05.05.2015 Views

KM (Knowledge Management) หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับ และขยา

KM (Knowledge Management) หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับ และขยา

KM (Knowledge Management) หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับ และขยา

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>KM</strong> (<strong>Knowledge</strong> <strong>Management</strong>)<br />

หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับ และขยายเวลาทําการ<br />

นายธนัท ศรีวิชัย<br />

นบ.,นบท.<br />

นิติกรชํานาญการพิเศษ<br />

กลุมนิติการ<br />

สํานักบริหารกลาง


2<br />

คํานํา<br />

เนื่องจาก พพ. เปนหนวยงานปฏิบัติ จึงตองมีการทําสัญญาซื้อขาย วาจางกอสราง<br />

วาจางที่ปรึกษา เมื่อเกิดอุปสรรคในการปฏิบัติตามสัญญา คณะกรรมการที่บริหารสัญญาไมมีคูมือ<br />

หรือหลักเกณฑในการพิจารณาหรือปฏิบัติงาน ประกอบกับผูจัดทําไดรับมอบหมายจาก ผอ.สบก.<br />

ใหจัดทํา <strong>KM</strong> (<strong>Knowledge</strong> <strong>Management</strong>) ดังนั้น ผูจัดทําจึงไดจัดทํา<br />

<strong>KM</strong> เรื่อง หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับและการขยายเวลาทําการ ที่ผูจัดทํา<br />

ไดจัดทําขึ้นมา ก็เพื่อประโยชนของขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง ของ พพ. ที่มีหนาที่เปน<br />

คณะกรรมการตรวจรับ คณะกรรมการการตรวจการจาง เพื่อศึกษาทําความเขาใจ ตลอดจนใชเปน<br />

คูมือในการปฏิบัติงาน ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา <strong>KM</strong> เรื่องดังกลาวคงจะเปนประโยชนแก<br />

ขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง ของ พพ. บางไมมากก็นอย<br />

ผูจัดทําขอขอบคุณคุณสมใจ เพ็งแพง ที่ชวยจัดพิมพในครั้งนี้ดวย<br />

นายธนัท ศรีวิชัย<br />

มิ.ย.2553


3<br />

การงดหรือลดคาปรับ และขยายเวลาทําการ<br />

การทําสัญญาของสวนราชการไมวาจะเปนสัญญาวาจาง สัญญาซื้อขาย สัญญาจาง<br />

ที่ปรึกษา จะกําหนดระยะเวลาใหสงมอบสิ่งของ งานกอสราง หรืองานจาง ซึ่งสัญญาดังกลาว<br />

มักจะกําหนดเบี้ยปรับ (คาปรับ) ทั้งนี้เพื่อกําหนดคาเสียหายอันเนื่องมาจากการผิดสัญญา ในการ<br />

สงมอบสิ่งของ งานกอสราง หรืองานจางลาชา โดยมักจะปรับคูสัญญาเปนรายวัน จนถึงวันที่สง<br />

มอบสิ่งของ งานกอสราง หรืองานจาง ตามระยะเวลาที่ลาชา<br />

ดังนั้น ในสัญญาวาจางก็ดี สัญญาซื้อขายก็ดีหรือสัญญาจางที่ปรึกษาก็ดี จะมีขอ<br />

สัญญาสอดคลองกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ขอ 139 ซึ่งใหอํานาจหัวหนา<br />

สวนราชการที่จะใชดุลพินิจพิจารณาลดหรืองดคาปรับหรือขยายระยะเวลาทําการตามสัญญาไดตาม<br />

จํานวนที่มีเหตุเกิดขึ้นจริงเฉพาะกรณีเหลานี้<br />

1) เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของสวนราชการ<br />

2) เหตุสุดวิสัย<br />

3) เหตุเกิดจากพฤติการณอันหนึ่งอันใดที่คูสัญญาไมตองรับผิดตามกฎหมาย<br />

โดยคูสัญญาตองแจงเหตุดังกลาวใหสวนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้น<br />

ไดสิ้นสุดลง หากมิไดแจงภายในเวลาที่กําหนด คูสัญญาจะยกมากลาวอางเพื่อขอลดหรืองดคาปรับ<br />

หรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได เวนแตกรณีตาม (1) ซึ่งมีหลักฐานชัดแจงหรือ สวนราชการทราบ<br />

ดีอยูแลวตั้งแตตน<br />

ขอสังเกต<br />

สัญญาที่กําหนดสงมอบหรือแลวเสร็จเวลาเดียว การปรับตองปรับทั้งสัญญา การ<br />

ขยายเวลาก็ตองขยายเวลาทั้งสัญญา เวนกรณีกําหนดคาปรับระหวางงวด<br />

(1) เหตุเกิดจากความผิด หรือความบกพรองของสวนราชการซึ่งหมายความวา<br />

ความผิดหรือความบกพรอง นั้น เปนเหตุขัดขวางการทํางาน หรือการสงมอบสิ่งของ ตามสัญญา เชน<br />

- สวนราชการสงมอบพื้นที่กอสรางลาชา<br />

- คณะกรรมการตรวจการจาง ใชระยะเวลาตรวจรับงานลาชา แลวสั่งใหคูสัญญา<br />

แกไขงาน<br />

- สวนราชการ พิจารณาใหความเห็นชอบเรื่องตางๆ ลาชา เชน การเลือกออกอากาศ<br />

การคัดเลือกชุมชน เขารวมโครงการ เห็นชอบแบบกอสราง<br />

-ราษฎรบุกรุกพื้นที่กอสราง<br />

- สวนราชการขอแกไขแบบ


4<br />

(2) เหตุสุดวิสัย<br />

ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 8 บัญญัติวา “เหตุสุดวิสัย<br />

หมายความวา เหตุใดๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคล<br />

ผูตองประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมาย<br />

ไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น”<br />

ขอสังเกต<br />

(1) ที่จะเปนเหตุสุดวิสัยไดนั้น จะตองเปนเหตุหรือภัยพิบัติที่เกิดขึ้นโดยไมอาจ<br />

ปองกันได ทั้งนี้อาจเปนเหตุที่เกิดขึ้นตามธรรมดาโลก เชน ฟาผา ลมพายุ น้ําทวมฉับพลัน คลื่นลม<br />

จัดผิดปกติ ฝนตกผิดปกติติดตอกันหลายวัน หรือเหตุจากบุคคลที่ 3 เชน ถูกพนักงานควบคุมตัว<br />

เปนเหตุใหมาใหกรรมการคัดเลือกทหารตรวจไมทันกําหนด โจรปลน เพลิงไหมจากที่อื่น คนงาน<br />

นัดหยุดงาน ฉะนั้นเหตุสุดวิสัย จึงไมใชเรื่องที่ปองกันไมได แตเปนเรื่องที่ผูตองประสบจะ<br />

ปองกันไมไดเทานั้นเอง ถาเหตุที่เกิดขึ้นเปนเพราะความผิดของผูนั้น เชน จําเลยเปนบรรณาธิการ<br />

หนังสือพิมพเขียนขาวใสรายรัฐบาล จึงถูกสั่งปดโรงพิมพ จําเลยมีหนาที่ดูแลรักษารถใหอยูใน<br />

สภาพใชไดตามปกติ แตไมระมัดระวังตรวจตราที่คาดหมาย หามลอรถแตก รถที่จําเลยขับชน<br />

เครื่องกั้นถนน และชนขบวนรถไฟ หรือเพราะความผิดของตัวแทนหรือบุคคลที่ผูนั้นใช หรือ<br />

บุคคลซึ่งตนจะตองรับผิดชอบ ดังนั้นจะอางเปนเหตุสุดวิสัยเพื่อใหตนเองพนความรับผิดไมได<br />

(2) ผูประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้น ไมอาจปองกันมิใหเกิดขึ้นได เมื่อได<br />

ใชความระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายไดจากบุคคลนั้นในฐานะเชนนั้น<br />

2.1 ความระมัดระวังในการจัดการปองกันนั้น กฎหมายมิไดระบุใหผูประสบ<br />

หรือใกลจะประสบใชความระมัดระวังสูงสุด เพียงแตใชความระมัดระวังตามสมควรเทานั้น<br />

2.2 เมื่อพิจารณาในเรื่องความระมัดระวังแลว ระดับของความระมัดระวังจึง<br />

แตกตางกันไปแลวแตบุคคล ความระมัดระวังของศัลยแพทยในการผาตัดผูปวย ยอมพึงคาดหมาย<br />

ไดวา อยูในระดับสูงกวาบุรุษพยาบาลผูทําหนาที่เชนเดียวกัน และความระมัดระวังของบุรุษ<br />

พยาบาลในการรักษาผูบาดเจ็บยอมมากกวาบุคคลธรรมดาทั่วไป ในทํานองเดียวกันจะหวังใหความ<br />

ระมัดระวังของแพทยผูรักษาพยาบาลผูบาดเจ็บในยามมีศึกสงครามอยูในระดับเดียวกับที่บานเมือง<br />

เปนปกติไมได หลักเดียวกันนี้ยอมใชไดกับบุคคลในวิชาชีพอื่น เชน วิศวกร สถาปนิก<br />

ทนายความ ผูชําระบัญชี ชางกอสราง ชางตัดผม ชางซอมรถ ฯลฯ<br />

2.3 นอกจากขอ 2.2 แลว ยังตองพิจารณาตอไปวาบุคคลนั้นในฐานะเชนนั้น<br />

ไดใชความระมัดระวังตามสมควรหรือไม เชน ไฟจากที่อื่นลุกลามไหมบาน นาย ก. นาย ก.<br />

ใชกระปองตักน้ ําเพื่อที่จะดับไฟ แตไมอาจดับได เชนนี้ จะอางวาถา นาย ก.มีเครื่องมือดับเพลิง<br />

