03.06.2015 Views

วิธีการใช้งาน - คณะทันตแพทยศาสตร์

วิธีการใช้งาน - คณะทันตแพทยศาสตร์

วิธีการใช้งาน - คณะทันตแพทยศาสตร์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Download ฟรี ที่<br />

www.dt.mahidol.ac.th/adoffice/research<br />

/news_research.html


่<br />

ี<br />

้<br />

์์<br />

่<br />

่<br />

่<br />

EDITOR’ S TALK<br />

ด้วย<strong>คณะทันตแพทยศาสตร์</strong> มหาวิทยาลัยมหิดล มีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นสถาบันชั ้นนําทาง<br />

ทันตแพทยศาสตร์ในเอเชีย ด้านการวิจัย การศึกษา และการบริการวิชาการภายในปี พ.ศ. 2555 ซึ ่ง<br />

สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่ต้องการผลักดันให้ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็น 1 ใน 100<br />

อันดับแรกของมหาวิทยาลัยโลก ดังนั ้นงานบริการวิชาการและวิจัยซึ ่งมีพันธะกิจในการส่งเสริม<br />

และสนับสนุนการวิจัยของคณะฯ จึงได้ปรับเปลี่ยนและพัฒนาให้สามารถสนองวิสัยทัศน์ดังกล่าว<br />

ได้อย่างสมบูรณ์<br />

ปัจจุบันห้องปฎิบัติการวิจัยของงานบริการวิชาการและวิจัยมีเครื่องมือและอุปกรณ์หลาย<br />

ชนิดที่ให้บริการแก่บุคลากรของคณะฯ เพื่อเป็นการจัดการความรู้ (Knowledge management)<br />

เกียวกับข้อปฎิบัติและวิธีการใช้เครื<br />

่ ่องมืออุปกรณ์วิจัยที ์ ่มีอยู ่ ่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ์ เจ้าหน้าที<br />

่และ<br />

บุคลากรทุกฝ่ายของงานบริการวิชาการและวิจัยจึงได้ร่วมกันจัดทํา“คู ่มือการปฎิบัติงานเครื่องมือ/<br />

อุปกรณ์เพื่อการวิจัย” ขึ ้น เพื่อให้ผู้ที่มาใช้งานและผู้สนใจสามารถ เข้าใจและใช้งานเครื่องมือ/<br />

อุปกรณ์ได้อย่างสะดวกและถูกต้อง โดยคู่มือการใช้งานฯ นี ้จัดทําขึ ้นเพื่อเผยแพร่ในรูปแบบของ<br />

ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์บนแผ่นซีดี และในเวปไซด์ ของ<strong>คณะทันตแพทยศาสตร์</strong> ซึ ่งจะจัดทําออกมา<br />

เป็น 2 ภาค โดยภาคที ี 1 นีเป็นคู่มือการใช้งานเครืองมือ/อุปกรณ์ ้ ่ ื ้ ่ื<br />

ื ป ์ ทีมีการใช้งานเป็นประจํา ี่ ี ้ ป ในภาคที ี<br />

2 จะจัดทําเป็นคู่มือการใช้งานเครื่องมือ/อุปกรณ์วิเคราะห์ขั ้นสูง และสุดท้ายจะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม<br />

ฉบับสมบูรณ์เพื่อการเผยแพร่ต่อไป<br />

งานบริการวิชาการและวิจัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า “คู ่มือการปฎิบัติงานเครื่องมือ/อุปกรณ์เพื่อ<br />

การวิจัย” นี ้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้งานและบุคลากรที่สนใจ อันจะก่อให้เกิดผลงานวิจัยที่นําไปสู<br />

ความก้าวหน้าของ<strong>คณะทันตแพทยศาสตร์</strong>ได้้ ้ ั ้<br />

งานบริการวิชาการและวิจัย<br />

เนื้อหาทั<br />

้งหมดสงวนลิขสิทธิ<br />

์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ<br />

โดย <strong>คณะทันตแพทยศาสตร์</strong> มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 6 ถนนโยธี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400


CONTENT<br />

for Dental Material Research<br />

Critical Point Drier Sputter Coater Grinder Microhardness<br />

Static<br />

Thermocycler<br />

Ultra sonic<br />

Sonicator<br />

Measuring<br />

Microscope<br />

for<br />

Oral Biology Research<br />

Autoclave Autoclave pH Meter Speed Vac<br />

for<br />

Tissue Culture Research<br />

Centrifuge<br />

CO2 incubator<br />

Biohazard<br />

Safety Cabinet<br />

Biohazard<br />

Safety Cabinet<br />

Inverted Microscope Laser Doppler CO2 incubator


บรรณาธิการ : ปานจิตต์ ชุณหบัณฑิต<br />

ศิริมา สงวนสิน<br />

พิศลย์ พศลย เสนาวงษ์<br />

ออกแบบ : พีรพงษ์ ตัวงาม<br />

พิสูจน์อักษร : สุวรรณา ก่อสุวรรณวงศ์<br />

ประสานงาน : ภัทรธาดา ดีคราม<br />

พัชรี ศิริกุล<br />

เมธาพร สกใส สุกใส<br />

ข้อมูล : สุวรรณา ก่อสุวรรณวงศ์<br />

อภิวัฒน์ ฤทธาภัย<br />

พรเกียรติ พรเกยรต ชนจตอภรมย ชื ่นจิตอภิรมย์<br />

วาสนา วิชัย<br />

ชญาดา เทียนไชย<br />

ราชพร สีจันทร์<br />

สุริยา เลิศศิลป์<br />

ณัฑฐา ณฑฐา ภัทรวิสิฐเศรษฐ์ ภทรวสฐเศรษฐ<br />

ณฐมน ทองใบอ่อน<br />

ภูวนัย ภูษิต


เครื่องมือทําแห้งตัวอย่าง ณ จุดวิกฤติ<br />

(Critical Point Drier)<br />

รุ ่น: CPD 7501<br />

บริษัทผู ้ผลิต: Fisons Instrument, Uckfield, England<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-38-026-4.1<br />

คุณสมบัติ: ใช้ปรับสภาพตัวอย่างทางชีววิทยาให้แห้ง ณ อุณหภูมิวิกฤตของ Liquid Co 2 หลังจากผ่าน<br />

กระบวนการกําจัดนํ ้าออก<br />

Dental Material


้<br />

่<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. ชิ้นตัวอย่างต้องผ่าน กระบวนการขจัดนํ ้าออก (Dehydration) ด้วย alcohol ตาม วิธีการปฏิบัติงาน<br />

เตรียมตัวอย่างงานจุลทรรศน์อิเล็กตรอน นํามาใส่ใน Specimen Basket ที่แช่ใน Absolute alcohol<br />

2. เปิด เปด Valve นํ นาหลอเยน ้าหล่อเย็น ทอางนา ที่อ่างนํ ้า (flow rate ประมาณ 1 liter/min)<br />

3. เปิดเครื่องโดยผลัก Power Switch ลง<br />

3. เลือก Temperature Controller Switch ให้อยู ่ในตําแหน่ง COOL<br />

4. รอจนอุณหภูมิที่ Temperature Display อ่านได้ตํ ่ากว่า 10 °C<br />

5. เปิดฝา CPD chamber ออกโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา<br />

6. ในกรณีชิ้นตัวอย่างมีพื ้นผิวที่บอบบางควรเติม Absolute alcohol ลง ใน Chamber ประมาณ 2-5 ml<br />

7. นํา Specimen Basket ใส่ใน Chamber และกดลงให้ลึกที่สุด<br />

8. หมุนเกลียวปิดฝา Chamber ให้แน่นด้วยมือ<br />

9. ตั ้งสถานะของValve ต่างๆเป็นดังนี<br />

Exhaust valve<br />

Vent valve<br />

Inlet valve<br />

Flush valve<br />

- ปิด<br />

- เปิดให้สุด<br />

- ปิด<br />

- ปิด<br />

10. เปิด valve ที่หัวถัง Liquid CO 2<br />

เพื่อให้ไหลเข้า Chamber<br />

11. เปิด Inlet Valve ในขณะเดียวกันควรเปิด Flush Valve เล็กน้อย เพื่อไล่อากาศภายในออกสักครู<br />

จากนั ้นปิด Flush Valve<br />

12. สังเกตระดับของ Liquid CO 2<br />

ใน Chamber ที่กระจกฝาปิด Chamber จะค่อยๆ เลื่อนขึ ้นจนถึงกึ ่งกลาง<br />

กระจก (ควรใช้ไฟฉายส่องดูจะสะดวกยิ่งขึ ้น)<br />

13. ปิด Inlet Valve<br />

14. รอจนอุณหภูมิตํ ่ากว่า 10°C จากนั ้นทิ้งไว้ 5-30 นาที (ขึ ้นอยู ่กับขนาด Specimen)<br />

15. ผลัก Temperature Controller Switch ไปที่ HEAT รอจนความดันอยู ่ระหว่าง 1,072-1500 PSI<br />

จึงผลัก Temperature Controller Switch ไปที่ OFF<br />

16. เปิด Exhaust Value<br />

17. ค่อยๆ เปิด Control Vent Valve ปรับระดับลูกบอลวัดระดับด้านซ้ายเครื่อง (Ball Indicator Window)<br />

