11.11.2014 Views

การพัฒนาตํารับยาสีฟนสมุนไพร - Faculty of Pharmacy, Mahidol ...

การพัฒนาตํารับยาสีฟนสมุนไพร - Faculty of Pharmacy, Mahidol ...

การพัฒนาตํารับยาสีฟนสมุนไพร - Faculty of Pharmacy, Mahidol ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

20<br />

คุณคาทางโภชนาการ ใบยอและลูกยอใชเปนผักได นิยมใชรองกระทงหอหมก ภาคใต<br />

นิยมใชใบยอออนๆ ซอยเปนฝอยแกงเผ็ดกับปลา ใสขมิ้น ในใบยอมีสารอาหาร ทั้งแคลเซียมมาก<br />

มีเกลือแร วิตามิน รวมทั้งกากและเสนใยอาหาร<br />

ขอมูลทางวิทยาศาสตร ผลยอมีสารเคมี Asperuloside, caproic acid, caprylic acid<br />

และ glucose แตไมมีรายงานดานเภสัชวิทยาและดานอื่นที่เกี่ยวของ<br />

คติความเชื่อ คนโบราณนิยมปลูกไวในบริเวณบาน โดยกําหนดปลูกทางทิศตะวันออก<br />

เฉียงใต (อาคเนย) เชื่อวาปองกันสิ่งเลวราย อีกทั้งชื่อยอยังเปนมงคลนาม ถือเปนเคล็ดลับกันวา<br />

จะไดรับการสรรเสริญเยินยอ หรือยกยองในสิ่งที่ดีงาม<br />

สรรพคุณทางทันตกรรม<br />

- อมแกเหงือกเปอย<br />

- ผลยอมีสารโปรเซอโอนีน เมื่อรางกายไดรับสารชนิดนี้มีฤทธิ์ทางบวกตอเซลลทําใหผูที่<br />

รับประทานยอสวนใหญรูสึกดีขึ้นเนื่องจากสารเซอโอนีน ผลยอจะมีสารเคมีสําคัญที่เกี่ยวของใน<br />

การควบคุมปฏิกิริยาตางๆ ของรางกายในบริเวณที่มีการอักเสบใหเปนปกติซึ่งหลังจากรางกาย<br />

ไดรับ สารโปรเซอโอนีนจากผลยอแลว สารชนิดนี้จะซึมออกมาตามเสนเลือดฝอย เพื่อใหเซลลใน<br />

รางกายเปลี่ยนสารชนิดนี้มาเปนเซอโอนีน ซึ่งสารเซอโอนีนนี้อาจปองกันมิใหเปปไทดที่ กระตุนการ<br />

อักเสบ (Inflammation producing peptides) สามารถจับกับโปรตีนเฉพาะนี่เอง จึงทําใหลด<br />

อาการอักเสบ บวม และอาการปวดได<br />

ประโยชนทางการแพทย<br />

จากงานวิจัยในตางประเทศพบวา ผลยอสามารถเสริมสรางระบบภูมิตานทาน โดย<br />

ควบคุมการทํางานของเซลลตางๆ และการงอกใหมของเซลลที่ถูกทําลาย โดยการใชทั้งทางตรง<br />

และทางออม ดังนั้นผลยอจึงมีคาอันประมาณไมไดในการเปนสมุนไพรที่ชวยเยียวยา ดวย<br />

สรรพคุณตางๆ และนอกจากนี้ผลยอสามารถรับประทานรวมกับยาอื่นๆ ไดโดยเกือบจะไมมี<br />

ปฏิกิริยาทางลบเลย ในบางสถานการณผลยอยังทําใหยาอื่นๆ ออกฤทธิ์ไดมากขึ้น ดังนั้นการใชผล<br />

ยอรักษารวมกับยาแผนปจจุบันจึงอาจจะตองปรับขนาดยาที่ใชใหลดลง และจากรายงาน<br />

ผลขางเคียงของผลยอมีนอยมาก โดยมีนอยกวา 5 เปอรเซ็นต<br />

อาการขางเคียงที่อาจเกิดขึ้นไดคือ อาการทองอืด ถายเหลว อาการแพหรือมีผื่นเล็กนอย<br />

และอาการเหลานี้จะหายไปเมื่อลดปริมาณการรับประทานลง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!