ไฟก็จะไมไหมบาน ยอมอางไมได เพราะ นาย ก. ไดใชความระมัดระวังตามสมควรที่จะพึง


5<br />

คาดหมายไดจากบุคคลในฐานะเชน นาย ก. แลว ในเรื่องของการฝากทรัพยเชนกัน กฎหมาย<br />

กําหนดใหความระมัดระวังของผูรับฝากโดยไมมีบําเหน็จมีระดับอยางหนึ่ง ถามีบําเหน็จระดับแหง<br />

ความระมัดระวังยอมสูงขึ้นไปเปนอีกอยางหนึ่ง<br />

(3) ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมีบทบัญญัติเฉพาะเรื่องวา เหตุสุดวิสัยเปนขอ<br />

แกตัวได กลาวคือ กรณีเจาหนี้ไมสามารถทําใหอายุความสะดุดหยุดลง ความเสียหายที่เกิดจาก<br />

ยานพาหนะอันเดินดวยกําลังเครื่องจักรกลซึ่งอยูในครอบครอง รวมถึงทรัพยในครอบครองอันเปน<br />

ของที่เกิดอันตรายไดโดยสภาพ เชน ไฟฟาแรงสูง เปนตน ในกฎหมายลักษณะรับขน ผูขนสงไม<br />

ตองรับผิดตอของที่มอบหมายแกตนนั้นสูญหาย บุบสลาย หรือสงมอบชักชา ผูสงของไมตอง<br />

ชดใชคาระวางพาหนะถาของสูญหายไป ถาผูขนสงไดรับไปแลวเทาใดตองคืนใหแกผูสงของ และ<br />

กรณีความเสียหายเกิดแกคนโดยสาร หรือความเสื่อมเสียใดๆ อันเปนผลโดยตรง แตการที่ตอง<br />

ชักชาในการขนสง ในเรื่องของเจาสํานักโรงแรมความสูญหายหรือบุบสลายตอทรัพยสินของคน<br />

เดินทางหรือแขกผูมาพักแรม<br />

(4) กลับกัน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยหลายมาตราบัญญัติวา แมเปนเหตุ<br />

สุดวิสัยก็ยังตองรับผิด เพราะเหตุทรัพยสินนั้นสูญหายหรือบุบสลาย กลาวคือ ในเรื่องยืมใชคงรูป<br />

ผูยืมเอาทรัพยสินซึ่งยืมไปใชอยางอื่นนอกจากการอันเปนปกติแกทรัพยสิน หรือนอกจากที่ปรากฏ<br />

ในสัญญา หรือเอาไปใหบุคคลภายนอกใชสอย หรือเอาไปนานแกควรที่จะเอาไว กรณีฝากทรัพย<br />

ผูรับฝากเอาทรัพยนั้นออกใช หรือใหบุคคลภายนอกใชสอย หรือใหบุคคลภายนอกเก็บรักษาโดย<br />

ผูฝากมิไดอนุญาต ในเรื่องจํานํา ผูรับจํานําเอาทรัพยที่จํานําออกใช หรือใหบุคคลภายนอกใชสอย<br />

หรือเก็บรักษาโดยผูจํานําไมไดยินยอม อยางไรก็ตามหากสามารถพิสูจนไดวาทรัพยสินที่ยืมตาม<br />

มาตรา 643 ก็ดี ทรัพยสินที่รับฝากตามมาตรา 660 ก็ดี ทรัพยที่รับจํานําไวตามมาตรา 760 ก็ดี ถึง<br />

อยางไรก็จะตองสูญหาย หรือบุบสลายผูยืม ผูรับฝาก หรือผูรับจํานํา แลวแตกรณีไมตองรับผิด<br />

มีขอนาสังเกตวาในเรื่องการฝากเงิน แมเงินที่รับฝากสูญหายไปดวยเหตุสุดวิสัย ผูรับฝากก็ตองใช<br />

คืนใหกับผูฝากจนครบจํานวน<br />

(5) จากบทบัญญัติของกฎหมาย และแนววินิจฉัยของศาลฎีกา จึงพอสรุปไดวาจะ<br />

เปนเหตุสุดวิสัยหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับขอเท็จจริงเปนเรื่องๆ ไป เหตุหนึ่งในสถานการณหนึ่งอาจ<br />

เปนขอแกตัวโดยอางเหตุสุดวิสัยเพื่อใหพนความรับผิดสําหรับบุคคลหนึ่ง แตเหตุเดียวกันนั้นอาจ<br />

ไมเปนขอแกตัวสําหรับอีกคนหนึ่งในอีกสถานการณหนึ่งก็ได ฉะนั้นการที่ลูกหนี้จะตองรับภาระ<br />

ปฏิบัติการชําระหนี้หนักขึ้นกวาปกติจึงไมเปนเหตุสุดวิสัย การทําสัญญายอมรับผิด แมตลอดถึง<br />

เหตุสุดวิสัยนั้น ศาลวินิจฉัยวาไมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน<br />

ในกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นไดจากหลายสาเหตุ ศาลจะใชดุลพินิจชั่งน้ําหนักคําพยาน แลว<br />

วินิจฉัยเปนเรื่องๆ ไป เชน ในคดีหนึ่งปญหามีวา การที่จําเลยที่ 1 บรรทุกน้ําหนักเกินไป


6<br />

400 กิโลกรัม จะเปนเหตุใหรถตะแคงหรือไม ขอเท็จจริงไดความวาลอรถขวาขางหนาตกหลุม<br />

เปนเหตุใหแหนบรถขางขวาหัก รถเฉไปทางขวา จําเลยที่ 1 พยายามหักพวงมาลัยไปทางซาย แต<br />

ปรากฏวาหักพวงมาลัยไมได โดยแหนบหักไปค้ําคันสงทําใหจําเลยที่ 1 ขับรถไมได กรณีที่<br />

แหนบรถหักไปค้ําคันสงนี้เปนเหตุสุดวิสัยที่จําเลยที่ 1 ไมอาจจะรูและไมสามารถปองกันได แมจะ<br />

ฟงวาแหนบรถหักเนื่องจากบรรทุกน้ําหนักเกินอัตราและรถตกหลุมก็ดี แตกรณีดังกลาวไมนาจะ<br />

เปนเหตุใหรถตะแคง เพราะปรากฏวาจําเลยที่ 1 ไดใชความระมัดระวังตามวิสัย และปฏิบัติใน<br />

พฤติการณที่เกิดขึ้นเยี่ยงคนขับรถทั่วไปทั้งหลายแลว จึงถือไดวาเหตุที่เกิดขึ้นไมใชเนื่องจากความ<br />

ประมาทเลินเลอของจําเลยที่ 1 จําเลยทั้งสองจึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกโจทก<br />

(คําพิพากษาฎีกา ที่ 1636/2516)<br />

(6) ถาคูสัญญากําหนดความรับผิดไวกวางๆ โดยมิไดยกเวนความรับผิด ถามีเหตุ<br />

สุดวิสัยเกิดขึ้น ความรับผิดของคูสัญญาจะมีเพียงไร เชน สัญญาเชาขอหนึ่งมีความวา “ขอ<br />

รับผิดชอบในความเสียหายอันเกิดจากวัตถุแหงการเชา .......ผูเชาจะตองรับผิดตอผูใหเชา (เวนแตจะ<br />

สึกหรอโดยปกติของการใช)” ศาลฎีกาวินิจฉัยวา คูสัญญามิไดประสงคจะใหผูเชาตองรับผิด<br />

นอกเหนือไปจากที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 562 กําหนดไว จําเลยในคดีนี้<br />

จะตองรับผิดตอโจทกแตในความผิดของจําเลยดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย<br />

การที่เรือแรจมลงเนื่องจากคลื่นลมจัดผิดปกติอันเปนเหตุสุดวิสัย ดังนี้ถือเปนความผิดของจําเลย<br />

ไมได (คําพิพากษาฎีกาที่ 565/2497)<br />

(7) ถาวัตถุแหงสัญญาซึ่งเปนทรัพยเฉพาะสิ่งสูญหาย หรือถูกทําลายโดยเหตุสุดวิสัย<br />

สัญญายอมระงับ แตถามิใชทรัพยเฉพาะสิ่ง เชนทําสัญญาซื้อขายกระสอบ จําเลยตองรับผิดตาม<br />

สัญญา ไมอาจอางเหตุสุดวิสัยเปนขอแกตัวมิใหตองรับผิด เพราะจําเลยสามารถจัดหากระสอบ<br />

ชนิดเดียวกับที่ระบุไวในสัญญาซึ่งมีขายอยูทั่วไปสงมอบใหโจทกได หลักเดียวกันนี้ขยายไปถึง<br />

กรณีที่โรงงานเลิกลมกิจการแตมีโรงงานอื่นผลิตสินคาชนิดเดียวกัน ซึ่งลูกหนี้ตองปฏิบัติการชําระ<br />

หนี้ใหโจทก<br />

(8) ในคดีเรื่องหนึ่ง จําเลยที่ 1 ทําสัญญารับขนสงขาวสารของโจทกทางเรือจาก<br />

กรุงเทพฯ ไปชุมพร มีจําเลยที่ 2 เปนผูค้ําประกัน สัญญาขอหนึ่งมีความวา “ของ (ขาวสาร) ที่<br />

บรรทุกนั้น ถาขาดจํานวนหรือเปยกน้ํา ผูรับจางจะใชคาเสียหายตามทุนหากวาถูกพายุหรือการ<br />

แอ็กซิเดนท ใดๆ ตางยกเลิกสัญญาทั้งสิ้น” จําเลยที่ 1 ถูกเรือกลไฟผูอื่นชนหัวเรือแตกและน้ําเขา<br />