ให้อยู ่กึ ่งกลางหลอด<br />

18. รอจนลูกบอลตกลงตํ ่าสุด<br />

19. เปิดฝา Chamber นําตัวอย่างออก เก็บไว้ใน Desiccators<br />

20. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


เครื่องฉาบทองและคาร์บอน<br />

(Sputter/Carbon Coater)<br />

รุ ่น:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คุณสมบัติ:<br />

SPI<br />

SPI Structure Prope, West Chester, USA<br />

DT-38-026-4.2<br />

ใช้ปรับสภาพตัวอย่างให้นําไฟฟ้ าโดยใช้ ion ของโลหะหนัก ฉาบบนผิวตัวอย่าง<br />

สําหรับงานจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด<br />

Dental Material


ู<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. นําตัวอย่างที่แห้งที่ได้จากการเตรียมตัวอย่างจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ติดอยู ่บน<br />

แท่นวางตัวอย่าง (Stub)<br />

2. วางตัวอย่างจากข้อ 1 บนฐาน (Specimen Holder) ภายใน Chamber<br />

3. สวมครอบแก้ว (Glass Work Chamber) แล้วปิดฝา (Sputter Head)<br />

4. ปิด ปด valve ทกจดให้สนิท ทุกจุดใหสนท<br />

5. ใช้มือกดลงบนสักครู ่ขณะเปิดสวิตซ์ที่เครื่องควบคุมหลัก (Power Switch) และ ที่เครื่องฉาบผิว<br />

(Sputter Coater)<br />

6. เครื่องปั๊มสุญญากาศเริ่มทํางาน เข็มวัดสุญญากาศ (Pressure Gauge) แสดงสถานะสูญญากาศภายใน<br />

Chamber เมื่อมีค่าตํ ่ากว่า 0.2 มิลลิบาร์ ไฟ READY ที่เครื่องฉาบผิวจะติด<br />

7. รอให้เข็มแสดงสญญากาศของ ุญญ Chamber อย่ที่ประมาณ ู 0.04 มิลลิบาร์<br />

8. เปิด Pressure Control Valve (หมุนทวนเข็มนาฬิกา) ให้อากาศไหล เข้าสู ่ Chamber โดยปรับที่ตําแหน่ง<br />

เมื่อแรงดันภายในเริ่มขยับสูงขึ ้น<br />

9. กดปุ ่ม TEST พร้อมกับปรับแรงดันที่ Pressure Control Valve ให้อากาศเข้าสู ่ Chamber (กระแสไฟฟ้ า<br />

จะวิ่งผ่านแผ่นทองที่ Sputter Head มาที่ฐาน Specimen Holder เกิด Plasma Current เป็นแสงสีม่วง<br />

มองเห็นได้ ใน Glass Chamber) ปรับให้ได้ค่ากระแส ที่เครื่องวัดกระแสไฟฟ้ า (mA Meter)<br />

อยู ่ที่ 18 มิลลิแอมแปร์<br />

10. เมื่อปรับแรงดันได้เหมาะสมตามข้อ 9 ให้กดปุ ่ม START ทองจะแตกตัวเป็นไอตกลงบนชิ้นตัวอย่าง<br />

เมื่อครบกําหนดเวลาที่ตั ้งไว้บน Time Controller กระแสไฟจะตัด<br />

11. ปิดสวิทซ์ของเครื่องควบคุมหลัก (Power Switch) และ ที่เครื่องฉาบผิว (Sputter Coater) แล้วเปิด<br />

Valve ที่ฝาด้านบน Sputter Head ปล่อยอากาศเข้าสู ่ Chamber<br />

12. เปิดฝา Sputter Head นํา Glass Chamber ออก นําตัวอย่างออกเก็บใน Desiccators<br />

13. ในกรณีฉาบผิวตัวอย่างในบรรยากาศของอากาศ โดยใช้ Plasma Current ที่ 18 มิลลิแอมแปร์ จะได้<br />

ความหนาประมาณ 1.3 angstroms ต่อวินาที<br />

14. ความหนาของทองที่ฉาบบนผิวตัวอย่างที่เหมาะสมสําหรับ SEM อยู ่ระหว่าง 100 - 300 angstroms<br />

15. ทําความสะอาดผิวด้านในของครอบแก้วให้สะอาด ด้วยผ้าก๊อซชุบ Acetone รอจนแห้งสนิทสวม<br />

Glass Chamber ปิดฝา Sputter Head และปิด valve ทุกจุดให้สนิท<br />

16. เปิดสวิทซ์เครื่องควบคุมหลัก (Power Switch) จนแรงดันภายใน Chamber มีค่าประมาณ 1 มิลลิบาร์<br />

18. ปิดสวิทซ์เครื่องควบคุมหลัก<br />

19. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


เครื่องขัดผิวตัวอย่าง<br />

(Grinder/Polisher)<br />

รุ ่น: Metaserv 2000<br />

บริษัทผู ้ผลิต: Buehler Ltd., Lake Bulff, IL, USA<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-38-026-4.4<br />

คุณสมบัติ: ปรับความเร็วรอบได้ 50 และ500 รอบต่อนาที ปรับแรงกดในระบบ Single specimen<br />

Dental Material


ุ<br />

ู<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เสียบปลั๊กไฟ เปิด Main Power Switch ที่อยู ่ด้านหลังเครื่อง Operating Light จะติด<br />

2. ใส่กระดาษทรายหรือผ้าขัดลงบน Plate นําไปติดตั ้งในเครื่องขัด<br />

3. เปิด Main Inlet Water Valve เปิด Water Controller Switch<br />

4. เปิด Water Flow Controller Valve ปรับอัตราการไหลของนํ ้าให้เหมาะสมกับชนิดของวัสดุขัด<br />

5. เลือกความเร็วรอบการหมุนด้วย Speed Selector Knob ได้ตั ้งแต่ 50-500 รอบ/นาที<br />

6. เปิด Plate Controller Switch เพื่อใช้งาน นําชิ้นตัวอย่างลงขัด<br />

7. หลังจากเสร็จแกะพื ้นที่รอบๆ นํากระดาษทรายออกจาก Plate ทิ้งลงถังขยะ<br />

8. ทําความสะอาดเครื่องปิด Switch และ Valve ทุกตัวที่เปิดอยู ่ทั ้งหมด<br />

9. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


เครื่องทดสอบความแข็งผิวของวัสดุ<br />

(Microhardness Tester)<br />

รุ ่น :<br />

FM-ARS-9000<br />

บริษัทผู ้ผลิต: Future-Test Corp., Kanagawa, Japan<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-48-009<br />

คุณสมบัติ: หัวกดเป็ นแบบ Vickers และ Knoop เลือกนํ้าหนักกดได้ 8 ระดับ คือ 1, 5, 10, 50,<br />

100, 300, 500 และ 1,000 กรัม ตั ้งเวลากดทดสอบได้ตั ้งแต่ 5 ถึง 40 วินาที<br />

Dental Material


่<br />

่<br />

้<br />

่<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิดสวิตช์ power ด้านหลัง control box<br />

2. เปิดสวิตช์ power ด้านหลัง hardness tester<br />

3. เปิด monitor และ เครื ่องคอมพิวเตอร์ จากนั ้นเลือกใช้โปรแกรม HDPS_ARS จาก icon บน desktop<br />

4. กดปุ ่ม X/Y และปุ ่ม Z ให้ไฟสีส้มสว่างที่ joystick<br />

5. เลือกการทดสอบที่ต้องการว่าเป็น Vickers hardness (HV) หรือ Knoop hardness (HK) โดย<br />

กดที่จอควบคุมด้านหน้า hardness tester<br />

6. เลือกความแรงที่จะใช้สําหรับการทดสอบ (ปุ ่มหมุนอยู ่ด้านข้าง hardness tester )<br />

7. เลือกเวลาที ่จะใช้สําหรับการทดสอบโดยกดที่จอควบคุมด้านหน้า hardness tester<br />

8. วางชิ้นงานลงบนแท่นวางชิ้นงาน เลือกเลนส์ให้เหมาะสม โดยกดปรับเปลี่ยนที่จอควบคุม<br />

ด้านหน้า hardness tester<br />

9. หมุนปรับภาพชัด (focus) และปรับแสงจนเห็นภาพชัดเจนโดยดูภาพจาก monitor<br />

10. เลือกตําแหน่งที่ต้องการทดสอบโดยปรับที่แท่นวางชิ้นงานซึ ่งสามารถหมุนเลื่อนทางซ้าย-ขวา<br />

(แกน X) หรือเลือนไปด้านหน้า-หลัง ื ื่ ้ ้ (แกน Y)<br />

11. ทําการกดทดสอบโดยกด start ที่จอควบคุมด้านหน้า hardness tester<br />

Dental Material


12. เมื่อการกดทดสอบเสร็จ จะมีรอยกดบนผิวชิ้นงาน โดยดูได้จาก monitor<br />

13. ทําการวัดรอยกดในโปรแกรม HDPS_ARS เพื่อหาค่าความแข็งผิว โดยเลือกว่าเป็นแบบ Vickers<br />

hardness (HV) หรือ Knoop hardness (HK) แล้วเลือกปุ ่ม Read จะปรากฏเส้นสําหรับการวัดโดย<br />

เลื่อนแต่ละเส้นให้ไปอยู ่ที่มุมของรอยกด<br />

14. เมื่อวัดค่าความแข็งเสร็จแล้ว ให้เลื่อนแท่นวางชิ้นงานลง นําชิ้นงานออกจากแท่นวางชิ้นงาน<br />

