31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การแพรระบาดและการดํารงชีพของเชื้อ<br />

เชื้อ<br />

R. solanacearum เปนแบคทีเรียที่อาศัยอยูในดิน<br />

(soil borne) และเขาทําลายพืชทาง<br />

บาดแผลซึ่งอาจเกิดจากการเขตกรรมหรือชองเปดธรรมชาติ<br />

เชน ชวงที่พืชงอกรากใหม<br />

หลังจากเชื้อ<br />

เขาไปในตนพืชแลวจะทวีจํานวนขึ้นในทอน้ําทออาหารและแพรไปตามสวนตางๆ<br />

ของพืชไดอยาง<br />

รวดเร็ว ในพืชที่ออนแอตอเชื้อจะแสดงอาการเหี่ยวภายใน<br />

4 วัน เชื้อแบคทีเรียจะเริ่มออกมาสูดิน<br />

หลังจากพืชเริ่มแสดงอาการแลวและสามารถเขาทําลายพืชตนขางเคียงไดใหม<br />

การแพรระบาดของ<br />

โรคนี้ไปไดไมไกล<br />

นอกจากจะมีการใหน้ําแบบไหลตามรองหรือสภาพที่ฝนตกหนักจนมีน้ําไหลไป<br />

ตามที่ตางๆ<br />

(ประสาทพร, 2527) นอกจากนี้ปจจัยอื่นที่มีผลตอการแพรระบาดของเชื้อ<br />

ไดแก การ<br />

เคลื่อนยายเมล็ดหรือสวนขยายพันธุ<br />

แมลงพาหะ ไสเดือนฝอย เปนตน เชื้อ<br />

R. solanacearum อยูขาม<br />

ฤดูในดินไดเปนเวลานานถึง 4 ป โดยปราศจากพืชอาศัยในสภาพ saprophyte เมื่อมีพืชอาศัยที่เหมาะ<br />

สมสามารถปรับตัวเขาทําลายพืชตอไป (McCarter, 1976) โดยเชื้อมีชีวิตอยูรอดขามฤดูไดในบริเวณ<br />

รากพืช (rhizosphere) ของวัชพืช (Hayward, 1991) รายงานของวนิดาและคณะ (2534) พบวาเชื้อมี<br />

ชีวิตอยูรอดในดินเหนียวที่มีสภาพความเปนกรด-ดาง<br />

6.9 ไดนาน 12 สัปดาห สวนในดินรวนเหนียว<br />

สภาพดินเปนดาง เชื้ออยูในดินไดนาน<br />

10 สัปดาห แตในดินรวนเหนียวปนทรายมีอินทรียวัตถุสูง<br />

และความเปนกรด-ดางปานกลาง เชื้ออยูไดนาน<br />

8 สัปดาห และพบวาเชื้ออยูไดในระดับลึก<br />

30<br />

เซนติเมตร ปริมาณของเชื้อนอยลงในระดับ<br />

60-75 เซนติเมตร สวนในระดับ 15 เซนติเมตร ไมพบ<br />

เชื้อเนื่องจากความแหงของดินเชนเดียวกับ<br />

Moffett et al. (1983) ซึ่งพบวาในสภาพดินที่แหงแลง<br />

ปริมาณประชากรของเชื้อไบโอวาร<br />

2 และ 3 ลดลง<br />

การจัดจําแนกเชื้อ<br />

Ralstonia solanacearum<br />

เชื้อ<br />

R. solanacearum เดิมชื่อ<br />

Pseudomonas solanacearum E.F. Smith (Smith, 1896) แต<br />

ตอมาในป 1992 Yabuuchi et al. ไดจัดเชื้ออยูในสกุลใหมคือ<br />

Burkholderia โดยใชผลการศึกษา<br />

เปรียบเทียบลักษณะทางฟโนไทป (Phenotype) องคประกอบของไขมัน (cellular lipid) และกรดไข<br />

มัน (fatty acid) การเขาคูกันของสายดีเอ็นเอโดยเทคนิคไฮบริไดเซชัน<br />

(DNA-DNA hybridization)<br />

และลําดับเบสของยีน 16S rRNA แลวเสนอตั้งชื่อใหมเปน<br />

Burkholderia solanacearum จากนั้นใน<br />

ป 1995 Yabuuchi et al. ไดเสนอใหแยก B. solanacearum ออกมาอยูในสกุลใหมคือ<br />

Ralstonia หลัง<br />

จากศึกษาลักษณะของฟโนไทป การวิเคราะหองคประกอบของไขมันและกรดไขมัน การศึกษา<br />

phylogenetic analysis ของลําดับเบสยีน 16S rDNA และ การใชเทคนิคนิวคลีอิคแอซิด ไฮบริไดเซ<br />

5

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!