เรือ จําเลยที่ 1 เกรงเรือจะลม จึงใหเอาขาวสารทิ้งน้ําเพื่อใหหัวเรือขึ้นสูงจากระดับน้ําเปนเหตุให<br />

ขาวสารหาย และเสียหายเพราะเปยกน้ํา ศาลฎีกาเห็นวา เหตุดังกลาวเกิดขึ้นกับจําเลยโดยไมรูตัว<br />

จําเลยมิไดมีสวนเกี่ยวของกอใหเกิดเหตุนั้นขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอแตอยางใด นับวาเปน<br />

อุบัติเหตุเกิดขึ้นตามความมุงหมายแหงสัญญานี้


7<br />

แมคําพิพากษาฎีกาขางตน มิไดกลาววาเหตุที่เกิดขึ้นเปนเหตุสุดวิสัยก็ตาม แตคํา<br />

วินิจฉัยที่วา “จําเลยมิไดมีสวนเกี่ยวของกอใหเกิดเหตุนั้นขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอแตอยางใด<br />

นับวาเปนอุบัติเหตุเกิดขึ้นตามความมุงหมายแหงสัญญานี้” ประกอบกับนักนิติศาสตรบางทาน<br />

ไดรวบรวมและยอคําพิพากษาฎีกาฉบับนี้ไวภายใตประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 8<br />

จึงมีปญหาวา คําวา อุบัติเหตุ และเหตุสุดวิสัยมีความหมายคลายคลึงหรือแตกตางกันหรือไม<br />

เพียงไร<br />

8.1 “อุบัติเหตุ” หมายความวา เหตุที่เกิดขึ้นโดยไมทันคิด ความบังเอิญเปนแม<br />

จะไมมีบทวิเคราะหศัพทในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเชน เหตุสุดวิสัย แตมีปรากฏอยูใน<br />

มาตรา 217 ลูกหนี้ตองรับผิดชอบในกรณีที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้น<br />

ในระหวางเวลาที่ตนทําผิดนัด มาตรา 439 กรณีคืนทรัพยเพราะเหตุทําละเมิด บุคคลนั้นตอง<br />

รับผิดชอบตลอดถึงการที่ทรัพยถูกทําลายลงโดยอุบัติเหตุ หรือการคืนทรัพยตกเปนพนวิสัยเพราะ<br />

อุบัติเหตุหรือทรัพยนั้นเสื่อมเสียลงโดยอุบัติเหตุ<br />

8.2 โดยความหมายดังกลาวแลวในขอ 8.1 มีขอนาคิดวาอุบัติเหตุเปนจําพวกหนึ่ง<br />

ของเหตุสุดวิสัยในลักษณะที่ไมอาจปองกันได โดยใชความระมัดระวังตามสมควรของบุคคลนั้น<br />

ในภาวะเชนนั้น เชน โดยนัยมาตรา 217 ลูกหนี้จะตองสงมอบรถยนตที่ขายใหกับเจาหนี้ในวันที่<br />

1 มิถุนายน 2525 แตลูกหนี้ไมสงมอบให ลูกหนี้ไดชื่อวาผิดนัดแลว ระหวางนั้นลูกหนี้เอารถยนต<br />

ดังกลาวไปขับขี่ ถูกรถคันอื่นชนเสียหายโดยมิใชเกิดจากความผิดหรือประมาทเลินเลอของตน<br />

ลูกหนี้ก็ตองรับผิดตอเจาหนี้ในความเสียหายที่เกิดขึ้นตามมาตรานี้<br />

กรณีตามตัวอยาง พอถือไดวาเปนเหตุสุดวิสัยไดเชนกัน แตเหตุสุดวิสัย<br />

มีความหมายกวางกวา เพราะอาจเปนเหตุที่เกิดขึ้นจากเหตุการณธรรมชาติหรือจากการกระทําของ<br />

คนก็ได ฉะนั้น พิจารณาในแงนี้ อุบัติเหตุจึงตางกับเหตุสุดวิสัยในมูลเหตุที่มา กลาวคือ อุบัติเหตุ<br />

เปนเหตุที่เกิดขึ้นซึ่งพอจะสืบสาวราวเรื่องไดจากการกระทําของคน สวนเหตุสุดวิสัยโดยทั่วๆ ไป<br />

อาจเนื่องมาจากการกระทําของบุคคล หรือภัยธรรมชาติ เชน ฟาผา น้ําทวม แผนดินไหว ก็ได<br />

8.3 คําวา “อุบัติเหตุ” ตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา accident สวนเหตุสุดวิสัย<br />

นั้นตนรางภาษาอังกฤษใชคําวา Force Majeure ซึ่งเปนคําในกฎหมายฝรั่งเศส มีความหมาย<br />

คลายคลึงกับ act of GOD ในกฎหมายอังกฤษ พิจารณาถอยคําภาษาไทยเปรียบเทียบกับถอยคํา<br />

ภาษาตางประเทศแลว เห็นไดวา “อุบัติเหตุ” กับ “เหตุสุดวิสัย” มีความหมายไมเหมือนกัน แต<br />

อาจสรุปไดวา เนื่องจากเหตุที่เกิดขึ้นมิใชเกิดจากความประมาทเลินเลอ หรือมิใชความผิดของ<br />

ผูประสบและเปนเหตุที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ อุบัติเหตุจึงเขาลักษณะเหตุสุดวิสัยได แตมิได<br />

หมายความวา เหตุสุดวิสัยทุกอยางเปนอุบัติเหตุ อุบัติเหตุเปนเพียงสวนหนึ่งของเหตุสุดวิสัยเทานั้น


8<br />

8.4 เหตุผลงายๆ ที่แสดงวา “เหตุสุดวิสัย” กับ “อุบัติเหตุ” มีความหมายไม<br />

เหมือนกันก็คือ คําสองคําเขียนตางกัน หากตองการใหมีความหมายเชนเดียวกันก็นาจะใชคํา<br />

เหมือนกัน เพื่อมิใหเกิดความสับสนและยุงยากในการตีความแกบรรดาผูประกอบวิชาชีพกฎหมาย<br />

ทั้งหลายซึ่งมีขอถกเถียงกันไมมีที่สิ้นสุด เพราะขึ้นชื่อวานักกฎหมายแลว เรื่องที่จะไมโตแยงกัน<br />

เห็นจะไมมีอยางไรก็ตามมีขอนาสังเกตวา เนื่องจากกฎหมายมีบทวิเคราะหศัพทของคําวาเหตุ<br />

สุดวิสัย แตไมใหนิยามของคําวาอุบัติเหตุไว คําพิพากษาที่วินิจฉัยถึงความแตกตางของสองคํานี้<br />

ก็ไมมี แตจากความเขาใจโดยทั่วไปทั้งสองคํานี้มีความหมายตอเนื่องใกลเคียงกันมาก แมไมอาจ<br />

กลาวไดวาเหมือนกัน แตก็สับสนปนเปกันในการสื่อความหมายตามสมควร เชนมักจะไดยินคําพูด<br />

หรือการรายงานขาวในทํานองวา “เกิดอุบัติเหตุรถชนกันที่................ไฟไหมรถของนาย................<br />

สุดวิสัยที่จะดับได” ทั้งๆ ที่อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้ อาจเปนเหตุสุดวิสัยไดตามความหมาย<br />

ของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยหากพิสูจนไดวา ไมใชเกิดจากความผิดของผูตองประสบ<br />

และผูประสบไดใชความระมัดระวังตามสมควรแลวในทํานองเดียวกัน ถามีภัยธรรมชาติเกิดขึ้น<br />

เชน น้ําทวม แผนดินไหว หรือในกรณีที่ความสูญเสียเกิดจากบุคคลที่ 3 เชน โจรปลน กรรมกร<br />

หยุดงาน ยอมไมมีใครกลาวไดวา เปนอุบัติเหตุ แตอาจเปนเหตุสุดวิสัยไดตามกฎหมาย<br />

สรุป เหตุสุดวิสัยนี้ อาจเกิดจากธรรมชาติหรือการกระทําของบุคคลก็ได<br />

(3) เกิดจากพฤติการณอันหนึ่งอันใด ที่คูสัญญาไมตองรับผิดชอบตามกฎหมาย<br />

นั้น ไมมีขอจํากัดวาจะตองเปนพฤติการณอยางใด ขอสําคัญจะตองเปนพฤติการณ ซึ่งเกิดขึ้น โดย<br />

มิใชความผิดของคูสัญญา อาจเปนเหตุสุดวิสัย หรือเหตุขัดขวางอยางอื่น ซึ่งคูสัญญามิได<br />

กอใหเกิดขึ้นเอง หรือไมตองรับผิดชอบในเหตุนั้น เชน<br />

ตัวอยางที่ 1 ก ยืมรถยนต ข ไปใช สัญญาวาจะคืนใหภายใน 7 วัน ครั้นครบ<br />

กําหนด ก จะตองสงรถยนตคืนให ข นั้น น้ําทวมตําบลที่ ก และ ข อยู ก ไมสามารถสงมอบ<br />

รถยนตคืน ข ไดตามกําหนด ดังนี้ จะถือวา ก ผิดนัดไมได เพราะพฤติการณอันเปนเหตุให ก<br />

ไมสามารถสงคืนรถยนตคืน ข นั้น ก ไมตองรับผิดชอบ<br />

ตัวอยางที่ 2 ถา ก ไมสามารถนํารถยนตไปคืน ข ได เพราะ ก เมาสุรา<br />

อาละวาดจนถูกตํารวจจับไปขังไว หรือ ก เอารถยนตไปใหคนอื่นยืมตอไปจึงไมสามารถคืน<br />

รถยนตแก ข ได ตามกําหนด ดังนี้ ก ไมอาจอางเหตุตามขอ 139(3) ได เพราะพฤติการณอันเปน<br />