15. ปิดปุ ่ม X/Y และปุ ่ม Z ที่ joystick<br />

16. ออกจากโปรแกรม HDPS_ARS จากนั ้น shut down เครื่อง PC<br />

17. ปิด monitor<br />

18. ปิด สวิตช์ power ด้านหลัง hardness tester<br />

19. ปิดสวิตช์ power ด้านหลัง control box<br />

20. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


เครื่องทดสอบเอนกประสงค์ชนิด Static<br />

(Universal Testing Machine: Static)<br />

รุ ่น: Instron 5566<br />

บริษัทผู ้ผลิต: Instron Ltd., Buckinghamshire, England<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-40-073<br />

คุณสมบัติ: ทํางานโดย ใช้มอเตอร์และสายพาน ขับ Crosshead เคลื่อนที่ ขึ ้น - ลง ในแนวดิ่ง<br />

กําหนดอัตราการเคลื่อนที่เป็น หน่วยของระยะทางต่อนาที เลือกใช้ Load Cell<br />

ได้ 3 ขนาด คือ 100 N, 1 kN และ 10 kN<br />

Dental Material


ื<br />

่<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิดสวิตซ์ (อยู ่ด้านข้างบริเวณส่วนท้ายด้านขวา) รอให้ตัวเลขบนจอแสดงสถานะที่ TRANSDUCERS<br />

ด้านซ้ายเครื่องเป็นเลข 2<br />

2. เปิดเครืองคอมพิวเตอร์เลือกดับเบิลคลิกที ่ ิ ์ ื ั ิ้ ิ ี icon Merlin บน Desktop<br />

3. เลือกคลิกที่ Series IX เครื่องจะดาวน์โหลดเข้าโปรแกรม INSTRON Series IX Automated Materials<br />

Tester จากนั ้นใส่ข้อมูล User Name และ Password แล้วคลิก OK<br />

4. เปลี่ยนโหลดเซลล์ที่ต้องการใช้ หากโหลดเซลล์ที่อยู ่ในเครื่องทดสอบไม่ใช่โหลดที่ต้องการใช้<br />

5. ในกรณีที่เปลี่ยนโหลดเซลล์ต้องทําการ calibrate โดยคลิกที่รูปโหลดเซลล์มุมขวาด้านบนรูปที่ 2<br />

นับจากขวา นบจากขวา<br />

6. เลือกคลิก Calibrate และคลิกต่อที่ OK เมื่อเครื่อง calibrate เสร็จให้คลิก Done<br />

7. ทําการติดอุปกรณ์สําหรับจับชิ้นตัวอย่างทดสอบตามต้องการโดยสามารถเลื่อนโหลดเซลล์ขึ ้น-ลงได้ โดย<br />

ปรับที่ JOG UP และ JOG DOWN หรือปรับละเอียดที่ FINE POSITION ในชุดควบคุมที่อยู ่ด้านขวามือ<br />

ของเครื่องทดสอบ<br />

8. เลือกคลิกที่ เลอกคลกท Test จากนั จากนนใสชอ ้นใส่ชื่อ File แล้วคลิก แลวคลก OK<br />

9. เลือกการทดสอบและ Method ที่ต้องการ จากนั ้นคลิก OK<br />

10. กําหนดอุณหภูมิและความชื ้น แล้วคลิก OK<br />

11. ทําการยึดชิ้นตัวอย่างทดสอบ แล้วเลือกคลิกที่ Balance Load และ Reset Gauge Length<br />

12. เลือกคลิกคําสั่ง Start Test เพื่อเริ่มการทดสอบ แล้วปฏิบัติตามคําสั่งที่ปรากฏขึ ้น<br />

13. เลือกคลิกคําสั่ง เลอกคลกคาสง Stop Test เมื่อต้องการหยดการทดสอบ เมอตองการหยุดการทดสอบ แล้วปฏิบัติตามคําสั่งที่ปรากฏขึ<br />

แลวปฏบตตามคาสงทปรากฏขน ้น<br />

14. เลือกคลิกคําสั่ง End Sample เมื่อเสร็จสิ้นการทดสอบ ตามด้วยคลิกที่ Continue<br />

15. เลือก Printer ถ้าต้องการพิมพ์ผลการทดสอบ หรือเลือก None ถ้าไม่ต้องการพิมพ์ผลการทดสอบ<br />

จากนั ้น คลิกที่ OK และปฏิบัติตามคําสั่งที่ปรากฏขึ ้น<br />

16. เลือกคลิก Exit ตามด้วยคลิกที่ Exit to Windows<br />

17. Shut Down คอมพิวเตอร์ คอมพวเตอร และปิดสวิตซ์เครื่องทดสอบอย่ด้านข้างเครื่องอย่บริเวณส่วนท้าย<br />

และปดสวตซเครองทดสอบอยูดานขางเครองอยูบรเวณสวนทาย<br />

18. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


เครื่องเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแบบร้อนเย็นเป็ นจังหวะ<br />

(Thermocycler)<br />

รุ ่น: TC 400<br />

บริษัทผู ้ผลิต: King Mongkut"s Institute of Technology Ladkrabang,Thailand<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-44-096<br />

คุณสมบัติ: ประกอบด้วยอ่างนํ ้าร้อน อ่างนํ ้าเย็นและเครื่อง Thermocycling รับนํ ้าหนักตัวอย่างได้ถึง<br />

1,000 กรัม แกนหมุนซ้ายและขวาด้วยอัตราเร็วคงที่ตั ้งเวลาหยุดและนับจํานวนรอบด้วย<br />

ระบบการทํางานแบบ Digital เมื่อทํางานครบจํานวนรอบแกนแขวนตัวอย่างจะหยุดใน<br />

ตําแหน่งอยู ่พ้นขอบอ่างนํ ้้า อ่างนํ ้้าร้อนตั<br />

้้งอุณหภูมิได้สูงถึง 100 องศาเซลเซียส และอ่างนํ ้้าเย็น<br />

ตั ้งอุณหภูมิได้ตํ ่าถึง 4 องศาเซลเซียส<br />

Dental Material


<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เติมนํ ้ากลั่นในอ่างนํ ้า โดยให้ปริมาณนํ ้าตํ ่ากว่าขอบบนอ่างนํ ้า ประมาณ 2 ซม.<br />

2. เปิดสวิตซ์เครื่องควบคุมอุณหภูมิอ่างนํ ้าร้อน จอดิจิตอลจะแสดงอุณหภูมิโดยตัวเลขด้านบนแสดง<br />

อณหภมิในอ่างนํ อุณหภูมในอางนา ้า และตัวเลขด้านล่างแสดงอณหภมิที่ต้องการตั<br />

และตวเลขดานลางแสดงอุณหภูมทตองการตง ้ง อุณหภูมทตองการตงสามารถตง<br />

อณหภมิที่ต้องการตั ้งสามารถตั ้ง<br />

สูงสุดได้ 100°C<br />

3. ตั ้งอุณหภูมิโดยการกดลูกศรขึ ้น-ลง ตามอุณหภูมิที่ต้องการ และกดปุ ่ม SET<br />

4. เปิดเบรกเกอร์และสวิตซ์เครื่องควบคุมอุณหภูมิอ่างนํ ้าเย็น จอดิจิตอลจะแสดงอุณหภูมิโดยตัวเลข<br />

ด้านบนแสดงอุณหภูมิในอ่างนํ ้า และตัวเลขด้านล่างข้าง SET POINT แสดงอุณหภูมิที่ต้องการตั ้ง<br />

อณหภมิที่ต้องการตั<br />

อุณหภูมทตองการตงสามารถตงตาสุดได ้งสามารถตั ้งตํ ่าสดได้ 4°C<br />

5. ตั ้งอุณหภูมิโดยการกดลูกศรขึ ้น-ลง ตามอุณหภูมิที่ต้องการ แล้วกดปุ ่ม SET/ENT<br />

6. เมื่อนํ ้าในอ่างนํ ้าควบคุมอุณหภูมิร้อนและเย็นมีอุณหภูมิตามต้องการแล้ว เปิดสวิตซ์เครื่องเปลี่ยนแปลง<br />

อุณหภูมิร้อน-เย็น ชนิดเป็นจังหวะ เครื่องสามารถรับนํ ้าหนักได้ไม่เกิน 1,000 กรัม<br />

7. เมื่อหน้าจอดิจิตอลของเครื่องเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร้อน-เย็น ชนิดเป็นจังหวะแสดง Dipping Time<br />

ให้ใส่ชิ้นตัวอย่างในตะแกรงรองรับ ใหใสชนตวอยางในตะแกรงรองรบ ตงระยะเวลา ตั ้งระยะเวลา (วินาที) (วนาท) ที่ต้องการในการจ่มชิ้นตัวอย่าง ทตองการในการจุมชนตวอยาง โดยกดป่ม โดยกดปุม<br />

จํานวนตัวเลขและกดปุ ่ม #<br />

8. หน้าจอดิจิตอลของเครื่องเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร้อน-เย็น ชนิดเป็นจังหวะจะแสดงเป็น Stand by Time<br />

ตั ้งระยะเวลา (วินาที) ที่ต้องการพักก่อนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอ่างนํ ้า โดยกดปุ ่มจํานวนตัวเลขและ<br />

