam.edu/mod/resource/view.php?id=2884<br />

อํานาจ. [ออนไลน]. (2554). แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/.<br />

HR แบบพอเพียงฉบับศึกษา เครือซิเมนตไทย. [ออน-ไลน]. (2554). แหลงที่มา:<br />

http://www.hrtothai.com<br />

Marketeer. (2553). SCG ควา 4 รางวัลใหญประกาศผล 8 องคกรดีเดนควารางวัลพระราชทาน.<br />

[ออน-ไลน]. แหลงที่มา: http://www.marketeer.co.th/marketeertoday_detail.php?<br />

marketeertoday_id=2773.<br />

MBA. (2543). วิกฤตตมยํากุง เผ็ดรอนแบบไทย. [ออน-ไลน]. แหลงที่มา:<br />

http://mbamagazine.net/home/index.php/blog/43-bizandfinance/160--m-m-s.


178<br />

Numthon Kotvong. (2554). ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม. (ออนไลน). แหลงที่มา:<br />

http://sites.google.com/site/citwithyaphunthan/phathnakar-khx-ngbukhkh/thvsdiphathnakar-thang-cit-sangkhm/khan-kar-khid-laea-kar-kheaci/thvsdi-phathnakarthang-criythrrm<br />

Broom, L., & Selznick, P. (1958). Sociology: A text with adapted readings. 2nd ed.<br />

New York: Evanston Row, Peterson.<br />

Coffey, R. E., Cook, C. W., & Hunsaker, P. L. (1994). Management and Organizational<br />

Behavior. Burr Ridge, IL: Irwin.<br />

Dubrin, A.J. (1990). Effective Business Psychology. 3rd ed. New Jersey: Prentice-Hall.<br />

Kohlberg's Moral Stages. [On-line]. (2011). Available : http://faculty.plts.edu/gpence/html/<br />

kohlberg.htm.<br />

Macdonald, Christie. (2011). Business Ethics. [On-line]. Available :<br />

http://www.businessethics.ca/definitions/business-ethics.html.<br />

Turner, R. H. (2002). Handbook of Sociological Theory. New York: Kluwer<br />

Academic/Plenum.<br />

Van Slyke, E. J. (1999). Listening to conflict: Finding Constructive Solution to Workplace<br />

Disputes. New York: Library of Congress Cataloging-in- Publication Data<br />

W.C. Crain. (1985). Theories of Development. Prentice-Hall.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!