เหตุให ก ไมสามารถคืนรถยนตไดตามกําหนดดังกลาวนั้น ก ตองรับผิดชอบ<br />

ตัวอยางคําพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับพฤติการณอยางอื่นที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ<br />

ฎีกา 2040/2520 สัญญาซื้อขายเสาเข็ม กําหนดใหผูขายตอกเข็มดวย โดยผูซื้อ<br />

ตองเตรียมสถานที่ใหพรอมที่จะตอกได ตองเตรียมทางใหรถยนตบรรทุกเสาเข็มเขาถึงได เปน


9<br />

หนาที่ผูซื้อตัดเสาเข็มที่ตอกจมดินไมได ผูซื้อไมรื้อถอนรากฐานเกา ไมทําทางใหรถเขาไดสะดวก<br />

ไมตัดหัวเสาเข็ม ทําใหการตอกเข็มสําเร็จลาชากวากําหนด ผูซื้อตองรับผิดใชราคาเสาเข็มที่ซื้อ<br />

ฎีกา 2189/2523 จําเลยทําสัญญาซื้อของจากโจทก ซึ่งตองสั่งซื้อจากตางประเทศ<br />

ของสูญหายในระหวางขนสงมาประเทศไทย จึงเปนเรื่องพนวิสัยที่โจทกจะปองกันได ถือวาเปน<br />

พฤติการณอันโจทกไมตองรับผิดชอบ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 205 โจทกยังไมไดชื่อวาผิดนัดจําเลย<br />

ตองใหเวลาแกโจทกปฏิบัติตามสัญญา เพราะเวลาที่กําหนดไวเดิมลวงพนไปแลว<br />

ฎีกา 3095/2523 วันที่กําหนดจะไปจดทะเบียนโอนบานกัน ณ ที่วาการอําเภอ<br />

บังเอิญตรงกับวันอาทิตย โจทกจําเลยจะถือเอาขอกําหนดวันดังกลาวมาเปนขออางวาอีกฝายเปน<br />

ผูผิดนัดหาไดไม<br />

การงดหรือลดคาปรับ<br />

กรณีตองเปนกรณีที่คูสัญญา ไดสงมอบสิ่งของหรือสงมอบงานตามสัญญาแลว<br />

แตสงมอบสิ่งของลาชา หรือสงมอบงานลาชากวากําหนดของสัญญา และจะตองถูกปรับตามสัญญา<br />

แตเนื่องจากมีเหตุอุปสรรคอยางหนึ่งอยางใดตามขอ 139(1)-(3) จึงตองนําเหตุนั้นมางดหรือลด<br />

คาปรับ<br />

ตัวอยางที่ 1 บริษัท ก ตองทํางานใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน หรือภายในวันที่<br />

30 กันยายน นับแตวันลงนามในสัญญา แตบริษัท ก สงมอบงานงวดสุดทาย เมื่อวันที่<br />

1 ธันวาคม ดังนี้ บริษัท ก ตองถูกปรับเปนระยะเวลา 62 วัน แตเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัย 60 วัน<br />

ดังนั้น เหตุลดคาปรับจึงมีเพียง 60 บริษัท ก จะตองถูกปรับ 2 วัน<br />

ตัวอยางที่ 2 ตามตัวอยางที่ 1 หากบริษัท ก มีเหตุสุดวิสัย 70 วัน ดังนั้น จึง<br />

ตองงดคาปรับใหบริษัท ก เปนเวลาเพียง 62 วัน ตามที่จะตองถูกปรับจริง<br />

การขยายเวลาทําการ โดยปกติเรามักจะเรียกกันวาขยายอายุสัญญา หรือตออายุ<br />

สัญญา ดังนั้น อาจกลาวไดวาการขยายเวลาทําการคือการชดเชยระยะเวลาที่เสียไป หรือระยะเวลา<br />

ที่ขัดขวางการดําเนินการตามสัญญา ทั้งนี้ตองเปนเหตุหนึ่งเหตุใดตาม ขอ 139 (1) – (3) และยังไมมี<br />

การสงมอบสิ่งของ หรืองานงวดสุดทาย ทั้งนี้เพื่อคูสัญญาจะไดนําระยะเวลาที่ขยายใหไปทํางานที่<br />

เหลืออยูหรือเพื่อสงมอบสิ่งของ<br />

การที่ระเบียบขอ 139 วรรคทาย กําหนดใหคูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายตอง<br />

แจงเหตุภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุด เพื่อตองการทราบความจริงวาเหตุตาม (2) และ (3)<br />

ของขอ 139 ไดเกิดขึ้นจริงและมีความเสียหายจริง เพราะบางครั้งแมจะเกิดเหตุตาม (2) และ (3)<br />

ผูรับจางหรือผูขายยังทําการไดอยู มิไดรับความเสียหายแตอยางใด ดังนั้น บางครั้งผูรับจางหรือ<br />

ผูขายจึงมิไดขอลดงดคาปรับ หรือขอขยายระยะเวลามา และโดยเฉพาะเพื่อใหคูสัญญานําพยาน<br />

เอกสารและพยานบุคคลและขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น พิสูจนใหสวนราชการไดทราบถึงเหตุที่เกิดขึ้นตาม


10<br />

(2) และ (3) หากปลอยระยะเวลาทิ้งไวเนิ่นนานพยานเอกสาร พยานบุคคลและขอเท็จจริงก็จะ<br />

สูญหาย และหายาก อันจะทําใหสวนราชการจะหาเหตุผลขอเท็จจริง พยานหลักฐานดังกลาวมา<br />

รับรองความรับผิดชอบของตนในการลด งดคาปรับหรือขยายระยะเวลาทําการใหกับคูสัญญา<br />

การแจงเหตุตาม (2) และ (3) ภายใน 15 วัน นับแตเหตุสิ้นสุดนั้น คู สัญญาจะแจง<br />

เหตุกอน 15 วัน ไดหรือไม ผูเขียน(นายบรม ศรีสุข) เห็นวาการแจงเหตุดังกลาวทําได 2 ระยะ ดังนี้<br />

(1) เมื่อมีเหตุตาม (2) และ (3) เกิดขึ้น คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายสามารถแจง<br />

เหตุขอลด งดคาปรับหรือขอขยายระยะเวลาทําการไดทันที โดยไมตองรอใหเหตุตาม (2) และ (3)<br />

สิ้นสุดกอนแลวจึงแจงเหตุภายใน 15 วัน ดังกลาว<br />

(2) เมื่อเหตุตาม (2) และ (3) สิ้นสุดลง คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายจะแจงเหตุ<br />

ขอลด งดคาปรับหรือขยายระยะเวลาทําการตาม (2) หรือ (3) ภายใน 15 วัน มิฉะนั้นถือวาผูรับจาง<br />

หรือผูขายสละสิทธิดังกลาว<br />

ดังนั้น การที่สวนราชการจะลดหรืองดคาปรับหรือขยายระยะเวลาจะตองพิจารณา<br />

กอนวา “นับแตเหตุตาม (2) และ (3) ไดสิ้นสุดลง คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายไดแจงเหตุ<br />

ดังกลาวเปนหนังสือใหสวนราชการทราบกอนหรือภายหลังสิบหาวันนับแตเหตุนั้นสิ้นสุด”<br />

หรือไมมีการแจงเหตุจะถือวาผูรับจางหรือผูขายสละสิทธิ การขอลด งดคาปรับหรือการขอขยาย<br />

ระยะเวลาทําการตามสัญญา (ดู ขอ 2 วรรคสองและขอ 12 วรรคสอง ของตัวอยางสัญญาจางและ<br />

สัญญาซื้อขายทายระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งกําหนดใหผูรับจางและผูขายตองแจงเหตุตาม<br />

(2) หรือ (3) ภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุดลง ประกอบ) เวนแตเปนเหตุตาม (1) ซึ่งมี<br />

หลักฐานชัดแจง หรือสวนราชการทราบดีอยูแลวมาแตตน คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายที่ไมแจง<br />

เหตุตาม (1) เพราะโดยหลักเมื่อเปนความผิดหรือความบกพรองของสวนราชการจะตองถือวาสวน<br />

ราชการเปนฝายผิดสัญญา ที่สวนราชการจะตองขยายระยะเวลาทําการให เชน กรณี สวนราชการ<br />

สงมอบพื้นที่ใหผูรับจางเขาทํางานไมได สวนราชการยอมทราบเหตุนั้นมาแตตน และตองถือเปน<br />

ความผิดของสวนราชการเปนตน<br />

ขอสังเกต กรณีสัญญาจางที่ปรึกษา สัญญาจะเขียนแตกตางกัน กลาวคือ ที่ปรึกษา<br />

จะตองแจงเหตุสุดวิสัยใหสวนราชการพิจารณาภายใน 14 วัน นับแตวันที่เกิดอุปสรรควาสวน<br />

ราชการจะยอมรับหรือไม<br />

ปญหาที่สํานักงานอัยการสูงสุด และ กวพ. ตอบขอหารือ ตัวอยางเชน<br />

(1) ผูรับจางขาดเงินทุนหมุนเวียนขาดลูกจางแรงงาน หรืออางวา สวนราชการ<br />

จายเงินคาจางหรือคาสิ่งของลาชาหรือธนาคารอนุมัติจายสินเชื่อลาชา เหตุผลที่ไมถือเปนเหตุ<br />

สุดวิสัยเพราะ เปนหนาที่ของผูรับจางหรือผูขายที่จะตองมีเงินทุนหมุนเวียนหรือตระเตรียมหา<br />

ลูกจางแรงงานใหพอกอนเขาเสนอราคาและทําสัญญา การที่สวนราชการจายเงินลาชาเปนเหตุให


11<br />

ผูรับจางหรือผูขายเรียกคาเสียหายจากสวนราชการได นับแตเวลาที่สวนราชการผิดนัดชําระหนี้เปน<br />