กด ปุ ่ม #<br />

9. หน้าจอดิจิตอลของเครื่องเปลี่ยนแปลงอณหภมิร้อน-เย็น ุ ู ชนิดเป็นจังหวะจะแสดงเป็น Number of Cycle<br />

ตั ้งจํานวนรอบที่ต้องการโดยกดปุ ่มจํานวนตัวเลขและกดปุ ่ม # เครื่องจะเริ่มทํางาน เมื่อเครื่องทํางาน<br />

ครบจํานวนรอบที่ตั ้งไว้หน้าจอดิจิตอลจะแสดง Finished<br />

10. เมื่อใช้งานเสร็จปิดสวิตซ์และเบรกเกอร์ของเครื่องทั ้งหมด จากนั ้นถ่ายนํ ้าออกจากอ่างนํ ้าควบคุม<br />

อุณหภูมิร้อนและเย็น<br />

11. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


เครื่องทําความสะอาดระบบอัลตร้าโซนิค<br />

(Ultrasonic Cleaner )<br />

รุ ่น: Vibraclean 300<br />

บริษัทผู ้ผลิต: MDT Biologic company, California, USA<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-37-108<br />

คุณสมบัติ: เป็นเครื่องทําความสะอาดผิวตัวอย่างโดยใช้คลื่นความถี่สูง สามารถตั ้งเวลาได้<br />

ตั ้งแต่ 1- 35 นาที<br />

Dental Material


<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เติมนํ ้ากลั่นลงในอ่างนํ ้าเครื่องให้ปริมาณอย่างน้อยสูงไม่ตํ ่ากว่า 8 ซม.<br />

2. เปิดสวิตซ์ power (อยู ่ด้านหลังเครื่อง)<br />

3. ตั ้งเวลาที่ต้องการใช้งานโดยกดปุ ่มเลข 1 (เพิ่มครั ้งละ 1 นาที) หรือ เลข10 (เพิ่มครั ้งละ 10 นาที) ดูเวลา<br />

ที่ตั ้งบนจอแสดงเวลา จากนั ้นกดปุ ่ม START<br />

4. ถ้าต้องการหยุดการทํางานก่อนเวลาให้กดปุ ่ม STOP<br />

5. เมื่อใช้งานเสร็จให้ปิดสวิตซ์ power (อยู ่ด้านหลังเครื่อง) จากนั ้นถ่ายนํ ้าออกจากอ่างนํ ้าของเครื่อง<br />

6. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


เครื่องวัดมิติของวัสดุ<br />

(Measuring Microscope)<br />

รุ ่น:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คุณสมบัติ:<br />

MM-11<br />

Nikon Corporation, Tokyo, Japan<br />

DT-36-078<br />

วัดขนาดของได้ในแนวแกน X และ Y กําลังขยาย เลนส์ตา 10x และเลนส์วัตถุ 3x .ในระยะ<br />

ทํางาน 75 มม. แท่นวางวัสดุเคลื่อนที่ในแนวแกน X และ Y มีระยะการวัด 30 มม.<br />

หมุนรอบได้ 360 องศา<br />

Dental Material


ุ<br />

ู<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิดสวิตซ์ power สีเขียวด้านหน้าเครื่อง<br />

2. กรณีต้องการวัดชิ้นงานด้วยการส่องผิวให้เปิดสวิตซ์ไปที่ไฟส่องด้านบน ถ้าต้องการวัดชิ้นงานด้วยการ<br />

ส่องเงาให้เปิดสวิตซ์ไปที่ไฟส่องด้านล่างให้เป็นแสงสีเขียว โดยแต่ละส่วนสามารถปรับความเข้มของ<br />

แสงสีเขียวได้ 3 ระดับ<br />

3. เปิดสวิตซ์เครื่องแสดงผลระยะทางในแกน X และ Y<br />

4. วางชิ้นงานลงบนแท่น หมุนปรับตัวหมุน tension ให้หน้าเลนส์วัตถุห่างจากผิวชิ้นงานที่ต้องการวัด<br />

ประมาณ 75 มิลลิเมตร ปรับค่าสายตาที่เลนส์ตาให้มองเห็นเส้นไข่ปลาชัด แล้วหมุนปรับภาพชัด (focus)<br />

จนเห็นภาพจุดที่ต้องการวัดชัดเจน<br />

5. แท่นวางชิ้นงานสามารถหมุนเลื่อนทางซ้าย-ขวา (แกนX) และเลื่อนไปด้านหน้า-หลัง (แกนY) เลื่อนจุด<br />

ที่ต้องการวัดมายังจุดตัดของเส้นไข่ปลา ที่มองเห็นในเลนส์ตา กดปุ ่ม RESET แกน X และ Y บนเครื่อง<br />

จะแสดงผลระยะทางเป็น 0 หลังจากนั ้นหมุนเลื่อนแท่นวางชิ้นงานไปยังจุดที่สองของการวัดให้ตรง<br />

จุดตัดของเส้นไข่ปลา ระยะทางที่เคลื่อนที่หรือระยะที่ต้องการวัดจะแสดงผลที่เครื่องแสดงผลระยะทาง<br />

6. ในการวัดระยะทางหรือระยะที่ต้องการวัด จะต้องให้จุดทั ้ง 2 ของการวัดนั ้นอยู ่ในแนวเส้นขนานกับ<br />

แกน X หรือ แกนY โดยการหมุนปรับที่แท่นวางชิ้นงานซึ ่งสามารถหมุนรอบได้ 360 องศาในแนว<br />

ระนาบ<br />

7. หลังจากใช้งานเสร็จปิดเครื่องแสดงผลระยะทาง และสวิตซ์ไฟ จากนั ้นปิดสวิตซ์ power<br />

8. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Dental Material


ุ<br />

เครื่องทําลายเซลล์และเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็ นพิษ<br />

( Steam Autoclave)<br />

รุ ่น:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คุณสมบัติ:<br />

HV-110<br />

HIRAYAMA , Tokyo, Japan<br />

DT-48-008<br />

สามารถตั ้งอุณหภูมิและความดันในการฆ่าเชื ้อจุลินทรีย์ได้ที่ 105 องศาเซลเซียส ,<br />

0.2 kg/cm 2 (126 องศาเซลเซียส,1.5 kg/cm 2 ) ใช้อบฆ่าเชื ้ออุปกรณ์ เครื่องแก้วที่ใช้ใน<br />

งานวิจัยของคณะฯ<br />

Oral Biology


<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. ตรวจสอบนํ ้าในถังพลาสติก หน้าตู้ให้อยู ่ในระดับ Low เสมอ นํ ้าอยู ่ในระดับ High ให้นําถังพลาสติก<br />

ออกมาเทนํ ้าออกให้หมด จากนั ้นเติมนํ ้ากลั่นให้อยู ่ในระดับ Low<br />

2. ตรวจสอบ กอกถายนาในหม้อนง ๊ ่ ้ํ<br />

้ ่ ึ<br />

(ซงอยูด้านลางของถงพลาสตกหน้าตู้ ่ึ<br />

่ ้ ่ ั ิ ้ ้ ) ให้อยูในตาแหนง ้ ่ใ ํ ่ close เสมอ<br />

3. เปิดสวิทซ์ Breaker จากนั ้นกดปุ ่ม power ที่หน้าปัทม์<br />

4. เปิดฝาหม้อนึ ่งโดยการเลื่อนคันโยกหน้าตู้ ไปตําแหน่ง unlock หน้าปัทม์จะปรากฎตัวอักษรคําว่า<br />

“ Lid ” จากนั ้นยกฝาหม้อนึ ่งขึ ้นจนสุด (โดยจับหูหม้อนึ ่งทั ้งสองข้างยกขึ ้น )<br />

5. เติมนํ ้ากลั่นลงใน chamber โดยให้ระดับนํ ้า อยู ่เสมอกับแกนเหล็กที่อยู ่ตรงกลางรูของแผ่นเหล็ก<br />

ด้านล่าง ดานลาง ของหมอนง ของหม้อนึ ่ง (ประมาณ 5 ลิตร) ลตร)<br />

6. นําของที่จะนึ ่งใส่ตะกร้า ก่อนนํามาใส่หม้อนึ ่ง (อย่าลืม นําเครื่องวัดอุณหภูมิที่ติดมาภายใน chamber เก็บ<br />

เข้าไปในหม้อนึ ่งให้เรียบร้อย )<br />

7. ปิดฝาหม้อนึ ่งโดยกดฝาลงจนกระทั่งแม่เหล็กที่อยู ่ตรงบริเวณมือจับสัมผัสกับเหล็กพอดี (มีเสียงดังคลิ๊ก)<br />

8. เลื่อนคันโยกล๊อกฝา โดยเลื่อนมาที่ตําแหน่ง Lock หน้าปัทม์จะแสดง Mode การทํางานต่างๆ ของ<br />

เครื่อง เครอง ซงม ซึ ่งมี 4 Mode ด้วยกัน ดวยกน<br />

9. เลือก Mode ที่ต้องการใช้งานจากหน้าปัด โดย<br />

Mode 1 = การนึ ่งฆ่าเชื ้ออาหารเลี ้ยงเชื ้อและอุ่น<br />

Mode 2 = การนึ ่งฆ่าเชื ้อของเหลว<br />

Mode 3 = การนึ ่งฆ่าเชื ้อของแข็ง<br />

Mode 4 = การละลายอาหารเลี<br />

การละลายอาหารเลยงเชอ ้ยงเชื ้อ<br />

10. เมื่อเลือก Mode ที่ต้องการ<br />

*** หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อุณหภูมิ/เวลา/การลดแรงดัน สามารถ กดปุ ่ม start ได้ เครื่องจะ<br />