อัตราดอกเบี้ยได 7 ½ % ตอป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 7 และ 224 ทั้งนี้<br />

ตามนัยคําตอบขอหารือของสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ห.167/2525 หนา 1630 และ 168/2525 หนาที่<br />

1632 คําวิจฉัย กวพ.ที่ พณ.5-26/2546 และที่ พณ.3-15/2546<br />

(2) มีปญหาในทางปฏิบัติกรณีฝนตกเปนเหตุสุดวิสัยนั้น หากเปนฝนตกน้ําทวมขัง<br />

บริเวณสถานที่กอสรางไดเกิดขึ้นในชวงเวลาทําการตามสัญญาเปนประจําทุกป แลวก็นับไดวาเหตุ<br />

นั้นมิใชเหตุสุดวิสัย เพราะกอนทําสัญญาผูรับจางยอมจะใชความระมัดระวังและปองกันในการ<br />

ตอรองระยะเวลาการทํางานใหมีระยะเวลาเทาที่จะสามารถปฏิบัติงานใหแลวเสร็จ เวนแตเหตุนั้น<br />

มิไดเกิดขึ้นเปนประจําทุกปและคาดหมายไมไดวาจะเกิดขึ้นเมื่อใดหรือไมก็อาจถือเปนเหตุสุดวิสัย<br />

ได ทั้งนี้ยอมแลวแตขอเท็จจริง (ตามนัยคําวินิจฉัยอัยการสูงสุดที่ 26/2528) แตอยางไรก็ดี หาก<br />

ปรากฏขอเท็จจริงวาฝนตกน้ําทวมจนเปนเหตุสุดวิสัยที่ทําใหผูรับจางไมสามารถปฏิบัติงานแลว<br />

เสร็จตามสัญญาไดจริง ก็อาจขยายเวลาทําการตามสัญญาได (ตามนัยหนังสือสํานักงานอัยการ<br />

สูงสุด ดวนมาก ที่ อส 0017/8467 ลงวันที่ 22 มิถุนายน 2544 แจงตอบอธิบดีกรมอาชีวศึกษา กับ<br />

นัยคําวินิจฉัย กวพ. เอกสารหมายเลข พณ 1-4/2549 และ 5-38/2550)<br />

แตหากฝนตกเปนอุทกภัยน้ําทวมเปนเหตุถนนขาดจนทําใหผูรับจางขาดแรงงาน<br />

เนื่องจากคนงานกอสรางที่สวนราชการจังหวัดสงขลากลับไปพักนอนที่จังหวัดพัทลุง ซึ่งอยูหาง<br />

ประมาณ 30 กิโลเมตร กลับมาทํางานที่บริเวณกอสรางไมไดเชนนี้ ก็เปนดุลพินิจของสวนราชการ<br />

ขยายเวลาตามความเปนจริงได และโดยผลของน้ําทวมเปนเหตุทําใหพื้นที่กอสรางซึ่งผูรับจางได<br />

ปรับสภาพพื้นที่เรียบรอยพรอมทํางานแลวเกิดการเสียหายระยะเวลาที่ผูรับจางใชไปในการตอง<br />

ปรับพื้นที่ใหเรียบรอยพรอมกอสรางใหม สวนราชการสามารถพิจารณาขยายระยะเวลาทําการ<br />

เพื่อลดหรืองดคาปรับใหไดตามขอเท็จจริง (ตามนัยคําวินิจฉัย กวพ. ที่ พณ 4-12/2549)<br />

เหตุตาม (3) ซึ่งเปนเหตุที่เกิดจากพฤติการณอันใดอันหนึ่งที่คูสัญญาไมตอง<br />

รับผิดชอบตามกฎหมายนี้ หมายถึงเหตุตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 205 ซึ่ง<br />

บัญญัติวา “ตราบใดการชําระหนี้นั้นยังไมไดกระทําลง เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่ง ซึ่งลูกหนี้<br />

ไมตองรับผิดชอบ ตราบนั้น ลูกหนี้ยังหาไดชื่อวาผิดนัดไม” ซึ่งพฤติการณอันใดอันหนึ่งนี้จะตอง<br />

เกิดขึ้นกอนผิดนัดมิใชเกิดขึ้นหลังผิดนัดแลว (หลังสัญญาสิ้นสุดแลว) เชน บริษัท ก. รับจาง<br />

กอสรางอาคารใหแลวเสร็จภายใน 360 วัน ไดทําการกอสรางอาคารจนเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จไป<br />

370 วันก็ยังกอสรางไมแลวเสร็จ ระหวางนั้นไดเกิดอุทกภัยน้ําทวมจนกอสรางไมไดเปนเวลา<br />

30 วัน ระยะเวลาน้ําทวม 30 วันนี้ สวนราชการผูวาจางจะขยายระยะเวลาทําการตามสัญญาใหกับ<br />

ผูรับจางไมได เพราะระยะเวลาดังกลาวเกิดขึ้นภายหลังที่ผูรับจางผิดนัดแลว ความเสียหายยอม<br />

เกิดขึ้นแกสวนราชการดวย เชน ทําใหสวนราชการไมไดใชอาคารสํานักงานตองไปเชาสํานักงาน


12<br />

เอกชน เสียคาเชาเปนรายเดือน หากลดหรืองดคาปรับใหผูรับจาง สวนราชการยอมไมไดรับ<br />

คาปรับเปนเสียหายซึ่งเปนไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 205 ประกอบดวย<br />

มาตรา 217 และนัยคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ห.221/2523 หนา 1102 และ ห.80/2523<br />

หนา 910<br />

และพฤติการณนี้โดยหลักจะตองไมใชความผิดของฝายผูรับจางหรือผูขาย แตตอง<br />

เปนความผิด หรือบกพรองของฝายสวนราชการ ซึ่งอาจจะเปนตัวสวนราชการผูวาจางนั้นเอง หรือ<br />

สวนราชการที่มิไดวาจางหรือซื้อก็ตามเพราะถือวาเปนฝายของสวนราชการ เชน มีกลุมอิทธิพล<br />

ขมขูเรียกคาคุมครองซึ่งทางราชการคุมครองไมได (คําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุด<br />

ที่ ห.190/2528 หนา 6841) กรมไปรษณียโทรเลขออกใบอนุญาตสรางเครื่องรับสงวิทยุลาชา (ตาม<br />

คําวินิจฉัยสํานักงาอัยการสูงสุดที่ ห.57/2527 หนา 325) หรือคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม<br />

แหงชาติ (กทช.) ตรวจรับรอง และการออกใบอนุญาตนําเขาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GPS พรอม<br />

วิทยุและอุปกรณลาชา (ตามนัยคําวินิจฉัย กวพ.สน.2-18/2550) ผูรับจางขุดที่กอสรางพบอาคารเกา<br />

ฝงลึกตองใชเวลารื้อถอนออกกอนกอสราง (ตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุด ที่ ห.41/2530<br />

หนา 47) หรือราชการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาลาชาทําใหกอสรางไมแลวเสร็จ แมผูรับจางมีหนาที่<br />

ตามขอกําหนดสัญญาจะตองทําการติดตั้ง โดยคาใชจายของผูรับจาง ซึ่งผูรับจางแจงใหการไฟฟา<br />

ทราบแตตน เมื่อลงนามสัญญาแลว แตการไฟฟามาติดตั้งลาชา เชนนี้ ถือวาเปนพฤติการณที่<br />

ผูรับจางไมตองรับผิดชอบ เพราะผูรับจางไมอาจจางบุคคลอื่นมาติดตั้งมาติดตั้งได เนื่องจากเปน<br />

หนาที่ของการไฟฟาตามกฎหมายที่บุคคลอื่นจะเขาไปดําเนินการแทนไมได แตหากสัญญา<br />

กําหนดใหผูรับจางมีหนาที่รับผิดชอบรื้อยายเสาไฟฟา และออกคาใชจายทั้งหมด โดยผูรับจางไม<br />

ใชเปนเหตุในการขอตอสัญญาเชนนี้ สวนราชการยอมขยายระยะเวลาใหผูรับจางไมได เพราะเปน<br />

ความสมัครใจของผูรับจางเองที่จะไมขอตออายุสัญญา (คําวินิจฉัย กวพ.ที่ พณ.2-30/2546) กรณี<br />

บริษัทผูรับจางอางวาชาวบานไมยินยอมใหกอสรางเพราะเกรงวาจะเกิดความเสียหายถึงตัวบาน<br />

สวนราชการจะขยายเวลาใหไมได เพราะเปนหนาที่ของผูรับจางที่จะตองปองกันความเสียหายที่<br />

อาจเกิดขึ้นจากการทํางานของตน เปนตน<br />

(3) กรณีเคยมีปญหาสัญญาจางกอสรางอาคารกําหนดใหทํางานแลวเสร็จ ภายใน<br />

วันที่ 30 กันยายน 2546 ผูรับจางไดกอสรางแลวเสร็จและสงมอบงานใหกรม ผูวาจางตรวจรับงาน<br />

ในวันที่ 25 กันยายน 2546 คณะกรรมการตรวจการจางใชเวลาตรวจรับงานไปจนถึงวันที่ 5 ตุลาคม<br />

2546 และแจงใหผูรับจางแกไขงานใหถูกตองตามสัญญา ผูรับจางไดใชเวลาแกไขงาน 2 วัน ก็แลว<br />

เสร็จ และสงใหกรมตรวจรับงานในวันที่ 7 ตุลาคม 2546 คณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจงาน<br />

เห็นวาถูกตองเรียบรอย กรมไดรับมอบงานในวันที่ 12 ตุลาคม 2546 มีปญหาวากรมจะใชสิทธิ<br />

ปรับผูรับจางกรณีเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จ (30 กันยายน 2546) ไดหรือไม กรณีเชนนี้ กรมใชสิทธิ


13<br />

ปรับผูรับจางไมได แมจะเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จแลวก็ตาม เพราะการตรวจรับมอบงานนั้นหาก<br />

กรมตรวจรับงานแลว เห็นวางานถูกตองเรียบรอยและรับมอบงานไว การรับมอบงานของกรมก็จะ<br />

มีผลยอนหลังไปถึงวันที่ผูรับจางสงมอบงาน คือวันที่ 25 กันยายน 2546 ตามระเบียบสํานักนายกฯ<br />

พ.ศ.2535 ขอ 72(4) ผูรับจางจึงเหลือระยะเวลาอีก 5 วัน ในการแกไขงาน ดังนั้น เมื่อผูรับจางใช<br />

เวลาแกไขงาน 2 วัน ก็แลวเสร็จและสงมอบงานใหกรมในวันแลวเสร็จนั้น ผูรับจางจึงเหลือเวลา<br />

อีก 3 วัน ที่จะครบกําหนดแลวเสร็จ จึงถือวา ผูรับจางมิไดทํางานลาชาเกินกําหนดระยะเวลาตาม<br />

สัญญา กรมจึงใชสิทธิปรับผูรับจางไมได ชวงระยะเวลาที่เสียไปจนถึงวันที่ 12 ตุลาคม 2546 เปน<br />

ชวงระยะเวลาที่กรมใชไปในการตรวจรับงาน ไมใชความผิดของผูรับจาง จึงนําชวงระยะเวลาเลย<br />

กําหนดระยะเวลาตามสัญญาตั้งแต 1-12 ตุลาคม 2546 มาปรับผูรับจางไมไดดังกลาว<br />

(4) กรณีปญหาที่ผูรับจางใชระยะเวลาการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางชั่วคราว กลบเกลี่ย<br />

พื้นดินตลอดจนการทําความสะอาดบริเวณกอสรางจนเลยกําหนดเวลาตามสัญญา มีปญหาวาจะ<br />

ปรับผูรับจางไดหรือไม สํานักงานอัยการสูงสุดวินิจฉัยวางานดังกลาวมิใชงานจางตามรูปแบบ<br />

รายละเอียดทายสัญญา ซึ่งกําหนดใหผูรับจางตองทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดตามสัญญา<br />

ฉะนั้น การทํางานดังกลาวแมลวงเลยกําหนดเวลาตามสัญญา ผูวาจางไมอาจนํามาคํานวณเพื่อการ<br />

ปรับได (คําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ห.44/2544 หนา 1185)<br />

(5) กรณีสวนราชการผูวาจางไดอนุมัติใหผูรับจางเลิกสัญญาดวยความสมัครใจทั้ง<br />

สองฝาย โดยสวนราชการมิไดสงวนสิทธิเรียกคาเสียหายและคาปรับไว สวนราชการจะเรียกรอง<br />

คาเสียหายและคาปรับจากผูรับจางไมได เพราะเปนเรื่อง เลิกสัญญา โดยสมัครใจทั้งสองฝาย ผูรับ<br />

จางจึงมิใชผูปฏิบัติผิดสัญญา ตามนัยคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 710/2482 (คําวินิจฉัยสํานักงานอัยการ<br />

สูงสุดที่ ห.78/2521 หนา 463)<br />

(6) กรมฯ ไดวาจาง บริษัทกอสรางอาคารเรียน โดยสัญญากําหนดให “บริษัท<br />

ผูรับจางมีหนาที่ทดสอบการรับน้ําหนักของดินฐานรากที่จะกอสรางอาคารเรียนนั้น” ปรากฏวาเมื่อ<br />

ผูรับจางเขาดําเนินการปรับพื้นที่ และไดมีหนังสือลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2545 (ทําสัญญา<br />

27 มิถุนายน 2545) ขอใหโยธาธิการจังหวัดมาทําการทดสอบที่ดินให ซึ่งโยธาธิการจังหวัดไดทํา<br />

การทดสอบ และแจงใหผูรับจางทราบเมื่อ 25 ธันวาคม 2546 ซึ่งกรมฯไดรวมทดสอบดวย และ<br />

กรมฯไดมีหนังสือสั่งการใหโยธาธิการจังหวัดทดสอบอีกครั้งหนึ่ง ผูรับจางขอขยายระยะเวลาที่<br />

ตองเสียไป เพราะรอผลทดสอบ การรับน้ําหนักของดินฐานรากที่โยธาธิการจังหวัดไดใชไป กวพ.<br />

วินิจฉัยวาขยายระยะเวลาไมได เพราะเปนหนาที่ของผูรับจางที่จะตองทดสอบการรับน้ําหนักของ<br />

ดินฐานรากนั้นเอง ที่ผูรับจางสามารถใหวิศวกรของบริษัทหรือบริษัทเอกชนทดสอบได การให<br />

สวนราชการไปทดสอบไมเปนเหตุใหขยายระยะเวลาได เปนเรื่องที่สวนราชการไมมีหนาที่ตาม<br />

สัญญาและเขาไปทําผิดหนาที่โดยพละการ (คําวินิจฉัย กวพ. พณ.ที่ 4-30/2546) อนึ่ง มีขอสังเกต


14<br />

วาในเอกสารประกวดราคาจะกําหนดใหผูรับจางมีหนาที่ไปดู Site งาน (สถานที่กอสราง) และ<br />

ในทางปฏิบัติกอนประกวดราคา ผูเสนอราคาจะตองไปรับฟงคําชี้แจงจากเจาหนาที่และไปดู<br />

สถานที่กอสราง หากผูเสนอราคาไมไปและชนะการประกวดราคา แมสัญญาไมกําหนดหนาที่<br />

ดังกลาว หากเกิดปญหาดังกลาวผูเสนอราคารายนั้น ก็จะตองรับผิดชอบเอง จะขอขยายระยะเวลา<br />

ไมได<br />

(7) คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 156/21 หนา 1463 สัญญากําหนดใหปรับวันละ<br />

300 บาท เมื่อผูรับจางกอสรางไมเสร็จตามกําหนดเวลา และสัญญาอีกขอกําหนดใหผูรับจางจะตอง<br />

จายคาควบคุมงานใหแทนผูวาจาง ที่ผูวาจางตองจางผูควบคุมงานนั้นอีกตอหนึ่งนับแตวันที่ลวงเลย<br />

กําหนดเวลาแลวเสร็จตามสัญญาจนถึงวันที่โจทกสงมอบงานเปนรายวัน วันละ 50 บาท อีกสวน<br />

หนึ่งตางหากจากคาปรับดวย ผูวาจางปรับตามสัญญาได โดยไมตองพิสูจนความเสียหายใด ๆ เลย<br />

เกี่ยวกับจํานวนเบี้ยปรับที่สัญญากันไว สวนคาควบคุมงานซึ่งผูรับจางสัญญาจะชดใชใหเปน<br />

คาเสียหายแกผูวาจาง ศาลฎีกาเห็นวาจําเลยมีสิทธิเรียกใหโจทกชําระหรือหักเอาเงินคาจางของ<br />

ผูรับจางไดก็ตอเมื่อไดความวาจําเลยไดจางผูควบคุมงานในระยะที่ลวงเลยกําหนดเวลาดังกลาว<br />

และผูวาจางไดจายหรือจะตองจายเงินจํานวนนี้ใหแกผูควบคุมงาน แตผูวาจางมิไดนําสืบวาได<br />

เสียหายในขอนี้อยางไร ผูรับจางจึงไมมีหนาที่จะตองจายเงินจํานวนนี้ใหผูวาจางศาลพิพากษาให<br />

ผูวาจางคืนเงินคาจางของผูรับจางที่ผูวาจางหักไวเปนคาจางผูควบคุมงาน 11,450 บาท ใหแกผู<br />

รับจาง<br />

(8) มหาวิทยาลัยไดทําสัญญาจางกอสรางอาคารอเนกประสงค 1 หลัง กําหนด<br />

แลวเสร็จ วันที่ 18 มีนาคม แตมหาวิทยาลัยจะตองจัดงานพระราชทานปริญญาบัตรวันที่ 21-23<br />

มีนาคม จึงจําเปนตองปดถนนดานหนาที่ทําการกอสรางอาคารอเนกประสงค ทําใหสามารถใช<br />

ผานเขาออกบริเวณกอสรางไดเพียงทางเดียว และคนมีจํานวนมากอาจกระทบตอความปลอดภัย<br />

ของบุคคลเขาออก มีปญหาวาผูรับจางไมสามารถทํางานไดสะดวก ผูรับจางจะอางเปนเหตุของด<br />

หรือลดคาปรับไดหรือไม กวพ. วินิจฉัยวา หากครบกําหนดสัญญาแลวผูรับจางไมสามารถสงมอบ<br />

งานได ตองถือวาผูรับจางผิดนัดตามสัญญา ประกอบดวย ป.พ.พ.มาตรา 204 วรรคทาย ผูรับจาง<br />

ตองรับผิดในคาปรับ แตอยาไรก็ดี หากผูวาจางสั่งหยุดงานเพราะมีผลกระทบตอการทํางานของ<br />

ผูรับจาง เชน ผูวาจางสั่งหยุดงานเพราะฝนตกชุก น้ําทวมขังบริเวณกอสรางจะมีผลทําใหงานฐาน<br />

รากหรือโครงสรางจะไมแข็งแรง ผูวาจางจะตองพิจารณาลดหรืองดคาปรับใหโดยผูรับจางไมตอง<br />

แจงเหตุ 15 วัน เพราะผูวาจางทราบเรื่องดีอยูแลว (คําวินิจฉัย กวพ.ที่ พณ 1-5/2549 2-13/2549)<br />