ทํางานโดยอัตโนมัติ จนเสร็จสมบูรณ์<br />

*** ถ้าหากต้องการเปลี่ยนแปลงอณหภมิ/เวลา/การลดแรงดัน ถาหากตองการเปลยนแปลงอุณหภูม/เวลา/การลดแรงดน สามารถเปลี่ยนได้โดย<br />

สามารถเปลยนไดโดย<br />

10.1 กดปุ ่ม SET / ENT ตัวเลขอุณหภูมิจะกระพริบ<br />

10.2 กด ปุ ่ม NEXT เพื่อเลือกรายการที่ต้องการเปลี่ยนแปลง<br />

10.3 กด ปุ ่ม Δ , ∇ เพื่อเปลี่ยนค่าต่างๆ<br />

10.4 กดปุ ่ม SET / ENT เมื่อได้ค่าที่ต้องการแล้ว<br />

10.5 ถ้าต้องการเปลี่ยนแปลงรายการต่อไป ให้ทําตามข้อ 10.1 -10.4 อีกครั ้ง<br />

11. กดปุ ่ม START เครื่องจะทํางานโดยอัตโนมัติ จนเสร็จสมบูรณ์ (COMPLETE)<br />

12. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Oral Biology


ข้อควรระวังเมื่อต้องการเปิ ดฝาหม้อนึ่ง<br />

• ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า อุณหภูมิในหม้อนึ ่ง ตํ ่ากว่า 97°C ทุกครั ้งก่อนเปิดฝาเครื่อง<br />

(ดที่หน้าปัดเครื่อง)<br />

(ดูทหนาปดเครอง)<br />

• ต้องระมัดระวังเรื่องความร้อน และไอนํ ้าที่พุ่งออกมาจากภายในหม้อนึ ่ง เวลาเปิดฝา<br />

Oral Biology


ตู ้ทําลายเซลล์และเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็ นพิษ<br />

(Steam Autoclave)<br />

รุ ่น:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คุณสมบัติ:<br />

HA-300P<br />

HIRAYAMA , Tokyo, Japan<br />

DT-33-112<br />

สามารถตั ้งอุณหภูมิและความดันในการฆ่าเชื ้อจุลินทรีย์ได้ที่ 121 องศาเซลเซียส, 0.2 kg/cm 2<br />

(126 องศาเซลเซียส,1.5 kg/cm 2 ) ใช้อบฆ่าเชื ้ออุปกรณ์ เครื่องแก้วที่ใช้ในงานวิจัย<br />

Oral Biology


ั<br />

ี<br />

้<br />

้<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. ตรวจสอบระดับนํ ้าจากท่อสายยางด้านข้างตัวเครื่อง : ให้อยู ่ในระดับ High water level<br />

หากระดับนํ ้าอยู ่ตํ ่ากว่าระดับ Low water level จะต้องเติมนํ ้า (นํ ้ากลั่น) โดยใช้สายยาง<br />

ต่อเข้าทาง water supply ที่อยู<br />

่ด้านหลังเครื่อง ่ และสังเกตระดับนํ ้้าที<br />

่่เข้าจากสายยางจนถึงขีด<br />

High water level<br />

2. เติมนํ ้ากลั่นลงใน chamber ของเครื่อง (ประมาณ 2.5 ลิตร) และใช้แผ่นรอง ปิดบน chamber<br />

3. นําตะกร้าพร้อมกับสิ่งของที่ต้องการนึ ่งใส่ใน chamber<br />

4. ปิดฝาเครื่อง หมุนสกรู ให้แน่น<br />

5. เปิดสวิทซ์ Breaker ไปที ่ on เพือให้กระแสไฟฟ้ ่ ้ าเข้าตัวเครือง ้ ่ เปิด power ไปที ่ on<br />

6. ตั ้งโปรแกรมการทํางานของเครื่อง โดยสถานะปกติ การทํางานของเครื่อง คือ Temp = 121 °C,<br />

Time =15 นาที, Dry = 30 นาที<br />

* ถ้าจะปรับเปลี่ยน Temp , Tim , Dry ตามต้องการ มีวิธีการปรันเปลี่ยนโดย<br />

Temp - กดปุ ่ม Temp จะแสดงตัวเลขกระพริบๆ สามารถตั ้ง temp ให้สูงหรือตํ ่า ได้<br />

ตามลูกศรขีน ้ – ลง ส่วน ่ Time และ Dry ก็ปฎิบัติเช่นเดียวกับ ิ ั ิ ่ ี ั Temp<br />

7. การตั ้ง Mode สําหรับ Autoclave ทําได้ดังนี<br />

- วัสดุที่ต้องการทําให้แห้ง เช่น เครื่องแก้ว, ผ้าก๊อซ, Pipette tip ฯลฯ<br />

ต้องตั ้ง Mode - Ster, EXHT, Dry<br />

- ของเหลวตัง ้ Mode - Ster, EXHT เท่านัน่ ั<br />

8. ตั ้ง Mode เรียบร้อยแล้ว กด Start เครื่องจะทํางานโดยอัตโนมัติจนเสร็จสมบูรณ์<br />

(โดยจะมีเสียงเตือนดัง ติดต่อกันหลายครั ้ง เมื่อเครื่องทํางานเสร็จ)<br />

9. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

หมายเหตุ : กด Mode ครั ้งแรกเครื่องจะแสดงทั ้ง Ster, EXHT, Dry กดอีกครั ้งจะแสดง Ster, EXHT<br />

หากกดอีกครั ้งแสดง Ster อย่างเดียว<br />

Oral Biology


เครื่องวัดความเป็ นกรดด่าง<br />

(pH Meter )<br />

ร่น: รุน:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คุณสมบัติ:<br />

Model Orion research 710A plus<br />

Thermo Orion, USA<br />

DT-44-074<br />

ใช้วัด pH, MV, อุณหภูมิและปริมาณอิออนในสารละลาย โดยสามารถวัดค่า pH<br />

ได้ตั ้งแต่ 2.000 ถึง 19.999+/-0.005 pH วัด Relative mV ได้ตั ้งแต่ -1999.9 ถึง<br />

1999.9+/ 9+/-0.2 mv วัดอณหภมิได้ วดอุณหภูมได ตั ตงแต ้งแต่ 5 องศาเซลเซียส องศาเซลเซยส ถง ถึง 105 องศาเซลเซียส องศาเซลเซยส<br />

+/- 1 องศาเซลเซียส<br />

Oral Biology


<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1 กดปุ ่ม “Power” เพื่อเปิดเครื่อง<br />

2 กดปุ ่ม “2nd” กด “SETUP” กด “YES” จนหน้าจอแสดงคําว่า “1- กด “∇” หนึ ่งครั ้ง กด “YES”<br />

3 กดป่ม กดปุม “MODE” จนเครื่องหมาย จนเครองหมาย “” ชี ชทตาแหนงการวด ้ที่ตําแหน่งการวัด pH<br />

4 ล้าง Electrode ด้วยนํ ้ากลั่นซับให้แห้งด้วยกระดาษทิชชู จุ่มลงใน standard buffer pH 4.01<br />

5 กดปุ ่ม“2nd” กดปุ ่ม”CAL” บนหน้าจอจะปรากฏคําว่า “CALIBRATE” (บรรทัดบนสุด)<br />

6 เมื่อเครื่อง Calibrated จะแสดงคําว่า “READY” บนหน้าจอ หากค่าที่ Calibrated ได้มีค่าเป็น 4.01<br />

ให้กด “YES” หากตัวเลขที่ได้ไม่ใช่ 4.01 ให้ทําการแก้ไขโดยกด “Δ” หรือ”∇” เพื่อทําการเปลี่ยน<br />

ค่าในแต่ละหลักให้ได้ 4.01 กด “YES”จนครบทั ้ง 4 หลักเมื่อทําการแก้ไขเสร็จหน้าจอจะแสดง<br />

อักษร “P2”<br />

7 ล้าง Electrode ด้วยนํ ้ากลั่นซับให้แห้งด้วยกระดาษทิชชู จุ่มลงใน buffer pH 7.00 ทําเช่นเดียวกับใน<br />

ข้อ 6<br />

8 ทําการ calibrate ด้วย buffer pH 10.01 ทําเช่นเดียวกับในข้อ 6<br />

9 หลังจาก Calibrated ด้วย buffer pH 4.01 7.00 10.01 จนครบ กด “MEASURE” เครื่องจะแสดงค่า<br />

ของ Slope ที่ได้จากการ Calibrated โดยจะต้องมีค่าอยู ่ระหว่าง 80-120 % เท่านั ้นจึงจะสามารถใช้<br />

เครื่องวัด pH ได้<br />

10 การวัด pH ในตัวอย่าง โดยล้าง Electrode ด้วยนํ ้ากลั่นซับให้แห้งด้วยกระดาษทิชชู จุ่ม Electrode<br />

ลงในตัวอย่าง กด “MEASURE” รอจนหน้าจอแสดงคําว่า “READY” อ่านค่า pH ที่ได้ หากต้องการ<br />