(9) กรณีมีปญหาในทางปฏิบัติเสมอที่สวนราชการไดทําบันทึกขยายเวลาทําการ<br />

เพื่อลดหรืองดคาปรับใหแกฝายผูรับจาง โดยกําหนดในบันทึกแกไขสัญญาวาขยายเวลาเฉพาะใน<br />

งวดงานนั้นๆ เทานั้น มิไดขยายเวลาทั้งสัญญา การขยายเวลาทําการมีผลเฉพาะในงวดงานนั้น ๆ


15<br />

ไดหรือไม ตัวอยางเชน งานกอสรางขุดบอบาดาล โดยสวนราชการเปนผูออกแบบและกําหนดจุด<br />

ขุดบอบาดาลในพื้นที่กอสราง ซึ่งสวนราชการไดแบงงวดงานเปน 20 งวด ตอมาในงวดงานที่ 15<br />

เปนงวดที่กําหนดขุดบอบาดาล ปรากฏวาผูรับจางใชเวลาขุดเจาะบอบาดาล 5-6 เดือน ตามที่สวน<br />

ราชการชี้ใหขุดเจาะ 2-3 ที่แลวไมพบน้ํา จึงไดแกไขเปลี่ยนแบบบอบาดาลเปนบอน้ําธรรมดา โดย<br />

ใชผายางรองกนบอโดยใชระยะเวลาการอนุมัติแกไขแบบดังกลาวนานหลายเดือน สวนราชการกับ<br />

ผูรับจางจึงไดตกลงทําบันทึกขยายเวลาทํางานเพื่องดหรือลดคาปรับในงวดที่ 15 ใหแกผูรับจาง<br />

70 วัน เมื่อผูรับจางทํางานแลวเสร็จ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 เลยกําหนดเวลาแลวเสร็จตาม<br />

สัญญาคือวันที่ 30 กันยายน 2548 ไป 61 วัน สวนราชการปรับผูรับจาง 61 วัน โดยอางวา สวน<br />

ราชการขยายเวลาทําการใหเฉพาะงานงวดที่ 15 และผูรับจางมิไดแจงเหตุเปนหนังสือภายใน 15 วัน<br />

นับแตเหตุสิ้นสุดลง แตผูรับจางอางวาการขยายเวลา 70 วัน เปนการขยายเวลาทั้งสัญญา และการ<br />

ขุดบอบาดาลไมพบน้ําเลยเปนเหตุพนวิสัยที่สวนราชการตองทราบเหตุดีอยูแลว ไมตองแจงเหตุ<br />

เปนหนังสือภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุดลง ผูเขียน(นายบรม ศรีสุข) เห็นวา “การกําหนด<br />

งวดงานนั้น” โดยวัตถุประสงคหลักของสัญญาที่กําหนดระยะเวลางานแลวเสร็จและการปรับไว<br />

เปนกําหนดเวลาเดียว เมื่อจะปรับหรือขยายระยะเวลายอมจะมีผลทั้งสัญญามิใชขยายระยะเวลา<br />

เฉพาะงวดนั้น และการกําหนดงวดงานนั้น ดังนั้นเมื่อผูรับจางทํางานไมแลวเสร็จในงวดนั้น ตอง<br />

ถือวาผูรับจางปฏิบัติผิดสัญญา ผูรับจางก็ยังไมมีสิทธิรับเงิน(คาจาง) ในงวดงานนั้น แตหากผู<br />

รับจางทํางานในงวดนั้นแลวเสร็จกอนกําหนดเวลาในงวดนั้น ผูรับจางก็มีสิทธิรับเงิน แตหากผู<br />

รับจางทํางานแลวเสร็จลาชากวาวันที่ 30 กันยายน 2548 ตองถือวาผูรับจางผิดนัดชําระหนี้ ดังนั้น<br />

สวนราชการจึงมีสิทธิปรับผูรับจางตามจํานวนวันที่ผูรับจางทํางานลาชาคือ 61 วัน แตเนื่องจาก<br />

สวนราชการไดทําบันทึกโดยมีเจตนารมณขยายเวลาทําการใหผูรับจาง 70 วัน แมบันทึกจะกําหนด<br />

วาใหขยายเวลาทําการเฉพาะงวดที่ 15 ก็ตาม แตก็ตีความตามเจตนารมณที่แทจริงยิ่งกวาตามถอยคํา<br />

สํานวนหรือตัวอักษร ตาม ป.พ.พ. มาตรา 171 ดังนั้น ตองถือวาสวนราชการขยายเวลาทําการทั้ง<br />

สัญญาใหผูรับจาง 70 วัน จึงตองนับระยะเวลาตอตอจากวันที่ 30 กันยายน 2548 ไปอีก 70 วัน<br />

ดังนั้น จึงปรับผูรับจางไมได ฉะนั้น เมื่อสวนราชการตองการขยายเวลาทําการหรือลดหรืองด<br />

คาปรับใหผูรับจาง จึงตองตีความดังกลาว และโดยเฉพาะการที่ผูรับจางขุดเจาะบอบาดาลไมพบน้ํา<br />

ตองถือวาเปนเหตุพนวิสัยที่เปนความผิดของฝายสวนราชการที่เปนผูออกแบบและกําหนดจุดบอ<br />

บาดาล ที่ตองถือวาสวนราชการทราบเหตุมาแตตน ดังนั้น สวนราชการจะตองนําระยะเวลาที่ผู<br />

รับจางใชไปในการขุดบอบาดาล 5-6 เดือนกับระยะเวลาที่สวนราชการใชไปในการอนุมัติแกไข<br />

แบบซึ่งมีผลทําใหผูรับจางไมสามารถทํางานในชวงดังกลาวได ซึ่งเมื่อคํานวณระยะเวลาแลวยอม<br />

เลยกําหนดเวลาลาชา 61 วันที่สวนราชการไมสามารถปรับผูรับจางได


16<br />

(10) มหาวิทยาลัยไดทําสัญญาเลขที่ 1 จางหาง ก.กอสรางอาคารปฏิบัติการ<br />

นาฏศิลป 1 หลัง ราคา 13 ลานบาท สัญญาสิ้นสุด 20 เมษายน 2548 ตอมามหาวิทยาลัยไดทําสัญญา<br />

เลขที่ 2 จางหาง ก.ตอเติมหองคุมแสงและเสียง 1 หอง ในอาคารปฏิบัติการนาฏศิลปดังกลาวเปน<br />

จํานวนเงิน 92,000 บาท ดําเนินการใหแลวเสร็จในวันที่ 30 เมษายน 2549 ผูรับจางไดขอขยายเวลา<br />

อีก 90 วัน ในสัญญาเลขที่ 1 เพราะการดําเนินการกอสรางหองควบคุมแสงและเสียงมีผลกระทบ<br />

ตอการสรางอาคารนาฏศิลป สวนราชการจะขยายเวลาทําการและผูรับจางจะตองแจงเหตุภายใน<br />

15 วัน ไดหรือไม กวพ.วินิจฉัยวา หากปรากฏขอเท็จจริงวา งานตามสัญญาจางเลขที่ 1 กับเลขที่ 2<br />

มีสวนเกี่ยวของหรือสัมพันธกันโดยการทําการตอเติมหองควบคุมแสงและเสียงกอนจนเปนเหตุให<br />

หางไมสามารถปฏิบัติงานตามสัญญาจางเลขก็มีสิทธิขอขยายเวลาทําการเพื่อลดหรืองดคาปรับได<br />

สวนการแจงเหตุภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุดลง หาง ก.จะตองแจงเหตุกอนหรือหลัง<br />

เหตุการณตอเติมหองควบคุมแสงเสียงตามสัญญาจางเลขที่ 2 นั้นเสร็จสิ้นลงภายใน 15 วัน นับแต<br />

เหตุการณกอสรางเพิ่มเติมสัญญาจางเลขที่ 2 สิ้นสุดลง (ตามนัยคําวินิจฉัย กวพ. ที่ พณ 6-22/2549)<br />

การนับระยะเวลาที่เกิดอุปสรรคและพยานหลักฐาน<br />

1. อุปสรรคที่เปนเหตุสุดวิสัย หรือพฤติการณอันหนึ่งที่คูสัญญาไมตองรับผิดชอบ<br />

จะตองมีหลักฐานเปนหนังสือรับรองการเกิดอุปสรรควาเกิดขึ้นตั้งแตเมื่อใด สิ้นสุดลงเมื่อใด<br />

พยานหลักฐาน ไดแก หนังสือรับรองจากองคกรสวนทองถิ่น หรือจากอําเภอทองที่ รายงาน<br />

ผูควบคุมงาน หรือกรณีจําเปนอาจมีหนังสือรับรองจากกรมอุตุนิยมวิทยา<br />

2. มิใชความผิดของคูสัญญา (เปนความผิดของสวนราชการ)<br />

2.1 กรณีที่จะใหสวนราชการพิจารณาใหความเห็นชอบหรืออนุมัติ การพิจารณา<br />

วาเกิดอุปสรรคจะถือวาหนังสือของคูสัญญาสงมาถึงฝายสารบรรณ เมื่อวันที่เทาใด อุปสรรคจะเริ่ม<br />

นับวันรุงขึ้น และเมื่อสวนราชการพิจารณาเห็นชอบหรืออนุมัติ จะมีหนังสือแจงคูสัญญาทราบ<br />

อุปสรรคการรอคอยการเห็นชอบหรืออนุมัติ จะนับถึงวันที่ที่คูสัญญาไดรับหนังสือ โดยจะ<br />

ตรวจสอบจากไปรษณียตอบรับ เชน บริษัท ก. สงหนังสือ ลงวันที่ 1 มิถุนายน สงหนังสือมาถึง<br />

ฝายสารบรรณในวันที่ 3 มิถุนายน เพื่อใหสวนราชการพิจารณาเห็นชอบการคัดเลือกชุมชนเขารวม<br />

โครงการ ดังนี้ อุปสรรคจะเริ่มนับตั้งแตวันที่ 4 มิถุนายน เปนตนไป เมื่อสวนราชการพิจารณา<br />

เสร็จมีหนังสือแจงเห็นชอบ ลงวันที่ 28 มิถุนายน และบริษัท ก.ไดรับหนังสือเมื่อวันที่<br />

30 มิถุนายน ดังนั้น อุปสรรคจะเกิดขึ้นตั้งแตวันที่ 4 มิถุนายน-30 มิถุนายน<br />

2.2 กรณีสวนราชการสั่งใหหยุดงาน อุปสรรคจะเริ่มนับตั้งแตวันที่สั่งให<br />

หยุดงาน และสิ้นสุดลงกอนวันที่ที่สงใหเขาทํางาน เชน หนังสือกรมสั่งใหหยุดงานในวันที่<br />

1 มิ.ย. ตอมากรมไดมีหนังสือสั่งใหเขาทํางานในวันที่ 1 ส.ค. ดังนั้น อุปสรรคจึงเกิดขึ้นตั้งแตวันที่<br />

1 มิ.ย. – 31 ก.ค.