วัด pH ในตัวอย่างอื่นให้ทําซํ ้าในข้อ 10<br />

11 เมื่อใช้งานเสร็จล้าง Electrode ด้วยนํ ้ากลั่นจนสะอาด แช่ electrode ใน buffer pH 4.01 พันปิด<br />

ภาชนะที่ใส่ buffer ด้วย Parafilm เพื่อป้ องกันการระเหยของสารละลาย buffer แล้วกดปุ ่ม<br />

“POWER” เพื่อปิดเครื่อง<br />

12 ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Oral Biology


เครื่องเพิ่มความเข้มข้นของสารละลาย<br />

(Speed Vac System )<br />

รุ่น: Sarvant SC 210 A-230<br />

บริษัทผู้ผลิต: Savant Instrument Inc., USA<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-40-088<br />

คุณสมบัติ:<br />

ชุดเตรียมสารก่อนการวิเคราะห์โดยทําให้เข้มข้นหรือแห้งด้วยระบบ Centrifugal vacuum<br />

evaporation โดยทํางานร่วมกัน 4 ส่วน คือ<br />

- Speed vac concentrator (ทําให้สารแห้ง หรือระเหยสารโดยใช้ระบบปั่นแยก)<br />

- Refrigerated Condensation Trap (ดักจับไอระเหยของตัวทําละลาย ไ<br />

และทําให้ไอระเหย<br />

ควบแน่น)<br />

- Chemical trap (เพิ่มประสิทธิภาพในการดักจับไอระเหยซึ ่งควบแน่นไม่หมด)<br />

- Vacuum Pump (ทําให้เกิดสภาพสุญญากาศในระบบ<br />

Oral Biology


ุ<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิดสวิทซ์ของปลั๊กไฟ<br />

2. เปิดสวิทซ์ Refrigerator (ด้านล่างซ้าย) รอจนได้อุณหภูมิ -85º C (หมายเลข 1)<br />

3. เปิด เปด วาล์ว วาลว Pump (หมายเลข 2)<br />

4. เปิด Filter สีฟ้ า (หมายเลข 3)<br />

5. ปรับอุณหภูมิ Drying rate ที่ต้องการซึ ่ง มี 3 ระดับ คือ<br />

1. Hi = 65º C<br />

2. Medium = 43º C<br />

3. Low =อณหภมิห้อง<br />

=อุณหภูมหอง<br />

รอประมาณ 10-15 นาที (ระหว่างนี ้ให้เตรียมตัวอย่าง ใส่ในช่องใส่ตัวอย่างในเครื่อง)<br />

ข้อความระวัง ต้องใส่ตัวอย่างให้อยู ่ในช่องตรงข้ามกัน และนํ ้าหนักของตัวอย่างทั ้งสองต้องเท่ากัน<br />

6. กด on ที่ปุ ่ม concentrator (ด้านหน้าตัวเครื่อง) เพื่อให้เครื่องทํางาน<br />

ข้อควรระวัง ขอควรระวง ฝาเครื่องมีนํ ฝาเครองมนาหนกมาก ้าหนักมาก เวลาปิดควรให้ใช้นิ้วโยก เวลาปดควรใหใชนวโยก “Cover Release” มาทางด้านหน้า มาทางดานหนา<br />

(เมื่อเราเปิดฝาเครื่อง จะเห็น cover release ตรงบานพับฝาเครื่อง)<br />

ขั ้นตอนการปิ ดเครื่อง Speed Vac<br />

1. กด OFF ตรงปุ ่ม concentrator<br />

2. เปิดฝาเครื่อง เปดฝาเครอง<br />

3. นําตัวอย่างออก<br />

4. ปิด Filter (หมายเลข 3)<br />

5. ปิด วาล์ว Pump (หมายเลข 2)<br />

6. หมุนปุ ่มปล่อยลม (อยู ่ด้านข้างทางขวามือของเครื่อง) โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา แล้วหมุนกลับมาที่เดิม<br />

เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่อง<br />

7. ปิด Refrigerator (หมายเลข 1)<br />

8. ปิดปลั๊กไฟ<br />

9. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Oral Biology


เครื่องเหวี่ยงสารปริมาณน้อยและควบคุมอุณหภูมิได้<br />

(Centrifuge)<br />

รุ ่น:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คุณสมบัติ:<br />

3K15<br />

ยี่ห้อ Sigma<br />

Sigma, Germany<br />

DT-40-084<br />

สําหรับปั่นเซลล์ ควบคุมอุณหภูมิระหว่าง- 20 °C ถึง 40 °C<br />

Tissue Culture


่<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิด Power on (อยู ่ด้านหลังของเครื่องทางซ้ายมือ)<br />

2. เปิดฝาเครื่องโดยกดปุ ่ม Deckel Lid Cou-vercle<br />

3. การปั่นตัวอย่าง<br />

3. 1 สําหรับตัวอย่างปริมาณ 15-200 มิลลิลิตร ต้องใช้ Rotor Nr.1113 ซึ ่งมีความเร็วรอบในการปั่นที่<br />

5,500 รอบ / นาที<br />

3.2 สําหรับตัวอย่างปริมาณ 5-10 มิลลิลิตร ต้องใช้ Rotor Nr.12111-H1 ซึ ่งมีความเร็วรอบในการปั่นที่<br />

15,300 รอบ / นาที<br />

3.3 สําหรับตัวอย่างปริมาณไม่เกิน 1 มิลลิลิตร ต้องใช้ Rotor Nr.12154-H ซึ ่งมีความเร็วรอบในการปั่น<br />

ที่ 26,000 รอบ / นาที<br />

4. การเปลี่ยน Rotor ให้กดปุ ่มมาที่ปุ ่ม Rotor กดปุ ่ม Edit เพื่อเปลี่ยนหมายเลขให้ตรงกับขนาด Rotor ที่<br />

ต้องการใช้งาน กด Enter<br />

5. การตั ้งเวลาให้กดปุ ่ม Time กด Edit กดปุ ่มลูกศรขึ ้น-ลงในการตั ้งเวลา เมื่อได้เวลาที่ต้องการ กด Enter<br />

6. การตั ้งอุณหภูมิให้กดปุ ่ม Temperature กด Edit กดปุ ่มลูกศรขึ ้น-ลงเมื่อได้อุณหภูมิที่ต้องการ กด Enter<br />

7. เมือตัง ื่้ Mode การทํางานเสร็จแล้วให้กดปุ<br />

้ ้ ่ม Start<br />

8. เมื่อใช้งานเสร็จแล้วให้ปิดฝาเครื่องโดยการกดฝาลง ปิด Power off<br />

9. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

หมายเหตุ (อยู<br />

่ห้องเพาะเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อห้องที่ 1 สําหรับปั่นเซลล์เท่านั ้น)<br />

Tissue Culture


CO 2 incubator<br />

(ตู ้อบควบคุมอัตราการไหลของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ )<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

คุณสมบัติ:<br />

ThermoForma, USA<br />

ใช้ปรับอุณหภูมิและบรรยากาศเซลล์เพาะเลี<br />

้้ยง เพื ่อทดสอบสาร ่ ภายใต้อุณหภูมิ<br />

37 องศาเซลเซียส ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 5 % และควบคุมปริมาณกาซ<br />

คาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยระบบ Thermal Conductivity เพิ่มอุณหภูมิด้วยระบบ Water jacket<br />

Tissue Culture


่<br />

้<br />

ู<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิด Power on (อยู ่ด้านข้างซ้ายของตู้)<br />

2. ตรวจดูค่าอุณหภูมิอยู ่ที่ 37°C, CO 2<br />

5% ที่ตั ้งไว้แล้ว<br />

3. นําชั ้นวางเซลล์เพาะเลี ้ยงไปผ่านการอบฆ่าเชื ้อ และทําความสะอาดภายในตู้ด้วย 70% Alcohol<br />

4. Mode RUN บนหน้าจอจะปรากฏคําว่า Class 100 เสมอ<br />

5. Mode การใช้งาน<br />

-Set เมื่อต้องการแก้ไข Temperature, Percent CO 2<br />

-Cal ใช้ในการ Calibrate (โดยให้บริษัทมา Calibrate เท่านั ้น)<br />

-Configเพื่อดูวันหมดอายุของ HEPA filter ภายในตู้<br />

-Silence จะกระพริบเป็นสีแดง เมื่อ CO 2<br />

หมด<br />

6. การเปลี่ยนถัง CO 2<br />

ทําโดยใช้ประแจขันเกลียวออก นําเทปสําหรับพันท่อมาพันที่เกลียวเพื่อป้ องกันการ<br />

รั่วซึมของ CO 2<br />

นําหัวจ่ายต่อเข้ากับถัง CO 2<br />

ใหม่ ขันให้แน่น เปิดหัวถัง CO 2<br />

ให้ได้ 500-1000 psi เปิดตัว<br />

จ่ายก๊าซที่จะเข้าตู้ที่ 30 psi<br />

7. รอให้อุณหภูมิภายในตู้ และ % CO 2<br />

ได้ตามที่ต้องการ จึงนําเซลล์ไปเพาะเลี ้ยงได้ และภายในตู้จะต้องมี<br />

นํ ้ากลั่น Sterile เพื่อให้มีความชื ้นสัมพัทธ์<br />

8. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Tissue Culture


ตู ้กรองอากาศให้ปราศจากเชื้อ<br />

(Biohazard Safety Cabinet)<br />

รุ ่น:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คุณสมบัติ:<br />

Model AB1200<br />

Astec Microflow<br />

DT-44-126<br />

ใช้กรองอากาศให้ปราศจากเชื ้อ ขณะปฎิบัติงานเพาะเลี ้ยงเซลล์<br />

Tissue Culture


<strong>วิธีการใช้งาน</strong> วธการใชงาน<br />

1. เสียบปลั๊กไฟหมุนปุ ่มล็อกทั ้งซ้าย – ขวาของฝาประตูกระจกด้านหน้าตู้ออก (ขั ้นตอนนี ้สัญญาณเตือน<br />

ดังขึ ้น)<br />

2. ยกประตูกระจกขึ ้นให้ตรงกับเครื่องหมายขีดระดับที่แสดงด้านข้างตู้ ทั ้งซ้ายและขวา แล้วล็อกปุ ่ม<br />

ประตูกระจกทั ้งซ้ายและขวาให้สนิท<br />

3. เปิดพัดลม เปดพดลม (Blower) โดยกดป่ม โดยกดปุม 1<br />

4. รอประมาณ 2-3 วินาที เพื่อให้กระแสลมที่เป่าผ่าน HEPA Filter คงที่ ซึ ่งหน้าจอจะปรากฏข้อความ<br />

Safe Cabinet จึงจะสามารถปฏิบัติงานภายในตู้ได้<br />

6. หากต้องการเปิดไฟเพื่อให้แสงสว่างภายในตู้ให้กดปุ ่ม 6<br />

Tissue Culture


่<br />

็<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

7. หากต้องการใช้ UV Lamp เพื่อฆ่าเชื ้อภายในตู้ก่อนการใช้งานให้เลื่อนกระจกด้านหน้าลงจนสุด<br />

ปิดล็อกประตูแล้วกดปุ ่ม 6 เพื่อปิดไฟก่อน จากนั ้นกดปุ ่ม 7 เพื่อเปิด UV<br />

8. ถ้าไม่สามารถเปิด UV ได้ ให้ตรวจสอบว่าประตูกระจกปิดสนิทหรือไม่ (หากปิดประตูกระจกไม่<br />

สนิท UV Lamp จะไม่ทํางานซึ ่งเป็นระบบป้ องกันผู้ปฏิบัติงานจากรังสี UV)<br />

9. ถ้าต้องการใช้แก๊สให้กดปุ ่ม 9 และหมุนวาล์วแก๊สทวนเข็มนาฬิกา เพื่อเปิดหัวแก๊ส จากนั ้นเปิดสวิทต์<br />

ตะเกียงเท้าเหยียบ แก๊สจะใช้ได้เมื่อตู้อยู ่ในสภาพพร้อมใช้งานเท่านั ้น โดยหน้าจอปรากฏข้อความ<br />

Safe Cabinet<br />

10. เมื่อเลิกใช้งาน ให้เช็ดทําความสะอาดภายในตู้ด้วย 70% alcohol ปิดวาล์วถังแก๊ส<br />

กดปุ ป่่มปิดตะเกียงเท้าเหยียบ ี ้ ี โดยหมุนวาล์วแก๊สปิดโดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ์ ๊ โ ็ ิ กดปุ ป่่มปิดไฟ กดปุ ป่่มปิด<br />

Blower หมุนปุ ่มล็อกออกทั ้งซ้าย-ขวา ดึงประตูกระจกลงจนสุดและหมุนล็อกให้เรียบร้อย<br />

11. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Tissue Culture


ตู ้กรองอากาศให้ปราศจากเชื้อ<br />

( Biohazard Safety Cabinet )<br />

รุ ่น:<br />

BSB 3A<br />

บริษัทผลิต: Gelaire, Italy<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-32-054<br />

คุณสมบัติ: ใช้กรองอากาศให้ปราศจากเชื ้อ สําหรับงานเพาะเลี ้ยงเซลล์<br />

ชนิด Laminar Flow Biological Safety<br />

Cabinet Class II type A<br />

Tissue Culture


<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิด main key switch มาที่ pos. 1 ทําให้ power on และ motor blowers ปรากฎไฟสีเขียว<br />

2. รอประมาณ 40 วินาที จะได้ยินเสียง motor blowers ทํางาน<br />

3. เมื่อต้องการเปิด / ปิด Fluorescent light กดปุ ่มสีเขียวตรงสัญญลักษณ์ Fluorescent light<br />

4. เมื่อต้องการเปิด / ปิด UV light นําฝาครอบหลอด UV มาปิดเข้ากับตู้กรองอากาศจากนั ้นจึงกดปุ ่มสี<br />

เขียวสัญญลักษณ์ UV ทําให้หลอดไฟ UV ติด เมื่อไม่ต้องการ UV กดปุ ่มนี ้อีกครั ้งไฟ UV ก็จะดับ จึง<br />

นําฝาครอบหลอด UV ออกเพื่อใช้งานต่อไป<br />

5. เมื่อต้องการใช้ gas ให้กดปุ ่มตรงสัญญลักษณ์ solenoid valve (โดยที่ท่อต่อแก๊สต้องต่อกับถังแก๊ส)<br />

6. ส่วนปุ ่มอื่น ๆ คือ Emergency Extraust แสดงให้รู้ว่ามีอากาศไม่ปราศจากเชื<br />

้อเข้าในบริเวณที่ทํางาน<br />

เพิ่มมากขึ ้น เมื่อปุ ่มนี ้มีไฟสีแดงขึ ้นแสดงว่า Motor blower ที่มีแผ่นกรอง HEAP filter อาจเกิดการแตก<br />

หรือฉีกขาดจะมีเสียง alarm ดังขึ ้น ปุ ่มสีแดงแสดงสถานะ Main motor blower ถ้าปุ ่มนี ้มีไฟแดงขึ ้น<br />

แสดงว่า Main motor blower เกิดการแตกหรือฉีกขาดหรือเกิดการอุดตัน ปุ ่มสีเขียวแสดงสถานะ<br />

Exhaust motor blower ถ้าไฟปุ ่มนี ้แดงขึ ้น แสดงว่า Exhaust motor blower เกิดการแตกหรือฉีดขาด<br />

หรือเกิดการอุดตัน<br />

7. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

หมายเหตุ - ถ้าเปิด main key switch มาที่ pos.2 ทําให้ power on ทํางานแต่ motor blowers จะไม่ทํางาน<br />

โดยปุ ่มอื่น ยังคงใช้งานได้ (เครื่องอยู ่ในสถานะที่ไม่มีการกรองอากาศให้ปราศจากเชื ้อ)<br />

- ค่าความดันการทํางานของเครื่อง เมื่อเปิดเครื่องใช้งาน ปกติจะใช้ประมาณ 15-17 mm.H 2<br />

O<br />

Tissue Culture


กล้องจุลทรรศน์เฟส คอนทราส และ<br />

ดาร์คฟิ ลด์ชนิดหัวกลับ<br />

( Inverted Microscope)<br />

รุ ่น:<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

รหัสครุภัณฑ์:<br />

คณสมบัติ: คุณสมบต:<br />

Nikon TS-100-F<br />

Nikon Ltd., Japan<br />

DT-44-115<br />

ใช้ดลักษณะเซลล์ภายใต้กล้องได้ทั<br />

ใชดูลกษณะเซลลภายใตกลองไดทงแบบ ้งแบบ Brightfield, Phase centrast และ Dark field<br />

มีกําลังขยาย 4, 10, 40 และ 60 เท่า มีกล้องถ่ายรูปดิจิตอลชนิดอัตโนมัติ<br />

Tissue Culture


่<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เสียบปลั๊กไฟและเปิดสวิตซ์อยู ่ทางซ้ายข้างเครื่อง<br />

2. นําตัวอย่างวางบนแท่นวางวัตถุ หมุนแป้ นเลนส์วัตถุซึ ่งอยู ่ด้านล่างของแท่นวางตัวอย่าง (Stage) มาอยู<br />

ตรงทิศทางเดินของแสงซึ<br />

ตรงทศทางเดนของแสงซงตรงกบตาแหนงทสองดูตวอยางในแนวดง<br />

่งตรงกับตําแหน่งที่ส่องดตัวอย่างในแนวดิ่ง<br />

3. ถ้าต้องการดูตัวอย่างแบบ Phase Contrast สามารถดูได้ตั ้งแต่กําลังขยาย 4x – 40x<br />

4. ถ้าต้องการดูตัวอย่างแบบ Hoffman ทําได้โดยการเลื่อน Phase-sliders มายังช่อง HMC ซึ ่งดูได้ตั ้งแต่<br />

กําลังขยาย 10x, 20x, และ 40x<br />

5. ปรับความคมชัดของภาพ ด้วยปุ ่มปรับภาพหยาบและปรับภาพละเอียดตามลําดับ<br />

6. การถ่ายรูปจากกล้องจะต้องเตรียม Compact flash (CF card) มาด้วย<br />

7. โดยเสียบแผ่น Compact Flash เพื่อ Save รูป ทางด้านขวามือ ซึ ่งจะมีสัญญลักษณ์ CARD โดยเสียบให้<br />

หันหน้า CARD มาทางผู้ใช้งาน แล้วกดเข้าไปในตัวกล้อง จะมีปุ ่มสีดําออกมาให้พับปุ ่มเก็บเข้าไปใน<br />

กล้อง<br />

8. เปิดกล้องถ่ายรูปโดยหมุนแป้ นซึ ่งอยู ่ด้านบนของกล้องไปทางขวามือ 1 ครั ้ง หน้าจอจะปรากฏความเร็ว<br />