17<br />

การนับจํานวนวันที่เกิดอุปสรรค<br />

โดยปกติการนับจํานวนวันที่เกิดอุปสรรคจะเริ่มนับตั้งแตวันที่เกิดอุปสรรคจนถึง<br />

วันที่อุปสรรคสิ้นสุดลงแตมีบางกรณีจะตองดูแผนงานของคูสัญญาประกอบดวย ดังนี้<br />

1. กรณีตามแผนงานถาแผนงานซ้ําซอนกันบางสวนและไมมีการทํางาน แมวาจะมี<br />

อุปสรรคเกิดขึ้นตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553 เปนเวลา 181 วัน แตตาม<br />

แผนงานในชวงวันที่ 1 มิถุนายน – 30 มิถุนายน 2553 ไมมีการทํางาน ดังนั้น อุปสรรคที่เกิดขึ้นเปน<br />

เวลา 181 – 30 = 151 วัน<br />

2. กรณีตามแผนงานที่มีระยะเวลาทํางานซ้ําซอนกัน (เริ่มตนพรอมกันสิ้นสุด<br />

พรอม) เมื่อเกิดอุปสรรคขึ้น แตงานอื่น (ที่แผนงานซ้ําซอนกัน) สามารถทํางานได ดังนี้ตองถือวา<br />

เกิดอุปสรรค เชน<br />

(1) งานกอสรางถนนสายที่ 1 เริ่มตั้งแต 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553<br />

(2) งานกอสรางถนนสายที่ 2 เริ่มตั้งแต 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553<br />

(3) งานกอสรางถนนสายที่ 3 เริ่มตั้งแต 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553<br />

งาน (1) เกิดอุปสรรค แตงาน (2) และ (3) สามารถทํางานได ดังนี้ ตองถือวา<br />

เกิดอุปสรรคในการทํางาน<br />

หมายเหตุ ถาถนนทั้ง 3 สายเกิดอุปสรรคทั้งหมด แตระยะเวลาที่เกิดอุปสรรค<br />

ไมเทากัน ตองใชระยะเวลาที่เกิดอุปสรรคมากที่สุดมาขยายอายุสัญญา<br />

วิธีทําบันทึกเสนออนุมัติ<br />

การสรุปขอเท็จจริงในการเสนออนุมัติขยายเวลาทํางาน(ขยายอายุสัญญา) แบงได<br />

เปน 3 สวน ดังนี้<br />

1. เรื่องเดิม แบงออกเปน 2 เรื่อง<br />

1.1 ใหกลาวถึงนิติสัมพันธระหวางคูสัญญากับสวนราชการ เชน ตามที่กรม<br />

ไดทําสัญญาวาจาง บริษัท ก.ใหทําการกอสรางเขื่อนโครงการ...อําเภอ......จังหวัด.........รวมเปนเงิน<br />

..............บาท กําหนดสงมอบงาน ภายในวันที่........................<br />

1.2 ใหกลาวถึงหนังสือของคูสัญญาวาไดขอขยายระยะเวลาทํางานออกไป<br />

เปนเวลากี่วัน เนื่องจากอุปสรรคใด<br />

2. ขอเท็จจริง ใหสรุปปญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นวามีสาเหตุมาจากอุปสรรคใด<br />

มีพยานหลักฐานสนับสนุนอุปสรรคเพียงพอหรือไม หากไมเพียงพอตองขอเพิ่มเติม ทั้งนี้<br />

อุปสรรค ตามขอ 193 (2)–(3) คูสัญญาจะตองแจงอุปสรรคใหสวนราชการทราบภายใน 15 วัน<br />

นับแตวันที่อุปสรรคสิ้นสุดลง หากมิไดแจงภายในกําหนดคูสัญญาจะยกมากลาวอางเพื่อขอลด


18<br />

หรืองดคาปรับ หรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได เวนแตกรณีตามขอ 193 (1) ซึ่งมีหลักฐาน<br />

ชัดแจง หรือสวนราชการทราบมีอยูแลว ตั้งแตตน<br />

3. ขอพิจารณา จะตองทําอุปสรรคตามขอเท็จจริงมาปรับกับระเบียบฯ ขอ 193<br />

วาอุปสรรคดังกลาวอยูในขายจะพิจารณางดหรือลดคาปรับหรือขยายเวลาทําการไดหรือไม เพียงใด<br />

เปนเวลากี่วัน คูสัญญาขอขยายระยะเวลาเปนเวลากี่กัน โดยคณะกรรมการตรวจการจางหรือตรวจ<br />

รับตองเสนอความเห็นวาควรขยายใหเปนเวลากี่วันหรือไมสมควรขยายเวลา<br />

ในสวนสุดทายของบันทึกตองสรุปดวยวาอํานาจอนุมัติใหงดหรือลดคาปรับ หรือ<br />

ขยายเวลาทํางาน เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการ ที่จะอนุมัติได ตามระเบียบฯ ขอ 193 (1)<br />

(2) หรือ (3)<br />

วิธีทําหนังสือแจงคูสัญญา<br />

ภายหลังจากหัวหนาสวนราชการไดอนุมัติใหงดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํา<br />

การแลว ปกติกลุมนิติการจะเปนผูจัดทําหนังสือแจง โดยการจัดทําหนังสือแจง จะแบงได 3 สวน ดังนี้<br />

1. สวนที่ 1 ชื่อเรื่อง และอางถึง<br />

ชื่อเรื่อง ควรใชชื่อเดียวกันกับหนังสือของคูสัญญา เนื่องจากเปนหนังสือตอเนื่อง<br />

ทั้งนี้ เพราะเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ขอ 11.4<br />

สําหรับอางถึง ควรอางถึง 2 ขอ คือ 1. อางถึงสัญญาวาจาง หรือซื้อขาย 2. อางถึงหนังสือคูสัญญา<br />

ขอขยายเวลาทําการ<br />

2. สวนที่ 2 เนื้อหาของหนังสือในวรรคหนึ่งจะกลาวสวนที่อางถึง โดยจะตอง<br />

รางหนังสือ สรุป นิติสัมพันธระหวางคูสัญญากับสวนราชการ มีการทําสัญญาวาจางหรือซื้อขาย<br />

เกี่ยวกับอะไรในวงเงินเทาใด กําหนดสงมอบงานหรือสิ่งของเมื่อใด คูสัญญาของดหรือลดคาปรับ<br />

หรือขยายเวลาทําการ (ขอตออายุสัญญา) เนื่องจากอุปสรรคใด เปนเวลากี่วัน<br />

3. สวนที่ 3 การพิจารณาของสวนราชการ<br />

พิจารณาแลวมีความเห็นอยางไร ตองใชเหตุผลตามบันทึกในการพิจารณาตามที่<br />

หัวหนาสวนราชการอนุมัติ โดยสรุปอุปสรรคที่เกิดขึ้นเทาใด งดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทําการ<br />

ใหหรือไมเปนจํานวนเทาใด<br />

สําหรับกรณีที่อุปสรรคเกิดขึ้นมากกวาจํานวนที่คูสัญญาขอขยายเวลาทําการ การ<br />

รางหนังสือจะไมชี้แจงวามีอุปสรรคเกิดขึ้นกี่วัน แตจะรางแจงไปวาสวนราชการพิจารณาแลวเห็น<br />

วาอุปสรรคดังกลาวเกิดขึ้นจริง จึงพิจารณาขยายเวลาทําการ (ตออายุสัญญา) เปนเวลา ...........วัน<br />

ตามที่คูสัญญาขอมา โดยนับแตจากวันที่............. ซึ่งเปนวันสิ้นสุดสัญญา และสัญญาจะครบ<br />

กําหนดสงมอบงาน/สิ่งของ ภายในวันที่........................... หากสงมอบงานลาชากวากําหนดดังกลาว<br />

คูสัญญาจะตองถูกปรับตามเงื่อนไขแหงสัญญาทุกประการ


19<br />

บรรณานุกรม<br />

กําธร พันธุลาภ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยหนี้, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2522<br />

ธาดา ศาสตรสาธิต บทบัณฑิตย เนติบัณฑิตยสภา เลมที่ 39 ตอนที่ 3 โรงพิมพบพิธ<br />

การพิมพ, 2535<br />

บรม ศรีสุข<br />

วิธีพิจารณาวินิจฉัยหารือของ ก.ว.พ.และหลักเกณฑสาระสําคัญของการ<br />

จัดหาพัสดุของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535<br />

โรงพิมพ นิวไทยมิตรการพิมพ (1996), 2551<br />

ประโมทย จารุนิล ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยหนี้ , กรุงเทพฯ : โรงพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2550

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!