ของ Shutter และให้เลือก Size ซึ ่งมี 3 mode ให้เลือกคือ Basic, Fine, Normal<br />

9. ถ้าต้องการตั ้งชื่อรูปงาน ให้กดที่ Menu กด Folders กด Options เลือก New กด สัญญลักษณ์ สามเหลี่ยม<br />

เมื่อตั ้งชื่อเสร็จแล้วให้กด Menu อีกครั ้ง หน้าจอจะปรากฏชื่องานที่ตั ้งไว้<br />

10. ถ้าต้องการถ่ายรูปให้หมุนปุ ่มมาที่ Photo ซึ ่งอยู ่ทางด้านขวามือติดกับ Eyepieces<br />

11. ถ้าต้องการ Zoom เข้า-ออก ให้กดที่ปุ ่มซึ ่งมีสัญญาลักษณ์เป็นแว่นขยายที่มีอักษร W และ T<br />

12. ปรับความชัดของรูป<br />

13. ถ่ายรูปโดยการกด Shutter ปุ ่มอยู ่บนตัวกล้อง<br />

14. เมื่อใช้งานกล้องจุลทรรศน์เสร็จให้ปรับเลื่อน เลนส์วัตถุกําลังขยาย4x ให้อยู ่ในตําแหน่งใช้งานทุกครั ้ง<br />

และปิดสวิทซ์<br />

15. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

Tissue Culture


เครื่องวิเคราะห์การไหลเวียนของโลหิต<br />

(เครื่อง Laser Doppler Image & Monitoring)<br />

รุ ่น:<br />

DRT4/MoorLAB<br />

บริษัทผู ้ผลิต: Moor Instrument Ltd., UK<br />

รหัสครุภัณฑ์: DT-44-144<br />

คุณสมบัติ: วัดการปริมาณการไหลเวียนของโลหิตที่ไปเลี้ยงผิวหนังมีหัวตรวจแบบ Skin probe, Dental<br />

probe และ Teeth probe มี serial interface เชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์<br />

Tissue Culture


ู<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. ต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์เข้ากับเครื่อง DRT4<br />

2. เปิดเครื่อง DRT4 ด้วยปุ ่ม on ด้านหลังของตัวเครื่อง<br />

3. ต่อ Probes โดยดูที่ช่องต่อ (channel) ให้ตรงกับหมายเลขของ probe ที่ต้องการใช้งาน<br />

4. ก่อนการใช้งานต้อง Calibrate Probe เนื่องจากเลเซอร์ที่ใช้ในเครื่องอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปได้ตาม<br />

ช่วงเวลาการใช้งาน จึงส่งผลกระทบกับค่าที่อ่านได้จากเครื่อง (ปกติจะให้ Calibrate Probe ที่ใช้ทุกปี<br />

เพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้องแม่นยําตลอดการใช้งาน) แต่หากเว้นช่วงการใช้งานแต่ละครั ้งเป็นเวลานาน ควรทํา<br />

Calibrate Probe ก่อนการใช้งานด้วย จะมีอุปกรณ์ดังนี ้ ชุด Calibrate Kit , Probe Clamp, Calibrate<br />

Pot, และกระดาษเช็ดเลนส์<br />

Tissue Culture


ุ<br />

ู<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

5. ก่อนทําการ Probe Calibration ควรเปิด warm up เครื่องไว้ประมาณ 15-20 นาที<br />

6. Flux Standard ที่มีบรรจุขนาด 5 ml จะมีอายุการใช้งาน 4 เดือน หลังจากเปิดใช้แล้ว เขย่าขวดเบา ๆ ก่อน<br />

เทลงใน Calibration Pot ที่มีให้ ทมให เมื่อใช้งานแล้วให้เทนํ<br />

เมอใชงานแลวใหเทนายาเกาทงแลวลาง ้ายาเก่าทิ้งแล้วล้าง Calibration Pot ด้วยนํ ดวยนาสะอาด ้าสะอาด<br />

และเช็ดให้แห้งด้วยกระดาษเช็ดเลนส์ ห้ามผสม Flux Standard ที่เปิดใช้ต่างเวลากัน ควร Calibrate<br />

Probe ที่อุณหภูมิ 20-22 องศาเซลเซียส<br />

7. ก่อนการใช้งานทุกครั ้ง ควรตรวจสอบความสะอาดที่ผิวหน้าของ Optic Probe เนื่องจากคุณภาพของ<br />

สัญญาณที่วัดได้ขึ ้นกับคุณภาพของพื ้นผิวหน้าของ Optic Probe ด้วยกระดาษเช็ดเลนส์เท่านั ้น ห้ามขัดถู<br />

เด็ดขาดจะทําให้เกิดรอยบนพื<br />

เดดขาดจะทาใหเกดรอยบนพนผวได ้นผิวได้<br />

8. ในการ Calibrate Probe ต้องใช้ Clamp ช่วยให้สามารถจัดตําแหน่งของหัว Probe อยู ่กึ ่งกลางของนํ ้ายา<br />

9. ทํา Calibrate บนพื ้นที่ที่มั่นคง ไม่สั่นไหว<br />

10. ทํา Calibrate ในห้องที่ไม่มีแสงสว่างจ้ามาก การตรวจสอบว่าแสงสว่างขณะทํา Calibrate เหมาะสม<br />

หรือไม่ ทําได้โดยดูที่ระดับของ DC ที่ Monitor ขณะปิด Laser (ควรอยู ่ที่ระดับไม่เกิน 2 unit)<br />

11. ตรวจสอบ Flux Display ใน RUN Mode 2-3 นาที เพอดูวาคาการอานนงคงทหรอไม เพื่อดว่าค่าการอ่านนิ่งคงที่หรือไม่ หากยงไมนงให หากยังไม่นิ่งให้<br />

ตรวจสอบว่าตําแหน่ง Probe ที่ Calibrate ถูกต้องหรือไม่<br />

12. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

ผลกระทบที่มีต่อความถูกต้องของการวัด<br />

- อุณหภูมิแวดล้อมและความชื ้นของห้อง จึงควรเปิดเครื่องมือทิ้งไว้อย่างน้อย 15 นาที ก่อนการเริ่มใช้งาน<br />

ตําแหน่งที่วาง Probe บน Subject (ส่วนของร่างกาย)<br />

- ความเครียด / ผ่อนคลาย มีผลต่อการไหลเวียนของเลือดในเนี ้อเยื่อ<br />

- ความดัน แรงกด หรือ ความดัน ที่ใส่ลงไปบนผิวจะลดการไหล<br />

- Movement Artifact การเคลื่อนปลาย Probe บนเนื ้อเยื่อที่วัด ทําให้เกิดความคลาดเคลื่อน<br />

จึงควรยึดปลาย Probe ให้นิ่งบนผิวขณะทําการวัด<br />

- แสงรบกวนจากภายนอกขณะวัด มีผลให้การอ่านเปลี่ยนแปลงไป เช่น การเปิด – ปิดไฟฟ้ าในสถานที่ใช้<br />

งาน ต้องป้ องบริเวณที่จะวัด<br />

Tissue Culture


ตู ้อบควบคุมอัตราการไหลของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์<br />

(CO 2 incubator )<br />

บริษัทผู ้ผลิต:<br />

คุณสมบัติ:<br />

ThermoForma, USA<br />

ใช้อบตัวอย่างเซลล์เพาะเลี<br />

้้ยง เพื ่อทดสอบสาร ่ ภายใต้อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส<br />

5 % ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และควบคุมปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยระบบ<br />

Thermal Conductivity เพิ่มอุณหภูมิด้วยระบบ Water jacket<br />

Tissue Culture


้<br />

<strong>วิธีการใช้งาน</strong><br />

1. เปิดสวิตซ์ Power ON ด้านหน้าตู้<br />

2. ตั ้งอุณหภูมิโดยการกดที่ปุ ่ม Set/Silence ด้วยไขควงซึ ่งติดกับตู้หมุนปุ ่ม Over Temp จนได้อุณหภูมิที่<br />

ต้องการ (สามารถใช้ Thermometer วัดอุณหภูมิที่ถูกต้องภายในตู้ได้)<br />

3. หากปุ ่ม Add water เป็นสีแดง ให้เติมนํ ้ากลั่นภายในตู้จนกว่าสีแดงจะดับ<br />

4. หากปุ ่ม Alarm เป็นสีแดงและมีเสียงเกิดขึ ้นให้กดที่ปุ ่ม Set/Silence<br />

5. ตั ้ง Percent CO 2<br />

โดยกดที่ปุ ่ม Set/Silence ใช้ไขควงหมุนที่ปุ ่ม CO 2<br />

จนได้ค่าที่ต้องการ<br />

6. ถ้าเกิดการติดเชื ้อภายในตู้เกิดขึ ้นให้นําถาดรองไปฆ่าเชื ้อและทําความสะอาดภายในตู้ด้วย 70% alcohol<br />

7. ลงบันทึกการใช้เครื่อง (QL-DTRC-P20-02)<br />

หมายเหตุ<br />

- การปรับอุณหภูมิ ไม่อนุญาติให้ปรับอุณหภูมิเนื่องจากจะต้องส่ง Calibrate Tem. โดยบริษัทจากภายนอก<br />

Tissue Culture

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!